moodle setup appserv

72
เรียบเรียงโดย . ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 1 การ การ บริหารจัดการ บริหารจัดการ M M o o o o d d l l e e L L M M S S และการสราง และการสราง ระบบอีเลิรนนิ่ง ระบบอีเลิรนนิ่ง บนระบบปฏิบัติการ บนระบบปฏิบัติการ L L i i n n u u x x - - S S I I S S ความหมายและขอบขายงานของอีเลิรนนิ่ง อีเลิรนนิ่ง คืออะไร การเรียนการสอนแบบอิเล็กทรอนิกส (Electronict Learning : e-Learning) คือ รูปแบบการ เรียนการสอนที่มีการออกแบบการเรียนการสอนไวอยางเปนระบบ มีการกําหนดวัตถุประสงคหรือเปาหมายการ จัดการเรียนการสอนไวอยางชัดเจน จัดการเรียนการสอนตามหลักทฤษฎีทางการศึกษา หลักการเรียนการรูและ จิตวิทยาการศึกษา การถายทอดความรู การนําเสนอเนื้อหา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและถายทอด กลยุทธการสอนใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเปนเครื่องมือ ซึ่งในปจจุบันเนนไปที่การใชระบบ เครือขายอินเทอรเน็ตเปนชองทาง จึงทําใหผูเรียนสามารถเขาถึงและเรียนรูโดยไมจํากัดสถานที่และเวลา เนื้อหาบทเรียนของอีเลิรนนิ่งจะอยูในรูปแบบสื่อผสมอิเล็กทรอนิกส (Electronic Multimedia) ซึ่งออกแบบไวใน ลักษณะซอฟตแวรรายวิชาหรือคอรสแวร (courseware) ประกอบดวยสื่อผสม ไดแก ขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และที่สําคัญคือ ผูเรียนสามารถโตตอบกับบทเรียนและผูสอนได การบริหารจัดการระบบอีเลิรนนิ่ง ใชซอฟทแวรหรือโปรแกรมคอมพิวเตอรประเภทที่เรียกวา ระบบ บริหารจัดการการเรียนรู (Learning Management System: LMS) ทําหนาที่ในการบริหารจัดการอยาง อัตโนมัติเกือบทุกขั้นตอนแทนการปฏิบัติดวยคน คือ ตั้งแตขั้นตอนการลงทะเบียนเรียนจนถึงขั้นตอนการวัด และประเมินผลการเรียนการสอน ขอบขายงานของระบบอีเลิรนนิ่ง ขอบขายงานสําหรับองคกรที่ตองการจัดการเรียนการสอนในระบบอีเลิรนนิ่งใหมีประสิทธิภาพ สรุปไดวาระบบอีเลิรนนิ่งควรจะประกอบ 8 ดาน (Khan, 2008) คือ ภาพที1 ขอบขายงานของการพัฒนาอีเลิรนนิ่ง (e-Learning Framework) (ที่มา : http://bookstoread.com/framework/ ) (Khan, 2008)

Upload: -

Post on 24-Oct-2014

39 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

1

การการบริหารจัดการ บริหารจัดการ MMooooddllee LLMMSS และการสรางและการสรางระบบอีเลิรนนิ่งระบบอีเลิรนนิ่ง

บนระบบปฏิบัติการ บนระบบปฏิบัติการ LLiinnuuxx--SSIISS

ความหมายและขอบขายงานของอีเลิรนนิ่ง

อีเลิรนนิ่ง คืออะไร การเรียนการสอนแบบอิเล็กทรอนิกส (Electronict Learning : e-Learning) คือ รูปแบบการเรียนการสอนที่มีการออกแบบการเรียนการสอนไวอยางเปนระบบ มีการกําหนดวัตถุประสงคหรือเปาหมายการจัดการเรียนการสอนไวอยางชัดเจน จัดการเรียนการสอนตามหลักทฤษฎีทางการศึกษา หลักการเรียนการรูและจิตวิทยาการศึกษา การถายทอดความรู การนําเสนอเนื้อหา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและถายทอด กลยุทธการสอนใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเปนเครื่องมือ ซ่ึงในปจจุบันเนนไปที่การใชระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเปนชองทาง จึงทําใหผูเรียนสามารถเขาถึงและเรียนรูโดยไมจํากัดสถานที่และเวลา เนื้อหาบทเรียนของอีเลิรนนิ่งจะอยูในรูปแบบสื่อผสมอิเล็กทรอนิกส (Electronic Multimedia) ซ่ึงออกแบบไวในลักษณะซอฟตแวรรายวิชาหรือคอรสแวร (courseware) ประกอบดวยส่ือผสม ไดแก ขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และที่สําคัญคือ ผูเรียนสามารถโตตอบกับบทเรียนและผูสอนได การบริหารจัดการระบบอีเลิรนนิ่ง ใชซอฟทแวรหรือโปรแกรมคอมพิวเตอรประเภทที่เรียกวา ระบบบริหารจัดการการเรียนรู (Learning Management System: LMS) ทําหนาที่ในการบริหารจัดการอยางอัตโนมัติเกือบทุกขั้นตอนแทนการปฏิบัติดวยคน คือ ตั้งแตขั้นตอนการลงทะเบียนเรียนจนถึงขั้นตอนการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน

