mou gazette

76

Upload: joy-nugranad-marzilli

Post on 23-Mar-2016

237 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

MOU Gazette # 1

TRANSCRIPT

Page 1: MOU Gazette

‐ 1 ‐ 

 

Page 2: MOU Gazette

‐ 2 ‐ 

 

Page 3: MOU Gazette

‐ 3 ‐ 

 

 

 

ตั้งใจจะอุปถัมภก ยอยกพระพุทธศาสนา

จะปองกันขอบขัณฑสีมา รักษาประชาชนแลมนตรี

พระราชปณิธาน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช

Page 4: MOU Gazette

‐ 4 ‐ 

 

 

 

 

 

 

เจ็บนาน นึกหนายนิตย มะนะเรื่อง บํารุงกาย สวนจิตต มิสบาย ศิระกลุม อุราตรึง

แมหาย ก็พลันยาก จะลําบาก ฤทัยพึง ตริแตจะถูกรึง อุระรัดและอัตรา

กลัวเปนทวิราช บ ตริ ปองอยุธยา เสียเมืองจึงนินทา บ ละเวน ฤ วางวาย

คิดใดจะเกี่ยงแก ก็ บ พบ ซ่ึงเง่ือนสาย สบหนามนุษยอาย จึงจะอุด และเลยสูญ ฯ

Page 5: MOU Gazette

‐ 5 ‐ 

 

 

 

ประสา แตอยูใกล ทั้งรูใช วาหนักหนา เลือดเนื้อ ผิเจือยา ใหหายได จะชิงถวาย

ทุกหนา ทุกตาดู บ พบผู จะพึงสบาย ปรับทุกข ทุรนทุราย กันมิเวน ทวิาวนั

ดุจเหลาขา พละนา วะเหววา กะปตนั นายทาย ฉงนงัน ทศิทาง ก็คลางแคลง 

Page 6: MOU Gazette

‐ 6 ‐ 

 

 

 

เราจะครองแผนดนิโดยธรรม เพื่อประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม

พระปฐมบรมราชโองการ ณ พระที่น่ังไพศาลทักษณิ วันศุกร ที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓

Page 7: MOU Gazette

‐ 7 ‐ 

 

สารบัญ

คําแถงของผูจัดทํา ๘

บทนํา ๙

ภาค ๑ ถวายฎีกา

คําทูลเกลาถวายฎีกา ๑๑

จดหมายเปดผนึกถึงนายกรัฐมนตรี ๑๖

บันทึก ปราโมทย นาครทรรพ ๑๙

ภาค ๒ ระดมปญญา

บทความ ปราโมทย นาครทรรพ ๒๐

บทความ ยินดี วัชรพงศ ตอสุวรรณ ๒๓

จดหมาย สุเทพ กิจสวัสดิ์ ๒๘

บทความและคําสัมภาษณ สมปอง สุจริตกุล ๓๒

บทความและคําสัมภาษณ สุรพงษ ชัยนาม ๕๐

ภาคผนวก

เอ็มโอยู ๒๕๔๓ .... ๖๕

ภาพและเอกสารประกอบ ๗๒

Page 8: MOU Gazette

‐ 8 ‐ 

 

คําแถลงของผูจัดทํา

จุลสาร “เอ็มโอยู – ความจริง กอความรู สูความกลา” ถือกําเนิดจากเจตนารมณของคณะผูกอการดีคณะหนึ่งซ่ึงประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจากหลากหลายสาขา ปรารถนาจะเห็นสื่อในรูปจุลสารผลิตตามกาลอันเหมาะสม เปนเวทีระดมปญญา ตีแผ และเผยแพรขอมูลขาวสาร เพื่อการแกปญหาและพัฒนาความรูความเขาใจ ใหสังคมไทยเปนสังคมอุดมธรรมอุดมปญญา ไมถูกอวิชชาครอบงํา

ฉบับปฐมฤกษนี้ จุติดวยความเรงรัดเพื่อใหทันกระแสประชาภิวัฒน ที่กําลังกอตัวรุกไลอํานาจรัฐใหปฏิบัติหนาท่ีรักษาศักดิ์ศรีและอธิปไตย ปกปองผืนดินไทยมิใหตกเปนของอดีตประเทศราชอันเนื่องเพราะความเขลาขลาดของรัฐบาลและรัฐสภา ประกอบกับความความยอหยอนทางปญญาของบรรดาขาราชการผูมีหนาที่ในการรักษาเอกราช ความมั่นคงแหงชาติ และบูรณภาพแหงอาณาเขต

กรณีความขัดแยงเร่ือง “ปราสาทพระวิหาร” และ บูรณาการแหงเขตแดน ไดเผยใหเห็น “ตัวจริง” และ “ตัวแทน” ในวังวนแหงผลประโยชนกองมหาศาล ครอบคลุมธุรกิจทองเท่ียว ขนสง พลังงาน และการคาของหนีภาษี

ประเทศไทยในยามนี้ มีสภาพคลาย “ลูกแกะสยาม” เมื่อคร้ังเผชิญภัยคุกคามจาก “หมาปา” นักลาอาณานิคมเพื่อปลนสดมภและบังคับแรงงานทาส โดยเฉพาะเมื่อพิเคราะหบทบาทของผูนํารัฐบาลในการแกปญหาและระดับสติปญญาของบรรดาผูแทนปวงชนชาวไทยซ่ึงสวนใหญดูจะยินยอมพรอมใจยกดินแดนไทยใหกัมพูชา ดวยขออางอยางทรงเกียรติวา เพ่ือรักษาความสัมพันธ

คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา จุลสาร เอ็มโอยู ฉบับนี้จะเปนเคร่ืองชวยช้ีทางสวางใหสังคมไทย ไดประจักษในความจริงอันนาตกใจวา ราชอาณาจักรไทยกําลังเสียดินแดน

พมร นวรตันากร เกรยีงศักดิ ์เหล็กกลา จารุณี นักระนาด มารซิลลี

ภาพการตูนในนิตยสารฝรั่งเศสตีพิมพเม่ือรอยกวาปท่ีแลว แสดงภาพกองทัพฝรั่งเศสมีชัยชนะเหนือสยามในสงครามสมรภูมิอินโดจีน

Page 9: MOU Gazette

‐ 9 ‐ 

 

บทนํา

“วิกฤตท่ีสุดในโลก”ที่ประเทศและพี่นองชาวไทยกําลังพากันเผชิญอยูนี้ เปนวิกฤตยิ่งใหญไมแพการเสียกรุงท้ัง ๒ คร้ังในสมัยอยุธยา และการเสียดินแดนใน รศ.๑๑๒ ปลายรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระปยะมหาราช

ในครั้งนั้นพระพุทธเจาหลวงทรงโทมมนัสถึงกับงดเสวยโอสถและพระกระยาหาร ตั้งพระทัยจะใหส้ินพระชนมเพ่ือหนีความอาย ดังความในพระราชนิพนธวา

“เกรงเปน ทวิราช บ ตริปอง อยุธยา

เสียเมือง จึงนินทา บ มิเวน ฤวางวาย

คิดใด จะเก่ียงแก ก็ บ พบ ซ่ึงเง่ือนสาย

สบหนา มนุษยอาย จึงจะอุด และเลยสูญ”

ตอเมื่อสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ พระอนุชาคูพระทัย ทรงพระราชนิพนธทูลขอใหทรงอยูเปนกําลังใจนําไทยสยามทั้งชาติมิใหตกเปนเมืองขึ้น จึงเกิดขัติยะมานะ หาไมแลวสยามคงไมดํารงเอกราชมาจนถึงทุกวันนี้ และคงไมมีจันทบุรีกับตราดอยูในแผนที่ประเทศไทย

บัดนี้ครบรอบรอยปพอดี พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเปนหวงวา บานเมืองกําลังยุง ไมรูจะไปทางไหน ไปอยางไร ตางคนก็ตางทํา คนละทิศ คนละทาง เกรงวาบานเมืองจะลมจม

Page 10: MOU Gazette

‐ 10 ‐ 

 

โอกาสที่ประเทศไทยอาจจะเสียดินแดนใหกับกัมพูชา ดังที่โตเถียงกันเร่ือง MOU ก็ดี เร่ืองคนไทยท้ัง ๗ ถูกเขมรจับก็ดี และเร่ืองผูนํารัฐบาลกับผูนําทหารรุกล้ีรุกรนประกาศรับผิดกับรัฐบาลเขมรวาคนไทยรุกล้ําเขาไปในดินแดนเขมรก็ดี เปนการราดน้ํามันลงไปบนกองเพลิงแหงความรักชาติของคนไทย จนเกิดขบวนการรักชาติหวงแผนดินกันขึ้นอยางกวางขวางทั่วประเทศ และมีการถวายฎีกาขอพึ่งพระบรมเดชานุภาพและพระบารมีในหลวงปกปองมิใหไทยเสียดินแดน

ฝายรัฐบาลซ่ึงสาละวนอยูกับการเอาใจฮุนเซนเพื่อจะรักษาสัมพันธภาพกับกัมพูชาใหหวานชื่นคืนดี ถึงกับวางแผนจะขอพึ่งพระเมตตากษัตริยเขมรใหพระราชทานอภัยโทษใหกับคนไทยที่ลวงละเมิดอธิปไธยเหนือดินแดนเขมร

ทั้งๆที่ยังไมมีการพิสูจนใหเปนที่ยุติวาดินแดนนั้นเปนของใคร

รัฐบาลเองออกจะอวดอางวาตนเปนผูผูกขาดสัจธรรม เปนผูรูจริง รูแจงแทงตลอด รูแตผูเดียววาตนถูก ผูอื่นที่เห็นตางกับรัฐบาลลวนแตเปนผูหลงเขาใจผิด เปนผูคลั่งชาติ เปนผูมีความรูและมีขอมูลไมพอท้ังสิ้น

ถารัฐบาลเปนผูรูผูสามารถดังท่ีอางจริง เหตุไฉนรัฐบาลจึงปลอยเร่ืองใหบานปลายเลวรายลงจนถึงปานนี้ ไมตัดไฟแตหัวลม ทําการโฆษณาประชาสัมพันธใหคนไทยทั้งประเทศหันมาเชื่อและสนับสนุนขอสรุปของรัฐบาล ท้ังๆท่ีคนจํานวนมากเคยสนับสนุนรัฐบาลในการตอสูกับอํานาจเกาของรัฐบาลทักษิณหรือกลไกเกาตกทอดมาจากรัฐบาลทักษิณมาแทๆ ทําไมจึงปลอยใหคนเหลานั้นมาสงสัยหรือปกใจวารัฐบาลมีผลประโยชนแอบแฝงในเรื่องกัมพูชาไมตางอะไรกับทักษิณ

น่ีเปนสาเหตุหนึ่ง ที่ทําใหเกิดการตีพิมพจุลสารฉบับนี้ขึ้น เพื่อแสดงใหพี่นองขาวไทยเขาใจวา ในบรรดาผูที่เห็นตางกับรัฐบาลนั้นมิใชผูงี่เงา ไรการศึกษา ไมเขาใจกฎหมาย ไมเขาใจความสัมพันธระหวางประเทศ เขาไมถึงขอมูลของรัฐบาล

ตรงกันขาม บุคคลเหลาน้ีเปนนักกฎหมายชั้นนํา นักวิชาการชั้นนํา นักการทูตการตางประเทศชั้นนํา ท่ีเฝาแนะนําและทวงติงรัฐบาลดวยความหวังดีตลอดมา และไมมีผูใดมีผลประโยชนแฝงเรนกับพรรคการเมืองหรือกลุมผลประโยชนใดๆ และตางก็ออกความคิดเห็นโดยเปนอิสระ มิไดขึ้นตอกันหรือนัดหมายกันแตประการใด

หากรัฐบาลไมใจแคบเปนประชาธิปไตยแฝงเรนคณาธิปไตยมุงแตผลประโยชนทางการเงินและการเลือกตั้งเปนสรณะก็นาจะมองเห็นความจริงนี้ไดโดยงาย และสมควรสนับสนุนคาตีพิมพและแจกจายจุลสารนี้ใหแพรหลายดวยซํ้าไป

ถึงรัฐบาลจะไมกระทําเชนนั้น ก็โปรดอยาไดปดหูปดตาตนเองถึงกับไมยอมอานจุลสารนี้ ซ่ึงจะแจกจายถึงคณะรัฐมนตรีและสมาชิกรัฐสภาทุกคนเร็วที่สุด

อน่ึง เมื่อวันท่ี ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๓ ท่ีผานมา ในวงสนทนาอาหารกลางวัน ณ สถานที่แหงหนึ่งซ่ึงมีอดีตรัฐมนตรีตางประเทศ ๒ ทาน อดีตเอกอัครราชทูตอาวุโสและผูแทนไทยในสหประชาชาติอีก ๑ ทาน และนักวิชาการกฎหมายอาวุโส รวมการสนทนา ทุกทานตางปรารภเปนเสียงเดียวกันวา เสียดายและเปนหวงกระทรวงตางประเทศ ท่ีมีขาราชการเกียจครานไมพากันทําการบานเพื่อฝกฝนพุทธิปญญาและความกลาหาญใหแหลมคมเหมือนกับบรรพบุรุษสมัยกอน ดีแตมัวเอาใจและว่ิงรับใชนักการเมือง

The patriot volunteer, fighting for country and his rights, makes the most reliable soldier on earth.

Thomas J. Jackson

Page 11: MOU Gazette

‐ 11 ‐ 

 

ภาค ๑

กําลังของแผนดนิ

หมวดที่ ๑

ถวายฎีกา

คําทูลเกลาถวายฎีกา

ขอพระราชทานกราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

ทรงทราบฝาละอองธุลีพระบาท

ขาพระพุทธเจา ดังรายนามขางทายนี้ ในนามผูแทนเครือขายประชาชนไทยหัวใจรักชาติ ซ่ึงเปนองคกรภาคประชาชนที่รวมตัวกันจํานวน ๗๒ องคกร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเรียกรองใหรัฐบาลทําหนาท่ีตามรัฐธรรมนูญท่ีสําคัญ ๒ ประการคือ การปกปองรักษาอธิปไตยและดินแดนของราชอาณาจักรไทย และการคุมครองความปลอดภัยในชีวิต ทรัพยสินของประชาชนชาวไทย ซ่ึงถูกกองกําลังทหารกัมพูชาเขายึดครอง รุกราน ยํ่ายี เปนพื้นท่ีจํานวนมาก ตลอดแนวชายแดน ๗ จังหวัดของภาคอีสานและภาคตะวันออก ซ่ึงครอบคลุมไปถึงพื้นท่ีอาวไทยถึง ๑ ใน ๓ และไดเขายึดครองที่ทํากินของราษฎรไทยทั้งท่ีมีเอกสารสิทธิ์และไดเสียภาษีบํารุงทองท่ีแกทางราชการมาเปนเวลาชานาน ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาส กราบบังคมทูลถวายฎีกาเพื่อพึ่งพระบารมีแหงพระมหากษัตริย พระผูทรงเปนประมุขตามโบราณราชประเพณี ตามนิติราชประเพณีในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และตามแนวทางที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยไดบัญญัติรับรองไว เพื่อบรรเทาทุกขของปวงพสกนิกรซ่ึงกําลังทุกขรอนอยูทุกหยอมหญา และไมสามารถพึ่งพาองคกรหรือบุคคลใดในการบรรเทาทุกขไดอีกตอไปแลว

กอนท่ีจะกราบบังคมทูลถวายฎีกานี้ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรี ไดแถลงตอส่ือมวลชนในทํานองทวงติงวา เปนการไมเหมาะสมที่จะทูลเกลาถวายฎีกาตอพระมหากษัตริย เพราะการพนจากตําแหนงของรัฐบาลตองเปนไปตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ ซ่ึงขาพระพุทธเจาไดพิเคราะหในเบื้องตนแลวเห็นวา เมื่อราษฎรไทยหมดที่พึ่งอื่นใด ยอมมีสิทธิและความชอบธรรมที่จะพึ่งพระบารมีแหงพระมหากษัตริยของตนตามโบราณราชประเพณี และตามนิติราชประเพณีได นักการเมืองคนไหนก็ตามไมมีสิทธิ์ที่จะกาวลวงพระราชอํานาจมาวินิจฉัยแทนวาเหมาะสมหรือไม ท้ังเห็นดวยวาปวงชนชาวไทยตองพึ่งพระบารมีพระมหากษัตริยของราชอาณาจักรไทยจึงจะเหมาะสม

ดังนั้น ขาพระพุทธเจาจึงขอกราบทูลถวายฎีกาตอใตฝาละอองธุลีพระบาท ดังตอไปนี้

ขอ ๑. รัฐบาลที่มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนนายกรัฐมนตรี ไมทําหนาท่ีตามท่ีรัฐธรรมนูญบัญญัติ และตระบัดสัตยที่ไดถวายสัตยไวตอหนาพระพักตรใตฝาละอองธุลีพระบาท สมรูรวมคิดและรูเห็นยินยอมใหกองกําลังทหารของกัมพูชารุกรานยึดครองดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยเปนพื้นท่ีจํานวนมาก รวมทั้งไมทําหนาท่ีปกปองดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวิต รางกาย และทรัพยสินของประชาชนชาวไทย ปลอยใหกองกําลังตางชาติรุกราน ยํ่ายี ลักพาตัว และประพฤติตนเปนรัฐบาลหุนของกัมพูชา ทําตัวเปนปากเปนเสียง ตําหนิติเตียน ขมขูขมเหงราษฎรไทย ที่ตองการพิทักษรักษาอธิปไตยของประเทศ ตลอดจนพระบรมเดชานุภาพแหงพระมหากษัตริย ทั้งยังปลอยใหผูนํารัฐบาลกัมพูชาเหยียดหยาม ยํ่ายีเกียรติศักดิ์ของกองทัพไทยและทหารไทย ซ่ึงพระมหากษัตริยทรงดํารงตําแหนงจอมทัพ อันเปนการขัดตอพระบรมราชปณิธานขององคปฐมกษัตริยแหงราชวงศจักรี ขัดตอรัฐธรรมนูญ และทรยศตอประเทศชาติและประชาชนชาวไทย กลาวคือ

Page 12: MOU Gazette

‐ 12 ‐ 

 

๑.๑ นับแตองคพระปฐมบรมกษัตริยแหงพระบรมราชจักรีวงศทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทรเปนราชธานีแลว ทรงประกาศพระบรมราชปณิธาน ๓ ประการคือ

“ต้ังใจจะอุปถัมภก ยอยกพระพุทธศาสนา จะปองกันขอบขัณฑสีมา รักษาประชาชนแลมนตรี”

สมเด็จพระบุรพกษัตริยทั้งหลายเรื่อยมาจนถึงรัชกาลปจจุบันไดทรงสืบทอด สืบสาน และปฏิบัติตามพระบรมราชปณิธานดังกลาว ซ่ึงเปนหนาที่ของรัฐบาลที่ประกาศตนวา เปนรัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จะตองทําหนาที่ ๓ ประการนี้อยางซ่ือตรง ดวยความซ่ือสัตย เสียสละ และกลาหาญ แตปรากฏวารัฐบาลที่มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนนายกรัฐมนตรี ทรยศตอพระบรมราชปณิธานนี้ ละเวนไมทําหนาที่ โดยเฉพาะการปลอยปละละเลย รูเห็น ยินยอมใหกองทหารกัมพูชารุกรานยึดครองดินแดนแหงราชอาณาจักรไทย ยํ่ายีราษฎรชาวไทยอยางตอเนื่อง กระท่ังมาถึงกรณีลาสุดคือการลักพาตัวสมาชิกรัฐสภาแหงราชอาณาจักรไทยและคณะรวม ๗ คน มิหนําซํ้ายังใสรายดวยความเท็จ บนจุดยืนที่ทําตัวเปนรัฐบาลหุนของกัมพูชาวาคนไทยท้ัง ๗ คนบุกรุกดินแดนกัมพูชา ทําใหเกิดความเสียหายตอราชอาณาจักรและปวงชนชาวไทยทั้งมวล

๑.๒ เมื่อคร้ังพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ ทรงครองสิริราชสมบัติ รัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยไดทําสนธิสัญญากับฝร่ังเศส ปกปนเขตแดนไทย-กัมพูชา โดยคณะกรรมาธิการรวมไทย-ฝร่ังเศส โดยพื้นที่ใดมีเสนแบงตามธรรมชาติ คือ สันปนน้ํา หรือรองนํ้า ก็ถือเสนแบงนั้นตามหลักสากล พื้นที่ใดไมมีเสนแบงตามธรรมชาติ เชน เปนท่ีราบ ก็ใชวิธีปกปนปกหลักเขตแดนโดยคณะกรรมาธิการรวม ซ่ึงคณะกรรมาธิการรวมไทย-ฝร่ังเศส ไดทําการปกปนเขตแดนไทย-กัมพูชา เสร็จสิ้นและถือปฏิบัติมาอยางราบรื่นเรียบรอยเปนเวลารอยกวาปแลว แตรัฐบาลที่มีพรรคประชาธิปตยเปนแกนนําและมีนายชวน หลีกภัย เปนนายกรัฐมนตรี ไดกระทําขอตกลงเถื่อนหรือที่เรียกวา MOU ๒๕๔๓ เลิกลมการปกปนเขตแดนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาอยูหัวทรงกระทํากับฝร่ังเศสเสียท้ังสิ้น และใหปกปนเขตแดนไทย-กัมพูชาใหม โดยถือแนวเขตตามแผนที่ของกัมพูชา ซ่ึงฝร่ังเศสทําขึ้นแตฝายเดียวเปนหลัก ซ่ึงตองถือวาเปนการกบฏในราชอาณาจักร เพราะไมไดรับความเห็นชอบจากรัฐสภาประการหนึ่ง เพราะทําใหราชอาณาจักรไทยสูญเสียดินแดน ๓ สวนสําคัญ คือรอบปราสาทพระวิหารสวนหนึ่ง พื้นท่ีตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา ตั้งแตจังหวัดอุบลราชธานีถึงจังหวัดตราด เปนพื้นที่ประมาณ ๑,๘๐๐,๐๐๐ ไรสวนหนึ่ง และพื้นท่ีอาวไทย ๑ ใน ๓ อีกสวนหนึ่ง อีกประการหนึ่งและรัฐบาลปจจุบันนี้แทนที่จะยุติการปฏิบัติใดๆ ตามขอตกลงเถื่อนอันขัดตอรัฐธรรมนูญและเปนกบฏดังกลาว กลับยืนยันปฏิบัติและพยายามทําสิ่งที่ผิดกฎหมายใหกลายเปนสิ่งที่ถูกกฎหมาย ท้ังๆ ที่รูดีอยูแลววาไดทําใหราชอาณาจักรไทยเสียดินแดนจํานวนมหาศาล

๑.๓ นับแตรัฐบาลนี้ไดเขารับตําแหนง ไดละเวนไมทําหนาท่ีในการรักษาอธิปไตยของประเทศ ปลอยปละละเลยในลักษณะรูเห็น ยินยอม คบคิดกับรัฐบาลกัมพูชา ใน ๒ ลักษณะ คือ ลักษณะแรก ใหถอยหรือถอนกําลังทหารของกองทัพไทยท่ีรักษาแนวชายแดนออกมาตั้งดานอยูนอกแนวเขตตาม MOU ๒๕๔๓ ลักษณะท่ีสอง ปลอยใหกัมพูชาสงกําลังทหารและประชาชนกัมพูชาเขามายึดครองดินแดนแหงราชอาณาจักรไทย ล้ําแนวเขตแดนไทย-กัมพูชา ท่ีไดปกปนเรียบรอยตั้งแตสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว และปลอยปละ รูเห็นยินยอมใหกัมพูชานําพื้นท่ีในอาวไทยไปใหบริษัทตางชาติสัมปทานขุดเจาะสํารวจพลังงานเปนเนื้อท่ีประมาณ ๒๗,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร

๑.๔ รัฐบาลนี้ไดสรางความสับสนใหแกประชาชนชาวไทยโดยการเรียกพื้นที่ดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยสวนที่ลึกเขามาจากเขตแดนที่ปกปนไวในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวกับพื้นท่ีอัตราสวน ๑:๒๐๐,๐๐๐ ของฝรั่งเศสวาเปนพื้นท่ีที่ไมชัดเจน และตอมาก็เรียกวาเปนพื้นท่ีทับซอน หรือพื้นท่ีพิพาท ซ่ึงทําใหประชาชนชาวไทยสับสน มึนงง มึนชา วาดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยกลายเปนดินแดนที่พิพาทและทับซอนกับกัมพูชา ซ่ึงเปนกลอุบายหลอกลวงประชาชนไทยในการเตรียมการยกดินแดนใหกับกัมพูชานั่นเอง

นอกจากนั้นยังไดนําเงินงบประมาณของแผนดินไปวาจางนักวิชาการและสื่อมวลชนจํานวนหนึ่งใหออกรณรงคในพื้นท่ีจังหวัดภาคอีสานและภาคตะวันออกเพื่อใหเห็นดีเห็นงามวาพื้นท่ีทับซอนนั้นเปนของกัมพูชา โดยบุคคลสําคัญในรัฐบาลและขาราชการในบังคับบัญชาตางพากันพูดจาไปในทิศทางเดียวกันอยางตอเนื่อง ซ่ึงลวนเปนกระบวนการที่จะยกดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยใหกับกัมพูชา ยิ่งกวานั้นในดินแดนดังกลาวนี้กัมพูชาไดสงทหาร ประชาชนชาวกัมพูชาเขามายึดครองอยางตอเนื่อง ก็ปลอยปละละเลยเพิกเฉย ปลอยให

