nanocomposite and blend: for drug controlled …blend, suitable for solid polymer electrolyte...

4
ณัฐธิดา รักกะเปา : การศึกษาโครงสร้างและสมบัติของวัสดุนาโนคอมพอสิตและผสมที่มี ไคโตซานเป็นหลัก เพื่อประยุกต์เป็นวัสดุควบคุมการปล่อยยาและพอลิเมอร์อิเล็กโทรไลต์ ชนิดแข็ง (STRUCTURE AND PROPERTIES OF CHITOSAN-BASED NANOCOMPOSITE AND BLEND: FOR DRUG CONTROLLED RELEASE AND SOLID POLYMER ELECTROLYTE APPLICATIONS) อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิสิษฐ์ แววสูงเนิน, 234 หน้า. ไคโตซานจัดเป็นพอลิเมอร์จากธรรมชาติชนิดหนึ ่ง ซึ ่งมีการนํามาประยุกต์ใช้งานอย ่าง กว้างขวางและหลากหลาย หากแต่การประยุกต์ใช้วัสดุที่มีไคโตซานเป็นองค์ประกอบเพียงอย ่าง เดียวในงานบางชนิดยังด้อยประสิทธิภาพ อีกทั ้งยังมีข ้อจํากัดในสมบัติเชิงกายภาพและเชิงกล ส่งผล ให้คุณสมบัติของพอลิเมอร์ชนิดนี ้ยังไม่ดีพอที่จะตอบสนองในทุกๆ การใช้งาน ด้วยเหตุนี ้เอง งานวิจัยนี ้จึงเกิดขึ ้นเพื่อเอาชนะข้อจํากัดดังกล่าว โดยวัตถุประสงค์หลักของงานวิจัยนี ้มุ่งเน้นในการ เตรียมและพัฒนาวัสดุไคโตซานผสมชนิดใหม่ ซึ ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมสําหรับการประยุกต์ใช้ใน งานที่เฉพาะเจาะจงตามต้องการ ซึ ่งการพัฒนาดังกล่าวดําเนินไปด้วยวิธีที่ง่ายและไม่ซับซ้อน โดย การเติมอนุภาคดินเหนียวหรือพอลิเมอร์ชนิดอื่นลงไปผสม เพื่อปรับปรุงสมบัติต่างๆ ของไคโตซาน ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการนําไปประยุกต์ใช้งานที่แตกต่างกัน โดยการพัฒนา ดังกล่าวดําเนินไปในสองแนวทางคือ (1) การพัฒนาวัสดุพอลิเมอร์นาโนคอมพอสิตของ ไคโตซาน/ อนุภาคดินเหนียว (CS/MMT) เพื่อประยุกต์เป็นวัสดุควบคุมการปล่อยยา และ (2) การพัฒนาวัสดุ พอลิเมอร์ผสมของ ไคโตซาน / พอลิเอทิลีนออกไซด์ (CS/PEO) เพื่อประยุกต์เป็นพอลิเมอร์ อิเล็กโทรไลต์ชนิดแข็ง นอกจากนั ้นยังศึกษาโครงสร้าง รวมถึงสมบัติต่างๆ ทั ้งเชิงสัณฐานวิทยาและ เชิงความร้อนของวัสดุไคโตซานผสมทั ้งสองชนิดที่พัฒนาขึ ้น รวมทั ้งวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างโครงสร้างและสมบัติต่างๆ ที่มีผลต่อประสิทธิภาพการควบคุมการปลดปล่อยยาของวัสดุ นาโนคอมพอสิต CS/MMT และผลต่อประสิทธิภาพในการนําไฟฟ้าของวัสดุพอลิเมอร์ผสม CS/PEO ดังกล่าว เพื่อให้ได้วัสดุไคโตซานผสมที่มีประสิทธิภาพสูงสุดและมีความเหมาะสมกับงาน ที่ต้องการนําไปประยุกต์ใช้ ด้วยข้อจํากัดต่างๆ ในด้านการทดลอง งานวิจัยนี ้จึงนําเทคนิคการจําลองแบบโมเลกุลด้วย คอมพิวเตอร์มาใช้ควบคู่ไปด้วย เพื่อช่วยอธิบายผลที่ได้จากการทดลองให้ชัดเจนยิ่งขึ ้น นอกจากนั ้น ยังเพิ่มความเข้าใจและช่วยอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ ้นในระดับอะตอมของวัสดุไคโตซาน ผสมทั ้งสองชนิดข ้างต้น อีกทั ้งเทคนิคนี ้ยังสามารถศึกษาพลวัตของโมเลกุลยาในวัสดุนาโน