ขอบขายงานของระบบอีเลิรนนิ่ง ขอบขายงานสําหรับองคกรที่ตองการจัดการเรียนการสอนในระบบอีเลิรนนิ่งใหมีประสิทธิภาพ

สรุปไดวาระบบอีเลิรนนิ่งควรจะประกอบ 8 ดาน (Khan, 2008) คือ

ภาพที่ 1 ขอบขายงานของการพัฒนาอีเลิรนนิ่ง (e-Learning Framework) (ที่มา : http://bookstoread.com/framework/) (Khan, 2008)

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

2

องคประกอบ 8 ดานของระบบอีเลิรนนิ่ง มีรายละเอียดอธิบายโดยสังเขป ดังนี้ 1. ดานวิธีสอน (Pedagogical) เกี่ยวของกับกระบวนการสอน เกี่ยวของกับการวิเคราะหเนื้อหา

วิเคราะหผูเรียน กิจกรรมและสื่อการสอน การออกแบบวิธีการสอน รวมทั้งการกําหนดกลยุทธการสอนในสภาพแวดลอมแบบอีเลิรนนิ่งใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

2. ดานเทคโนโลยี (Technological) เกี่ยวของกับการสํารวจ การวางแผน การพัฒนา และการบํารุงรักษาเกีย่วกับโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดแก เครือขายคอมพิวเตอร ฮารดแวรและซอฟตแวรคอมพิวเตอร สถานที่บริการ เพือ่ใหองคกรสามารถรองรับการใชอีเลิรนนิง่ได

3. ดานการออกแบบสวนเชื่อมตอ (Interface Design) หมายถึง การออกแบบภาพรวมของระบบอีเลิรนนิ่งใหเหมาะสมและนาสนใจ (Look and Feel) อาทิเชน การออกแบบจอภาพรวมแตละหนา การออกแบบทั้งเว็บไซต การออกแบบการนําเสนอเนื้อหา การติดตอประสานกับผูเรียนขณะสืบคนและเรียนเนื้อหา

4. ดานการประเมินผล (Evaluation) หมายถงึ การวัดและประเมินผลผูเรียน การประเมินการสอน และการประเมินสภาพจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิ่ง

5. ดานการบริหารจัดการ (Management) หมายถึง การบํารุงดูแลรักษาระบบอีเลิรนนิ่งใหอยูในสภาพที่สามารถจัดการเรียนการสอนและใหสารสนเทศที่เปนประโยชนแกผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพตลอดเวลา

6. ดานทรัพยากรสนับสนุน (Resource Support) หมายถึง การจัดเตรียมทรพัยากรตาง ๆ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนในระบบอีเลิรนนิ่งอยางมีคณุภาพ เหมาะสม และเพียงพอ ทําใหการเรียนการสอนบรรลุเปาหมายได เชน บุคลากร งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ ครุภณัฑประกอบ เชน คอมพิวเตอรแมขาย (Server) โครงสรางพื้นฐานดานระบบเครอืขายขององคกร

7. ดานจริยธรรม (Ethical) หมายถึง การพิจารณาความเหมาะสมดานจรยิธรรมและคุณธรรม เนื่องจากอีเลิรนนิ่งสามารถมีผูเรียนหลากหลายและแตกตางกันในระบบได ผูเรียนอาจมาจากตางภูมภิาค ตางวัฒนธรรม ตางศาสนาทั่วโลก ดังนั้นจึงตองคํานึงผลกระทบดานจริยธรรมที่เกี่ยวของกับการจัดการเรียนการสอนดวยระบบอีเลิรนนิ่ง

8. ดานหนวยงานรับผิดชอบ (Institutional) หมายถึง การจัดการเรียนการสอนในระบบ อีเลิรนนิ่ง ตองมีหนวยงานรับผิดชอบในดานตาง ๆ ขององคกรอยางชัดเจน เชน ฝายบริหาร ฝายวิชาการ และฝายสวัสดิการนักศึกษา เปรียบเสมือนโครงสรางของโรงเรียน วิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย เพียงแตจัดการเรียนการสอนผานระบบออนไลน เชน การจัดการเรียนการสอนดวยระบบอีเลิรนนิ่งของมหาวิทยาลัยรังสิต (http://www.rsu-cyberu.com) การจัดการเรียนของมหาวิทยลัยไทยไซเบอร (http://www.thaicyberu.go.th) เปนตน

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

3

ระบบบริหระบบบริหารจัดการการเรียนรู ารจัดการการเรียนรู ((LLeeaarrnniinngg MMaannaaggeemmeenntt SSyysstteemmpp:: LLMMSS))