Page 13: MOU Gazette

‐ 13 ‐ 

 

มีการรุกราน ยึดครองโดยพฤตินัย แมกระท่ังเพิกเฉยใหกัมพูชาใหสัมปทานแกบริษัทตางชาติเขามาบริหารจัดการพื้นท่ีดินแดนของราชอาณาจักรไทย โดยทําเปนแหลงทองเท่ียวหลายพื้นที่

๑.๕ ตลอดระยะเวลา ๒ ปเศษที่รัฐบาลนี้รับตําแหนงหนาท่ี กองทหารกัมพูชาไดรุกรานขมเหงราษฎรไทยไมขาดระยะ แตรัฐบาลนี้ไมทําหนาท่ีปกปองคุมครองราษฎร ทุกคร้ังจะแถลงจุดยืนวาเปนความผิดของราษฎรไทยที่บุกรุกพื้นท่ีทับซอน หรือไมก็บุกรุกดินแดนของกัมพูชา ไมเคยแสดงทาทีในการรักษาอธิปไตยของประเทศชาติ ปลอยใหรัฐบาลกัมพูชาเหยียดหยามย่ํายีประหนึ่งวาเปนประเทศราช เชน

(๑) หัวหนารัฐบาลกัมพูชาเหยียดหยามกองทัพไทยและทหารไทยวาสูเขมรไมได ทหารเขมร ๑ คนสามารถเอาชนะทหารไทย ๖ คนได รัฐบาลนี้ก็กมหัวยอมสยบให ท้ังที่เปนการกระทบตอพระบรมเดชานุภาพแหงพระมหากษัตริย

(๒) ทางการกัมพูชาจับกุมคนไทยและยัดเหยียดขอหา รัฐบาลนี้ ก็แสดงทาทีวาไมกระทบตอความสัมพันธของไทย

(๓) ผูนํารัฐบาลกัมพูชาประจานผูนํารัฐบาลไทยวาเปนเด็กไมส้ินกลิ่นน้ํานม เปนเด็กทารกอมมือ กระทั่งแฉความลับวาล็อบบ้ีใหแทรกแซงศาล หรือขอใหปลอย ส.ส.พรรคประชาธิปตย ก็ยอมสยบ ไมกลาชี้แจงความจริง ดีแตพูดวาไมกระทบความสัมพันธ

(๔) ลาสุดกองทหารกัมพูชาบุกรุกเขามาลักพาตัวสมาชิกรัฐสภาไทยและพวกรวม ๗ คนในดินแดนไทย รัฐบาลไทยก็แสดงความหวาดกลัวและยอมจํานน กระทั่งยอมรับใหศาลกัมพูชาเปนผูตัดสินคดีวาดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยเปนดินแดนของกัมพูชาหรือไม

๑.๖ กรณีลาสุด สมาชิกรัฐสภาไทยและพวกรวม ๗ คนท่ีเดินทางไปตรวจชายแดนโดยการรูเห็นของนายกรัฐมนตรี ไดถูกกองทหารกัมพูชาเขามาลักพาตัวในพื้นที่หางจากถนนศรีเพ็ญ จังหวัดสระแกว ซ่ึงอยูลึกเขามาในประเทศไทยหางจากหลักเขตที่ ๔๖ กวากิโลเมตรเศษ แตรัฐบาลนี้กลับไมกลาแถลงความจริง และขอใหกัมพูชาแถลงกอน เมื่อกัมพูชาแถลงวาคนไทยรุกล้ําดินแดน รัฐบาลนี้ก็แถลงตามวารุกล้ําดินแดน คร้ันถูกภาคประชาชนนําพยานหลักฐานจํานวนมากพิสูจนทางสาธารณะวากรณีเปนการลักพาตัวในดินแดนไทย ก็พลิกทาทีใหมเปนวาคนไทยทั้ง ๗ คนพลัดหลงเลยหลักเขตที่ ๔๖ เขาไปในดินแดนกัมพูชากวากิโลเมตร ซ่ึงเปนการใสรายใหเสียหายแกการตอสูคดี

๑.๗ รัฐบาลนี้แสดงทาทีชักชวนประชาชนไทยใหยอมรับอํานาจศาลกัมพูชาที่จะชี้ขาดวาพื้นท่ีที่มีการลักพาตัวเปนพื้นท่ีไทยหรือกัมพูชา ซ่ึงเปนการยกอธิปไตยของประเทศใหกับรัฐบาลตางชาติ ซ่ึงจะมีผลผูกพันตอราชอาณาจักรไทยไปตลอดกาล

๑.๘ รัฐบาลนี้นอกจากไมปกปองคนไทยท่ีถูกลักพาตัวแลว ยังกีดกันการชวยเหลือในการตอสูคดี โดยพยายามเกลี้ยกลอมใหยอมรับวาบุกรุกดินแดนกัมพูชา เพ่ือจะพึ่งบารมีพระมหากษัตริยกัมพูชาในการอภัยโทษ ประพฤติตนเสมือนหนึ่งเปนขาสองเจา บาวสองนาย อยางนาละอายที่สุด ไมคํานึงถึงน้ําจิตน้ําใจคนไทยทั้งประเทศ คร้ันคนไทยจะถวายฎีกาพึ่งพระบารมีพระมหากษัตริยก็ขัดขวาง กาวลวงพระราชอาชญาวินิจฉัยเสียเองวาไมเหมาะสม แตท่ีคิดจะพึ่งพาพระมหากษัตริยกัมพูชากลับพูดอยางหนาตาเฉย

ขอ ๒. รัฐบาลที่มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนนายกรัฐมนตรี ไมปฏิบัติหนาท่ีตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ ไมปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดถวายสัตยตอหนาพระพักตรพระมหากษัตริย มีพฤติกรรมเปนกบฎในราชอาณาจักร และทําใหประชาชนชาวไทยยอมจํานน หวาดกลัว กัมพูชา กระทั่งเกิดวลีท่ีคนเลี้ยงเด็กขูเด็กวา ถารองฮุนเซนจะมาจับ เด็กก็จะหยุดรอง ซ่ึงเปนความอัปยศแหงชาติ กลาวคือ

๒.๑ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยบัญญัติวา ประเทศไทยเปนราชอาณาจักรเดียว จะแบงแยกมิได นั่นคือจะแบงแยกราชอาณาจักรไทยไมวาในสวนดินแดนหรือประชากรไมไดเปนอันขาด โดยในสวนดินแดนนั้นก็คือ ดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยตามที่ไดปกปนเขตแดนรวมกับฝร่ังเศส ตั้งแตสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โดยมีแผนที่อัตราสวน ๑:๕๐,๐๐๐ ท่ีกรมแผนที่ทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ไดรวมกันจัดทํากับสหรัฐอเมริกาและถือปฏิบัติตลอดมาเปนหลัก รัฐบาลก็ดี

Page 14: MOU Gazette

‐ 14 ‐ 

 

นักการเมืองก็ดี หรือบุคคลใดก็ดี ไมมีสิทธิยกดินแดนสวนใดสวนหนึ่งของราชอาณาจักรไทยใหกับชาติใดหรือผูใด ดังนั้นการตกลงปกปนเขตแดนใหมและการดําเนินการทั้งปวงเพื่อเปลี่ยนแปลงแนวเขตแหงราชอาณาจักรท่ีไดปกปนแลวเสร็จและปฏิบัติมารอยกวาปแลวเพื่อยกดินแดนนั้นใหกับกัมพูชา ท้ังบนบกและในอาวไทย จึงขัดตอรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยมาตรา ๑ และไมมีผลตามกฎหมาย ไมผูกมัดราชอาณาจักรไทยและประชาชนชาวไทย ทั้งตองหยุดกระทําการทันที แตรัฐบาลนี้ยังคงไมหยุด ยังคงเดินหนายกแผนดินแบงแยกราชอาณาจักรใหกัมพูชาตอไปอยางไมลืมหูลืมตา

๒.๒ ประมวลกฎหมายอาญาไดบัญญัติวา ผูใดก็ตามที่ทําใหเสียดินแดนแกชาติอื่น มีความผิดฐานกบฎในราชอาณาจักร การปลอยใหกัมพูชาอางสิทธิ์ดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยตามแผนที่อัตราสวน ๑:๒๐๐,๐๐๐ ก็ดี การปลอยใหกัมพูชาเขามายึดครองดินแดนแหงราชอาณาจักรไทย โดยรูเห็นเปนใจสมยอมก็ดี การแสดงทาทีวาดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยดังกลาวเปนดินแดนของกัมพูชาก็ดี การยอมรับใหกัมพูชามีอํานาจอธิปไตยทั้งในทางบริหารหรือในทางศาลเหนือดินแดนก็ดีคือการกระทําใหเสียดินแดนแหงราชอาณาจักรไทย มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาฐานกบฎในราชอาณาจักร ซ่ึงมีโทษประหารชีวิต แตรัฐบาลนี้ไดลุแกอํานาจ ทั้งกระทําเองและสนับสนุนใหขาราชการรวมมือในการทําการทุกอยางเพื่อใหดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยดังกลาวตกเปนของกัมพูชา

๒.๓ รัฐบาลนี้มีหนาท่ีตามรัฐธรรมนูญในการพิทักษรักษาเอกราชอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดน ตลอดจนมีหนาท่ีในการปกปองคุมครองประชาชนชาวไทยใหมีความปลอดภัยในชีวิต รางกายและทรัพยสิน แตรัฐบาลนี้ไมกระทําหนาที่ ไมรักษาอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนแหงราชอาณาจักร ปลอยปละละเลยและรูเห็นเปนใจ รวมท้ังคบคิดใหกัมพูชาเขามายึดครองดินแดนแหงราชอาณาจักรไทย และสรางพยานหลักฐานเกื้อกูลใหกับกัมพูชาเพื่อใหไดไปซ่ึงดินแดนแหงราชอาณาจักรอยางตอเนื่องและย่ํายีประชาชนชาวไทยดวยกันเอง ประหนึ่งวาเปนรัฐบาลหุนของกัมพูชาไปแลว

ดวยเหตุดังกลาวนี้ การกระทําของรัฐบาลนี้จึงขัดตอรัฐธรรมนูญ เปนการตระบัดสัตยท่ีไดถวายไวตอหนาพระพักตรและทรยศตอประชาชาติไทยทั้งมวล

ขอ ๓. บรรดาขาพระพุทธเจาชาวประชาชาติไทยโดยเฉพาะผูไดรับผลกระทบโดยตรง อาทิผูมีสิทธิในที่ดิน ผูถูกจับเปนผูตองหาตลอดจน ผูท่ีไดรับผลเสียหายจากการกระทําอันไมชอบธรรม ตั้งแตหนักมากไปจนถึงเล็กนอย อันประมาณมิได อีกท้ังชนชาวไทยทุกหมูเหลา แมนจะไมไดผลกระทบโดยตรง แตเขาท้ังหลายลวน “เทิดทูนบูชา สุดเกลา สุดเศียร สุดรัก คือ ในหลวง” “สุดหวง คือ แผนดิน” นั้น ตางอัดอั้นตันใจในความผิดพลาดและอยุติธรรม ซ่ึงเกิดจากการประพฤติ ปฏิบัติของคณะรัฐบาลชุดนี้ จนสุดทนสุดท่ีแลว

การกระทําดังกลาวของรัฐบาลไดสรางความทุกขรอน ความรอนอกรอนใจแกอาณาประชาราษฎรทั่วแผนดิน ทําใหประชาชนตื่นตัวขึ้นปกปกรักษาอธิปไตย บูรณภาพเหนือดินแดนและสิทธิเสรีภาพของปวงชน แตแทนท่ีรัฐบาลนี้จะสํานึกผิด กลับใชกลไกอํานาจรัฐทั้งมวล ไมวาสื่อของรัฐ กําลังเจาหนาท่ีของรัฐ เครือขายตางๆ ของรัฐ รวมท้ังองคกรตางๆ ของรัฐ และการใชงบประมาณของรัฐ เพ่ือทําใหประชาชนชาวไทยเขาใจวาดินแดนไทยเปนดินแดนของกัมพูชา กระท่ังขาราชการบางคนพูดวาประเทศไทยทั้งประเทศก็เคยเปนของเขมรมากอนอยางไมละอายใจแมแตนอย รวมท้ังการใชงบประมาณไปจางวานสื่อและนักวิชาการเพื่อรณรงคใหคนไทยเห็นดีเห็นงามกับการยกดินแดนใหกับกัมพูชา

ขาพระพุทธเจาโดยเฉพาะองคกรในเครือขายประชาชนไทยหัวใจรักชาติ ไดพยายามหยุดยั้งการกระทําท่ีผิดของรัฐบาลมาโดยลําดับ ไมวาการรองเรียนตอคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ตอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ตอผูตรวจการแผนดิน และแมแตท่ีประชุมใหญศาลฎีกา แตไมมีองคกรใดดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย แมท่ีประชุมใหญศาลฎีกาก็ยกคํารอง โดยระบุวายังไมมีกฎหมายบัญญัติ ทั้งๆ ท่ีกฎหมายไดบัญญัติชัดเจนวาหามมิใหศาลยกคดีโดยอางวาไมมีกฎหมาย และในกรณีท่ีไมมีกฎหมายบัญญัติไวโดยเฉพาะ กฎหมายก็บัญญัติวาใหปฏิบัติอยางไรไวชัดเจนแลว เมื่อเปนเชนนี้ขาพระพุทธเจาก็ไมมีที่พึ่งอื่นใดท่ีจะทําใหรัฐบาลนี้ทําหนาที่ในการรักษาอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดน ตลอดจนปกปองคุมครองประชาชนใหมีความปลอดภัยในชีวิต รางกายและทรัพยสิน

Page 15: MOU Gazette

‐ 15 ‐ 

 

อนึ่ง ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ผานมาและในโอกาสขึ้นปใหม ใตฝาละอองธุลีพระบาทไดทรงแนะนําใหผูมีอํานาจหนาที่ตองทําหนาท่ีและตองทําหนาที่ดวยความไมประมาท มิฉะนั้นจะเกิดความเสียหาย ซ่ึงบัดนี้ก็เปนที่ประจักษวาความเดือดรอนของอาณาประชาราษฎรจากการไมทําหนาที่ของรัฐบาลนี้ยังคงดําเนินตอไป กระบวนการในการยกดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยใหกัมพูชาก็ดี ในการปลอยใหทหารกัมพูชารุกราน ยึดครอง ทําราย ลักพาตัวก็ดี ยังคงดําเนินตอไป พฤติกรรมอันเปนกบฎในราชอาณาจักรยังคงดําเนินตอไป รัฐบาลนี้จึงไมมีความชอบธรรมอันใดท่ีจะเปนรัฐบาลในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และท่ีจะทําหนาท่ีตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยไดอีกตอไปแลว

ดวยเหตุดังกราบบังคมทูลมา ขาพระพุทธเจาจึงจําเปนตองขอพึ่งพระบารมีกราบบังคมทูลถวายฎีกาเพื่อทรงพระกรุณาพระราชทานคําแนะนําใหรัฐบาลพนจากตําแหนง เพื่อดําเนินการตอไปตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ

ดวยเกลาดวยกระหมอม ขอเดชะ

 

Page 16: MOU Gazette

‐ 16 ‐ 

 

จดหมายเปดผนึกถึงนายกรัฐมนตรี

เรื่อง ขอสนับสนุนการชุมนุมปกปองแผนดินไทย

จาก ประชาชนไทยในสหรัฐอเมริกา

ตลอดเวลากวาสองปในการบริหารประเทศ ทานนายกรัฐมนตรี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ไดพิสูจนใหเห็นวา ทานเปนผูนําท่ีเชี่ยวชาญในการพูด ในระดับท่ีความกลาหาญและผลงานเทียบไมได ดังเห็นไดจากการวาง “กฏเหลว” เกาขอ การนํานิติรัฐสูสังคมไทยจนเกิดการลอบสังหารผูนํามวลชนและระเบิดรายวัน ซ่ึงยังไมสามารถนําผูบงการมาชําระคดีความได ดวยคําพูดอันวิจิตร “ผมไมมีสิทธิ์ที่จะหนีปญหา หรือปฏิเสธความรับผิดชอบ” ตั้งแตการบุกทําลายการชุมนุมผูนําสูงสุดอาเซียนท่ีพัทยา จนถึงการสงทหารไปตายที่ส่ีแยกคอกวัว กระทั่งการเผาราชประสงค ในเดือนเมษายน ๒๕๕๓ ท่ีผานมา ลวนเปนความลมเหลวในภาวะผูนําของทานทั้งส้ิน เปนความลมเหลวชนิดท่ี ผูนําท่ีมีความกลาหาญ และเปนชายชาตรี ตองละอายจนไมกลาออกมาสําแดงโวหารเอาหนารอด อยางที่ทานกระทําอยูเปนนิจ

นอกจากการทําลายตนเองของทานแลว ขณะนี้ทานกําลังทํารายศักดิ์ศรีของประเทศชาติไทย ท่ีส่ังสมดํารงอยูหลายรอยป เพียงเพื่อรักษาสถานะภาพและประโยชน ของตนและพรรค โดยไมคํานึงถึงความสูญเสียอันใหญหลวงอันจะเกิดตอประเทศ การปลอยใหคณะรัฐมนตรีของทาน ออกมาสรางความชอบธรรมใหนายฮุนเซ็นดวยการผลักไสพี่นองไทยทั้งเจ็ด ใหตกอยูในอํานาจศาลประเทศกัมพูชา ในขณะที่เขตแดนระหวางประเทศยังไมชัดเจน นอกจากเปนการละเลยหลักกฏหมายระหวางประเทศ รัฐบาลของทานกําลัง

Page 17: MOU Gazette

‐ 17 ‐ 

 

สรางความชอบธรรมในการขยายอาณาเขตใหรัฐบาลกัมพูชาในอนาคตอยางชัดเจน ซ่ึงเปนความผิดปกติที่ไมเคยปรากฏมากอนในโลกสากล

ทานเคยไดรับความเชื่อถืออยางสูงจากเรา เพราะภาพลักษณของทาน เปนภาพของนักการ เมืองท่ีมีความคิดกาวไกล กลาปฏิเสธความไมชอบธรรมและยึดประโยชนสุขของประเทศชาติและประชาชนเหนืออื่นใด บัดนี้ เราสงสัยในความเปนผูนําของทาน เราเห็นวาการตัดสินใจของทานไดยายฐานจากประโยชนของประเทศชาติและประชาชนไปแลว ขณะนี้ความหมายของ ประชาธิปไตย คําวานิติรัฐ และสัจจะ ในวาจาของทาน อยูในระนาบเดียวกับนักการเมืองเลวๆ ที่เปนสาเหตุใหการเมืองลมเหลว และพบไดอยางดาษดื่นในสภาของรัฐไทย

ดวยคุณวุฒิของทาน เราเช่ือวาทานรูดีวา วาทะกรรมของผูนํา ท่ีไดรับการจารึกในประวัติศาสตรนั้น ไมไดเกิดจากผูประดิษฐคํา แตเกิดจากผลของมัน เมือ่ประธานาธิบดีลินคอนกลาววา “บานเมืองที่แบงแยกไมสามารถดํารงอยูได” ยังกึกกองอยูจนบัดนี้ เพราะมันนําไปสูการเลิกทาสอยางเบ็ดเสร็จ และเมื่อประธานาธิบดีเคนเนดี้ ประกาศกราววา “จะถือเปนนโยบายของประเทศนี้ วาการโจมตีประเทศใดๆในซีกโลกตะวันตก ดวยอาวุธนิวเคลียรจากคิวบา เปนการโจมตีของสหภาพโซเวียตตอสหรัฐอเมริกา ตองไดรับการตอบโตอยางสาสม” ยังจารึกในความทรงจําของชาวสหรัฐฯ เพราะวาทะนั้นกําจัดอาวุธนิวเคลียรจากคิวบาโดยเด็ดขาด แตทานนายกครับ โวหารที่ทานพลามจนเฝอ ตั้งแตวันแรกที่รับตําแหนงจนบัดนี้ ไมวาจะเปนเร่ืองสรางนิติรัฐ เร่ืองกฏเหล็ก เร่ืองการลอบสังหารผูนํามวลชน เร่ืองการจลาจลคร้ังแรกในป ๒๕๕๒ เร่ืองการตายของทหารที่ส่ีแยกคอกวัว เร่ืองการเผาราชประสงค เร่ืองแกรัฐธรรมนูญและใชเลหเหลี่ยมในการแบงวรรค เร่ืองปราสาทพระวิหาร จนถึงเร่ืองการลักพาคนไทยไปขึ้นศาลกัมพูชา เปนเพียงลมปาก ที่ไมเคยมีผลเปนรูปธรรมแลว ทานนายก อภิสิทธิ์ ครับ เราตองการอยางจริงใจท่ีจะจดจําทาน ไว ในฐานะนายกรัฐมนตรี ผูนําพาประเทศไทยออกจากภาวะการเมืองท่ีลมเหลว มากกวาการเปนผูนําที่ทําใหคุณคาของการเปนนายกรัฐมนตรี ไมแตกตางจากการเปนนักประชาสัมพันธถุงยางอนามัยหนาตาดีคนหนึ่งเทานั้น

เราชาวไทยในสหรัฐอเมริกา สนับสนุนการรวมพลังปกปองแผนดินไทย และขอเรียกรองใหทานนายกรัฐมนตรี แสดงความจริงใจในการรักษาประโยชนของประเทศ ใหชัดเจนและโปรงใสตอประชาชน โดยยุติการพูดคลุมเครือบิดเบือนประเด็นจนเกิดความสับสน มาเปนผูนําการเรียกรองศักดิ์ศรีของชาติกลับคืน ดวยการดําเนินนโยบายตางประเทศควบคูกับนโยบายทางการทหารในเชิงรุกอยางเทาเทียมกันกับประเทศกัมพูชา

ดวยจิตคารวะ

ธัชพงศ จันทรปรรณิก

ประธานชมรม ไทย-ดีซี ฟอร่ัม

แพทยหญิง ดวงมาลย มาลยมาน

ประธานสมาคมแพทยไทยในสหรัฐอเมริกา สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Page 18: MOU Gazette

‐ 18 ‐ 

 

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย กรุงวอชิงตัน

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ชิคาโก อิลลินอยส

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ซานฟรานซิสโก

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เซ็นทหลุยส

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เซาท แคโรไลนา

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ดัลลัส

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย นิวเจอซ่ี

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย นิวยอรค

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย นิวอิงแลนด

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เพนซิลเวเนีย

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ฟลอริดา

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย มิสซูร่ี

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย แมร่ีแลนด

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ลาส เวกัส

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ลอส แอนเจลิส

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เวอรจิเนีย

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย สหรัฐอเมริกา-แคนาดา

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย โอกลาโฮมา

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ฮาวาย

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ฮิวสตัน เท็กซัส

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย โคโลราโด

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย โอเรกอน

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ซีแอตเติล

ลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๔

บรรจบ เจริญชลวานิช

ผูประสานงาน

Page 19: MOU Gazette

‐ 19 ‐ 

 

บันทึก ดร. ปราโมทย นาครทรรพ ตอบ พันธมิตรฯ อเมริกา

ขอบคุณมากครับท่ีกรุณาสงมาใหผมเปนชื่อแรกและผมยินดีเปนผูรับผิดชอบสงตอให ฯพณฯนรม. และสื่อพรอมๆกันนี้

ส่ิงหนึ่งท่ีผมเห็นวาผิดพลาดและนาเสียดายยิ่ง คือท้ังฝายท่ีไมเห็นดวยกับรัฐบาลและรัฐบาล โดยเฉพาะนายกรัฐมนตรี ขาดความสามารถ(หรืออาจจะรวมความจริงใจดวย)ในการที่จะจัดการเจรจากันเปนทางการอยางตรงไปตรงมาเปดเผย โดยอาจจะพูดแบบไมถายทอดกอนก็ได เสร็จแลวตองมี resolution ชี้แจงใหประชาชนเขาใจอยางแจมแจงหมดเคลือบแคลงในทุกๆเร่ืองทุกประเด็น ไมตอง resort to proxy and dirty war

ผมขอตั้งขอสังเกตผานบันทึกนี้วา crisis management คร้ังนี้ของรัฐบาลยังออนดอยทั้งในดานเนื้อหา กระบวนการ ข้ันตอน และภาวะผูนํา นาจะตองเอา game theory ไปแปลแจกกันอานใหท่ัว กับท้ัง 2 ฝาย ยังมีบุคคลภายในที่มีมานะตัวตนอยูมากพอสมควร การแกปญหาของชาติมิใชเวทีท่ีจะแยงกันเปนวีรบุรุษ หรือหวังผลประโยชนใดๆ

อน่ึง ผมเห็นใจที่นรม. ไมสามารถพึ่งกระทรวงตางประเทศ กระทรวงกลาโหม รองนายกฯสุเทพ ได พวกนั้นท้ังหมดเปนตัวถวง ฯพณฯ นรม. อาจจะเคยชินหรือคาดไมถึงจึงยอมเต็มใจใหถูกถวง “ถึงเขาหลอก แตเต็มใจใหหลอก”

อยางไรก็ตาม เมื่อเทียบกับอดีตนายกทักษิณ ซ่ึงผมแนใจวาขาดความชอบธรรมโดยสิ้นเชิงต้ังแตธันวาคม 2548 แลว ผมเห็นวาคนไทยจะตองแสดงวุฒิภาวะรูจัก respect integrity และ dignity ของผูนํารัฐบาล และผูนํารัฐบาลก็จะตองรูจัก preserve dignity and integrity ของตนดวย

พูดมาอยางน้ีแลว ผมอยากไปพูดชอง 11 เหลือเกิน แตรัฐบาลคงไมยอม ชอง 11 นี้ผมเปนเจาของความคิดใหตั้งและไปขอทุนจากญี่ปุนมาต้ังให

For Whom the Bell Tolls, the Sun Also Rises!