Upload: others

Post on 26-Mar-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: NANOCOMPOSITE AND BLEND: FOR DRUG CONTROLLED …blend, suitable for solid polymer electrolyte application, were initiated and developed in this work. The structure, morphology, thermal

I

ณฐัธิดา รักกะเปา : การศึกษาโครงสร้างและสมบติัของวสัดุนาโนคอมพอสิตและผสมท่ีมี

ไคโตซานเป็นหลกั เพื่อประยกุตเ์ป็นวสัดุควบคุมการปล่อยยาและพอลิเมอร์อิเล็กโทรไลต์

ชนิดแขง็ (STRUCTURE AND PROPERTIES OF CHITOSAN-BASED

NANOCOMPOSITE AND BLEND: FOR DRUG CONTROLLED RELEASE AND

SOLID POLYMER ELECTROLYTE APPLICATIONS) อาจารยท่ี์ปรึกษา :

ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.วสิิษฐ ์ แววสูงเนิน, 234 หนา้.

“ไคโตซาน” จดัเป็นพอลิเมอร์จากธรรมชาติชนิดหน่ึง ซ่ึงมีการนาํมาประยุกตใ์ช้งานอยา่ง

กวา้งขวางและหลากหลาย หากแต่การประยุกต์ใชว้สัดุท่ีมีไคโตซานเป็นองคป์ระกอบเพียงอย่าง

เดียวในงานบางชนิดยงัดอ้ยประสิทธิภาพ อีกทั้งยงัมีขอ้จาํกดัในสมบติัเชิงกายภาพและเชิงกล ส่งผล

ให้คุณสมบติัของพอลิเมอร์ชนิดน้ียงัไม่ดีพอท่ีจะตอบสนองในทุกๆ การใช้งาน ด้วยเหตุน้ีเอง

งานวจิยัน้ีจึงเกิดข้ึนเพื่อเอาชนะขอ้จาํกดัดงักล่าว โดยวตัถุประสงคห์ลกัของงานวิจยัน้ีมุ่งเนน้ในการ

เตรียมและพฒันาวสัดุไคโตซานผสมชนิดใหม่ ซ่ึงมีคุณสมบติัเหมาะสมสําหรับการประยุกตใ์ชใ้น

งานท่ีเฉพาะเจาะจงตามตอ้งการ ซ่ึงการพฒันาดงักล่าวดาํเนินไปดว้ยวิธีท่ีง่ายและไม่ซบัซ้อน โดย

การเติมอนุภาคดินเหนียวหรือพอลิเมอร์ชนิดอ่ืนลงไปผสม เพื่อปรับปรุงสมบติัต่างๆ ของไคโตซาน

ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการนําไปประยุกต์ใช้งานท่ีแตกต่างกัน โดยการพฒันา

ดงักล่าวดาํเนินไปในสองแนวทางคือ (1) การพฒันาวสัดุพอลิเมอร์นาโนคอมพอสิตของ ไคโตซาน/

อนุภาคดินเหนียว (CS/MMT) เพื่อประยุกต์เป็นวสัดุควบคุมการปล่อยยา และ (2) การพฒันาวสัดุ