ระบบบริหารจัดการการเรียนรู หรือ LMS คือ ซอฟตแวรสําเร็จรูปโดยทั่วไปมีการใชงานระดับขนาดใหญซ่ึงมีความสามารถในการจัดการและถายทอดหรือสงเนื้อหาและทรัพยากรการเรียนไปสูผูเรียนได LMS สวนใหญทํางานบนระบบเว็บไซต (Web-based) เพื่ออํานวยความสะดวกใหสามารถเขามาเรียนเนื้อหาและบริหารจัดการไดทุกที่ทุกเวลา อยางนอย LMS ตองมีความสามารถในการลงทะเบียนนักศึกษา การนําเสนอเนื้อหาการเรียน และการติดตามผูเรียน การจัดการการสอบ และอนุญาตใหผูสอนจัดการรายวิชาได นอกจากนั้น LMS ที่มีประสิทธิภาพ จะมีความสามารถในการจัดการระดับสูง ไดแก การวิเคราะหผูเรียน การวางแผนการเรียน การตรวจสอบผูเรียน การสรางหองเรียนเสมือน การจัดการเนื้อหาบทเรียน การอํานวยความสะดวกใหแกผูเรียนดวยเครื่องมือตาง ๆ บางครั้งเรียก LMS ที่มีความสามารถทั้งในการจัดการบริหารรายวิชาและสรางเนื้อหาดวยเครื่องมืออัตโนมัตินี้วา LCMS (Learning Content Management System) (Wikipedia, 2008) และ (ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2549) ตัวอยางของ LMS ประเภทเชิงการคา เชน ANGEL Learning, Apex Learning Blackboard Inc., Desire2Learn , eCollege , Learn.com ,Meridian KSI , Saba Software ,SAP Enterprise Learning และ NetDimensions_EKP เปนตน ตัวอยาง LMS ประเภท Open Source ที่นิยมใช มีรายช่ือดังนี ้

LMS Link

ATutor http://www.atutor.ca/

Claroline http://www.claroline.net/

Docebo http://www.docebo.org/

Dokeos http://www.dokeos.com/

dotLRN http://dotlrn.openacs.org/

Ilias http://www.ilias.de/

Interact http://www.interactole.org/

KEWL.NextGen http://kngforge.uwc.ac.za/

Metacoon http://www.metacoon.de/

Moodle http://moodle.org/

OLAT http://www.olat.org/

OpenElms http://www.openelms.org/

Sakai http://www.sakaiproject.org/

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

4

ระบบบริหารจัดการการเรียนรู ระบบบริหารจัดการการเรียนรู MMooooddllee

Moodle (มูเดิ้ล) เปนซอฟตแวรระบบบริหารจัดการการเรียนรูหรือ LMS (Learning Management System) ประเภทเปดเผยรหัส (Open Source Software) ที่มีหนวยงานและสถาบันทางการศึกษานําไปใชอยางแพรหลาย คําวา Moodle ยอมาจากคําวา Module Object Oriented Dynamic Learning Environment (www.moodle.org) เปนซอฟตแวรเปดเผยรหัส (Open Source) สําหรับนํามาประยุกตใชงานเปนระบบบริหารจัดการเรียนรู หรือเปน LMS สําหรับการเรียนการสอนในระบบอีเลิรนนิ่ง พัฒนาขึ้นจากงานวิจัยในระดับปริญญาเอก โดย Martin Dougimas (www.moodle.com) เมื่อป ค.ศ. 1999 โดยใชการออกแบบและพัฒนาตามแนวคิดและทฤษฎีการเรียนรูโดยเนนการเปนสังคมแหงการเรียนรูหรือสังคมสรางสรรคการเรียนรู (Social Constructivist) และการเรียนรูแบบรวมมือกัน (Collaborative Learning) เปนสําคัญ สถิติจากเว็บไซต www.moodle.org เมื่อเดือนกรกฎาคม ป ค. ศ. 2008 มีเว็บไซตลงทะเบียนนํา Moodle ไปใชและลงทะเบียนมากกวา 43,000 เว็บไซต จํานวนผูเรียนทั่วโลกในระบบมากกวา 20 ลานคน ผูสอนในระบบมากกวา 1.8 ลานคน ใน 170 กวาประเทศทั่วโลก (http://www.moodle.org/stat)

การติดตั้ง การติดตั้ง MMooooddllee

Moodle เปนซอฟตแวรประยุกตสําหรับใชเพื่อการบริหารจัดการระบบการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิ่ง Moodle พัฒนาบนพื้นฐานเทคโนโลยีของ LAMP ประกอบดวย

- Linux คือ ซอฟตแวรระบบปฏิบัติการเครือขาย (แต Moodle สามารถทํางานบนระบบปฏิบัติการเครือขายหลายประเภท เชน Windows Server, Unix, FreeBSD)

- Apache คือ ซอฟตแวรที่ทําหนาที่เปน Web Server ใหบริการเว็บไซต - MySQL คือ ซอฟตแวรทําหนาที่เปนระบบบริหารจัดการฐานขอมูล - PHP คือ ภาษาสคริปตสําหรับใชเขียนโปรแกรมประยุกตทํางานบนเทคโนโลยีเว็บ (Web

Application) ดังนั้น ในการติดตั้ง Moodle เพื่อใชงานประยุกตดานการจัดการเรียนการสอนในระบบอีเลิรนนิ่ง จึง

ตองจัดเตรียมสภาพแวดลอมของระบบคอมพิวเตอรใหตรงตามความตองการของ Moodle จึงจะสามารถติดตั้งและปรับแตงระบบเพื่อใหสอดคลองกับความตองการของผูใชงานได สําหรับวิธีการติดตั้ง Moodle เพื่อทดลองใชงาน และการนําระบบไปใชงานจริงบนเครื่องแมขาย มีอยูหลายรูปแบบ ทั้งรูปแบบที่ติดตั้งบนเครื่อง PC เพื่อทดลองบริหารจัดการและใช Moodle สรางรายวิชา และการติดตั้งผานเครื่องแมขายโดยตรง โดยวิธีที่สะดวกที่สุด คือ การใชชุดติดตั้งสําเร็จรูป Windows Package ซ่ึง Download ไดจาก www.moodle/download/windows เมื่อแตกไฟลหรือ unzip ไฟลแลว Windows Package แลวจะทําการติดตั้งระบบโดยใชเทคโนโลยีของ XAMPP จําลองเครื่อง PC ใหเปนเครื่องบริการเว็บไซต(Web