Cheers

Pramote

26 January 2011 08:07

Page 20: MOU Gazette

‐ 20 ‐ 

 

หมวด ๒

ระดมปญญา

๒.๑

อยาเสียทีพมา อยาเสียทาเขมร ปราโมทย นาครทรรพ ตพีิมพใน เอเอสทีวี ผูจัดการออนไลน ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒

เมื่อวันเสารท่ี ๒๖ กันยายน ๒๕๕๒ นี้ อดีตเอกอัครราชทูตสุรพงษ ชัยนาม มาเยี่ยมและบอกลาวาจะไปวอชิงตัน ดี.ซี. แถมยังบอกฝากเรื่องหวงหนาหวงหลังไว คือ เร่ืองพมากับเขมร ผมอุตสาหเพลาการเขียนลงแลว ทําไมจึงจะตองเปนผมอีกหนอ ทูตสุรพงษบอกวาไดทํารายงานใหรัฐมนตรีตางประเทศและรัฐบาลไปเรียบรอยแลว เมื่อวันอังคารท่ี ๒๙ กันยายน ๒๕๕๒ ป.ป.ช.ชี้มูลวารัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช ผิดหรือไมท่ีไปรวมทําสัญญากับนายฮุนเซนโดยพลการ

ถานายสมัครไมผิดเหมือนกับกลายางละก็ เร่ืองจะยุงยากขึ้นแนๆ ดีไมดี อาจจะถึงกับเสียดินแดน ทุกวันน้ี รัฐบาลดีแตพลามวา “ไมเสีย-ไมเสีย” แตประชาชนสวนใหญชักจะไมเชื่อรัฐบาลเสียแลว โดยเฉพาะผูที่รักชาติและมีขอมูลที่พากันเดินทางไปพิสูจนอธิปไตยของชาติในวันที่ ๑๙ กันยายน ท่ีผานมา ทําไมจึงไม

Page 21: MOU Gazette

‐ 21 ‐ 

 

อยากเชื่อ ก็เพราะรัฐบาลดีแตพูด แตไมเคยอธิบายเลยวาทําไมจึงบอกวาไมเสีย หรือจะเอาคืนมาไดอยางไร เมื่อใด ทานทูตบอกวา ท่ีสําคัญที่สุดรัฐบาลสมควรจะตอบดวยการกระทําอันเปนสัญลักษณมองเห็นได วาเรามีอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดน ๔.๖ ตารางกิโลเมตรที่เขมรดอดเขามาครอบครอง เชน การชักธงไทยขึ้นเสาในอาณาบริเวณ สงเจาหนาท่ีตางๆ ขึ้นไปปฏิบัติงาน เชน นักอนุรักษ ตรวจคนเขาเมือง หรือทองเท่ียว เปนตน โดยในชั้นนี้อาจจะยังไมตองใชกําลังกวาดตอนเขมรออกไปเลยก็ได และตองปรามเขมรวาถาขืนแตะตองคนของเราจะตองเจอดี พรอมท้ังแสดงศักยภาพทางกําลังวาสามารถจะกระทําตามที่ขูได

ในวันที่ ๑๓ กันยายน เมื่อรัฐมนตรีกษิตข้ึนไปสํารวจพื้นที่นั้น เห็นในทีวีมีภาพธงชาติเขมรโบกสบัดอยู และถาเราปลอยใหเขมรอางไดวากอนจะขึ้นไป รัฐมนตรีกษิตยังตองขออนุญาตฝายเขมรดวย ก็ย่ิงจะแย แตผมไมเช่ือวารัฐมนตรีกษิตจะทําอยางนั้น ผมอยากตั้งขอสังเกตวาไมนานหลังจากที่คณะของวีระ สมความคิดขึ้นไป และเจอภาพคนไทยดวยกันเองขัดขวางและซุมโจมตี บริษัทนํ้ามันอเมริกัน ๒ บริษัทก็ไปประชุมแบงเนื้อท่ีขุดเจาะสัมปทานกันกับรัฐบาลเขมรในกรุงพนมเปญ พรอมกับขาววาอีกไมนานอเมริกันจะสงเคร่ืองบินขับไลมาชวยฮุนเซน ๒๐ ลํา

ท่ีผมพูดมาทั้งหมดนี้มิใชจะยุกองทัพอากาศใหเตรียมพรอม หรือยุใหรัฐบาลไทยทําสงครามกับเขมร ลําพังกําลังทหารเขมรที่เบงอยูแถวเขาพระวิหารนั้น ใชเวลาไมเกินคร่ึงชั่วโมงขี้ครานจะวิ่งแจนมาเจรจา ผมเขียนมาถึงตอนนี้ก็หยุด กลับมาเขียนใหมพุธท่ี ๓๐ เวลา ๙ นาฬิกา คืนท่ีหยุดนั้น ไดยินฮุนเซนประกาศอยางโอหังวา ไดส่ังทหารใหยิงคนไทยทุกคน ไมวาพลเรือนหรือทหารท่ีเขาไปในที่ของเขมร ถาไทยยังขืนยึกยักเร่ืองนี้อยูก็อาจจะไมมาประชุมสุดยอดผูนําอาเซียนกับคูเจรจา หรือถาอภิสิทธิ์ขืนเอาแผนที่ฉบับเดิมมาอางอีก ก็จะฉีกแผนที่ใสหนาอภิสิทธิ์ เชนเดียวกับที่ทหารเขมรฉีกแผนที่ใสหนาผูบัญชาการทหารสูงสุดไทยมาแลว แผนท่ีที่วาน้ีก็คือฉบับเดียวกับท่ีเขมรเคยรับแลวในป ๒๕๐๕ ภายหลังที่ศาลโลกตัดสิน แตทําไมในวันนี้เขมรจึงจองหองพองขนนาเหยียบอยางนี้ คําตอบก็คือ ความออนแอโลเลของรัฐบาลไทยทุกรัฐบาลที่งดเวนไมทําในสิ่งที่ควรกระทํา และ/หรือกลับไปกระทําในสิ่งที่ไมควรกระทํา คือการรวมมือกับผูมีอํานาจทั้งไทยและเขมร เอาที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตรน้ีเปนเคร่ืองมือตอรองกับพื้นท่ีในทะเลอันเปนผลประโยชนสวนบุคคล โดยหวังวาจะโมเมเอาได

สําหรับรัฐบาลปจจุบันก็ไดแตอมพะนํา ไมพูดหรือทําอะไรที่ชัดเจน อางแตวาสัมพันธภาพระหวางประเทศเพื่อนบานเปนเร่ืองละเอียดออน มัวแตเทียวไปเทียวมา ล.ก.ป. ฮุนเซน

Page 22: MOU Gazette

‐ 22 ‐ 

 

เมื่อประชาชนผูรักชาติพากันขึ้นไปยืนยันอธิปไตยเหนือดินแดนของชาติ แทนที่จะยกยองและถือโอกาสประกาศใหฮุนเซนเขาใจวาพลังรักชาติท่ีแทจริงของคนไทยนั้นใครก็หามไมอยู ก็กลับขูวาใครทําผิดเร่ืองปะทะกันก็จะวาตามผิด ทั้งๆ ที่ไมมีการปะทะมีแตการซุมโจมตีจากพวกสมุนผูขายชาติ

หากรัฐบาลนายสมัครไมขายชาติ กระดาษแผนเดียวจากรัฐบาลไทยไปบอกยูเนสโกวาไทยจะขอเปนผูรองรวมเร่ืองเขาพระวิหารก็จบ บัดนี้ ป.ป.ช.ชี้มูลไปแลวเมื่อวานนี้วานายสมัครกับนายนพดลกระทําผิดเอื้อประโยชนใหคุณพอฮุนเซน สวน ครม.โงท้ังคณะนั้นพนผิดเพราะไมมีเจตนาและ ป.ป.ช.ยังไมเขาใจหลักประชาธิปไตยเรื่อง Collective Responsibility หรือความรับผิดชอบรวมของ ครม.ก็ไมเปนไร แตรัฐบาลตองไปบอกยูเนสโกเด๋ียวนี้วาท้ังศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครองและ ป.ป.ช. มีความเห็นเปนอยางเดียวกันวา การกระทําของรัฐบาลสมัครเปนโมฆะ รัฐบาลนี้จําเปนตองเชื่อฟง

เร่ืองเขมรเบงคับทับคนไทยนี้ ผมวาแกไมยาก ถาหากไทยไมควํ่าบาตรโดยมาตรการเศรษฐกิจ เมื่อเขมรไดสําแดงแนชัดวาตองการรักษาสภาพ No War - No Peace คือไมมีสงคราม-ไมมีสันติภาพอยางนี้ก็ดีแลว ปลอยใหเขายิงเราลองดูสักนัดหนึ่งกอน เราจะสามารถใชเคร่ืองบินถลมเลยทันที แลวจึงคอยเจรจากัน

ไทยไมควรกลัวแตควรใชคําตัดสินของศาลโลกป ๒๕๐๕ ใหเปนประโยชน เพราะเราเพียงถูกหลักกฎหมายปดปากมิใหเรียกรอง “ตัวเขาพระวิหาร” เทานั้น อาณาบริเวณตางๆ ยังเปนของไทยอยูถายึดหลักสนธิสัญญากับฝร่ังเศสป ๑๙๐๔ ท่ีเอาสันปนนํ้าเปนเขต หรือถาเขมรจะถือสิทธิเรียกรองกลับไปถึงสมัยโบราณที่ตนและไทยยังไมมีสภาพเปนรัฐชาติ หรือ Nation State เชนในปจจุบัน เราก็จะไดถือหลักใหคืนกลับไปสูสถานภาพเดิม Status Quo Ante ลาสุดกอนท่ีจะมาเปนรัฐชาติของเขมร โดยเอาเสียมเรียบ พระตะบองกับศรีโสภณคืนมาเสีย เอาไหม แตปญหาที่ทูตสุรพงษหวงยิ่งกวา นาจะเปนเร่ืองพมา เผด็จการทหารกําลังเตรียมการเลือกตั้งเพื่อจะสืบอํานาจตอ มีความเปนไปไดสูงท่ีพมาจะสรางสถานการณชายแดนไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชมือปนรับจางและซากเดนอํานาจไทยเขามาลอบสังหารผูนํากะเหร่ียงท้ังหมดในอําเภอแมสอด ถาไทยสมยอม เราจะเสียหายหนัก เปนท่ีสังเกตทั่วโลกวานอกจากจีน อินเดีย และรัสเซียที่ผลัดกันอุมพมาแลว เพื่อนบานอารีคือไทยนี่แหละที่เปนมิตรตัวจริงของเผด็จการพมา เพราะผูนําไทยเห็นแกเงินและผลประโยชน เพื่อนบานอยางพมาและเขมรจึงเปนหอกขางแครอยูอยางทุกวันนี้

ปราโมทย นาครทรรพ

ประวัติการศึกษา

ปริญญาตรี- โท- เอก: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร-มหาวิทยาลัยเพนซีลเวเนีย-คอรเนล

ศึกษาเพิ่มเติม-วิจัย-บรรยาย-สอน: มหาวิทยาลัยอ็อกฟอรด มหาวิทยาลัยจอรจวอชิงตัน มหาวิทยาลัยมิสซูร่ี เบนนิงตันคอลเลจ-คอร เนล มหาวิทยาลัยปารีส มหาวิทยาลัยแหงชาติฟลิปปนส มหาวิทยาลัยแหงรัฐคาลิฟอรเนีย ฯลฯ

ทุนและรางวัลการศึกษา: ทุน USAID, ฟุลไบรท(สละสิทธิ์) ทุนรัฐบาลไทย ทุนมหาวิทยาลัยคอรเนล ทุนร็อกกีเฟลเลอร ทุนทูลนิธิฟอรด ทุน IDRC ฯลฯ

ประวัติการทํางาน: วิทยากร อาวุโสและท่ีปรึกษาอาวุโส สหประชาชาติ ตุลาการรัฐธรรมนูญ กรรมการรางรัฐธรรมนูญ สมาชิกสภานิติบัญญัติ อาจารยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ที่ปรึกษา SEADAC (คณะกรรมการทีปรึกษาการพัฒนาอุษาคเนย/USAID วิทยากรรุนแรกกรมพัฒนาชุมชน ฯลฯ

Page 23: MOU Gazette

‐ 23 ‐ 

 

๒.๒

ความเห็นของอดตีผูพพิากษาศาลฎีกา

กรณี ๗ คนไทยถกูจบัขึ้นศาลกมัพชูากับความผิดตอ ความมัน่คงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร

ยินดี วชัรพงศ ตอสุวรรณ เผยแพรในเอเอสทวีี ผูจัดการ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ๑๘:๐๕ น.

บทความทางวิชาการนี้ ผูเขียนไมไดมีเจตนาที่จะทําลาย หรือบั่นทอน การบริหารงานของรัฐบาลหรือขาราชการซ่ึงมีหนาท่ีเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐแตอยางใด แตมีเจตนาที่จะใหผูมีอํานาจหนาที่ในการบริหารงานของรัฐดังกลาวไดตระหนักถึงผลของการกระทําในขณะนี้ ซ่ึงมีและอาจมีผลเปนการกระทําความผิดอาญาตอแผนดินในขอหาความผิดตอความมั่นคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร การกระทําที่ผูกระทําคิดไมถึง แตไดกระทําการอยางใดอยางหนึ่งลงไปแลว ทําใหราชอาณาจักรของรัฐไทยตองตกอยูภายใตอํานาจอธิปไตยของรัฐตางประเทศ หรือทําใหเอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป หรือมีการคบคิดกับบุคคลใด ( ไมวาภายในหรือภายนอกราชอาณาจักรไทย ) เพื่อกระทําการใดๆอันเปนไปเพื่อประโยชนของรัฐตางประเทศดวยความประสงคที่จะกอใหเกิดการดําเนินการในทางอื่นท่ีเปนปรปกษตอรัฐไทย ผูนั้นก็ไดชื่อวาเปนผูกระทําความผิดตอความมั่นคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร ตามป.อาญามาตรา ๑๑๙ , ๑๒๐ ,๑๒๘ และ ๑๒๙ แลว

ไทยและกัมพูชาที่มีอาณาเขตแดนติดตอเปนประเทศเพื่อนบานกัน รัฐบาลและผูมีหนาท่ีรับผิดชอบท้ังสองประเทศจะตองทราบดีถึงหลักปฏิบัติตอกันตามกฎหมายระหวางประเทศ โดยจะตองใชหลักของความเปนเพื่อนบานที่ดีตอกัน ( good neighbourliness ) และการอยูรวมกันอยางสันติสุข ( Peaceful coexistence ) ซ่ึงเปนหลักกฎหมายระหวางประเทศ ๕ ประการ ( Five Principles of Peaceful Coexistence ) คือ

Page 24: MOU Gazette

‐ 24 ‐ 

 

(๑) สองฝายจะตองเคารพในบูรณภาพและอํานาจอธิปไตยแหงเขตแดนซ่ึงกันและกัน ( mutual respect for territorial integrity and sovereignty )

(๒) การไมรุกรานซึ่งกันและกัน ( non - aggressive ) (๓) ไมกาวกายกิจการภายในซึ่งกันและกัน ( non - interference in internal affairs ) (๔) มีผลประโยชนอยางเทาเทียมกัน ( equality and mutual advantage ) และ (๕) การอยูรวมกันเองอยางสันติสุข ( Peaceful coexistence itself ) [ อันมีที่มาจากคดีพิพาท

Sino - Indian Pancha Shiha Agreement of ๑๙๕๔ ]

ไทย และกัมพูชาไดตระหนักถึงปญหาเขตแดนที่มีตอกันหลังจากสงครามในกัมพูชาไดส้ินสุดลง จึงไดรวมกันทําบันทึกขอตกลงวาดวยการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบกระหวางรัฐบาลไทยและรัฐบาลแหงราชอาณาจักรกัมพูชาขึ้นในป ๒๕๔๓ หรือที่เรียกวา MOU๒๕๔๓ ( โดยไมไดผานความเห็นชอบของรัฐสภา ) โดยบันทึกดังกลาวในขอ ๓ ไดระบุไว ใหมีคณะกรรมการบริหารเทคนิครวมพิสูจน เพ่ือทราบตําแหนงที่แนชัดของหลักเขตแดน ๗๓ หลัก ซ่ึงจัดทําขึ้นโดยคณะกรรมการปกปนเขตแดนระหวางสยามกับอินโดจีน เมื่อป ค.ศ.๑๙๐๙ และ ค.ศ. ๑๙๑๙ และรายงานผลการพิสูจนทราบตอคณะกรรมาธิการเขตแดนรวมกันพิสูจนเพื่อพิจารณา แสดงใหเห็นวา เขตแดนระหวางไทยกับอินโดจีน ( ไมใชกัมพูชา ) มีหลักเขตแดน ๗๓ หลักอยูแลว และไทยกับกัมพูชาจะใชหลักเขตแดนเฉพาะ ๗๓ หลัก เปนแนวทางที่จะนํามาพิสูจนทางเทคนิคเพื่อปกปนเขตแดนทางบกกันตาม MOU๒๕๔๓ ดังกลาว แตเมื่อยังไมปรากฏวามีการพิสูจนทางเทคนิคของที่ตั้งท่ีแทจริงของ ๗๓ หลักเขต การกําหนดการปกปนเขตแดนจึงยังมิไมไดมีการกระทํากัน ดังนั้นเมื่อมีปญหาความขัดแยงเกิดขึ้นรัฐบาลทั้งสองประเทศจะตองปฏิบัติตอกันเยี่ยงมิตรประเทศที่เปนเพื่อนบานที่ดีตอกัน ที่จะตองอยูรวมกันอยางสันติสุขตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ ๕ ขอและตาม MOU๒๕๔๓ ดังกลาว การท่ีเจ็ดคนไทยไดเขาไปในพื้นท่ีที่เปนเขตดินแดนที่ยังมีปญหา เพื่อท่ีจะเขาไปตรวจดูหลักเขตและที่ดินซ่ึงมีราษฎรมารองทุกขวาไมสามารถเขาไปทํากินในที่ดินซ่ึงมีหนังสือสําคัญท่ีไดออกโดยรัฐไทยมาเปนเวลาหลายสิบปได เพราะมีชาวเขมรเขามาอยูในที่ดินดังกลาวตั้งแตท่ีมีเขมรอพยพเขามาอยูในเขตแดนไทยหลายปมาแลวแตไมยอมออกไป อันเปนการเขาไปปฏิบัติภารกิจตามคําสั่งของนายกรัฐมนตรี ( ตามที่มีขาว) โดยไมปรากฏวามีเจาหนาที่ท่ีดูแลเขตแดนหรือกองกําลังรักษาดินแดนฝายใดไดหามปราบมิใหเขาไปในสถานที่ดังกลาวแลว รัฐบาลไทยและรัฐบาลกัมพูชาจะกลาวหาวาคนไทย ๗ คนรุกล้ําดินแดน หรือเขาเมืองกัมพูชาโดยผิดกฎหมายไมไดเลย และกัมพูชาจะจับกุมเจ็ดคนไทยเยี่ยงผูกระทําความผิดไมไดเชนกัน จะตั้งขอหาเพิ่มเติมภายหลังการจับกุมวากระทําการจารกรรมไมไดโดยเด็ดขาด เพราะการกระทําดังกลาวขัดตอหลักกฎหมายระหวางประเทศและขัดตอ MOU๒๕๔๓ ขอ ๖ ซ่ึงไดกําหนดใหระงับขอพิพาทใดๆ ที่เกิดจากการตีความ หรือการบังคับใชบันทึกความเขาใจฉบับนี้โดยสันติวิธีดวยการปรึกษาหารือและการเจรจา

Page 25: MOU Gazette

‐ 25 ‐ 

 

เมื่อ ๗ คนไทย ถูกจับบริเวณหลักเขตแดน ซ่ึงยังไมรูวาเปนดินแดนของเขตประเทศใด เพราะยังไมมีการพิสูจนทางเทคนิคกันในเรื่องหลักเขตกัน กัมพูชาไมมีอํานาจที่จะจับกุมคนไทยทั้ง ๗ คนได (หากไมปรากฏวามีการกระทําความผิดซ่ึงหนาอื่น อันเปนความผิดตามกฎหมายของประเทศกัมพูชาเกิดขึ้นในขณะนั้น ) และจะนําคนไทยทั้ง ๗ คนไปขึ้นศาลประเทศกัมพูชาไมไดเลย เพราะศาลที่จะมีอํานาจในการพิจารณาพิพากษาคดีไดจะตองมีเขตอํานาจศาล ( Territorial Jurisdiction ) เมื่อสถานที่เกิดเหตุเปนเขตแดนที่ยังไมรูวาเปนเขตแดนประเทศใด ศาลกัมพูชายอมไมมีเขตอํานาจศาลที่จะพิจารณาพิพากษาคดีในกรณีรุกล้ําเขตแดนประเทศไดเลย และในกรณีเชนนี้ ไมมีประเทศใดในโลกที่จะยอมรับเขตอํานาจศาลของประเทศที่ประชิดพรมแดนกันใหมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีพลเมืองของประเทศตนในเรื่องการรุกล้ําเขตแดนได และจะผลักใสพลเมืองของประเทศใหไปอยูภายใตอํานาจอธิปไตยทางศาลของประเทศนั้นก็ไมไดเชนกัน การไมยอมรับเขตอํานาจศาลในกรณีดังกลาวไมใชเปนกาวกายกิจการภายในของประเทศ แตเปนการที่ประเทศนั้นตองรักษาไวซ่ึงอํานาจอธิปไตยและบูรณภาพแหงดินแดนของตน รัฐไทยและรัฐกัมพูชาตางมีหนาที่ตองปฏิบัติตามหลักกฎหมายระหวางประเทศดังกลาวดวยกัน

เจ็ดคนไทยถูกจับกุมขณะเดินเขาไปในเขตแดนติดตอระหวางไทย-กัมพูชา บริเวณหลักเขตที่ ๔๔ - ๔๗ ( ตามขาว) เพื่อท่ีจะเขาไปตรวจสอบที่ดินของราษฎรที่มารองทุกข เร่ืองท่ีทํากิน และถูกกองกําลังทหารกัมพูชาจับกุมนําไปกักขังเพื่อขึ้นศาลกัมพูชาที่กรุงพนมเปญ โดยในขณะที่เดินเขาไปและถูกจับกุมโดยกองกําลังทหารกัมพูชา นั้น กลับไมพบกองกําลังรักษาดินแดนของไทยเลย และจากขอรองทุกขของราษฎรที่อางวา ไมสามารถเขาไปทํากินในที่ดินท่ีมีเอกสารสําคัญแสดงสิทธิในที่ดินเปนเวลานานแลว จึงมีขอท่ีนาสังเกตวารัฐไทยไดยินยอมใหชาวกัมพูชาเขามายึดที่ดินของราษฎรไทยที่มีหนังสือสําคัญแสดงสิทธิไปหมดแลว โดยไมดําเนินการใดๆเพราะมีความสัมพันธอันดีระหวางรัฐบาล และ ขาราชการของทั้งสองประเทศหรือไม เพราะแทบจะทันทีที่มีขาววาทหารกัมพูชาจับคนไทยนั้น เจาหนาที่รัฐไทยระดับสูง ทั้งฝายการเมืองและขาราชการตางก็ออกมายืนยันเปนเสียงเดียวกันวา คนไทยถูกจับในเขตแดนของประเทศกัมพูชา โดยที่บุคคลเหลาน้ันไมไดรูเห็นสถานที่คนไทยถูกจับกุมแตอยางใดเลย และจากการออกมายืนยันตอสาธารณชนดังกลาว ซ่ึงก็มีผลโดยมีขาววากัมพูชาจะอางบุคคลดังกลาวเปนพยานในศาลกัมพูชาเพื่อพิจารณาพิพากษาคดีลงโทษคนไทย การออกมาพูดตอสาธารณะของเจาหนาที่ไทยยืนยันวาคนไทยถูกจับในเขตแดนกัมพูชา

Page 26: MOU Gazette

‐ 26 ‐ 

 