พอลิเมอร์ผสมของ ไคโตซาน/พอลิเอทิลีนออกไซด์ (CS/PEO) เพื่อประยุกต์เป็นพอลิเมอร์

อิเล็กโทรไลตช์นิดแขง็ นอกจากนั้นยงัศึกษาโครงสร้าง รวมถึงสมบติัต่างๆ ทั้งเชิงสัณฐานวิทยาและ

เชิงความร้อนของวสัดุไคโตซานผสมทั้งสองชนิดท่ีพฒันาข้ึน รวมทั้งวิเคราะห์ความสัมพนัธ์

ระหว่างโครงสร้างและสมบติัต่างๆ ท่ีมีผลต่อประสิทธิภาพการควบคุมการปลดปล่อยยาของวสัดุ

นาโนคอมพอสิต CS/MMT และผลต่อประสิทธิภาพในการนําไฟฟ้าของวสัดุพอลิเมอร์ผสม

CS/PEO ดงักล่าว เพื่อใหไ้ดว้สัดุไคโตซานผสมท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุดและมีความเหมาะสมกบังาน

ท่ีตอ้งการนาํไปประยกุตใ์ช ้

ดว้ยขอ้จาํกดัต่างๆ ในดา้นการทดลอง งานวิจยัน้ีจึงนาํเทคนิคการจาํลองแบบโมเลกุลดว้ย

คอมพิวเตอร์มาใชค้วบคู่ไปดว้ย เพื่อช่วยอธิบายผลท่ีไดจ้ากการทดลองให้ชดัเจนยิ่งข้ึน นอกจากนั้น

ยงัเพิ่มความเขา้ใจและช่วยอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในระดบัอะตอมของวสัดุไคโตซาน

ผสมทั้ งสองชนิดข้างต้น อีกทั้ งเทคนิคน้ียงัสามารถศึกษาพลวตัของโมเลกุลยาในวสัดุนาโน

Page 2: NANOCOMPOSITE AND BLEND: FOR DRUG CONTROLLED …blend, suitable for solid polymer electrolyte application, were initiated and developed in this work. The structure, morphology, thermal
Page 3: NANOCOMPOSITE AND BLEND: FOR DRUG CONTROLLED …blend, suitable for solid polymer electrolyte application, were initiated and developed in this work. The structure, morphology, thermal

III

NATTHIDA RAKKAPAO : STRUCTURE AND PROPERTIES OF

CHITOSAN-BASED NANOCOMPOSITE AND BLEND: FOR DRUG

CONTROLLED RELEASE AND SOLID POLYMER ELECTROLYTE

APPLICATIONS. THESIS ADVISOR : ASST. PROF. VISIT

VAO-SOONGNERN, Ph.D. 234 PP.

CHITOSAN/MONTMORILLONITE/NANOCOMPOSITE/POLY(ETHYLENE

OXIDE)/BLEND/DRUG/ION/SIMULATION

According to the disadvantage properties of pristine chitosan (CS), therefore

frequently not good enough to fulfill all applications and limited its uses. To

overcome this trouble, the main objective of this work focuses on the convenient and

effective method to develop CS by adding of a second component (i.e. MMT clay and

PEO), to create the novel CS-based materials with the target properties requirement.

Accordingly, the Chitosan/Montmorillonite (CS/MMT) nanocomposite, suitable for

drug controlled release application, and Chitosan/Poly(ethylene oxide) (CS/PEO)

blend, suitable for solid polymer electrolyte application, were initiated and developed

in this work. The structure, morphology, thermal property of these CS-based materials

along with drug controlled release efficiency of CS/MMT nanocomposites and ionic

conductive efficiency of CS/PEO blends were studied. The theoretical modeling and

molecular simulation were also employed to fulfill the experimental findings and gain

an inclusive understanding in atomistic level of these materials. Overall of this

research can be summarized and established below.

Page 4: NANOCOMPOSITE AND BLEND: FOR DRUG CONTROLLED …blend, suitable for solid polymer electrolyte application, were initiated and developed in this work. The structure, morphology, thermal