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

5

Server) โดยติดตั้งระบบจัดการฐานขอมูล MySQL และภาษา PHP พรอมกับทําการติดตั้ง Moodle และฐานขอมูลใหทันที จากนั้นผูใชก็สามารถจะทดลองบริหารจัดการและใช Moodle ในการจัดการเรียนการสอนแบบอิเลิรนนิ่งไดทันที

การติดตั้ง Moodle บนเครื่อง PC

เอกสารฉบับนี้ เรียบเรียงขึ้นเพื่ออธิบายขั้นตอนการติดตั้ง Moodle บนเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลหรือ PC โดยการติดตั้งซอฟตแวรจําลองระบบแมขายบนเครื่อง PC ของเราใหเปนเครื่องแมขายสําหรับระบบ อีเลิรนนิ่ง (e-Learning Sever) กอน จากนั้นทําการติดตั้ง Moodle และจัดการปรับแตงระบบเบื้องตนใหเรียบรอยกอน หลังจากนั้นแลวจึงยายหรืออัปโหลด (Upload) Moodle และฐานขอมูลทั้งหมดไปไวบนเครื่องแมขายจริง ทําการปรับแตงคาสําหรับระบบเบื้องตน แลวจึงทําการสรางรายวิชาและทําการจัดการเรียนการสอนบนเครื่องแมขาย

ในการติดตั้ง Moodle ตามเอกสารนี้ ผูบริหารระบบจะตองทําการติดตั้งและจัดเตรียม เคร่ืองแมขายซึ่งใชเทคโนโลยี LAMP (Linux-SIS, Apache, MySQL, PHP) ซ่ึงอยูในเอกสารสวนแรก โดยใชระบบปฏิบัติการเครือขาย Linux-SIS (ftp://ftp.nectec.or.th) เปนระบบปฏิบัติการสําหรับบริหารจัดการระบบโดยรวม พัฒนาและเผยแพรโดย NECTEC เนื่องจาก Linux-SIS มีความเสถียรมากและมีประสิทธิภาพสูง เหมาะสําหรับติดตั้งเพื่อใชงานจริงในองคกรตั้งแตละระดับเล็กถึงระดับขนาดใหญ การโจมตีจากไวรัสทําไดยาก การทํางานมีความเร็วสูง พรอมทั้งติดตั้ง Application ที่รองรับการทํางานของ Moodle คือ Apache Web Server ทําหนาที่ใหบริการเว็บไซต MySQL ทําหนาที่บริการจัดการฐานขอมูล (Database Management System) และ PHP (Professional Home Page) ตัวแปลภาษาสคริปตประสิทธิภาพสูงสําหรับพัฒนาโปรแกรมประยุกตบนเว็บ (Web Application) ไวใหพรอมใชงานไดทันที

การติดตั้งโปรแกรม AppServe จําลอง PC เปนแมขาย (Server)

ขั้นตอนนี้ จะเปนการจําลองเครื่อง PC ของเราใหเปนเครื่องแมขายสําหรับการใหบริการเว็บไซต (Web Server) โดยใชโปรแกรมประยุกต คือ AppServe (www.appservnetwork.com) ติดตั้งบน PC โดยจะทํางานภายใตสภาพแวดลอมแบบ Windows ปกติที่เราใชงานอยู แตจะทําการจําลองเครื่อง PC ของเราสามารถใหบริการเว็บไซต พรอมกับติดตั้งระบบบริหารจัดการฐานขอมูล MySQL และมีภาษาสคริปต PHP พรอมกับติดตั้งโปรแกรมประยุกตสําหรับจัดการฐานขอมูล MySQL คือ phpMyAdmin มาใหพรอม เพื่อความสะดวกในการจัดการฐานขอมูล MySQL โดยมีขั้นตอนการ Download, การติดตั้ง และการทดสอบระบบ ตามลําดับดังนี้

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

6

ขั้นที่ 1 การ Download โปรแกรม AppServ ทําการ Download โปรแกรม AppServ จากเว็บไซต www.appservnetwork.com โดยเปด IE

เพื่อเขาสูเว็บไซต โดยการพมิพ URL แลวทําการเลือกโปรแกรม AppServ ในรุน (version) ตามความตองการ ในที่นี้เลือก AppServ version 2.5.10 ซ่ึงมีโปรแกรมประกอบดวย

• Apache 2.2.8 ทําหนาที่เปน Web Server • PHP 5.2.6 ภาษา PHP • MySQL 5.0.51b ระบบบริหารจัดการฐานขอมูล • phpMyAdmin-2.10.3 โปรแกรมประยุกตอํานวยความสะดวกในการจัดการฐานขอมูล MySQL

การเลือกเพื่อ Download ดังรูป

จากนั้น จะแสดงหนาเว็บไซตสําหรับการ Download ผานเว็บไซต Sourceforge.net ทําการบันทึกโปรแกรมที่ Download ไวที่ Folder ที่ตองการเก็บขอมูล