โดยที่ยังไมมีการพิสูจนทางเทคนิคของหลักเขต ๗๓ หลัก เปนการที่ผูพูดมีเจตนาประสงคจะใหพื้นที่ท่ีคนท้ัง ๗ ถูกจับนั้นเปนเขตดินแดนของกัมพูชา ซ่ึงจะตองกลาวหาวา ๗ คนไทยไดกระทําความผิด อันเปนการกระทําท่ีมีลักษณะเปนการยัดขอหาใหกับพลเมืองของรัฐไทย และเพื่อแสดงใหเห็นวาบริเวณที่ถูกจับนั้นเปนอาณาเขตประเทศกัมพูชา และเมื่อมีการดําเนินการใหความชวยเหลือในเร่ืองการประกันตัว ก็มีการแสดงออกสูสาธารณะที่จะใหศาลกัมพูชาพิจารณาพิพากษาคดีโดยเร็ว เพื่อท่ีจะไดขออภัยโทษจากกษัตริยกัมพูชา จึงเปนการแสดงโดยชัดแจงในการยินยอมใหศาลกัมพูชามีเขตอํานาจศาลเหนือดินแดนที่ยังไมไดมีการพิสูจนทางเทคนิคเพื่อปกปนเขตดินแดน โดยยัดเยียดขอหาใหคนไทยเพ่ือใหอํานาจอธิปไตยทางศาลของกัมพูชามามีอํานาจเหนือพลเมืองและดินแดนของรัฐไทย โดยที่ ๗ คนไทยมิไดกระทําความผิดใดๆเพราะจุดที่ถูกจับนั้นยังไมรูวาเปนดินแดนของไทยหรือกัมพูชา

ผูนํากัมพูชาประกาศกราวใหดําเนินคดีกับ ๗ คนไทยที่ศาลกัมพูชา ใครจะกาวกายอํานาจศาลกัมพูชาไมได เปนการแสดงออกที่ไมปฏิบัติตามหลักกฎหมายระหวางประเทศและตาม MOU ๒๕๔๓

ผูนํารัฐไทยท้ังฝายการเมืองและขาราชการที่มีอํานาจทั้งฝายความมั่นคงและตางประเทศประกาศยอมรับไมกาวกายอํานาจศาลของกัมพูชา อันเปนการที่ไทยยอมสยบใหอํานาจอธิปไตยทางศาลกัมพูชาใหมีอํานาจเหนือพลเมืองรัฐไทยและเหนือดินแดนที่มีการจับกุม คนไทยโดยที่ยังไมรูวาดินแดนตรงนั้นเปนของไทยหรือกัมพูชา โดยอางวาคนไทยทั้ง ๗ รุกล้ําเขตแดนกัมพูชา

เมื่อเจ็ดคนไทยถูกนําขึ้นศาลกัมพูชาแลว ไดมีการตั้งขอหาเพิ่มเฉพาะนายวีระ สมความคิดและนางสาวราตรี พิพัฒนาไพบูลย ในขอหากระทําการจารกรรม ( พยายามประมวลขาวสาร ซ่ึงอาจจะกอใหเกิดอันตรายตอการปองกันประเทศ) การตั้งขอหาดังกลาวไมไดมีจุดมุงหมายมาที่บุคคลท้ังสอง เพราะบุคคลท้ังสองไมใชเจาหนาท่ีของรัฐ แตเปนประชาชนซึ่งไมมีประโยชนที่คนทั้งสองจะไปทําการจารกรรมขาวสารมาใหตนเอง เพราะไมมีพลังอํานาจใดๆที่จะไปดําเนินการเพื่อใหเกิดอันตรายตอการปองกันประเทศกัมพูชาได แตการตั้งขอหาดังกลาวจึงมีจุดมุงหมายมาที่รัฐไทย เพื่อใหประชาคมโลกเห็นวา รัฐไทยนั้นปฏิบัติตอกัมพูชาอยางเปนศัตรูกัน โดยใชใหคนไทยไปทําการจารกรรมมาใหรัฐไทย การยอมรับใหศาลกัมพูชามีเขตอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีคนไทยในขอหากระทําการจารกรรมได ยอมจะเปนผลรายตอรัฐไทยในประชาคมโลกในอนาคตเปนอยางยิ่ง

การท่ีรัฐไทยไมไดดําเนินตามหลักกฎหมายระหวางประเทศและตาม MOU๒๕๔๓ แตกลับยินยอมใหกองกําลังทหารกัมพูชาจับคนไทย ๗ คน ในเขตแดนที่ยังไมรูวาเปนของฝายใด ไทยไดแสดงออกใหประชาคมโลกเห็นวา คนไทยรุกล้ําเขตแดนกัมพูชา โดยเจาหนาที่รัฐไทยพยายามหาหลักฐานเพื่อมายืนยันวา สถานที่จับเปนเขตแดนกัมพูชา ไทยยอมรับในเขตอํานาจศาลกัมพูชาใหอํานาจอธิปไตยทางศาลกัมพูชามีอํานาจเหนือพลเมืองไทยและเหนือดินแดนที่มีการจับกุมคนไทย ไทยไมไดเรียกรองใหกัมพูชาเคารพใน

Page 27: MOU Gazette

‐ 27 ‐ 

 

บูรณภาพและอํานาจอธิปไตยแหงเขตแดนไทย ไทยไมไดดําเนินการใดๆเกี่ยวกับการรุกรานของชุมชนชาวกัมพูชา จนพลเมืองไทยไรที่ทํากิน ตองเรรอนรองขอความชวยเหลือจากรัฐบาลมาเปนเวลานานนับสิบป ทําใหราษฎรไทย-กัมพูชาไมอาจอยูรวมกันอยางสันติสุขได ราษฎรไทยตองท้ิงถิ่นที่อยูเพราะถูกแยงที่ทํากินไป ไทยไมไดปองกันสิทธิพลเมืองของรัฐไทยในกรณีที่มีขอพิพาทเกิดขึ้นจากการถูกกองกําลังทหารกัมพูชาจับกุม ในขณะเดียวกันรัฐไทยก็เห็นดี เห็นชอบกับการที่กัมพูชาไมตองปฏิบัติตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ ๕ ขอ และMOU๒๕๔๓ ดวยเชนกัน โดยไมเรียกรองใหระงับขอพิพาทโดยสันติวิธีกับคนไทย ๗ คน แตกลับยินยอมใหนําไปดําเนินคดีที่ศาลและยอมรับเขตอํานาจศาลกัมพูชาใหดําเนินคดีกับพลเมืองไทย เปนการยัดเยียดอํานาจอธิปไตยทางศาลของกัมพูชาใหมีเหนือพลเมืองของรัฐไทยและดินแดนไทย โดยที่พลเมืองไทยไมไดกระทําความผิดใดๆเพราะยังไมมีเขตดินแดน ความผิดตามขอกลาวหาจึงไมอาจเกิดขึ้นไดไมวากรณีใด ไทยยินยอมใหกับการกระทําของกัมพูชาที่ไมเคารพในบูรณภาพและอํานาจอธิปไตยในเขตแดนของไทยตามกฎหมายระหวางประเทศและMOU ๒๕๔๓ การกระทําในลักษณะดังกลาวสอพฤติการณใหเห็นไดวา เปนการรวมกันกระทําการเพื่อใหเขตดินแดนของไทยตองตกอยูภายใตอํานาจอธิปไตยของกัมพูชา โดยไมตองมีการพิสูจนทางเทคนิคเพื่อใหรูเขตที่แนนอน และโดยไมตองใชMOU๒๕๔๓ ดวยการหันมาใชคําพิพากษาของศาลกัมพูชาแทน เมื่อศาลกัมพูชาพิพากษา ลงโทษคนไทย คําพิพากษายอมผูกพันรัฐไทยเกี่ยวกับเขตดินแดนไปดวย เพราะไทยไดยอมรับอํานาจอธิปไตยทางศาลของกัมพูชาใหมีอํานาจเหนือดินแดนรัฐไทย และพลเมืองของไทยไปแลว ทั้งMOU๒๕๔๓ กําลังมีปญหาเนื่องจากประชาชนจํานวนหนึ่งไดเรียกรองใหยกเลิกMOU ๒๕๔๓ การกระทําของผูบริหารรัฐไทยและรัฐกัมพูชาจึงอาจเขาขายเปนการรวมกันกระทําความผิดตอความมั่นคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๙ , ๑๒๐ , ๑๒๘ และ ๑๒๙ ผูที่มีสวนรวมในการกระทําความผิดแมอยูนอกราชอาณาจักรก็มีความผิดดวย ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ (๑) การกระทําดังกลาว ยังอาจเปนการรวมกันกระทําความผิดอาญาระหวางประเทศอีกดวย เพราะสิทธิของพลเมืองไดรับความคุมครองตามกฎบัตรสหประชาชาติและสนธิสัญญาระหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ซ่ึงทั้งไทยและกัมพูชาไดเขารวมเปนภาคีในสนธิสัญญาดังกลาวแลว ( ผูเขียนจะไมเขาไปในรายละเอียด)

การกระทําความผิดของผูมีอํานาจบริหารรัฐและผูนํากัมพูชาจะไมเปนความผิดตอความมั่นคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร จะตองมีการปฏิบัติตามหลักกฎหมายระหวางประเทศและ MOU ๒๕๔๓ ( ถาเห็นวา MOU๒๕๔๓ ชอบดวยกฎหมาย ) แตเมื่อรัฐไทยและกัมพูชาไดรวมกันละเมิดตอMOU๒๕๔๓ โดยไมระงับขอพิพาทโดยสันติวิธีดวยการปรึกษาหารือและเจรจากันแลว ไทยจะตองประกาศยกเลิกMOU๒๕๔๓โดยพลัน และใชวิธีทางการฑูตเรียกใหกัมพูชาปฏิบัติหลักกฎหมายระหวางประเทศ ท้ังในเร่ืองการนําปราสาทเขาพระวิหารไปขึ้นทะเบียนมรดกโลก และการจับกุมกักขังคนไทยทั้ง ๗ คนโดยไมมีอํานาจการจับกุมและไมมีเขตอํานาจศาล และขอใหสงคนไทย ๗ คนกลับประเทศไทยโดยเร็วกอนทุกอยางจะสายเกินแก (เพราะกัมพูชาไมไดปฏิบัติตามหลักกฎหมายระหวางประเทศและMOU๒๕๔๓ มาตั้งแตตน )

ความผิดอาญาเปนเร่ืองเฉพาะตัวของผูมีหนาท่ีตองกระทําตามกฎหมาย คดีอาญามีอายุความยาวนาน การสูญเสียอํานาจอธิปไตยและเอกราชของราชอาณาจักรไทย ไมใชเปนนโยบายของรัฐ และรัฐบาลจะมีนโยบายดังกลาวไมไดไมวาในกรณีใด MOU๒๕๔๓ เปนอันตรายตอผูมีอํานาจบริหารงานของรัฐอยางยิ่ง เพราะสามารถนําไปพิสูจนการกระทําความผิดตอความมั่นคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักรได

ยินดี วัชรพงศ ตอสุวรรณ

อดีตผูพิพากษาหัวหนาคณะในศาลฎีกา

อดีตผูพิพากษาอาวุโสศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง

อดีตผูพิพากษาอาวุโสศาลภาษีอากรกลาง

Page 28: MOU Gazette

‐ 28 ‐ 

 

๒.๓

จากอดตีอธิบดผูีพิพากษาถึงนายกรัฐมนตร ี

จดหมายจาก อดีตอธิบดีผูพิพากษาศาลแรงงานกลางและผูพิพากษาศาลฎีกา ถึง นายกรัฐมนตรี กรณีเอ็มโอยู ๒๕๔๓

Page 29: MOU Gazette

‐ 29 ‐ 

 

Page 30: MOU Gazette

‐ 30 ‐ 

 

เร่ือง ปญหาบันทึกความเขาใจ M.O.U. ป พ.ศ.๒๕๔๓

เรียน ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

กอนอื่น ผมขอแนะนําตัวเองวา ผมชื่อ นายสุเทพ กิจสวัสดิ์ สอบเนติบัณฑิตไทยไดตําแหนงท่ี ๒ ขอเขียนไดท่ี ๑ (สมัยท่ี ๑๕) ผมเคยเปน ผูพิพากษาศาลฎีกา ๓ ป และตําแหนงสุดทาย เปนอธิบดีผูพิพากษา ศาลแรงงานกลาง ๒ ป เกษียณอายุป พ.ศ.๒๕๓๖

ผมขอแสดงความเห็นในฐานะเปนราษฎรคนหนึ่ง ที่รักชาติ ไมอยากใหเสียดินแดนแกกัมพูชา โดยนํา M.O.U.ป พ.ศ.๒๕๔๓ มาอาน และพิเคราะหแลวมีความเห็นดังตอไปน้ี

M.O.U.ขอ ๑.(ค.) มีสาระสําคัญวา ไทยกับกัมพูชา จะรวมกันดําเนินการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบก ระหวางไทยกับกัมพูชาใหเปนไปตามเอกสารตอไปนี้

(ค.) แผนท่ีที่จัดทําขึ้น ตามผลงานการปกปนเขตแดนของคณะกรรมการปกปนเขตแดน ระหวางไทยกับอินโดจีน ซ่ึงจัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญา ฉบับป ค.ศ.๑๙๐๔ และสนธิสัญญา ฉบับป ค.ศ.๑๙๐๗ กับเอกสารอื่นท่ีเกี่ยวของ กับการบังคับใชอนุสัญญา ป ค.ศ.๑๙๐๔ และสนธิสัญญาฉบับป ค.ศ.๑๙๐๗ ระหวางไทยกับฝร่ังเศส

ทานนายกฯ กลาววา M.O.U.ป พ.ศ.๒๕๔๓ เปนประโยชน ทําใหยูเนสโกเลื่อนการพิจารณาที่กัมพูชาเสนอแผนบริหารจัดการพื้นที่บริเวณ รอบเขาพระวิหารไป ๑ ป

ผมขอออกความเห็นอยางตรงไปตรงมาวา M.O.U. ป พ.ศ.๒๕๔๓ ขอ ๑.(ค.) ซ่ึงมีแผนที่ที่ฝร่ังเศสขีดเสนแบงเขตแดนไทย-กัมพูชา ซ่ึงอยูหางสันปนน้ํา เขามาในเขตไทย ๔.๖ ตารางกิโลเมตรนั้น เปนแผนที่ท่ีฝร่ังเศสทําขึ้นแตฝายเดียว กรรมการฝายไทยมิไดเซ็นรับรองดวย แผนท่ีดังกลาวจึงมิไดผูกพันไทย เสนแบงเขตท่ีฝร่ังเศสจัดทําขึ้นจึงไรความหมาย

แตตอมาป พ.ศ.๒๕๔๓ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ บริพัตร รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทย ไดลงนามรับรองใน M.O.U.ป พ.ศ.๒๕๔๓ รวมกับรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศกัมพูชา เมื่อมีคําเสนอและคําสนองเกิดขึ้น M.O.U.ป พ.ศ.๒๕๔๓ จึงเปนสัญญาท่ีสมบูรณผูกพันไทยกับกัมพูชา ทําใหเสนแบงเขตที่ฝร่ังเศสขีดขึ้นในแผนที่ตามวรรค

Page 31: MOU Gazette

‐ 31 ‐ 

 

ขางบนจึงสมบูรณ ไมไรความหมายอีกตอไป เสนแบงเขตนี้ หางสันปนน้ํา เปนเนื้อที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตร แผนที่นี้ ใชมาตราสวน ๑:๒๐๐,๐๐๐ ไทยนาจะเสียดินแดนในตอนนี้ เปนเนื้อท่ี ๔.๖ ตารางกิโลเมตร

เหตุผลเสริมมีวา M.O.U.ป พ.ศ.๒๕๔๓ มีขอความใหไทยกับกัมพูชารวมกันสํารวจและจัดทําหลักเขต จึงมีขอคิดวา ขอความสํารวจและจัดทําหลักเขตตองไปทําในเสนที่ฝร่ังเศสขีดเสน ขอความนี้จึงไปเสริมใหกัมพูชามีเหตุผลหนักแนนขึ้น แตมิไดมาเสริมฝายไทย เพราะไทยยึดถือสันปนน้ําเปนเสนแบงเขต เนื่องจากสันปนน้ําเปนแนวเขตถาวรตามธรรมชาติ ซ่ึงไมมีความจําเปนตองสํารวจและจัดทําหลักเขตแตอยางใด แนวเขตสันปนนํ้าเปนเสนแบงเขตจึงมีน้ําหนักนอยลง

กัมพูชาถือวา M.O.U.ป พ.ศ.๒๕๔๓ มีเสนที่ฝร่ังเศสขีดขึ้น เปนแนวแบงเขตไทยกับกัมพูชา กัมพูชาจึงถือวา พื้นท่ี ๔.๖ ตารางกิโลเมตร เปนดินแดนของกัมพูชาและถือวากัมพูชามีอธิปไตยเหนือ ๔.๖ ตารางกิโลเมตร กัมพูชาจึงเขาไปยึดครอง โดยสงคนเขมรไปตั้งภูมิลําเนา สรางวัด สรางตลาดและสรางถนน โดยมีทหารเขมรติดอาวุธเขาไปคุมครองพ้ืนที่ และรักษาพื้นท่ี ๔.๖ ตารางกิโลเมตร คนทุกชาติเขาไปในพื้นที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตรได แตคนไทยเขาไปไมได ผมจึงขอฟนธงวา ไทยนาจะเสียดินแดน ๔.๖ ตารางกิโลเมตรแลว และตอไปอาจเสียดินแดนบางสวนของ ๑๑ จังหวัด เปนเนื้อที่ ๑.๕ ลานไร เมื่อรวม ๔.๖ ตารางกิโลเมตรแลว ไทยนาจะเสียดินแดนประมาณ ๑.๘ ลานไร

จึงกราบเรียนทานนายกฯ ไดโปรดพิจารณาและหาทางแกไขตอไป

ขอแสดงความนับถืออยางสูง

สุเทพ กิจสวัสดิ์

 

Page 32: MOU Gazette

‐ 32 ‐ 

 

๒.๔

ปราสาทพระวหิาร: หลักฐานทางกฎหมาย

“ดร.สมปอง” ยัน ๗ คนไทยไมไดบกุรุก ช้ีหลักเขตไทย -เขมร ปกปนชดัเจนกวารอยป

สัมภาษณ ศ.ดร.สมปอง สุจริตกุล คณบดีคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต เรียบเรียงโดย ASTVผูจัดการออนไลน ๑๔ มกราคม ๒๕๕๔ ๑๗:๑๘ น.

คณบดีนิติศาสตร ม.รังสิต ช้ี ๗ คนไทยถูกจับขณะเดินยังไมถึงหลักเขตที่ ๔๖ อยู ในดินแดนไทยชัดเจน เพราะเขตแดนปกปนรอยกวาปแลว JBC ทําไดเพียงแคดูหลักเขตวาสมบูรณหรือไม ระบุ กัมพูชายึดเขตแดนตามแผนที่ฝรั่งเศส จี้รัฐบาลตองรูวาราชอาณาเขตของไทยมีอยูแคไหน อยามัวแตคิดวาจะคุยเขมรรูเรื่องเหมือนพมา-มาเลเซีย

เว็บไซตอารเอสยูนิวส มหาวิทยาลัยรังสิต ไดสัมภาษณ ศ.ดร.สมปอง สุจริตกุล คณบดีคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต ซ่ึงแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกรณีที่ ๗ คนไทยถูกจับกุม วา ไมมีประเทศใดที่เปนอารยะในโลกนี้ท่ีจะทําอยางกัมพูชาที่มาลักพาตัวคนในเขตไทยขามฝงไปยังเขตของตนเอง เพราะกัมพูชาเขาใจผิดวา พื้นที่บริเวณดังกลาวเปนของเขา เพราะยึดตามแผนที่ท่ีเขียนขึ้นตั้งแตป ค.ศ.๑๙๐๗ ท้ังท่ีแผนที่นั้นเปนแผนที่ที่ผิด เพราะเจาหนาท่ีกรมแผนที่ และทหารของฝรั่งเศสและกัมพูชา รวมมือกันทําโดยท่ีประเทศไทยยังไมไดสํารวจ ทั้งนี้ เปนเพราะตอนนั้นฝร่ังเศสตองการดินแดนเพิ่มเติมจากไทย คือ เสียมราฐ พระตะบอง ศรีโสภณ เมื่อไทยตกลงจะยกใหฝร่ังเศสและกัมพูชากลับทําแผนที่ไปเรียบรอยแลว

Page 33: MOU Gazette

‐ 33 ‐ 

 

ดร.สมปอง กลาวตอไปวา ประเทศไทยไมเคยยอมรับแผนที่ฉบับนี้ เพราะวาผิดจากขอเท็จจริง ในโลกนี้ไมเคยมีประเทศใดเสียดินแดนเพราะแผนที่ มิฉะนั้น ประเทศจีนก็ทําแผนที่ไวนานแลววาไทยเปนสวนหนึ่งของจีน แตจีนก็ไมเคยมาเรียกรองวาไทยเปนของจีน เพราะเขาไมใชประเทศที่ปาเถื่อน การที่จะไดพื้นที่ของประเทศหนึ่งประเทศใดมาครองนั้นไมไดเกี่ยวกับแผนที่ ท่ีผานมากัมพูชาฟองใหศาลโลกตัดสินวาปราสาทพระวิหารตั้งอยูบนพื้นท่ีที่อยูในอํานาจอธิปไตยของกัมพูชา ขอใหประเทศไทยถอนทหารออกจากปราสาท และบริเวณโดยรอบ ขอใหไทยคืนสิ่งของอะไรตางๆ ที่เอาไปจากปราสาทพระวิหาร ซ่ึงทหารไทยก็ปฏิบัติตาม

แตหากไดอานคําพิพากษาศาลโลก จะพบวา ศาลไมไดชี้ขาดวา แผนท่ีนี้ผิดหรือถูก แตในคําพิพากษาแยงของผูพิพากษาชาวออสเตรีย อารเจนตินา และจีน ลงความเห็นเหมือนกันวาแผนที่ดังกลาวผิด ผิดตรงท่ีกัมพูชาและฝรั่งเศส เขาใจวา แมน้ําไหลจากตีนเขาไปสูยอดเขาจริงๆ ซ่ึงโดยธรรมชาติตองไหลจากยอดเขามาสูตีนเขา เสนท่ีเขาลากจึงผิด เพราะฉะนั้นจึงตัดเอาเขาพระวิหารไปเปนของกัมพูชา เคยมีคนคํานวณไววาการลากผิดคร้ังนี้ ทําใหประเทศไทยเสียพื้นท่ี ๑,๘๐๐,๐๐๐ ไร คนไทยไมเขาใจวา คําพิพากษาแยง คือ คําพิพากษา แมคําพิพากษาหลักไมไดชี้ขาดเรื่องนี้ แตคําพิพากษาแยงชี้ขาดแลววาแผนที่นี้ใชไมได

“แมแตปราสาทพระวิหารก็อยูในเขตไทย เราไมเคยยอมรับแผนที่ ท่ีหลายคนพูดวา เราจะไปทวงคืนนั้นมันไมจริง เพราะเรายังไมไดเสียจะไปทวงคืนไดอยางไร ศาลโลกไมมีอํานาจบังคับคดี ไมมีอํานาจพิจารณาพิพากษา เราไมฟงอีกแลว เราไมขึ้นศาลโลกอีกแลว ตัดสินก็ตัดสินไป แตก็ไมเคยมีประเทศใดปฏิบัติตามคําพิพากษาศาลโลก ก็มีแตประเทศไทย เพราะไมอยากใหคนเขาวาเราบิดพลิ้ว ท้ังนี้ การปฏิบัติตามก็ไมไดหมายความวา เราจะสละอํานาจอธิปไตย ดินแดนนั้นยังเปนของเราอยู เราไมไดยกให เพราะฉะนั้นไมตองทวงคืน เพียงแตตองคัดคานกัมพูชาตั้งแตแรกท่ีจะขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก เพราะเราเกรงวา จะมีปญหาเร่ืองอื่นตามมา” ศ.ดร.สมปอง

ศ.ดร.สมปอง กลาวตอไปวา นายพนิช และคณะ ยังเดินไปไมถึงหลักเขตที่ ๔๖ ซ่ึงเปนหลักเขตที่อยูในดินแดนไทยอยางชัดเจน เพราะพื้นที่นี้มีการปกปนเขตแดนนานกวารอยปแลว คณะกรรมการชุดใหมแคเพียงมาดูวาหลักเขตที่ปกปนไปนานมีหลักเขตไหนที่ชํารุดเสียหายหรือมีผูรายโยกยายหรือไม ซ่ึงมีการ

Page 34: MOU Gazette

‐ 34 ‐ 

 

สํารวจกันเร่ือยๆ ท้ังนี้ การปกปนเขตแดนมีอยู ๓ ขั้นตอน คือ ๑.สรางบทนิยามที่อยูในตัวบทของสนธิสัญญาท่ีตกลงกันสองฝาย ๒.นําบทนิยามมาปรับกับพื้นท่ีโดยการสงคณะผูแทนทั้งสองฝายลงสํารวจพื้นท่ีจริงวา ที่ท่ีตกลงกันอยูจุดไหนเพื่อนํากลับมาลากเสน ๓.ลงมือปกหลักเขตในพื้นที่ท่ีเขตแดนธรรมชาติไมชัดเจน เชน ไมมีสันเขา หรือสันปนน้ํา เปนเขตแดน