เลือก Download รุน 2.5.10 ซึ่งรองรับการทํางานของ

Moodle

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

7

เมื่อ Download เรียบรอยแลว จะแสดงกรอบโตตอบใหเลือก Run เพื่อติดตั้งโปรแกรม Open Folder เพื่อเปดไปยัง Folder ที่เก็บไฟลไว หรือปดกรอบโตตอบนี้

เลือกปุม Save เพื่อเริ่ม Download โปรแกรม

AppServ

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

8

ขั้นที่ 2 ติดตั้ง AppServe เร่ิมติดตั้งโปรแกรม AppServ ในเครื่อง PC (กอนติดตั้ง ถามี AppServ รุนกอนอยูแลวในเครื่อง ใหลบโดยการ uninstall ออกจากระบบกอน) โดยการเปด Folder ที่เก็บไฟลที่ Download โปรแกรม AppServ ไว แลวทําการเปดโดยการ Double Click ไฟล AppServ จากนั้นทําตามขั้นตอนที่โปรแกรมแนะนําไปตามลําดับ ดังรูป

จากนั้น โปรแกรมจะแสดงขัน้ตอนการติดตั้งไปตามลําดบั โดยใหเลือกปุม Next เพื่อทําในขั้นตอนตอไป ดังรูป

เลือก Double Click เพื่อ Run โปรแกรมติดตั้ง AppServ

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

9

เลือก Click ปุม I Agree เพื่อยอมรับเกี่ยวกับขอตกลงของ

โปรแกรม

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

10

ตําแหนงติดตั้งโปรแกรม คือ C:/AppServ เพื่อความสะดวก

ไมควรเปลี่ยนแปลง

เลือกโปรแกรมทั้งหมดที่ตองการติดตั้ง (ควรเลือกตามนี้)

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

11

ตองกรอกขอมูลช่ือเว็บไซต และ e-mail ถาไมมีกรอกตาม

ตัวอยางแนะนําได สวน port ใหกําหนดคาเดิมคือ 80

กําหนดรหัสผานสําหรับผูบริหารระบบฐานขอมูล คือ root โดยกรอกซ้ํากัน 2

ครั้ง เชน 123456

และตองจํารหัสของ root ไว เพื่อเขาสูระบบฐานขอมูล MySql

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

12

ขั้นที่ 3 การทดสอบความพรอมของระบบบนเครื่องแมขาย (Server) เมื่อติดตั้งโปรแกรม AppServ และ Run เรียบรอยแลว ผูบริหารระบบตองทําการทดสอบความพรอมระบบบนเครื่องแมขาย (Sever) จําลองกอน โดยทําการทดสอบการทํางาน ตามลําดับดังนี้ 1) การทํางานของเครื่องแมขายบริการเว็บไซต หรือ Web Server โดยการเปด IE แลวทําการกรอกชื่อเว็บไซตที่ Address Bar เปน http://localhost หรือทําการกรอกเปนหมายเลข IP Address ของเครื่อง เชน 172.16.42.195 ถาระบบ Web Server ทํางานไดสําเร็จ จะแสดงผลลัพธหนาแรกของเว็บไซต ดังรูป

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

13

แสดงวาขณะนี้เครื่อง PC ของเราไดจําลองตัวเองเปน Web Server พรอมใหบริการเว็บไซตแลว โดย

โปรแกรมจะจัดเก็บขอมูลของเว็บไซตที่ใหบริการไวที่โฟลเดอร C:\AppServ\www ซ่ึงถาตองการสราง

เว็บไซตเผยแพรผานระบบจําลองเครื่องแมขายนี้ จะตองเก็บขอมูลของเว็บไซตไวภายใต subfolder ช่ือ www เชน ถาตองการสรางเว็บไซตสําหรับบริหารจัดการระบบอีเลิรนนิ่ง อาจสรางแหลงเก็บขอมูลเผยแพรเปน

C:\AppServ\www\e-learning 2) การทํางานของระบบบรหิารจัดการฐานขอมูล MySQL หลังจากติดตั้งโปรแกรม AppServ แลว

สามารถทดสอบการทํางานของระบบบริหารจัดการฐานขอมูล MySQL ได โดยการเลือก click ที่ลิงก phpMyAdmin Database Manager Version 2.10.3 เพื่อทดสอบการเปดโปรแกรมประยุกตบริหารจัดการฐานขอมูล MySQL ผานหนาเว็บไซต (โดยปกติตองบริหารจัดการโดยผานคําสั่ง Command Line ของ MySQL ซ่ึงไมสะดวก จึงบริหารจัดการฐานขอมูลดวยโปแกรมประยุกต phpMyAdmin) โดยตองกรอก

ขอมูล ชื่อผูใช คือ root และรหัสผานของ root ท่ีกําหนดไวในขั้นตอนการติดตั้ง

เว็บหนาแรกของการทดสอบแสดงขึ้นมา แสดงวา Web Server

ทํางานเรียบรอยแลว

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

14

ถากรอกชื่อผูใชและรหัสผานถูกตอง และระบบฐานขอมูล MySQL ทํางานพรอมใหบริการ (service) แลว โปรแกรม phpMyAdmin จะแสดงผลไดดังรูป

phpMyAdmin โปรแกรมประยุกตสําหรับบริหารจัดการ

ฐานขอมูล MySQL

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

15

3) การตรวจสอบการทํางานและคุณสมบัติของ PHP การตรวจสอบคุณสมบัติของ PHP สามารถทําไดโดยการเลือกลิงก PHP Information Version

5.2.6 ที่หนาแรกของ http://localhost ดังรูป

แสดงรายละเอยีดเกี่ยวกับภาษา PHP ที่ติดตั้งในระบบ ดงัรูป

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

16

การติดตั้ง Moodle บน localhost

ขั้นที่ 1 Download โปรแกรม Moodle ทําการ Download ซอฟตแวร Moodle ที่เว็บไซต www.moodle.org/download มาเก็บไวที่

เครื่อง PC ของเรา โดยเลือก Download Moodle รุนทีต่องการ ในทีน่ี้คือ รุนลาสุด Moodle 1.9+ สําหรับติดตัง้บนเครื่องแมขาย (Web Server) ใหม โดยใชรูปแบบไฟลแบบ ZIP สําหรับติดตั้งบนระบบ Windows ดังรูป

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

17

Download เวอรช่ัน 1.9.1+ ในรูปแบบไฟลแบบ .zip

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

18

ขั้นที่ 2 เตรียมตนฉบับโปรแกรม Moodle สําหรบัการติดตั้ง ทําการแตกไฟล (Unzip) โปรแกรม Moodle ที่ Download โดยกําหนดหรือเปลี่ยนชื่อ Folder เปนชื่อ e-learning หรือช่ืออ่ืนๆ ตามความตองการ แลวทําการยาย Folder ท่ีเก็บ Moodle นี้ ไปเก็บไวภายใต Flodle ของเว็บไซต คือ C:\AppServ\www เพื่อใหสามารถเปดหรือเผยแพรผานเว็บไซต http://localhost ได ดังรูป

Save ไฟลที่ Download ลงในฮารดดิสกเพื่อนําตนฉบับไปทําการ

ติดตั้ง

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

19

ขั้นที่ 3 การสรางฐานขอมูล (Database) ผานโปรแกรม phpMyAdmin เปนขั้นตอนการเตรียมสรางฐานขอมูล (database) ไว เพือ่รองรับการจัดเก็บขอมูลของระบบ อีเลิรนนิ่งที่บริหารจัดการดวย Moodle ซ่ึงระบบ Moodle เอง ตองการใชฐานขอมูลจํานวน 1 ฐาน สรางเปนฐานขอมูลวางเตรียมไวสําหรับใชในขั้นตอนการติดตั้ง สําหรับขั้นตอนการสรางฐานขอมูลโดยใชโปรแกรม phpMyAdmin มีดังนี ้

ยาย Folder ที่เก็บ Moodle ทั้งหมดไปวางไวที่

c:\AppServ\www

g

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

20

1) เปดโปรแกรม phpMyAdmin ผานหนาเว็บไซตโดยการพิมพที่อยู คอื http://localhost/phpmyadmin หรือเลือกลิงกจากหนาแรกของ http://localhost ก็ได เว็บไซตจะแสดงกรอบโตตอบใหกรอก รหัสผานของ root ดังรูป

กรอกชื่อ root และรหัสผานใหถูกตองจะเขาสูระบบบริหารจัดการฐานขอมูล MySQL ดวยโปรแกรม phpMyAdmin ดังรูป

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

21

เมื่อสรางฐานขอมูลช่ือ e-learning เรียบรอย จะแสดงจอภาพ ดังนี ้

จากนั้นจะเปนขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม Moodle ในขั้นตอนตอไป ขั้นที่ 4 ดําเนินการติดตั้ง Moodle ผานหนาเว็บไซต ในขั้นตอนที่ 2 นั้นเปนการเตรียมตนฉบับ (source program) ของ Moodle ไปไวภายใต Web

Directory เพื่อเตรียมเผยแพรผาน http://localhost และในขั้นตอนที่ 3 เปนการจดัเตรยีมฐานขอมูลไวเพื่อใชในขั้นตอนการตดิตั้ง Moodle เมื่อจัดเตรียมไวพรอมแลว กส็ามารถดําเนินการติดตั้ง Moodle ผานหนาเว็บไซต ตามขั้นตอนตามลําดับดังนี ้

เปดเว็บไซตดวย URL หรือชื่อเว็บไซต http://localhost/e-learning ซ่ึง e-learning คือช่ือ Foldler ที่เก็บโปรแกรม Moodle (ที่เก็บขอมูลจริงอยูที่ C:/AppServ/www/e-learning จะปรากฏจอภาพเริ่มกระบวนการติตั้งดังรูป

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

22

เลือกการแสดงภาษาไทยในขณะทําการติดตั้ง

Moodle

แสดงผลการตรวจสอบระบบวารองรับ Moodle

หรือไม

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

23

กรอกขอมูลช่ือฐานขอมูลที่MySQL สรางเตรียมไว กรอกชื่อผูใชและรหัสผานใหถูกตอง (รหัสผานที่กําหนดไวในขั้นตอนการติดตั้ง

AppServ

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

24

การแจงเตือน และใหขอแนะนําในการกําหนดคุณลักษณะของ Web Server เพื่อใหทํางานรองรับกับ

Moodle ใหไดประสิทธิภาพสูงสุด

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

25

ใหเลือกปุมคําสั่งตอไป (ในขั้นตอนนี้ยังไมตองติดตั้งระบบภาษาไทย) ให

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

26

ขั้นตอนการติดตามการแจงขาวสารและรุนของ Moodle ท่ีกําลังติดตั้ง

ขั้นตอนสรางฐานขอมูลในระบบ

ขอตกลงเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ของ Moodle เมื่ออานเขาใจแลว ใหเลือก Yes เพื่อเริ่มทําการสรางฐานขอมูล