ซ่ึงพื้นท่ีท่ี นายพนิช และคณะถูกจับกุม เปนพื้นที่ท่ีเขาขายการปกปนในขอ ๓ คือ มีการปกหลักเขต ซ่ึงหลักท่ี ๑ ต้ังอยูท่ีชองสะงํา อ.ภูสิงห จ.ศรีสะเกษ หลักเขตที่ ๗๓ อยูท่ีบานหาดเล็ก อ.คลองใหญ จังหวัดตราด โดยคร้ังแรกหลักเขตทําดวยไมและมีการเปลี่ยนเปนหลักเขตที่ทําดวยหินเมื่อป ๑๙๑๙ แสดงใหเห็นชัดเจนวาพื้นท่ีดังกลาวมีการปกปนเขตแดนไปเรียบรอยแลว การท่ีคณะกรรมาธิการเขตแดนรวมไทย-กัมพูชา (Joint Border Committee: JBC) อางวา เปนคณะกรรมการปกปนเขตแดนนั้นเปนการสําคัญผิด เพราะคณะกรรมการปกปนผสมชุดท่ีสองเขาเดินทางทําไปหมดเมื่อรอยกวาปมาแลว

“การจับกุมคร้ังนี้ถือเปนความโชคดีของคนไทยที่ไดลืมตาเสียที และจะไดจี้ใหรัฐบาลไทยเขาใจวากัมพูชาเปนอยางไร รัฐบาลอยามัวเพอฝน วา กัมพูชาจะเหมือนกับประเทศพมา หรือมาเลเซีย ที่พูดคุยกันรูเร่ือง คนของเราประมาทที่ไมเอาตํารวจตระเวนชายแดนของเราเขาไปดวย เราไมคุมครองคนของเราเอง รัฐบาลมีหนาท่ีตามรัฐธรรมนูญ มีหนาท่ีตามจรรยาบรรณ มีหนาท่ีตามกฎหมายระหวางประเทศ มีหนาท่ีตามกฎหมายไทยที่จะตองใหความคุมครองคนในชาติของตนเอง แตคนในรัฐบาลกลับไปพูดคลายๆ วา คนของเราบุกรุกเขาไป คนที่โดนจับกุมเปนถึงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรซึ่งมีอภิสิทธิ์เหนือคนในชาติ ผมไมเชื่อวาจะมีรัฐบาลไทยสมัยไหนจะทําใหคนไทยเสื่อมเสียไดมากไปกวานี้ ในอดีตเราไมโตแยง เพราะเรากลัวฝร่ังเศสจะเอาดินแดนไปมากกวาเดิม เนื่องจากตอนนั้นทหารฝรั่งเศสตั้งฐานที่มั่นอยูที่จังหวัดตราดและจันทบุรี เขาเพิ่งถอนกําลังไปเม่ือเราทําสัญญายอมยกเสียมราฐ พระตะบอง และศรีโสภณ ใหเขา เมื่อป ค.ศ.๑๙๐๗ แตเวลานี้ประเทศที่ยัดเยียดแผนที่ใหเราเปนกัมพูชาที่เคยเปนอดีตประเทศราชของไทยซึ่งเรายกใหฝร่ังเศสไป ประเทศไทยจึงจําเปนตองมีหนาที่บอกกัมพูชา วาแผนที่มันผิด การท่ีเราอนุญาตใหคนกัมพูชาเขามาอยูในเขตไทยโดยไมไลออกไปถือเปนการอนุญาตโดยอนุโลม ดังนั้นตองรูวาพระราชอาณาเขตของไทยมีอยูแคไหน และจะตองอธิบายใหคนไทยเขาใจอยางชัดเจน” ดร.สมปอง กลาว

Page 35: MOU Gazette

‐ 35 ‐ 

 

ปราสาทพระวิหารกับการสูญเสียดินแดนไทย โดย ศาสตราจารย ดร.สมปอง สุจริตกุล

๑. สถานการณ

- พ.ศ. ๒๕๔๓ (สมัยรัฐบาล นายชวน หลีกภัย) ม.ร.ว.สุขุมพันธุ บริพัตร รมช.กต. ไดลงนามบันทึกความเขาใจระหวางไทย-กัมพูชา วาดวยการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบก (MOU ๒๕๔๓) โดยมีการลงนามอนุมัติการใชแผนที่๑ : ๒๐๐,๐๐๐ ของนายชวน หลีกภัย ในหนังสือลง ๑๒ มิ.ย. ๒๕๔๓ โดยเขาใจวาเปนแผนที่สยามอินโดจีน ท้ังท่ีไทยไมเคยยอมรับแผนที่นี้มากอนเพราะมีความผิดพลาดทางภูมิศาสตร และไมยึดหลักสันปนนํ้า ซ่ึงแผนที่ฉบับนี้จะทําใหไทยสุมเสี่ยงตอการสูญเสียดินแดนประมาณ ๑,๘๐๐,๐๐๐ ไร (จว.อ.บ. จว.ศ.ก., จว.ส.ร., จว.บ.ร., จว.ส.ก., จว.จ.บ., จว.ต.ร.)

- พ.ศ. ๒๕๔๔ (สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร) นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รมว.กต. ไดลงนามบันทึกความเขาใจระหวางไทย - กมัพูชา วาดวยพื้นท่ีที่ไทยและกัมพูชาอางสิทธิในไหลทวีปทับซอนกัน (MOU ๒๕๔๔) โดยที่กอนหนานั้นฝายไทยไมเคยยอมรับการอางสิทธิของกัมพูชา ซ่ึงทําใหไทยสุมเสี่ยงที่จะสูญเสียทรัพยากรทางทะเล (นํ้ามันปโตรเลียม) มูลคามหาศาล นอกจากนี้ยังมีแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา ๒๕๔๔ ลงนามโดย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร (JC ๒๕๔๔) รับรอง MOU ๒๕๔๔ ดวย

- พ.ศ. ๒๕๔๖ (สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร) จาก (MOU ๒๕๔๓) ทําใหคณะกรรมาธิการเขตแดนรวมไทย-กัมพูชา (JBC) ไดมีการจัดทําแผนแมบท (TOR ๒๕๔๖) เรงการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบก รวมทั้งทําแผนที่ระหวางไทย-กัมพูชา

- พ.ศ. ๒๕๕๑ (สมัยรัฐบาล นายสมัคร สุนทรเวช) นายนพดล ปทมะ รมว.กต.ไดมีแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา วา ไทยสนับสนุนใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกแตเพียงฝาย เดียว ซ่ึงทําใหไทยตองสูญเสียดินแดนรอบปราสาทพระวิหารกวา ๒,๘๗๕ ไร (และเปนการยอมรับแผนที่ ๑:๒๐๐,๐๐๐) ตอมาศาลปกครองกลางไดมีคําสั่งใหเพิกถอนแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา เพราะขัดรัฐธรรมนูญป ๒๕๕๐มาตรา ๑๙๐

Page 36: MOU Gazette

‐ 36 ‐ 

 

- พ.ศ. ๒๕๕๑ (สมัยรัฐบาล นายสมชาย วงศสวัสดิ์) ไดมีการเสนอใหมี กรอบการเจรจาสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบกไทย-กัมพูชาตลอดแนว โดยเสนอเอกสาร MOU ๒๕๔๓ และ TOR ๒๕๔๖ เปนเอกสารประกอบการประชุมรวมรัฐสภาในการประชุมสมัยสามัญนิติบัญญัติ คร้ังท่ี ๕ (ท้ังท่ี MOU ๒๕๔๓ ส้ินผลไปแลว และ TOR ๒๕๔๖ มิไดผานการรับรองจากรัฐสภา ตามมาตรา ๒๒๔ มากอน) ผลปรากฏวา สมาชิกรัฐสภามีมติเห็นชอบกรอบการเจรจาดังกลาว ดวยคะแนนเสียง ๔๐๙ : ๗ แมจะผานมติเสียงขางมาก แตขัดรัฐธรรนูญ มาตรา ๑

- พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๓ (สมัยรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) ไดพยายามเสนอบันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการเขตแดนรวมไทย-กัมพูชา (JBC) และรายงานการประชุมคณะกรรมการชายแดนทั่วไปไทย-กัมพูชา (GBC) เขาสูการพิจารณาของรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบตามรัฐธรรมนูญ ป ๒๕๕๐ มาตรา ๑๙๐ (เทากับเปนการยืนยันแผนที่ ๑:๒๐๐,๐๐๐ และยอมรับผลการดําเนินการตาม MOU ๒๕๔๓ และ TOR ๒๕๔๖ ซ่ึงยึดแผนที่ ๑:๒๐๐,๐๐๐ เปนหลัก แมวา MOU ๒๕๔๓ ไดส้ินผลไปแลวตั้งแตสมัยรัฐบาล นายชวน หลีกภัย และท้ัง TOR ๒๕๔๖ มิไดผานการรับรองของรัฐสภาในฐานะเปนกรอบการเจรจา)

๑.๑ ศาลโลกกับคดีปราสาทพระวิหาร

เมื่อ ๖ ต.ค. ๒๕๐๒ กัมพูชาเปนโจทกย่ืนคํารองฝายเดียวเพื่อฟองไทยเปนจําเลย ขอใหศาลยุติธรรมระหวางประเทศวินิจฉัยวา พื้นที่ท่ีปราสาทพระวิหารตั้งอยูนั้น อยูในอํานาจอธิปไตยของกัมพูชารวม ๕ ประเด็น คือ ๑) สถานภาพของแผนที่ผนวก ๑ แนบทายคําฟอง ๒) ความถูกตองของเขตแดนที่ปรากฏบนแผนที่ผนวก ๑ ๓) ชี้ขาดวาพื้นท่ีที่ปราสาทพระวิหารตั้งอยูนั้นอยูภายใตอธิปไตยของกัมพูชา ๔) ใหไทยถอนกําลังจากตัวปราสาทและบริเวณที่ต้ังปราสาท ๕) ใหไทยคืนวัตถุโบราณที่หายไปจากปราสาทพระวิหาร

เมื่อ ๑๕ มิ.ย. ๒๕๐๕ ศาลยุติธรรมระหวางประเทศไดพิพากษาเฉพาะ ขอ ๓ ขอ ๔ ขอ ๕ โดยไมรวม ขอ ๑ ขอ ๒

เนื่องจากปราสาทพระ วิหารตั้งอยูบนเขาพระวิหารซ่ึงเปนสวนหนึ่งของเทือกเขาดงรัก (หรือเขาบรรทัด) ในเขตไทยซ่ึงตอกับเขตแดนกัมพูชา โดยไทยยึดสันปนน้ําเปนเสนแบงเขตแดนตามสนธิสัญญาทวิภาคีกับฝร่ังเศสลง ๑๓ กุมภาพันธ ร.ศ. ๑๒๒ (ค.ศ. ๑๙๐๔) ตอมา เมื่อ ค.ศ.๑๙๐๕- ๑๙๐๗ คณะกรรมการปกปนเขตแดนผสมสยาม-ฝร่ังเศส ไดไปตรวจสอบ ลงความเห็นวา การกําหนดเขตแดนบริเวณทิวเขาดงรักโดยใชสันปนน้ําเปนหลักตามสนธิสัญญา ค.ศ. ๑๙๐๔ นั้นชัดเจนอยูแลว เสนสันปนน้ําจึงเปนเสนกําหนดเขตไทย-

Page 37: MOU Gazette

‐ 37 ‐ 

 

กัมพูชา ซ่ึงเปนที่ยอมรับมาโดยตลอดและไมมีการเปลี่ยนแปลงหรือแกไขตั้งแต ค.ศ. ๑๙๐๔ โดยไมเคยมีผูใดโตแยงหรือใหความเห็นเปนอยางอื่น และไมมีการเปลี่ยนแปลงเปนอื่นไปไดนอกจากไดรับความยินยอมเห็นชอบจากภาคี คูสัญญา

สําหรับคดีปราสาทพระ วิหารแมเสียงผูพิพากษาขางมากจะตัดสินใหปราสาทพระวิหารอยูภายใตอํานาจ อธิปไตยของกัมพูชา แตศาลไมไดวินิจฉัยเกี่ยวกับสถานภาพของแผนที่ผนวก ๑ มาตราสวน ๑:๒๐๐,๐๐๐ หรือความถูกตองของเสนเขตแดนที่ปรากฏบนแผนที่ดังกลาวตามที่กัมพูชาขอให ศาลพิจารณา นอกจากนี้ยังมีผูพิพากษาอีกหลายทานที่เขียนคําพิพากษาแยงไววา ปราสาทพระวิหารนั้นอยูบนดินแดนภายใตเขตอํานาจอธิปไตยของไทยตามหลักสันปน น้ําท่ีกําหนดไวในสนธิสัญญา ค.ศ. ๑๙๐๔ และยืนยันใน ค.ศ. ๑๙๐๗ ดังนั้นแผนที่ทั้งหมดที่กัมพูชานํามาอางประกอบคําฟองฯ เปนสิ่งท่ีทําขึ้นโดยฝรั่งเศส/หรือกัมพูชา โดยไทยไมมีสวนรวมดวยเลยแมแตฉบับเดียว แผนที่ทุกฉบับที่คัดลอกมาจากแผนที่ผนวก ๑ จึงมีความผิดพลาดโดยอํานวยประโยชนใหผูจัดทํา และนําความเสียหายมาสูประเทศไทย

๑.๒ การขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก

หลังจากการลงนาม MOU ๒๕๔๓ ในป พ.ศ. ๒๕๔๔ (สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร) นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รมว.กต. ไดลงนามบันทึกความเขาใจระหวางไทย-กัมพูชา วาดวยพื้นที่ท่ีไทยและกัมพูชาอางสิทธิในไหลทวีปทับซอนกัน (MOU ๒๕๔๔) และ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ไดลงนามใน JC ๒๕๔๔ ยืนยันการตกลงใน MOU ๒๕๔๓ และสนับสนุน MOU ๒๕๔๔ พรอมท้ังระบุในการประชุมคณะกรรมการฝายเทคนิค ซ่ึงตั้งโดยอํานาจ MOU ๒๕๔๔ วาเมื่อกระทําเร่ืองท่ีคั่งคาง คือ การสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบกแลว จึงจะดําเนินการเจรจาเรื่องผลประโยชนในทะเล

ตอมา นายนพดล ปทมะไดแถลงโครงการสําคัญ คือ การพัฒนาและใชประโยชนในพื้นท่ีพัฒนารวม ( JDA) เพื่อหากาซธรรมชาติและน้ํามันปโตรเลียมในพื้นท่ีไหลทวีปท่ีทั้งสองฝาย อางสิทธิทับซอนกัน

Page 38: MOU Gazette

‐ 38 ‐ 

 

๒๖,๐๐๐ ตร.กม. และเรงเจรจากรณีการข้ึนทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก นอกจากนี้ยังสนับสนุนการพัฒนาเสนทางหมายเลข ๔๘ เกาะกง-สแรอัมเบิล ในกัมพูชา (โดย ครม.สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ไดมีมติอนุมัติใชงบประมาณในรูปแบบความชวยเหลือพัฒนาเสนทางดังกลาว)

นอกจากนี้ ผูอํานวยการ Cambodian National Petroleum Authority ยังเปดเผยขอมูลวา พ.ต.ท.ทักษิณจะนําบริษัท เพิรล ออยล (ท่ีมีกลุมทุนเทมาเส็กของสิงคโปรถือหุน) และ บริษัท ปตท.สผ. อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) (ซ่ึง พ.ต.ท.ทักษิณ ถือหุนใหญ) ไปรวมทุนกับบริษัทกัมพูชาเพื่อขอรับสัมปทานในการขุดเจาะน้ํามันและกาซ ธรรมชาติท่ีบล็อก B สวนเอกชนที่เขาไปลงทุนในกัมพูชา ไดแก บริษัท ชินคอรปอเรชั่น ทําธุรกิจส่ือสารโทรคมนาคมผานบริษัท Shenington Invesments Pte.Ltd.โดยมีบริษัท กัมพูชา ชินวัตร เปนผูรับอนุญาตใหดําเนินธุรกิจดานโทรคมนาคมในกัมพูชา ไดเปนเวลา ๓๕ ป และบริษัท กัมพูชา ชินวัตร ไดรับมอบหมายใหติดตั้งอุปกรณรับสงสัญญาณ/ ใหบริการไอพีสตาร สวนบริษัท อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น ของ นพ.พรหมมินทร เลิศสุริยเดช ดําเนินธุรกิจ ไอบีซีเคเบิลทีวี เปนตน

เมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๙ กัมพูชาไดเสนอใหองคการยูเนสโกแหงสหประชาชาติ พิจารณาปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกทางวัฒนธรรม ในการนี้กัมพูชาพยายามยึดครองพ้ืนที่ ๔.๖ ตร.กม. ของไทยเพื่อใชเปนเขตกันชนรอบตัวปราสาทตามเงื่อนไขในการขึ้นทะเบียนมรดกโลก โดยกัมพูชาไดออกพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตคุมครองปราสาท ซ่ึงแสดงเสนเขตแดนไทย-กัมพูชา และกําหนดอํานาจหนาที่ของรัฐเหนือเขตคุมครองตามแผนที่แนบทาย (แผนที่ ๑:๒๐๐,๐๐๐) 

ตอมาเมื่อ ๑๘ มิ.ย. พ.ศ. ๒๕๕๑ (สมัยรัฐบาล นายสมัคร สุนทรเวช) นายนพดล ปทมะ รมว.กต. ไดมีแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา วาไทยสนับสนุนใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกแตเพียงฝาย เดียว ซ่ึงศาลปกครองมีคําสั่งคุมครองชั่วคราว ไมใหรัฐบาลนําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา และมติ ครม. เมื่อ ๑๗ มิ.ย. ๒๕๕๑ ไปใชประโยชนในการดําเนินการข้ึนทะเบียนมรดกโลก และศาล รธน.วินิจฉัยวา รัฐบาลทําเกินบทบาท/ อํานาจฝายบริหารตอเร่ืองอธิปไตยและดินแดน รวมท้ังเปนการทําโดยพลการ/ ไมผานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ตลอดจนไมนําเร่ืองนี้ผานรัฐสภา จึงเปนการละเมิด รธน.ป ๒๕๕๐ มาตรา ๑๙๐ เนื่องจากแถลงการณรวมไทย-กัมพูชามีสถานะเปน “สนธิสัญญา” จึงกอใหเกิดพันธะผูกพันตอรัฐบาลทั้งสองฝาย และกอใหเกิดผลกระทบตอไทยโดย ขอ ๑ ระบุวา ไทยสนับสนุนการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกตามแผนที่ท่ีจัด เตรียมโดยกัมพูชา ซ่ึงมีเนื้อท่ีรวมท้ัง “ตัวปราสาท” และ “บริเวณพื้นท่ีโดยรอบ” ทางทิศตะวันออกและทิศใต เปนการแสดงวาไทยยอมรับอํานาจอธิปไตยของกัมพูชาเหนือปราสาทพระวิหาร อันเปนพื้นที่ทับซอนระหวางไทย-กัมพูชา

ขอเท็จจริง คดีปราสาทพระวิหารศาลยุติธรรมระหวางประเทศไดตัดสินใหกัมพูชามีอํานาจ อธิปไตยเหนือพื้นที่ท่ีปราสาทพระวิหารตั้งอยูเทานั้น ซ่ึงไทยไดย่ืนประทวงคําพิพากษาและตั้งขอสงวนไว โดยถือวา ปราสาทพระวิหารยังอยูในอํานาจอธิปไตยของไทยและไทยจะกลับไปครอบครองอีกคร้ัง ขอสงวนของไทย

Page 39: MOU Gazette

‐ 39 ‐ 

 

ครอบคลุมถึงสิทธิของไทยในขณะนั้นและ/หรือจะพึงมีในอนาคต แตเนื้อหาขอ ๑ ในแถลงการณรวม เปนการเพิกถอนคําคัดคานและขอสงวนสิทธิของไทย จึงเปนการหยิบยื่น “ปราสาทพระวิหาร” รวมถึง “พื้นท่ีรอบปราสาท” ตามที่ระบุไวในแผนที่แนบทายแถลงการณรวม ใหอยูภายใตอํานาจอธิปไตยของกัมพูชาโดยปราศจากเงื่อนไข

นอกจากนี้เนื้อหาใน ขอ ๔ ยังระบุวา ไทยกับกัมพูชาจะรวมกันทําแผนบริหารจัดการ “พื้นท่ีดานทิศเหนือ” และ “ทิศตะวันตก” ของปราสาทพระวิหาร โดยแผนบริหารจัดการนั้นจะเปนสวนหนึ่งของแผนบริหารจัดการปราสาทและพื้นที่ โดยรอบซึ่งจะนําเสนอคณะกรรมการมรดกโลก ท้ังนี้ ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกคร้ังท่ี ๓๒ ระบุใหมีองคกร/ ประเทศ ๗ องคกร/ ประเทศ เขามาทําแผนบริหารจัดการพื้นที่ดวย โดยไทยจะเปนเพียง ๑ ใน ๗ องคกร/ ประเทศที่จะบริหารจัดการมรดกอันเปนของไทยเทานั้น

คณะกรรมการมรดกโลกได ประชุมไปแลว ๓ คร้ัง โดยการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก คร้ังที่ ๓๑ ท่ีเมืองไครสตเชิรช นิวซีแลนด ไดมีการเสนอขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก ตอมา ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก คร้ังที่ ๓๒ ท่ีควิเบก เมื่อ ๗ ก.ค. ๒๕๕๑ ท่ีประชุมรับพิจารณาปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก แตการข้ึนทะเบียนจะบรรลุผลผสมบูรณตอเมื่อกัมพูชาสงแผนที่/ แผนผังฉบับสมบูรณ ประกอบดวย Buffer Zone, Development Zone และแผนบริหารจัดการพื้นที่เรียบรอยแลว นอกจากนี้การประชุมคณะกรรมการมรดกโลก คร้ังที่ ๓๓ ท่ีสเปน ยังระบุวา บันทึกการประชุมท้ัง ๓ ฉบับ ที่ลงนามแลวนั้น ยังไมมีผลจนกวาท้ังสองฝายจะตองยืนยันผานชองทางการทูตวา ไดมีการดําเนินการตามกระบวนการทางกฎหมายภายในประเทศครบถวนแลว

สวนการประชุมคณะ กรรมการมรดกโลก คร้ังที่ ๓๔ ที่บราซิล เมื่อ ๒๕ ก.ค. ๒๕๕๓ กัมพูชายังไมสามารถปฏิบัติตามกรอบดังกลาวขางตนไดอยางสมบูรณ ท่ีประชุม จึงไดมีมติใหเล่ือนกรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกไปพิจารณา ในป ๒๕๕๔

Page 40: MOU Gazette

‐ 40 ‐ 

 

๑.๓ บันทึกความเขาใจระหวางไทย-กัมพูชา วาดวยการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทาง บก (Memorandum of Understanding : MOU)

เมื่อ ๑๔ มิ.ย. ๒๕๔๓ (สมัยรัฐบาล นายชวน หลีกภัย) ม.ร.ว.สุขุมพันธุ บริพัตร รมช.กต. ไดลงนามใน MOU ๒๕๔๓๒ โดยมีขอความที่สุมเสี่ยงตอการสูญเสียดินแดน คือ ขอ (ค) การสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบกใหเปนตามแผนที่ที่จัดทําขึ้นตามผลงานการ ปกปนเขตแดนของคณะกรรมการปกปนเขตแดนระหวางสยามกับอินโดจีน ซ่ึงจัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญาฉบับป ค.ศ.๑๙๐๔ และสนธิสัญญาฉบับป ค.ศ. ๑๙๐๗ (ซ่ึงหนังสืออนุมัติของ นายชวน หลีกภัย ลง ๑๒ มิ.ย.๒๕๔๓ ระบุไวชัดเจนวา หมายถึงแผนที่มาตราสวน ๑:๒๐๐,๐๐๐ ที่ฝร่ังเศสจัดทําขึ้นท้ังท่ีไมมีการรับรองจาก คณะกรรมการปกปนผสม สยาม-ฝร่ังเศส) เนื่องจากคณะกรรมการดังกลาวไดยุบเลิกไป ในเดือน มี.ค.๑๙๐๗ สวนแผนที่ฉบับนี้ (๑:๒๐๐,๐๐๐) ถูกตีพิมพที่กรุงปารีส ในป ค.ศ. ๑๙๐๘ คณะกรรมการปกปนผสมฯ จึงไมมีสวนรับรู/ จัดทําแผนที่ดังกลาว และไมอาจกลาวไดวาแผนที่ ๑: ๒๐๐,๐๐๐ เปนแผนที่ซ่ึงจัดทําโดย คณะกรรมการปกปนผสม สยาม - ฝร่ังเศส แตกลับถูกรับรองโดย นายชวน หลีกภัย

ท่ีสําคัญ MOU ๒๕๔๓ ยังไมไดผานการเห็นชอบจากรัฐสภา ตาม รัฐธรรมนูญป ๒๕๔๐ มาตรา ๒๒๔ และส้ินผลไปแลว เนื่องจากเปนเพียงขอตกลงระหวางประเทศของฝายบริหารในขณะนั้น ยอมไมผูกพันตอมา

Page 41: MOU Gazette

‐ 41 ‐ 

 

๑.๔ คณะกรรมาธิการเขตแดนรวมไทย-กัมพูชา (Joint Boundary Committee : JBC)

JBC เปนคณะทํางานที่ตั้งขึ้นตามบันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักร ไทย กับรัฐบาลแหงราชอาณาจักรกัมพูชา (MOU ๒๕๔๓) เมื่อ ๑๔ ม.ิย. ๒๕๔๓ ใหทําการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบกตลอดแนว โดยมี รัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศเปนประธาน ผูอํานวยการกองเขตแดน (กต.) เปนกรรมการและเลขานุการ สวนกรรมการอื่นๆ ประกอบดวย เลขาธิการสภาความมั่นคงแหงชาติ ผูแทนผูบัญชาการกองทัพไทย เจากรมแผนที่ทหาร เจากรมอุทกศาสตรทหารเรือ ผูแทนกระทรวงมหาดไทย ผูบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน อธิบดีกรมสนธิสัญญาทางกฎหมาย (กต.) เอกอัครราชทูต ณ กรุงพนมเปญ เปนตน ตอมา เมื่อ ๒๑ ต.ค. ๒๕๕๑ (สมัยรัฐบาล นายสมชาย วงศสวัสด์ิ) ครม. มมีติเห็นชอบแตงตั้ง นายวศิน ธีรเวชญาณ (อดีตเอกอัครราชทูต ณ กรุงโซล/อดีตอธิบดีกรมสนธิสัญญา ทางกฎหมาย (กต.) ป พ.ศ. ๒๕๔๓/ท่ีปรึกษาดานกฎหมายของ กต. ตั้งแตสมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ถึงปจจุบัน) เปนประธาน JBC

สําหรับอํานาจหนาท่ี ของ JBC ในการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบกนั้น กต. อางวาการปกปนเขตแดนยังไมแลวเสร็จ แตขอเท็จจริง การปกปนเขตแดนระหวางไทยกับกัมพูชานั้นทําเสร็จสิ้นสมบูรณแลว ตามสนธิสัญญาสยาม-ฝร่ังเศส ค.ศ. ๑๙๐๔ (ร.ศ. ๑๒๒) และ ค.ศ. ๑๙๐๗ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ไทยไดมีการปกปนเขตแดนกับประเทศเพื่อนบานทั้งส่ีดานรวมกับประเทศมหา อํานาจผูครองอาณานิคมโดยดานไทย-กัมพูชา ทํากับฝร่ังเศส ท้ังสองฝายไดจัดทําหลักฐานแสดงแนวเขตแดนไว เชน สนธิสัญญา, อนุสัญญา, แผนที่ปกปน หลักเขตแดน ท้ังนี้หลักฐานดังกลาวยังคงมีผลบังคับใชมาจนถึงปจจุบันและสืบสิทธิมายัง ประเทศเพื่อนบานภายหลังไดรับเอกราช โดยการทําสนธิสัญญาสยาม-ฝร่ังเศส ค.ศ. ๑๙๐๗ ไดมีการจัดทําหลักเขตแดนไวเปนหลักฐาน จากชองเกล (หรือชองสะงํา) มาทางทิศตะวันตก จํานวน ๗๓ หลัก (หลักท่ี ๑ ท่ีชองสะงํา อ.ภูสิงห จว.ศ.ก. ถึงหลักที่ ๗๓ ที่ บ.หาดเล็ก อ.คลองใหญ จว.ต.ร.) สวนเขตแดนที่เหลือ จาก

Page 42: MOU Gazette

‐ 42 ‐ 

 

ชองเกลไปทางทิศตะวันออกถึงชองบก จว.อ.บ.นั้น ใหยึดถือสันปนน้ํา ตามสนธิสัญญา ค.ศ. ๑๙๐๔ โดยไมมีการจัดทําหลักเขตแดน เมื่อเปนเชนนี้ JBC จึงไดทําเกินขอบเขตอํานาจหนาท่ีที่จะสํารวจในพื้นท่ีจากหลักเขตแดนที่ ๑-๗๓ แตกลับหาวิธีเขาไปในพื้นท่ีจากหลักเขตแดนที่ ๑ ขึ้นไปสํารวจปราสาทพระวิหารดวย

เมื่อ ๒๘ ต.ค. ๒๕๕๑ รัฐสภาไดเห็นชอบกรอบการสํารวจและจัดทํา หลักเขตแดนทางบกตลอดแนว ไทย-กัมพูชา ดวยคะแนนเสียง ๔๐๙:๗ สําหรับการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนมีความคืบหนามากในการประชุม JBC เมื่อ ๖-๗ เม.ย. ๒๕๕๒ ท้ังสองฝายสามารถตกลงกันไดเกือบทุกประเด็นโดยเฉพาะประเด็นการจัดตั้ง “ชุดทหารติดตามสถานการณชั่วคราว” (Temporary Military Monitoring Task Force) เพ่ือดําเนินการเกี่ยวกับการปรับกําลังทหาร และจัดตั้ง “ชุดประสานงานชั่วคราว” (Temporary Coordinating Task Force) เพื่อพิจารณาปญหาที่เกี่ยวของกับพื้นที่พิพาทบริเวณเขาพระวิหาร เมื่อขอตกลงชั่วคราวไทย-กัมพูชาฯ มีผลบังคับใชพื้นที่ปราสาทพระวิหารจะปราศจากกําลังทหารของไทย แตจะมีชุดทหารติดตามสถานการณช่ัวคราว และชุดประสานงานชั่วคราวปฏิบัติหนาที่แทนโดยทํางานรวมกับฝายกัมพูชา ตรงตามเงื่อนไขของการขึ้นทะเบียนมรดกโลก เร่ือง ไมใหมีกําลังทหารในทรัพยสินมรดกโลกอยางเด็ดขาด

บันทึกการประชุม JBC จํานวน ๓ ฉบับ ไดแก

๑) บันทึกการประชุม JBC สมัยวิสามัญที่เมืองเสียมราษฎร วันที่ ๑๐-๑๒ พ.ย. ๒๕๕๑

ขอสังเกต นายวศิน ธีรเวชญาณ ประธาน JBC ไทย ไดเรงรัดประเด็นทางกฎหมายเกี่ยวกับพื้นท่ีรอบปราสาทพระวิหาร และกลาวถึงขอตกลงช่ัวคราวซ่ึงจะทําให JBC มีอํานาจตัดสินใจเร่ือง การเตรียมพื้นท่ีรอบปราสาทใหอยูในสภาพพรอมสําหรับการสํารวจเขตแดน สวน นายวาร คิม ฮง ประธาน JBC กัมพูชา กลาววา

Page 43: MOU Gazette

‐ 43 ‐ 

 

“ไทยไดสงกําลังทหารเขามาในพื้นที่ชายแดนและบางโอกาสกําลังเหลานี้ได รุกลํ้าเขามาในดินแดนกัมพูชา” ขณะท่ี นายวศิน ธีรเวชญาณ ไมทักทวง ปลอยใหนายวาร คิม ฮง บันทึกไวในการประชุม (ท้ังท่ีความจริงการรบกันบริเวณ ภูมะเขือ นั้นอยูในเขตไทย)

๒) บันทึกการประชุม JBC คร้ังท่ี ๔ ท่ีกรุงเทพฯ วันที่ ๓-๔ ก.พ. ๒๕๕๒

ขอสังเกต ประธาน JBC ไทย ยังเรงรัดการจัดทําหลักเขตแดน สวนประธาน JBC กัมพูชา ยังคงตองการบันทึกถอยคําของฝายกัมพูชาไวในบันทึกการประชุมวา ฝายไทยรุกลํ้าอธิปไตยกัมพูชา

Page 44: MOU Gazette

‐ 44 ‐ 

 

๓) บันทึกการประชุม JBC สมัยวิสามัญ ท่ีกรุงพนมเปญ วันท่ี ๖-๗ เม.ย. ๒๕๕๒

ขอสังเกต บันทึกการประชุมฉบับนี้อาจถือเปนบทสรุปของการประชุมท่ีผานมา โดย JBC ท้ังสองฝายพยายามรวบรัดการพิจารณาเร่ืองตางๆ ( กต.ไทยไมยอมแปลเอกสารตรงตามขอความ) และ ประธาน JBC ไทย ไมปฏิเสธขอกลาวหาของกัมพูชา ซ่ึงเทากับยอมรับวาไทยรุกล้ําอธิปไตยของกัมพูชา หากมีการนํากรณีดังกลาวฟองรองตอศาลโลก ไทยไดแสดงใหเห็นถึงความไมหวงกันสิทธิและดินแดนของตน ซ่ึงไทยอาจเขาขาย “กฎหมายปดปาก” อีกคร้ังก็เปนได ปจจุบันกัมพูชาประสบความสําเร็จทางพฤตินัยในการรุกล้ําอธิปไตยของไทย ดวยการตั้งชุมชนรอบปราสาทพระวิหารซ่ึงในทางกฎหมายระหวางประเทศ การบุกรุกยึดครองของกองกําลังตางชาติถือวาเปนขั้นแรกของการเสียดินแดนแลว เมื่อกระบวนการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก เสร็จสมบูรณกัมพูชาก็จะประสบความสําเร็จทางนิตินัย โดยมี “สนธิสัญญา” เปนพันธะผูกพันรัฐบาลทั้งสองฝายและเปนที่ยอมรับของนานาชาติ แมวากองทัพไทยจะมีอํานาจกําลังรบเหนือกัมพูชา แตกองทัพก็อาจถูกปดกั้นการใชกําลังทหารในการรักษาอธิปไตยของชาติดวย “สนธิสัญญา” ท่ีกระทําขึ้นโดยฉอฉลและเปนการกระทําผิดรวมกันของนักการเมืองท่ีเปนฝายบริหารและฝายนิติบัญญัติ

เมื่อ ๒๘ ส.ค. ๒๕๕๒ และ ๒ ก.ย. ๒๕๕๒ (สมัยรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) ไดมีความพยายามเสนอบันทึกการประชุม JBC และรางขอตกลงชั่วคราวไทย-กัมพูชา เขาสูการพิจารณาของรัฐสภา เพ่ือขอความเห็นชอบตามรัฐธรรมนูญ ป ๒๕๕๐ มาตรา ๑๙๐ (ไดมีการเลื่อนวาระดังกลาวออกไป) ตอมาเมื่อ ๒๘ ต.ค. ๒๕๕๓ ไดมีการเสนอบันทึกการประชุม JBC และรางขอตกลงชั่วคราวไทย-กัมพูชา เขาสูการพิจารณาของรัฐสภาเพื่อลงมติเห็นชอบใน ๒ พ.ย. ๕๓ แตภาคประชาชนไดออกมาชุมนุมคัดคานการลงมติดังกลาว ในที่สุดรัฐสภาไดมีมติใหตั้งคณะกรรมาธิการข้ึนมาศึกษาบันทึกการประชุมทั้ง ๓ ฉบับ ภายใน ๓๐ วัน กอนจะนําเขาสูการพิจารณาอีกคร้ัง

ท้ังนี้ ภาคประชาชนภาคีเครือขายผูตดิตามสถานการณปราสาทพระวิหารและเครือขาย ประชาชนไทยหัวใจรักชาติ ไมเห็นดวยกับการบรรจุวาระรายงานบันทึกการประชุม JBC และรายงานการประชุม GBC (General Border Committee) ซ่ึงยึดหลัก MOU ๒๕๔๓ เขาสูการพิจารณาของรัฐสภา และไมเห็นดวยกับ

Page 45: MOU Gazette

‐ 45 ‐ 

 

การตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นมาศึกษาอีก ท้ังๆ ที่มีทางเลือกที่ดีกวา คือ การยอมรับวา MOU ๒๕๔๓ ท่ีไปรับรอง แผนที่ ๑:๒๐๐,๐๐๐ นั้น เปนความผิดพลาด และไมเปนคุณตอประเทศสมควรเรงแกไข โดยเร่ิมตนจากการยอมรับความจริง

เนื่องจาก JBC กําเนิดขึ้นตาม MOU ๒๕๔๓ ซ่ึงยอมรับแผนที่ท่ีกัมพูชาใช (แผนที่มาตราสวน ๑: ๒๐๐,๐๐๐) เปนพื้นฐานในการเจรจาและการดําเนินการทั้งปวง หากรัฐสภามีมติเห็นชอบบันทึกการประชุม JBC ก็เทากับเปนการยอมรับ MOU ๒๕๔๓ (ยอมรับแผนที่มาตราสวน ๑: ๒๐๐,๐๐๐) และขอตกลงชั่วคราวฉบับดังกลาวระบุวา จะมีผลบังคับใชทันทีท่ีผานกระบวนการตามกฎหมายสูงสุดภายในประเทศ

การที่กัมพูชาขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกนาจะเปนเพียงจุดเร่ิมตน แตเปา หมายที่แทจริง คือ การยึดครองพื้นท่ีในไหลทวีปท่ีไทยและกัมพูชาอางสิทธิทับซอนกันซ่ึงอุดม ดวยน้ํามันปโตรเลียมมูลคามหาศาล รวมท้ังการรุกอาณาเขตไทยทางบกตลอดแนวชายแดน ๗ จังหวัด โดยใชการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกเปนเคร่ืองมือในการจัดทํา สนธิสัญญาระหวางประเทศขึ้นใหม เพื่อลบลางขอตกลงเดิมและเปดโอกาสใหกัมพูชาสามารถกําหนดหลักเกณฑการปก ปนเขตแดนใหม (ใชแผนที่ ๑:๒๐๐,๐๐๐)

ปจจุบันผูท่ีไดรับ ความเดือนรอนที่สุด คือ ประชาชนตามแนวตะเข็บชายแดน ท้ังถูกปลน ถูกลักพาตัว ถูกขมขืน ถูกกระทําใหสูญเสียพื้นท่ีทํากิน ทั้งๆ ท่ี คนไทยยากจนและมีปญหาไมมีที่ดินทํากินมากพออยูแลว มีหลักฐานวา ราษฎรไทยตองไปเชาที่ดินกัมพูชาในที่ดินเดิมซ่ึงตนทํามาหากิน (ภาคีเครือขายฯ มีหลักฐานการถูกกระทําเชนนี้) ตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ ถือวา ฝายทหารไทยและฝายกัมพูชาชวยกัน Genocide ราษฎรไทย ท้ังน้ี ราษฎรไทยใชสิทธิเขาไปตั้งบานเรือนเพื่อทวงคืนแผนดิน กองทัพควรเปนท่ีพึ่งของประชาชนในยามนี้ อยางนอย ใหมีการผลักดันกองกําลังตางชาติออกไปจากผืนแผนดินไทยตามแผนที่มาตราสวน เดิมท่ีไทยใชอยูกอนอันถูกตองตามกฎหมาย

๒. ขอเสนอ

๒.๑ คดัคานการรบัรองบันทึกการประชุม JBC ท้ัง ๓ ฉบับ และรางขอตกลง ชั่วคราวไทย-กัมพูชา ลง ๖ เม.ย. ๒๕๕๒

๒.๒ รัฐบาลตองยกเลิก MOU ๒๕๔๓, MOU ๒๕๔๔, JC ๒๕๔๔, TOR ๒๕๔๖ (เรื่องแผนที่ มาตราสวน ๑:๒๐๐,๐๐๐) รวมทั้งยกเลิก แถลงการณรวมไทย-กัมพูชา ๒๕๕๑ และทบทวนการปฏิบัติตามรายงาน GBC

๒.๓ สมควรใหประชาชนไทยรับรูขอมูลขาวสารที่เปนจริง และมีสวนรวมแสดงความคิดเห็นในการแกไขปญหาดังกลาว

๒.๔ รัฐบาลควรทบทวนจุดยืนในเรื่อง ความสัมพนัธระหวางประเทศกับการรักษาอธิปไตยของชาติ

๒.๕ ดแูลและใหความเปนธรรมกับประชาชนที่ตั้งหมูบานทวงคืนแผนดนิตามตะเข็บชาย แดน และประชาชนที่ถูกทหารกัมพูชายึดที่ดินทํากิน รวมทั้งปลูกบานเรือนทับที่ดินของคนไทย

วันท่ี ๒๖/๑๑/๒๕๕๓

http://www.rsunews.net/Think%๒๐Tank/TT๓๓๕/TheLossOfThaiTerritory.htm

Page 46: MOU Gazette

‐ 46 ‐ 

 

การแทรกสอดความสมัพันธทวภิาคี โดย ศาสตราจารย ดร.สมปอง สุจริตกุล ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓

ความสัมพันธทวิภาคี หรือสองฝายระหวางสองรัฐหรือสองประเทศน้ัน ตามหลักกฎหมายจารีตประเพณีระหวางประเทศเปนเร่ืองของประเทศคูกรณี ประเทศที่สามหรือประเทศที่มิใชคูกรณีหรือคูสัญญาจะเขามาแทรกแซงไมได หลักประกันการไมแทรกแซงคือกฎหมายระหวางประเทศที่บัญญัติไวหลายรูปแบบและ หลายลักษณะในกฎบัตรสหประชาชาติ อาทิ หลักการไมใชกําลัง “non-use of force” (ขอ 2 วรรค 4) หลักการไมแทรกแซง “non-intervention” และ หลักการไมแทรกสอด “non-interference” (ขอ 2 วรรค 7)

หลักดังกลาวนี้กําหนด ไวชัดเจนในจารีตประเพณีระหวางประเทศ ในสวนที่เกี่ยวของกับความสัมพันธทวิภาคี ภาษิตลาตินซ่ึงมาจากกฎหมายโรมันใชถอยคําวา “pacta tertii nec nocent nec prosunt” หมายถึงสนธิสัญญาหรือสัญญานั้นๆ ยอมไมเอื้อประโยชนหรือกอพันธกรณีใหประเทศที่สาม รัฐที่สามหรือองคการระหวางประเทศจึงไมมีอํานาจหรือสิทธิใดๆที่จะเขามา แทรกแซงเร่ืองไทยกับกัมพูชาซึ่งเปนความสัมพันธทวิภาคี ไทยไมจาํเปนตองอาศัยบันทึกความเขาใจหรือ MOU เพื่อยืนยันหลักกฎหมายระหวางประเทศแตอยางใด ทั้งนี้ เพราะ MOU ไมผูกพันประเทศท่ีสามหรือรัฐอื่น ความขัดแยงใดๆ ระหวางรัฐอยูในขายบังคบของขอบทที่ 33 แหงกฎบัตรสหประชาชาติ สวนการเจรจานั้น หากจะกระทําในประเทศที่สามก็สามารถทําได แตเปนเพียงการใชสถานที่เทานั้น

อนึ่ง ในกรณีท่ีเกี่ยวของกับกิจการภายในของแตละรัฐไมวาไทยหรือกัมพูชา ประเทศที่สามหรือองคการระหวางประเทศไมมีอํานาจหนาท่ีเขามาแทรกสอด (กฎบัตรสหประชาชาติ ขอ 2 วรรค 7) ดังกรณีตัวอยางมากมายในรายงานสหประชาชาติท้ังในมติที่ประชุมสมัชชา และมติของคณะมนตรีความมั่นคง (Security Council) เวนไวแตกรณีท่ีกระทบถึงการละเมิดสันติภาพ (Breach of the Peace) หรือการคุกคามสันติภาพ (Threat to the Peace) ในระดับนานาชาตินอกเหนือจากกิจการภายในหรือความสงบเรียบรอยของแตละรัฐ

เนื่องจากไทยและ กัมพูชาตางก็เปนสมาชิกสหประชาชาติ กฎบัตรสหประชาชาติยอมผูกมัดทั้งสองประเทศ ขอ 2 วรรค 7 และขอ 33 ของกฎบัตรฯ จึงเปนหลักประกันการไมแทรกสอดของประเทศที่สามหรือองคการระหวางประเทศโดย ไมจําเปนตองใช MOU หรือ JBC ตอกย้ําหลักกฎหมายระหวางประเทศตามกฎบัตรหรือจารีตประเพณีระหวางประเทศแต อยางใด อนึ่ง นอกจากไมชวยในการสกัดกั้นการแทรกสอดของมือท่ีสาม ขอความบางตอนในเอกสารดังกลาวยังสงผลใหประเทศไทยสุมเสี่ยงตอการสูญเสีย อันเปนสิ่งท่ีควรหลีกเลี่ยงเปนอยางยิ่ง

Page 47: MOU Gazette

‐ 47 ‐ 

 

จุดออนของประเทศหรือ รัฐบาลไทยไมแตกตางจากประเทศที่กําลังพัฒนาทั่วไป คือไมศึกษาหรือใหความสนใจกฎหมายระหวางประเทศ หรือกฎบัตรสหประชาชาติ หรือแมแตกฎบัตรอาเซียนหรือปฎิญญาบันดุง หากไทยใหความสําคัญกับพันธกรณีระหวางประเทศเบื้องตน ก็จะสามารถดําเนินการและปฏิบัติตามอยางถูกตองและชอบธรรม โดยเฉพาะปญหาระหวางไทยกับกัมพูชาในปจจุบัน ไทยไมควรหวั่นวิตกวาจะมีประเทศที่สามหรือองคการระหวางประเทศเขามาแทรก สอดในกิจการภายในหรือความสัมพันธทวิภาคี

ฉะนั้น ไทยจึงจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองใหความสนใจศึกษากฎหมายระหวางประเทศอยาง ละเอียดและลึกซ้ึง ตองมีความแมนยําในตัวบทกฎหมาย กฎบัตรสหประชาชาติ และสนธิสัญญา ท้ังนี้ เพื่อความพรอมในการเผชิญปญหาระหวางประเทศดวยความมั่นใจในสถานะภาพของตน เอง

หนาท่ีของปวงชนชาว ไทยคือรักษาไวซ่ึงสิทธิและผลประโยชนของประเทศชาติ โดยไมคํานึงถึงผลประโยชนทับซอน หรือแสวงหาทรัพยากรหรือพลังงานในพระราชอาณาเขตประเทศไทยโดยมิชอบดวยกฎหมาย

http://www.rsunews.net/Think%20Tank/TT321/Interference.htm

Page 48: MOU Gazette

‐ 48 ‐ 

 

ความผิดพลาดของแผนที่ คําสัมภาษณของ ศ. ดร. สมปอง สุจรติกุล เผยแพรทาง RSU NEWS วันที่ ๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓

ขาพเจาขอถือโอกาสย้ําอีกคร้ังถึงความผิดพลาดของแผนที่ท่ีกัมพูชานํามาใชประกอบเอกสาร แผนท่ีฉบับนี้ทําขึ้นโดยกรรมการฝรั่งเศสในคณะกรรมการผสมสยาม-ฝร่ังเศสโดยไทยมิไดมีสวนรวม แผนท่ีดังกลาวมีความผิดพลาดอยางมหันตเนื่องจากเสนเขตแดนคลาดเคลื่อนจากขอตกลงในสนธิสัญญาซ่ึงระบุวาสันปนน้ําเปนเสนแบงเขต ทั้งนี้ ไดมีผูพิพากษาศาลยุติธรรมระหวางประเทศ ๓ ทานในคดีปราสาทพระวิหารไดชี้ใหเห็นความไมถูกตองของแผนที่ไวอยางละเอียดถึง ๔๖ หนาในคําพิพากษาแยง (พ.ศ. ๒๕๐๕) ขาพเจาขออธิบายเพิ่มเติมวา คําพิพากษาแยงมิใชเปนเพียง ‘ความเห็น’ ตามที่หลายทานเขาใจ แตเปนสวนหนึ่งของคําพิพากษาซึ่งมีผลผูกพันคูกรณี

ในประวัติความสัมพันธระหวางประเทศ ยังไมมีประเทศหนึ่งประเทศใดไดดินแดนของอีกประเทศโดยทําแผนที่ผิด รุกลํ้าเขาไปในดินแดนของอีกฝายโดยลากเสนตามใจชอบ กรณีแรกนาจะเปนประเทศกัมพูชาซ่ึงใชแผนที่ท่ีรูดีอยูแลววามีเสนเขตแดนที่ผิดพลาดเปนเคร่ืองกําหนดเขตแดน แผนที่ฉบับดังกลาวทําขึ้นโดย พ.อ. แบรนารด (ฝร่ังเศส) ร.อ. ทริกซิแอร (ฝร่ังเศส) และ ร.อ. อุม (เขมร) ซ่ึงลากเสนเขตแดนตามอําเภอใจโดยไมคํานึงถึงสันปนน้ําซ่ึงเปนเสนแบงเขตที่แทจริงตามอนุสัญญา ค.ศ. ๑๙๐๔ และสนธิสัญญาและพิธีสาร ค.ศ. ๑๙๐๗

นอกจากนั้น MOU พ.ศ. ๒๕๔๓ ยังใชเอกสารอางอิงถึง ๓ ฉบับคือ (๑) อนุสัญญาสยาม-ฝร่ังเศส ค.ศ. ๑๙๐๔ (๒) สนธิสัญญาและพิธีสาร ค.ศ. ๑๙๐๗ และ (๓) แผนที่ผนวก ๑ มาตราสวน ๑:๒๐๐,๐๐๐ แผนที่ดังกลาวเปนท่ีปรากฏอยางชัดเจนมาชานานกวา ๕๐ ปแลววาผิดพลาด โดยเฉพาะอยางยิ่งในการพิจารณาคดีปราสาทพระวิหารที่ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ ณ กรุงเฮก ประเทศไทยไดอางอิงเอกสารหลักฐานของศาสตราจารย สเกรเมอรฮอรน พยานผูเชี่ยวชาญจากสถาบันแผนที่เมืองเดลฟ ประเทศเนเธอรแลนด จากผลจากการสํารวจของนายอัคเคอรมานน รายงานผูเชี่ยวชาญที่ไทยไดย่ืนตอศาลฯ แสดงวา เสนเขตแดนในแผนที่ผนวก ๑ ตอทายคําฟองของกัมพูชาไดถูกกําหนดขึ้นโดยมิไดเปนไปตามเสนสันปน

Page 49: MOU Gazette

‐ 49 ‐ 

 