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

27

กําลังดําเนินการสรางตารางในฐานขอมูลของระบบ ใหเลือก

Continue ตอไป จนกวาจะเสร็จสิ้นขั้นตอนนี้

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

28

ขั้นกําหนดรายละเอียดขอมูลเกี่ยวกับผูบริหารระบบ เมื่อติดตั้งฐานขอมูลเรียบรอยแลว ระบบ Moodle จะใหผูบริหารระบบกําหนดคาเริม่ตนเกี่ยวกับผูดแูลหรือผูบริหารระบบอีเลร์ินนิ่ง ซ่ึงจะตองจําชื่อผูใชและรหัสผานสําหรับผูทําหนาที่เปนผูบริหารระบบหรือ Administrator ไว เพื่อใชในการเขาสูระบบในภายหลัง

จดจํา Username และ password ไวสําหรับการเขาสูระบบในฐานะของ

Administrator ในครั้งตอไป

เมื่อกรอกขอมูลและตรวจสอบความถูกตอง สมบูรณแลว เลือกปุม Update profile เพื่อบันทึก

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

29

ขั้นตอนการกําหนดขอมลูเบื้องตนใหกับเว็บไซต

เมื่อติดตั้งเสร็จเรียบรอย ระบบอีเลิรนนิ่งที่บริหารจัดการโดย Moodle ในเบื้องตนจะแสดง

ผลลัพธเว็บไซตหนาแรก ดังรูป

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

30

การติดตั้งภาษาไทยใน Moodle

สําหรับการติดตั้งภาษาไทยใน Moodle 1.9.2 ตองเปนภาษาไทยแบบรหัสมาตรฐ Unicode เรียกวา TH-UTF-8 โดยสามารถ Download ไดที่ http://download.moodle.org/lang16/ ดังรูป

เลือก Download ชุดติดตั้งภาษาไทย คือ ไฟล th_utf8.zip ดังรูป

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

31

เมื่อไดไฟล th_utf8.zip มาแลว ใหแตกไฟลทั้งหมดไวใน PC ของเรากอนดวย

โปรแกรม Winzip ดังรูป

Click เพื่อ Download ไฟลเก็บไวที่คอมพิวเตอร เพื่อแตกไฟลแลว upload หรือยายไปเก็บไวที่ directory ช่ือ lang ของระบบ Moodle

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

32

จากนั้นทําการยาย directory ชื่อ th_utf8 ไปเก็บยัง directory ชื่อ lang ซึ่งอยูภายใต

Directory ของไฟลระบบ Moodle (C:\AppServ\www\e-learnning\lang) ดังรูป

หลังจากนัน้เขา สูระบบ Moodle ในฐานะเปนผูบริหารระบบ หรือ Admin เพื่อกําหนดภาษาไทยสําหรับการแสดงผลหรือการติดตอกับผูใช ดังรูป

แตกไฟลไวใน folder ช่ือ Th_utf8

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

33

กําหนดภาษาไทย

บันทึก

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

34

เม่ือกําหนดคาภาษาไดแลว ระบบ Moodle จะติดตอกับผูใชเปนภาษาไทย ดังรปู

จอภาพของระบบอีเลิรนนิ่งที่บริหารดวย Moodle ที่ยังไมไดมีการปรบัแตงระบบใหเหมาะสมตรงกับความตองการของผูใช (จาก

ภาพ เปนการlogin โดยผูดูแลระบบ)

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

35

การบรหิารการบรหิารจัดการจัดการ MMooooddllee เบื้องตนเบื้องตน

สภาพทั่วไปของการบริหารจัดการระบบอีเลิรนนิ่งดวย Moodle เมื่อไดติดตั้งระบบ Moodle เพื่อบริหารจัดการการเรียนรูเรียบรอยแลว เราอาจเรียกระบบนี้วาเปนโรงเรียนเสมือนหรือมหาวิทยาลัยเสมือน (Virtual School or University) ก็ได เพราะ Moodle สามารถบริหารจัดการการจัดการการเรียนรูตั้งแตขั้นตอนของการสมัคร การลงทะเบียนเขาเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู จนกระทั่งถึงขั้นตอนการประเมินผลการเรียน การเขาสูระบบครั้งแรก ทําไดโดยการพิมพ URL เชน http://localhost/e-learning (กรณีติดตั้งบน PC) หรือ http://www.yru.ac.th/e-learning (กรณีติดตั้งบน Server และกําหนดชื่อ Domain Name แลว) ระบบจะแสดงหนาแรก โดยจะยังคงมีเฉพาะสวนประกอบเบื้องตน ประกอบดวย ช่ือระบบ (ช่ือโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย) รายวิชาที่เปดสอน ซ่ึงขณะนี้ยังไมมีรายวิชาที่เปดสอนเนื่องจากเปนการติดตั้งระบบใหม หนาจอภาพจะประกอบไปดวยขอความแสดงความยินดีตอนรับ และ ปฏิทิน รวมทั้งเมนูสําหรับการเขาสูระบบ ดังรูป