น้ําตามที่กําหนดไวในบทนิยามแหงความตกลงที่ไทยกับฝร่ังเศสไดกระทําขึ้นเมื่อ ค.ศ. ๑๙๐๔ และมีการยืนยันในป ๑๙๐๗ ฉะนั้น เสนเขตแดนที่ปรากฏในแผนที่ผนวก ๑ จึงผิดพลาดโดยส้ินเชิง

ดวยเหตุผลและขอเท็จจริงดังกลาวขางตน ทุกคร้ังท่ีฝร่ังเศส (ในอดีต) หรือกัมพูชา ถือโอกาสเสนอแผนที่ที่ผิดพลาดแทรกเขามาเปนเอกสารลําดับท่ี ๓ ใน MOU ๒๕๔๓ ๒๕๔๔ และ TOR ๒๕๔๖ รวมท้ังในแถลงการณรวม พ.ศ. ๒๕๕๑ ซ่ึงลวนแลวแตเปนเอกสารที่มิชอบ ไทยจําเปนตองทักทวงหรือตั้งขอสังเกตไว

แผนที่ท่ีผิดพลาดยอมใชไมไดและไมมผีล แตกัมพูชาก็หยิบยื่นหรือยัดเยียดใหไทยเชนเดียวกับที่ฝร่ังเศสไดกระทําเมื่อรอยกวาปมาแลว ไทยชอบที่จะตั้งขอสังเกตและคัดคานอยางชัดเจน มิใชเกรงใจหรือเกรงกลัว ไมกลาวถึงซ่ึงหมายถึงการยอมรับโดยดุษณีย

อน่ึง ในการเจรจาสองฝายหรือทวิภาคี คูเจรจามีหนาท่ีพูด มิใชฝายหน่ึงพูดแตอีกฝายรับฟงสถานเดียว โดยเฉพาะในกรณีท่ีมีผลกระทบถึงอธิปไตยของประเทศชาติซ่ึงมีความสําคัญสูงสุด การไมโตแยงจะนํามาซึ่งกฎหมายปดปากเชนในอดีต และคร้ังนี้ไทยจะตองอัปยศย่ิงกวาเพราะมิไดถูกปดปากโดยฝร่ังเศสซ่ึงเปนประเทศมหาอํานาจ แตถูกปดปากโดยอดีตประเทศราชยของไทย”

ศาสตราจารย ดร. สมปอง สุจริตกุล คณบดีคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต

B.A., B.C.L., M.A., D.Phil., and D.C.L. (Oxon)

Diplômé d’Etudes Supérieures de Droit International Public, Docteur en Droit (Paris)

LL.M. (Harvard) of the Middle Temple, Barrister-at-law (United Kingdom)

Diplômé de l’Académie de Droit International de La Haye (Nederland)

-ศาสตราจารยกิตติคุณกฏหมายระหวางประเทศและกฏหมายเปรยีบเทยีบมหาวิทยาลยักฎหมาย โกลเดนเกท ซานฟรานซิส

โก สหรัฐอเมรกิา

-สมาชิกสถาบนัอนุญาโตตลุาการแหงประเทศไทย

-สมาชิกสถาบนัอนุญาโตตลุาการองคการกฏหมายเอเซีย-แอฟริกา ณ กรุงไคโร และกัวลาลัมเปอร

-อนุญาโตตุลาการอิสระ

-อดีตเลขาธิการอาเซียน (ประเทศไทย)

-อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจําเนเธอรแลนด,เบลเยีย่ม,ลักเซมเบอรก,ญี่ปุน, ฝรั่งเศส,โปรตเุกส,อิตาลี,กรีก,อิสราเอล และองคการตลาดรวมยุโรป

-อดีตหัวหนาคณะผูแทนไทยประจํา UNESCO และ FAO

-อดีตสมาชิกศนูยระงับขอพิพาทการลงทุนศาลอนุญาโตตุลาการธนาคารโลก ICSID World Bank

-อดีตกรรมาธิการสหปราชาชาติเพื่อพิจารณาคาชดเชยความเสียหายในประเทศคูเวต (UNCC)และทนายผูประสานงานคณะทนายฝายไทยในคดีปราสาทพระวิหาร ศาลยตุิธรรมระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๐๒-๒๕๐๕

Page 50: MOU Gazette

‐ 50 ‐ 

 

๒.๕

ปราสาทพระวหิาร: ความสัมพันธไทย-กมัพชูา

คําสัมภาษณและบทความ

สุรพงษ ชัยนาม

สุรพงษ ชัยนาม

จบการศึกษา ปริญญาตรีจาก Marshall University สหรัฐอเมริกา

เขารับราชการกระทรวงการตางประเทศ ท่ีกรมสารนิเทศ

เคยดํารงตําแหนง

อธิบดีกรมสารนิเทศ กรมเอเชียตะวันออก

เอกอัครราชทูตประจํากระทรวง

เอกอัครราชทูตไทยประจําประเทศ เวียดนาม โปรตุเกส กรีก เยอรมนี แอฟริกาใต

รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝายการเมือง รัฐบาลพลเอกสุรยุทธ จุลานนท

ปจจุบัน

ดํารงตําแหนงที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ

Page 51: MOU Gazette

‐ 51 ‐ 

 

อานเกมฮุนเซนไมใชแค"เบี้ย" แตกําลังชักใยการเมืองไทย เผยแพรทาง OK NATION.NET วันจันทร ท่ี ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒

วิวาทะระหวาง สมเด็จฮุนเซน ผูนํากัมพูชา กับ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีของไทย วาดวยเร่ือง พ.ต.ท.ทักษิณ ชนิวัตร กลางวงประชุมอาเซียน กลายเปนประเด็นรอนฉายิ่งกวาขอตกลงใดๆ ของสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต

น่ีคือเคร่ืองยืนยันประการหนึ่งถึงศักยภาพของ พ.ต.ท.ทักษิณ และหมากกลที่เขาเลือกเดิน โดยมี พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ อดีตนายกรัฐมนตรี และ สมเด็จฮุนเซน เปนมือไม

สวนจะเปนมือไมระดับ "เบี้ย" ตามท่ีนายกฯอภิสิทธิ์พูด หรือจะเปนระดับ "ขุน" ท่ีพรอมจะยอนศรใชประโยชนจาก พ.ต.ท.ทักษณิ อีกที เปนเร่ืองที่นาขุดคนหาคําตอบ

สุรพงษ ชัยนาม อดีตเอกอัครราชทูต ๕ ประเทศ และนักการทูตแถวหนาของเมืองไทย วิเคราะหเร่ืองราวท่ีเกิดขึ้น โดยชําแหละออกเปนประเด็นๆ อยางนาสนใจ

เร่ิมจากทาทีของนายกฯ อภิสิทธิ์ ท่ีเลือกตอบ (จริงๆ คือ "ตอก") ผูนําเขมรแบบทันควัน โดยใชเวทีแถลงขาวของท่ีประชุมอาเซียนซ่ึงไทยเองเปนเจาภาพ ทําใหหลายฝายออกมาวิพากษวิจารณถึงความเหมาะความควร

“ผมมองวานายกฯ ก็ตอบตามเนื้อผา ไมไดเสียหายอะไร ถาทานไมพูดอะไรเลยสิ ย่ิงจะเปนการทําใหประชาชนคนไทยมีความสับสนมากยิ่งขึ้น และที่สําคัญหากทานไมพูดอะไรเลย ไมแสดงจุดยืนของรัฐบาล ก็ย่ิงเทากับสงเสริมใหฮุนเซนกาวราวตอไป"

Page 52: MOU Gazette

‐ 52 ‐ 

 

ประเด็นตอมาที่นํามาสูวิวาทะเที่ยวนี้ คือขออางของ สมเด็จฮุนเซน ท่ีจะไมสงตัว พ.ต.ท.ทักษิณ ใหไทยตามสนธิสัญญาสงผูรายขามแดนที่สองราชอาณาจักรทําไวดวยกัน หากวันหนึ่งวันใด พ.ต.ท.ทักษิณ จะหลบเขาไปพํานักในดินแดนกัมพูชา

"เร่ืองสนธิสัญญาสงผูรายขามแดนก็เปนความจริงตามที่ฮุนเซนอาง คือมีมาตราที่เปนเง่ือนไขวาตองไมเกี่ยวกับคดีการเมือง ตรงนี้เปนหลักสากลอยูแลว แตก็ตองอธิบายวาการตีความวาเปนคดีการเมืองหรือไม มันตีความตามอําเภอใจไมไดเด็ดขาด ไมใชเพราะเราไมอยากใหตีความอยางนั้น

แตเร่ืองท่ีเปนความสัมพันธระหวางประเทศ มันตองไมใชการตีความโดยพลการ เพราะรัฐบาลไทยโดยกระทรวงการตางประเทศก็มีหนังสือเวียนไปถึงทุกประเทศในโลก นี ้ วาคดีของคุณทักษิณเปนคดีอาญา และศาลพิพากษาถึงท่ีสุดแลวใหจําคุก ๒ ป เราจึงตองขอตัวใหกลับมารับโทษในประเทศไทย"

"การขอใหสงตัวท่ีวานี้ ไมใชเฉพาะประเทศที่มีสนธิสัญญาระหวางกันเทานั้น แตประเทศที่ไมมีสนธิ สัญญาเราก็ขอได วิธีการก็เหมือนๆ กันคือสงเอกสารหลักฐานใหศาลประเทศน้ันๆ พิจารณา ซ่ึงศาลจะเปนคนตอบวาเปนคดีการเมืองหรือไม ฉะนั้นการพูดลวงหนาวาเปนคดีการเมือง ผมมองวาเปนเร่ืองไรสาระ และเปนการพูดอยางนักเลงโต พูดแบบตัวเองเปนเจาของประเทศ ซ่ึงก็ตองเขาใจวาเขมรมีระบบการปกครองที่แตกตางจากไทย แมจะเรียกประชาธิปไตย แตพรรคของฮุนเซนก็ครองอํานาจมา ๒๗ ปแลว"

ในสายตาของนักการทูตท่ีผานงานมาทั่วโลก ทานทูตสุรพงษ สรุปแบบเจ็บๆ วา ระบบการเมืองการปกครองของแตละประเทศ จะเปนตัวกําหนดพฤติกรรม ความคิด และทาทีของรัฐบาลนั้นๆ

"พฤติกรรมและทาทีของฮุนเซนก็ถูกกําหนดโดยระบอบการเมืองการปกครองของเขมร ผมเช่ือวาถาฮุนเซนมาเปนนายกฯไทย ภายใตระบบการปกครองของไทย เขาคงพูดอยางนี้ไมได ส่ิงที่ฮุนเซนพูดสะทอนวาเขาคือเจาของประเทศ เหมือนท่ีคุณทักษิณเคยพูดสมัยผูกขาดการเมืองทุกดาน ที่พูดวายูเอ็นไมใชพอ เพราะผูกขาดอํานาจนิติบัญญัติ บริหารเอาไวหมด"

Page 53: MOU Gazette

‐ 53 ‐ 

 

ประเด็นสําคัญตอมาที่คาใจใครหลายๆ คน คือทาทีของสมเด็จฮุนเซน มีวาระอื่นซอนเรน หรือแครัก พ.ต.ท.ทักษิณ อยางสุดจิตสุดใจในฐานะเพื่อนตามท่ีกลาวอางจริงๆ

"ผมมองวาฮุนเซนเองก็รูดีวาคดีของคุณทักษิณไมใชคดีการเมือง แตฮุนเซนมีวาระซอนเรนอันสืบเนื่องมาจากกรณีปราสาทพระวิหาร เขาตองการรูวารัฐบาลไทยจะขีดเสนตรงไหนในปญหาปราสาทพระวิหาร เมื่อรัฐบาลไทยยังไมแสดงทาทีชัดเจนวาจะยอมใหอะไรกับเขมรหรือไม ฮุนเซนจึงคืบคลาน ยุแยงตะแคงร่ัว เพื่อหวังผลที่จะตามมา ซ่ึงก็โชคดีท่ีนายกฯ อภิสิทธิ์ไมไดตบะแตก หรือทําตัวกักขฬะ เพราะถาทําอยางนั้นฮุนเซนจะชอบที่สุด และเทากับเปนการติดกับดักฮุนเซน" ทานทูตสุรพงษ ระบุ พรอมยกตัวอยาง

"ตอนที่คุณชวลิตไปกัมพูชา บอกวาฮุนเซนจะสรางบานใหคุณทักษิณ ภรรยาของฮุนเซนก็รองไหสงสารคุณทักษิณ จะอยางไรก็ตามเขาจะปกปองคุณทักษิณ แตพอวันรุงขึ้นรัฐมนตรีกระทรวงโฆษณาการก็ออกมาบอกวาไมจริง พอถัดมาอีกวันฮุนเซนก็พลิกลิ้นอีก นี่คือทาทีของเขมรที่ไมเคยเปลี่ยนเลย ฉะนั้นไมตองแปลกใจ แตเปนเกมท่ีเขาเลือกใชเพื่อสรางเง่ือนไขกับรัฐบาลไทยมากกวา"

แตประเด็นที่นาวิตกคือ ส่ิงท่ี ทานทูตสุรพงษ วิเคราะหวา สมเด็จฮุนเซนอานการเมืองไทยทะลุ จึงกลาแสดงทาทีแบบนี้

"เขารูจากประสบการณวาการเมืองไทยไมมีเอกภาพ นโยบายของเขาคือตอกลิ่มสรางความแตกแยกใหแกสังคมไทย และเม่ือแสดงใหเห็นวารัฐบาลไทยกําลังมีปญหากับประเทศเพื่อนบาน เขาก็รูวานักการเมืองไทยบางกลุม นักธุรกิจไทยบางคน และขาราชการไทยบางสวนที่คอรรัปชัน ก็พรอมท่ีจะรวมมือกับเขา เพราะเห็นแกประโยชนสวนตัวมากกวาประโยชนของบานเมือง"

"นักการเมืองไทยนั้นชัดเจน ประชาชนก็คงเห็นอยู เอาเร่ืองปราสาทพระวิหาร เร่ืองคุณทักษิณมาเปนประเด็นโคนรัฐบาลชุดนี้ ถามวาฮุนเซนจะเลือกใครระหวางรัฐบาลชุดนี้กับรัฐบาลนอมินีทักษิณ ก็ตอบไดอยางไมตองสงสัยวาเขาเลือกรัฐบาลนอมินีทักษิณ เพราะมีผลประโยชนเรียงไวแลววาจะไดอะไรบาง ฝายไทยเราเองตางหากที่อานฮุนเซนไมออก ตองอานใหทะลุวาฮุนเซนใชประเด็นปราสาทพระวิหารเพื่อประโยชนเร่ืองการเมืองภายในของเขา และใชประเด็นคุณทักษิณเพื่อประโยชนทางธุรกิจ"

ทานทูตสุรพงษ ยังมองตอไปวา หาก พ.ต.ท.ทักษิณ ตองการบินเขาเขมรวันนี้ เชื่อวา สมเด็จฮุนเซน จะไมตกลง เพราะทาทีท่ีแสดงออกเปนแคเกม

"ฮุนเซนรูดีวาพูดอยางนี้จะเกิดผลอะไร ถาเอาคุณทักษิณมาอยูพนมเปญจริง เขายอมรูวาทักษิณเปนปญหาเสี้ยนหนามของรัฐบาลไทย และหากฝนทําไปขนาดนั้น รัฐบาลไทยก็สามารถสรางปญหาใหกัมพูชาไดเหมือนกัน เพราะฮุนเซนเองก็มีศัตรูเยอะทั้งในและนอกเขมร คนเหลาน้ีบางสวนก็อยูในประเทศไทย สามารถเคลื่อนไหวท่ิมแทงฮุนเซนไดเหมือนกัน มีเหตุผลเดียวที่ฮุนเซนจะรับคุณทักษิณไวในประเทศ ก็คือสรางความแตกราวใหแกประเทศไทยและสังคมไทยมากกวานี้"

อดีตทูต ๕ ประเทศยังชี้ดวยวา ในบริบทของการเมืองระหวางประเทศ ส่ิงที่สมเด็จฮุนเซนกําลังดําเนินการ คือการแทรกแซงกิจการภายในของประเทศเพื่อนบาน

"นี่ ไมใชเร่ืองบังเอิญ ฮุนเซนเสียมารยาทอยางรายแรง คําพูดก็ขัดแยงกันเอง พูดเสมือนหนึ่งวาคุณทักษิณไมไดสรางปญหาอะไรกับประเทศไทย ท้ังๆ ท่ีรูวาคุณทักษิณกําลังสรางปญหาใหแกไทย จึงตองถือวาเปนการแทรกแซงกิจการภายใน คําหนึ่งก็บอกวาเร่ืองการเมืองเปนเร่ืองของคนไทยที่ตองจัดการกันเอง แตอีกประโยคหนึ่งก็บอกทักษิณเปนแขกของเขาได ท้ังหมดสะทอนวาฮุนเซนคือผูชักใยการเมืองไทยอยูหลังฉาก และแทรกแซงการเมืองไทยอยางโจงแจงที่สุด เพราะเคลื่อนไหวสอดรับกับ พล.อ.ชวลิต และกลุมการเมืองในประเทศไทย"

อีกประเด็นหนึ่งท่ีมิอาจมองขาม ก็คือจังหวะกาวของ พล.อ.ชวลิต ที่ไปเยือนผูนําเขมร และพูดจาเสมือนหนึ่งวาเปนตัวแทนรัฐบาลไทย ซ่ึงทานทูตสุรพงษ มองวา การที่แกนนําพรรคฝายคานของประเทศใด จะเดินทางไปเยือนผูนําประเทศเพื่อนบาน เปนสิ่งที่กระทําได แตมันก็มีเงื่อนไขในเรื่องมารยาทอยูเหมือนกัน

Page 54: MOU Gazette

‐ 54 ‐ 

 

"การไปเยือนประเทศทั้งหลายในโลกนี้ เปนประเพณีของพรรคการเมืองในระบอบประชาธิปไตย ฝายคานก็ไปได แตของเรามันคงไมใชประเด็นนั้น ท้ังจังหวะ บริบท และเงื่อนไขปจจุบัน คุณชวลิตเลือกจะไปพนมเปญ เสร็จแลวจะไปพมา มาเลเซีย ฉะนั้นจะบอกวาไปตามประเพณีคงไมได เพราะคุณชวลิตเลือกไปพนมเปญกอน"

"ท้ังหมดเปนการตอกย้ําวาพรรคการเมืองบางพรรคกําลังเอาเร่ืองการตางประเทศมา เปนอาวุธประหัตประหารรัฐบาลชุดนี้ เพื่อชี้ใหประชาชนหลงวา เพราะรัฐบาลชุดนี้จึงทําใหมีปญหาประเทศเพื่อนบาน และการที่ผูนําของประเทศเพื่อนบานใหคุณชวลิตเขาพบ ก็เพื่อตองการตอกลิ่มใหสังคมไทยแตกแยกมากกวานี้อีก"

"เพื่อใหเขาล็อกท่ีวางเอาไววารัฐบาลมีปญหากับประเทศเพื่อนบาน คุณชวลิตจึงมีคิวท่ีจะลงใต ไปพบกับผูนํามาเลเซียเพื่อแกปญหาภาคใต เพื่อบอกวารัฐบาลนี้ไมมีน้ํายา ท้ังๆ ท่ีปญหาภาคใตเกิดจากรัฐบาลทักษิณ มองดูแลวนี่คือภาพจิ๊กซอวแตละภาพที่ประกอบกับเปนภาพใหญ คือเอางานดานการตางประเทศมาเปนเคร่ืองมือ เพื่อเปาหมายสุดทายซ่ึงหมายถึงภาพทั้งภาพ ก็คือรัฐบาลยุบสภา"

"ฉะนั้นสิ่งที่คุณชวลิตทําจึงไมใชแคเสียมารยาทอยางเดียว แตเปนการแสดงใหเห็นวาสังคมการเมืองไทยไรเอกภาพ และมองแตผลประโยชนของตัวเองกับพรรคพวก เนื่องจากคุณชวลิตไมไดไปสานสมานฉันท ท่ีสําคัญตลอดมารัฐบาลชุดนี้ก็ไมไดไปเปนศัตรูกับใคร หรือไปตอกรวิวาทกับประเทศใด ทั้งหมดจึงโยงเร่ืองการเมืองภายในเพื่อหาทางบีบรัฐบาลชุดนี้ใหยุบสภา"

ประเด็นสุดทายที่ตองไถถามกันก็คือ เมื่อเจอเกมซับซอนแบบนี้ รัฐบาลจะมีทางออกอยางไร ซ่ึง ทานทูตสุรพงษ เห็นวา การสรางความเขาใจที่ไมใช "คลั่งชาติ" เปนเร่ืองท่ีตองทําโดยดวน

"รัฐบาลตองพยายามทําใหเกิดความเขาใจของคนในชาติ ทั้งกรณีปราสาทพระวิหาร และกรณีคุณทักษิณ วารัฐบาลจะดําเนินการอยางไร ตองใหขอมูลจริงในเรื่องนี้มากขึ้น ท่ีผานมาผมเห็นวายังมีชองโหวอยูมากในเร่ืองของการใหขอมูลขาวสารที่ เปนความจริงแกประชาชน ไมใชรอใหเกิดเร่ืองกอนแลวคอยชี้แจง เพราะคนไทยจะตามไมทัน อยาลืมวาถึงอยางไรคนไทยก็รักชาติ ฉะนั้นทุกคนพรอมรับฟง"

"ท่ีสําคัญตองอานฮุนเซนใหออก เพราะเรายังอานเขาไมทะลุปรุโปรงเทากับเขาอานเรา ฮุนเซนไมใชพระเจาที่ไหน เปนผลผลิตการเมืองแบบของเขา ถาเรารูเขารูเรา ก็จะแกปญหาไดในที่สุด"

Page 55: MOU Gazette

‐ 55 ‐ 

 

ความสมัพนัธไทย-กมัพชูา :

ประเด็นสําคญัอยูท่ีการรูเขารูเรา โดย สุรพงษ ชยันาม เผยแพรทาง เอเอสทีวีผูจัดการ ๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ ๑๗:๕๗ น.

เปนที่นายินดีท่ีความสัมพันธระหวางไทยกับกัมพูชาในยุครัฐบาลของนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ไดกลับเขาสูภาวะปกติ และมีแนวโนมที่จะพัฒนากาวหนาอยางราบรื่นอยางเปนขั้นตอนบนพื้นฐานของการมีผลประโยชนรวมกันและการมีความเขาใจในกันและกัน โดยยึดความเปนจริงในภาพรวมวาดวยมิติดานตางๆ ของความสัมพันธระหวางไทยกับกัมพูชาเปนเคร่ืองชี้นํากําหนดพัฒนาการแหงความสัมพันธระหวางกัน

อยางไรก็ตาม ในเร่ืองของความสัมพันธระหวางประเทศ เปนที่เขาใจชัดแจงในตัวอยูแลววา จะตองเกี่ยวของกับความสัมพันธระหวางสองประเทศ (ทวิภาคี) หรือระหวางหลายประเทศดวยกัน (พหุภาคี) มิฉะน้ันแลวคําวาความสัมพันธยอมปราศจากความหมายและความสําคัญท้ังสิ้น เพราะการตบมือขางเดียวไมมีทางดังได

ในกรณีความสัมพันธสองฝาย (ทวิภาคี) ระหวางไทยกับกัมพูชานั้น จะมีลักษณะใกลชิด แนบแนน กาวหนาหรือถอยหลัง ปกติหรือผิดปกติ เปนประโยชนหรือไรประโยชน ราบร่ืนหรือมีอุปสรรค สงเสริมความเปนมิตรหรือความแตกแยก ตลอดจนสรางสรรคหรือไมสรางสรรคระหวางกัน ขึ้นอยูกับการรูเขา

Page 56: MOU Gazette

‐ 56 ‐ 

 

รูเราเปนสําคัญ และการรูเขารูเราอยางถูกตองอยางแทจริงจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อรัฐบาลไทยยอมรับและยอมทําความเขาใจกับขอเท็จจริงขั้นพื้นฐานที่สําคัญดังตอไปนี้

๑. เร่ืองของผลประโยชนแหงชาติ

ผลประโยชนแหงชาติของทุกประเทศ (รวมท้ังประเทศไทย) มีหลายดานและมีลักษณะ ยืดหยุน ไมคงที่ ไมตายตัว เปลี่ยนแปลงไดเสมอ ขึ้นอยูโดยตรงกับหลายปจจัย ทั้งที่ปรากฏภายในและภายนอกประเทศ ในแตละบริบท แตละหวงเวลาของสถานการณทางการเมือง เศรษฐกิจ และความม่ันคงภายในประเทศและระหวางประเทศ มีผลประโยชนแหงชาติประการเดียวเทานั้นที่คงท่ีไมเปลี่ยนแปลง

นั่นคือ ผลประโยชนแหงชาติดานความมั่นคงอยูรอดของประเทศชาติ ท่ีเหลือลวนเปนผลประโยชนท่ีเปล่ียนแปลงไดตลอดเวลา สุดแตความสําคัญ ความจําเปนเรงดวนและความเปนไปไดในแตละบริบท แตละหวงเวลา ไมมีสูตรสําเร็จรูปในเรื่องของการปกปองรักษาและสงเสริมผลประโยชนแหงชาติ ในหลายดานดวยเหตุผลและขอเท็จจริงท้ังหมดดังกลาว

หากรัฐบาลไทยมีนโยบายและเปาประสงคแนวแนที่มุงสงเสริม ปกปองรักษาผลประโยชนในดานตางๆ ของไทยไวไดอยางมีประสิทธิภาพ ดวยการสงเสริมสนับสนุนใหเกิดความสัมพันธท่ีดีท่ีปกติกับกัมพูชา ก็จําเปนท่ีรัฐบาลพึงทําการศึกษาและทําความเขาใจอยางรอบดานอยางถูกตองครบ ถวน เกี่ยวกับ

Page 57: MOU Gazette

‐ 57 ‐ 

 

ประวัติศาสตรความสัมพันธไทย-กัมพูชา ชวง ๕๐ ปที่ผานมา (ตั้งแตสมัยเจาสีหนุ ยุคเขมรแดงของพอลพต จนยุคของนายกรัฐมนตรีฮุนเซนในปจจุบัน) วาลักษณะดานใดบางที่เปลี่ยนแปลงและที่ไมเปลี่ยนแปลง

แตรัฐบาลไทยจะทําความเขาใจไดอยางถูกตองก็ตอเมื่อหนวยงานทั้งหลายของไทยที่เกี่ยวของกับการตางประเทศและความมั่นคงรูจักศึกษา พิจารณา วิเคราะห และประเมินเหตุการณที่เกี่ยวกับความสัมพันธไทย-กัมพูชา ในแตละบริบท แตละหวงเวลาจากขอเท็จจริงและจากความเปนจริง ไมใชจากที่ฝายไทยอยากใหเปนจริง (หรืออีกนัยหนึ่งคือ อยานั่งเทียนสรุปเอางายๆ ตามอําเภอใจ)

อีกทั้งจําเปนตองทําความเขาใจโดยตระหนักใหดีไวตลอดเวลาดวยวาในยุ คโลกาภิวัตนนั้น นโยบายตางประเทศของทุกประเทศถือเปนสวนขยาย (extension) ของนโยบายภายในประเทศ หมายความวานโยบายตางประเทศตองพยายามตอบสนองความตองการของประชาชนในประเทศใหมากที่สุด และจําตองสะทอนจุดยืน คานิยม หลักการ ประเพณี วัฒนธรรมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ (เชน ประเทศไทยเปนสังคมเปด มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย เนื้อหาของนโยบายตางประเทศของไทยก็จําตองสะทอนใหเห็นถึงความเปนประชาธิปไตยของไทย ไมใชสะทอนแตรูปแบบอยางท่ีเปนมาตลอด ๘ ป ของยุคระบอบทักษิณ)

๒.ประเภทของระบอบการเมือง (regime type)

เปนท่ียอมรับทั่วไปอยูแลววาประเภทของระบอบการเมืองของแตละประเทศ (รวมท้ังของไทยและกัมพูชาดวย) มีอิทธิพลตอความคิดและพฤติกรรมของผูนําประเทศของรัฐบาล ของนักการเมือง และพรรคการเมือง ตลอดจนมีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร และทาทีของรัฐบาลตอแตละปญหาระหวางประเทศ และตอการแกปญหาระหวางประเทศ รวมท้ังตอการกําหนดผลประโยชนแหงชาติ และการดําเนินการเพื่อใหไดมาซ่ึงผลประโยชนแหงชาติในดานตางๆ ตัวอยางเชน

ความคิดและพฤติกรรมผูนํารัฐบาลของประเทศที่มีระบอบการเมืองการปกครอง ที่เปนเผด็จการ (ไมวาทหาร พลเรือน หรือโดยพรรค) ยอมแตกตางจากผูนํารัฐบาลของประเทศที่มีระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตย โครงสรางอํานาจการเมืองของระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตย บทบาทและความสําคัญของการเมืองภาคประชาชนในระบอบเผด็จการ (อํานาจนิยม) ยอมไมมีหรือมีนอยมากและอยูภายใตการ

Page 58: MOU Gazette

‐ 58 ‐ 

 

ควบคุมโดยตรงของระบอบเผด็จการ (อํานาจนิยม) ในขณะที่การเมืองภาคประชาชนในระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตยยอมมีมากและกวาง ขวาง รัฐบาลยอมตองใหความสําคัญและฟงเสียงของประชาชน

หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง อยารีบดวนสรุปหรือเหมาโมเมเอาเองวาฝายกัมพูชาคิดเหมือนฝายไทย มีผลประโยชนอยางเดียวกับไทย มีนโยบาย ทาทีและเปาประสงคตอแตละเร่ือง แตละปญหาเหมือนกัน เพราะหากฝายไทยยังปกใจหลงเชื่อเอาเองวาประเทศตางๆ ที่มีความสัมพันธกับไทยจะคิดเหมือนไทย มีผลประโยชนทุกๆ ดานเหมือนกับของไทย โดยมองขามความจริงและขอเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติศาสตรความเปนมาของแตละ ประเทศที่มีความสัมพันธกับไทย

(ในกรณีนี้คือกัมพูชา) มองขามขอเท็จจริงเกี่ยวกับพัฒนาการทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของกัมพูชา ไมพยายามอานสถานการณการเมืองในกัมพูชาและอิทธิพลของปจจัยตางๆ ท้ังท่ีมีขึ้นภายในและภายนอกกัมพูชาวามีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบายและทาทีของฝายกัมพูชาตอไทยมากนอยเพียงใด แตกลับเหมาเอาเองวาฝายกัมพูชาไมไดแตกตางจากไทย หากฝายไทยยังคิดงายๆ และตื้นเขินแบบนี้ การรูเขารูเรายอมไมมีทางเกิดขึ้นไดในทางเปนจริง เพราะนี่คือลักษณะของโรคเรื้อรังของนโยบายตางประเทศและการทูตไทยที่มีตอประเทศตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งตอกลุมประเทศเพื่อนบานที่มีมาเปนเวลาชานานแลว

โดยเฉพาะอยางยิ่งในยุคของรัฐบาลไทยรักไทยและรัฐบาลพรรคนอมินีของไทยรักไทย นายกรัฐมนตรีฮุนเซนรูจักแยกแยะวาอะไรคือรูปแบบ อะไรคือเนื้อหา อะไรคือภาพจริง อะไรคือภาพลวงตา และผลประโยชนแหงชาติของกัมพูชาในแตละบริบท แตละหวงเวลาคืออะไร ในขณะที่รัฐบาลไทย (โดยเฉพาะอยางยิ่งรัฐบาลไทยในยุคของระบอบทักษิณ) จะรูก็แตในเรื่องของผลประโยชนของพรรคและพวก และเหมาหรือสรุปโดยพลการเอาเองวาเปนผลประโยชนแหงชาติ หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง เปนการแสวงผลประโยชนของพรรคและพวกโดยหากินกับสิ่งท่ีเรียกวาผลประโยชนแหงชาติ

Page 59: MOU Gazette

‐ 59 ‐ 

 

ในเมื่อขอเท็จจริงท้ังหมดดังกลาวขางตนบงชี้และยืนยันใหเห็นได อยางปราศจากขอสงสัยใดๆ ท้ังสิ้นวาการทําความเขาใจอยางถูกตองเกี่ยวกับประเภทระบอบการเมืองของแตละประเทศ (ในกรณีของบทความนี้คือประเทศกัมพูชา) เปนเร่ืองสําคัญย่ิง การใหน้ําหนักกับเร่ืองความสัมพันธและความสนิทสนมสวนตัวระหวางผูนําของไทยกับกัมพูชา (หรือระหวางผูนําไทยกับผูนําประเทศตางๆ) จึงเปนเร่ืองเส่ียงไมคุมคาดวยเกี่ยวของกับรูปแบบมากกวาเนื้อหา ภาพลวงตามากกวาภาพที่เปนจริง มีผลดานการสรางภาพมากกวาผลลัพธท่ีเปนรูปธรรมและมีสารัตถะ

จริงอยูการท่ีบุคคลระดับผูนําของแตละประเทศมีความสนิทสนมชิดเชื้อเปนอยางดียอมมีสวนดีและชวยใหการเจรจาหารือดําเนินไปภายใตบรรยากาศที่เปนมิตร แตจําเปนตองตระหนักไวเสมอวา ในเรื่องของความสัมพันธระหวางประเทศ ปจจัยชี้ขาดอยูที่ผลประโยชนแหงชาติ ไมใชความสนิทสนมสวนตัวระหวางผูนําประเทศ เพราะไมมีผูนําประเทศใดที่จะยอมเอาเรื่องของความสนิทสนมสวนตัวมามีอิทธิพล เหนือผลประโยชนแหงชาติ (จะมีก็ในสมัยรัฐบาลไทยรักไทย) ความสนิทสนมสวนตัวระหวางผูนําประเทศจะมีผลดีก็ในดานของการสรางภาพสรางบรรยากาศที่เปนมิตรมากกวาอื่นใด

Page 60: MOU Gazette

‐ 60 ‐ 

 

๓.ลักษณะของนโยบายตางประเทศกัมพูชาที่ยังไมเปล่ียนแปลง

กลาวไดวา นโยบายตางประเทศของกัมพูชาตั้งแตสมัยเจาสีหนุ สมัยชวงเขมรแดง(พ.ศ. ๒๕๑๘ – ๒๕๒๑) มาจนถึงสมัยนายกรัฐมนตรีฮุนเซนในปจจุบัน มีดานที่ดํารงอยูอยางตอเนื่องมาตลอด ๕๐ ปท่ีผานมา พอสรุปสาระสําคัญไดดังนี้

๓.๑ นโยบายพึ่งการถวงดุลอํานาจ

ดวยเหตุผลดานภูมิรัฐศาสตร (กัมพูชาเปนประเทศเล็กท่ีแวดลอมดวยประเทศที่ใหญกวา และมีประวัติศาสตรแหงความขัดแยงระหวางกันยาวนาน) เปนผลทําใหนโยบายตางประเทศของกัมพูชาชวง ๕๐ ปท่ีผานมาจนถึงปจจุบัน หันมาพึ่งระบบการถวงดุลแหงอํานาจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนเคร่ืองมือสําคัญอยางหนึ่งของนโยบายตางประเทศกัมพูชา เพื่อเปาประสงคหลักในการธํารงรักษาเอกราชและอธิปไตย ของกัมพูชา

เชน ในอดีต เจาสีหนุไดดึงอิทธิพลของจีนมาถวงอิทธิพลของเวียดนามและไทย หรือในชวงที่ เวียดนามรุกรานและยึดครองกัมพูชา พ.ศ. ๒๕๒๑ – ๒๕๓๒ รัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตยซ่ึงรวมเขมร ๓ ฝายที่ตอตานการยึดครองกัมพูชาของเวียดนามก็ไดเช้ือเชิญใหอาเซียนและสหประชาชาติเขามาสนับสนุน รัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย หรือ CGDK (Coalition Government of Democratic Kampuchea) ทําการ ตอสูกับเวียดนามทางการเมืองและการทูต

และลาสุดกรณีความขัดแยงกับไทยในเรื่องเขตแดนและการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร นายกรัฐมนตรีฮุนเซน ก็ไดหวนกลับมาใชการพึ่งพานโยบายถวงดุลอํานาจอยางชัดเจน โดยฝายกัมพูชาได

Page 61: MOU Gazette

‐ 61 ‐ 

 

พยายามทําใหปญหาขัดแยงระหวางไทยกับกัมพูชาแปรสภาพจากการเปนปญหาทวิภาคีมาเปนปญหาของประชาคมระหวางประเทศอีกดวย (internationalize bilateral problem) โดยการเปดเวทีความขัดแยงที่มีกับไทยใหขยายกวางออกไปดวยการนําประเด็นขัดแยงท่ีมีกับไทยไปเสนอตอเวทีการประชุมระดับโลกและระดับภูมิภาค (เชน เวทีของการประชุมคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติ และเวทีการประชุมขององคการอาเซียน) เพื่อหวังใหประชาคมระหวางประเทศเขาขางและเห็นใจกัมพูชา อันถือไดวาเปนการสรางแนวรวมท้ังในระดับภูมิภาคและระดับโลก เพื่อมากดดันประเทศไทยทางการเมือง และเพื่อเปนเกราะคุมกันใหกัมพูชาในกรณีฝายไทยใชวิธีการแกปญหานอกกรอบของการเจรจา ก็จะมีผลทําใหประชาคมโลกมองวาฝายไทยเปนฝายรังแกกัมพูชา ซ่ึงเปนเร่ืองละเอียดออนที่ฝายไทยตองตระหนักไวเสมอ

ดวยเหตุผลสําคัญ กลาวคือ ยุทธศาสตรทางการเมืองของกัมพูชาในเรื่องน้ีคือ การยั่วยุใหไทยคิดหาทางออกดวยการออกนอกกรอบของการเจรจา (militarization of foreign policy) ซ่ึงหากเปนเชนนี้ยอมจะทําใหฝายไทยเสียเปรียบทางการเมืองและการทูตทันที ไทยจะรักษาผลประโยชนแหงชาติไดจําเปนตองควบคุมใหปญหาขัดแยงระหวางไทย กับกัมพูชาอยูในกรอบของการเจรจาระดับทวิภาคี (สองฝาย) เปนสําคัญ ไมปลอยใหบานปลายกลายเปนปญหาระดับสากล เพราะโดยธาตุแทแลว ปญหาเขตแดนและการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกเปนปญหาทวิภาคี ไมใชพหุภาคี

๔. การพึ่งปจจัยชาตินิยม

Page 62: MOU Gazette

‐ 62 ‐ 

 

ปจจัยเร่ืองของชาตินิยมเปนเคร่ืองมือนโยบายตางประเทศของทุกประเทศ สวนจะนํามาใชมากหรือนอยขึ้นอยูกับเง่ือนไข บริบทและศักยภาพของแตละประเทศในแตละยุคสมัย แตละหวงเวลา แตกลาวโดยท่ัวไปไดวา ชวง ๔๐ ปแรกของยุคสงครามเย็น ปจจัยชาตินิยมไดกลายเปนอาวุธสําคัญและทรงอานุภาพสูงของกลุมประเทศอดีตเมืองขึ้นในทวีปเอเชียและแอฟริกาที่ทําการตอสูกับฝายประเทศตะวันตกเจาอาณานิคมเพื่อเรียกรองเอกราชและอธิปไตย และปจจัยชาตินิยมไดกลับมามีอิทธิพลสูงอีกคร้ังในยุคโลกาภิวัตน โดยเฉพาะอยางยิ่งในหมูกลุมประเทศกําลังพัฒนาหรือที่ดอยพัฒนาที่ไดรับผลกระทบรายแรงจากพลังโลกาภิวัตนในดานตางๆ

ในสวนที่เกี่ยวกับกัมพูชานั้น ปจจัยชาตินิยมนับวามีอิทธิพลตอการกําหนดและการดําเนินนโยบายตางประเทศของกัมพูชาอยางมากมาตลอด ๕๐ ปท่ีผานมา ท้ังในแงของการเมืองภายในกัมพูชาและการเมืองระหวางประเทศ ดังเปนท่ีประจักษตลอดมาวาทุกคร้ังท่ีมีการหาเสียงชวงฤดูการเลือกตั้งในกัมพูชาทุกพรรคการเมืองจะแขงขันแสดงความเปนชาตินิยมเหนือพรรคคูแขง รวมท้ังนําเร่ืองของความเจริญรุงโรจนของอาณาจักรขอมในอดีตมาเปนเคร่ืองมือ หาเสียง โดยปลุกระดมประชาชนใหเกิดความรักชาติและความหวังท่ีจะทําใหกัมพูชากลับมาเปนประเทศที่ย่ิงใหญเหมือนในอดีต

(ในประเด็นน้ีสถานเอกอัครราชทูตไทยในกรุงพนมเปญถูกเผาเมื่อ ๕ ปกอน คือตัวอยางของการตกเปนเหยื่อของพิษรายของปจจัยชาตินิยม และความขัดแยงภายในการเมืองของกัมพูชา) และสําหรับความขัดแยงไทย-กัมพูชา คร้ังลาสุดนี้ สวนหนึ่งก็มาจากการที่ฝายกัมพูชาใชปจจัยชาตินิยมชวงการหาเสียงเลือกตั้ ง และชวงมีปญหาเร่ืองการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารแตฝายเดียวของกัมพูชา อันเปนเคร่ืองมือสําคัญท่ีฝายรัฐบาลกัมพูชาใชเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจของปร ะชาชนกัมพูชาที่มีตอปญหาตางๆ ภายในประเทศไปสูภายนอกประเทศ

สรุป

นโยบายตางประเทศจะสามารถสะทอนใหเห็นถึงการเปนนโยบายตางประเทศที่รูเขารูเราอยางแทจริงได อยางนอยที่สุดจําตองนําความจริงและขอเท็จจริงที่ปรากฏในขอ ๑ – ๔ ขางตน มาประกอบการพิจารณาอยางจริงจัง จึงจะเปนนโยบายตางประเทศที่สามารถปกปองผลประโยชนแหงชาติได

Page 63: MOU Gazette

‐ 63 ‐ 

 

อดีตทูตจี้รัฐบาลลาออกทั้งคณะรับผิดชอบ “ปราสาทเขาพระวิหาร”

ASTV ผูจัดการออนไลน 29 มิถุนายน 2551 18:30 น.

อดีตเอกอัครราชทูต จ้ี “รัฐบาลหมัก” สงหนังสือเปนลายลักษณอักษรแจงกัมพูชาเลิกขอตกลงรวมอยางเปนทางการ ช้ี เปนความรับผิดชอบของรัฐบาลทั้งคณะ ที่มีมติใหไปลงนาม หากเปนรัฐบาลประเทศอื่นคงลาออกไปแลว แตไทยเปนประชาธิปไตยอาเพศ จึงไมมีใครรับผิดชอบ

นายสุรพงษ ชัยนาม อดีตเอกอัครราชทูต 5 ประเทศ และอดีตอธิบดีกรมเอเชียตะวันออก กระทรวงการตางประเทศ กลาววา เมื่อคําสั่งศาลปกครองกลางไดออกมาชัดเจนแลว รัฐบาลตองไมดําเนินใดๆ และระงับการดําเนินการทุกอยาง ซ่ึงขณะนี้พรรคประชาธิปตยก็ไดย่ืนฟองตอศาลรัฐธรรมนูญดวยวา การลงนามขอตกลงดังกลาว ผิดกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 190 หรือไม คงตองรอคําพิพากษาของศาลดวย หากศาลวินิจฉัยวาขัดกฎหมาย มาตรา 190 แถลงการณรวมท่ีรัฐบาลไทยและกัมพูชา ทํารวมกัน ก็ถือเปนโมฆะไปโดยปริยาย ส่ิงท่ีรัฐบาลไทยตองทํา คือ ทําหนังสือแจงเปนลายลักษณอักษรถึงกัมพูชา วา ขอระงับแถลงการณรวม ไมมีผลใชบังคับไปกอน เพราะไทยมีปญหากระบวนการทางกฎหมายของประเทศไทย ซ่ึงตองรอใหเกิดความชัดเจน โดยอาจเปนหนังสือจาก รมว.ตางประเทศ ของไทย ถึง รมว.ตางประเทศ ของกัมพูชา หรือเปนหนังสือจากนายกรัฐมนตรีไทย ถึงนายกรัฐมนตรีกัมพูชา แตตองเปนหนังสือจากรัฐบาลประเทศหนึ่งสงถึงรัฐบาลประเทศหนึ่ง ใหไดรับทราบอยางเปนทางการ เพราะขอตกลงท่ีไปทํานั้น ถือเปนสนธิสัญญาที่มีผลผูกพันท้ัง 2 ประเทศ ซ่ึงเชื่อวาสถานทูตกัมพูชาประจําประเทศไทย ก็คงจะทราบเร่ืองและรายงานใหทางกัมพูชาไดทราบอยูแลว แตไทยก็ตองแจงอยางเปนทางการ

นายสุรพงษ กลาวตอไปอีกวา สวนความรับผิดชอบของผูที่เกี่ยวของกับเร่ืองท่ีเกิดขึ้นนั้น ก็ตองดูหลักฐาน เพราะเชื่อวาการดําเนินการเร่ืองนี้ คงมีการสั่งการเปนลายลักษณอักษร และเร่ืองนี้เปนเร่ืองสําคัญมีท้ังมติ ครม.และคําสงวนสิทธิ์ของไทยในปราสาทพระวิหารป 2505 ขาราชการประจําไดมีขอเสนอแนะใดตอรัฐบาลหรือไม หรือทั้งๆ ท่ีรูวาผิดกฎหมายก็ยังกระทํา ท้ังหมดตองพิจารณาจากหลักฐาน เวนแตภาคการเมืองจะสั่งการดวยวาจาก็มีแนวโนมวาขาราชประจําจะเปนแพะรับบาป

“สวนความรับผิดชอบของฝายการเมืองน้ัน เร่ืองนี้ไมใชความผิดของ นายนพดล ปทมะ รมว.ตางประเทศ เพียงคนเดียว แตท่ีประชุม ครม.ไดมีมติใหนายนพดลไปลงนามขอตกลงไดโดยไมมีใครคัดคาน

Page 64: MOU Gazette

‐ 64 ‐ 

 

จึงถือเปนความรับผิดชอบของคณะรัฐบาลทั้งคณะ ไมใชความผิดของคนใดคนหนึ่ง ซ่ึงหากเปนรัฐบาลของประเทศอื่นท่ีอยูในวิถีประชาธิปไตย เขาคงลาออกไปนานแลว แตประเทศเรามันเปนประชาธิปไตยอาเพศ จึงไมมีใครออกมารับผิดชอบสักคน”

นายสุรพงษ กลาวอีกวา ตนติดตามการอภิปรายไมไววาง ใจรัฐมนตรีของฝายคานมาตลอด และเห็นวา ส.ส.ฝายรัฐบาล หลายคนชอบอางวา ประเทศไทยลงนามไปแลว และที่ลงนามไปนั้น ก็เพราะคํานึงถึงความสัมพันธท่ีดีระหวาง 2 ประเทศ ถือเปนคําพูดที่ไรความรับผิดชอบอยางท่ีสุดของ ส.ส.ฟากรัฐบาล เพราะความสัมพันธที่ดีระหวางประเทศนั้น หมายถึงความสัมพันธที่ดีซ่ึงตองอยูบนพื้นฐานของประโยชนและอธิปไตยรวมกัน ไมใชความสัมพันธแบบเอาใจประเทศใดประเทศหนึ่ง หรือมีความสัมพันธโดยผลประโยชนของชาติเสียหาย แตการทําแถลงการณรวมของนายนพดล ไมไดสนองประโยชนประเทศไทย สนองประโยชนกัมพูชาเพียงฝายเดียว ดังนั้น ส่ิงท่ีเปนหัวใจสําคัญของความสัมพันธท่ีดีระหวางประเทศคือ ผลประโยชนแหงชาติท้ังสอง ความเปนมิตรประเทศตองอยูบนพื้นฐานมีประโยชนรวมกัน

“ผมเห็น ส.ส.รัฐบาลยกมือประทวงในสภา ขอไมใหฝายคานอภิปรายเร่ืองปราสาทพระวิหาร และแถลงการณรวมท่ีทําไป เพราะเกรงวาจะกระทบตอความสัมพันธของไทยกับกัมพูชา ผมคิดวาเปนคําพูดท่ีบองตื้น ไรสาระมาก เพราะความสัมพันธระหวางประเทศนั้น เราสามารถมีความสัมพันธไดหลายมิติ ทั้งเร่ืองการเมือง สังคม เศรษฐกิจ หรือวัฒนธรรม การที่เรามีความสัมพันธระหวางประเทศตอกันนั้น ไมวาจะอยางไรก็มีผลกระทบถึงกัน ไมวาเราจะหยิบเอาเรื่องนี้มาพูดหรืออภิปรายในสภาหรือไม ผลกระทบในความสัมพันธมันเกิดขึ้นอยูทุกวันจากมิติตางๆ อยูแลว แตประเด็น คือ เราตองใหผลกระทบที่เกิดขึ้นเปนประโยชนกับท้ัง 2 ฝายไมใชเปนประโยชนแกฝายใดฝายเดียว” อดีตเอกอัครราชทูต กลาว

Page 65: MOU Gazette

‐ 65 ‐ 

 

หมวด ๓ 

ภาคผนวก 

MOU 2000 ‐ เอ็มโอยู ๒๕๔๓ 

Memorandum of Understanding  

between the Government of the Kingdom of Cambodia 

and the Government of the Kingdom of Thailand 

on the Survey and Demarcation of Land Boundary (ฉบับภาษาอังกฤษ – ฝายกัมพูชา)

ที่มา http://www.oneangzone.blogspot.com/

Page 66: MOU Gazette

‐ 66 ‐ 

 

 

Page 67: MOU Gazette

‐ 67 ‐ 

 

 

Page 68: MOU Gazette

‐ 68 ‐ 

 

 

Page 69: MOU Gazette

‐ 69 ‐ 

 

 

Page 70: MOU Gazette

‐ 70 ‐ 

 

 

Page 71: MOU Gazette

‐ 71 ‐ 

 

 

Page 72: MOU Gazette

‐ 72 ‐ 

 

 

 

 

 

 

Page 73: MOU Gazette

‐ 73 ‐ 

 

 

Page 74: MOU Gazette

‐ 74 ‐ 

 

 

Page 75: MOU Gazette

‐ 75 ‐ 

 

 

 

Page 76: MOU Gazette

‐ 76 ‐