Click เพื่อเขาสูระบบ

Click เพื่อเขาสูระบบ

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

36

การเขาสูระบบ (มหาวิทยาลัยเสมือน) การเขาสูการบริหารระบบ Moodle ในฐานะผูบริหารระบบ (Administrator) นั้น กอนอื่นผูบริหารระบบจะตองทําการ login เขาสูระบบ โดยการกรอกชือ่ผูบริหารระบบสูงสุด คือ admin และรหัสผาน ซ่ึงในที่นี้ใชรหัสผานคือ admin เชนกนั ดังรูป

เมื่อกรอกชื่อผูใช และรหัสผานแลว ให click เขาสูระบบ หากไมมีขอผิดพลาด สามารถเขาสูระบบสําเร็จ จะแสดงจอภาพสําหรับผูบริหารระบบ มีสภาพแวดลอม ดังรูป

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

37

การจัดการสมาชิก สมาชิก (users) ของระบบบริหารจัดการการเรียนรู Moodle แบงออกเปนหลายประเภท โดยสามารถการกําหนดบทบาทหรือสิทธิ์ (roles) ของสมาชิกหรือผูใชในระบบไดตามความตอง ทั้งนี้เปนหนาที่ของผูดูแลระบบ ในที่นี้จะแนะนําเบื้องตนสําหรับการกําหนดบทบาทสามาชิกประเภทนักเรียน และผูสรางรายวิชา

แสดงชื่อผูที่เขาสูระบบ ในที่เขาสูระบบในฐานะ Admin

แสดงชื่อผูที่เขาสูระบบ ในที่เขาสูระบบในฐานะ Admin

เมนูหลักสําหรับการจัดการระบบในดาน

ตาง ๆของผูบริหารระบบ

ปุมคําสั่งเพื่อแกไข รูปแบบของหนาแรก

ของ Moodle

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

38

ประเภทของสมาชิกในระบบ Moodle มีดังนี้

กลุม หนาท่ี ชื่อยอ ผูบริหารระบบ (Administrator) บริการจัดการไดทุกสวนของระบบรวมทั้งใน

รายวิชา admin

ผูสรางรายวิชา (Course creator) สามารถสรางรายวิชาใหมไดและบริหารรายวิชาของตนเองไดทั้งหมด

coursecreator

ผูสอน (Teacher) สามารถบริหารจัดการในรายวิชาของตนเองได รวมทั้งกําหนดกิจกรรม การรประเมินผลในรายวิชา

editingteacher

ผูสอนรวม (Non-editing teacher) สามารถทําการสอนและประเมินผลการเรยีนรายวิชาที่ไดรับอนุมัติหรือรับเชิญใหเปนผูสอนได แตไมสามารถสรางหรือเปลี่ยนแปลงกิจกรรมในรายวิชาได

teacher

นักศึกษา (Student) คือสมาชิกที่สมัครเขาเปนนกัเรียน โดยการเลือกลงทะเบียนเรียนในรายวิชาที่เปดสอนและผูสอนอนมุัติใหเรียนได

student

ผูเยี่ยมชม (Guest) คือ ผูที่ไมไดสมัครเปนสมาชิกของระบบ หรือผูที่สมัครแลวแตยังไมไดรับการอนุมัติ มีสิทธิ์แคดูเว็บไซตหนาแรกเทานั้น ไมมีสิทธิ์ทํากิจกรรมและเขาเรียนในรายวิชาที่เปดสอน

guest

ผูใชระบบ (Athenticated user) คือผูใชระบบทุกคนที่ได Login เขาสูระบบในฐานะใดฐานะหนึ่ง

user

• วิธีการอนุมัตสิมาชิกการเพิม่และอนุมัติโดยผูบริหาร วิธีการอนุมัตสิมาชิกที่สมัครเขาเรียนในระบบ Moodle มีหลายวิธี ในเบื้องตนนี้ จะแสดงขั้นตอนการ

อนุมัติสมาชิก โดยผานการอนุมัติโดยตรงจากผูบริหาร การอนุมัติสมาชิกโดยผูบริหารโดยตรง คือ กรอกขอมูลสมาชิกโดยผูบริหาร และ เปนการอนุมัติเขาใชระบบทันที (แสดงตัวอยางการเพิ่มสมาชิกในขั้นตอนการเพิ่มสมาชิก)

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

39

แสดงชื่อผูที่เขาสูระบบ ในที่เขาสูระบบในฐานะ Admin

เมื่อกําหนดใหอนุมัติการสมาชิกโดยผูบริหารเทานั้น ควรปดการแสดง แบบฟอรการลงทะเบียนในขั้นตอน

การ login เขาสูระบบ

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

40

• การจัดการบัญชีผูใช เมื่อสมัครเขาเรียนในระบบ Moodle และไดรับการอนุมตัิแลวจะปรากฏชื่อสมาชิกของกลุม ดังรูป

ผูบริหารสามารถทําการแกไขหรือลบขอมูลสมาชิกออกจากระบบได โดยการเลือก แกไข หรือ ลบ ขอมูลสมาชิกตามที่ตองการ ดังรูป

• การเพิ่มสมาชกิโดยผูบริหารระบบ ขั้นตอนของการลงทะเบียนนักเรียนสามารถสมัครเปนสมาชิกของระบบออนไลน และสามารถยืนยัน

การเขาเปนสมาชิกผานทาง e-mail ได โดยผูบริหารตองกําหนดการอนมุัติโดยวิธีอนมุัติทางอีเมล ในเอกสารเลมนี้ จะเปนการอธิบายเบื้องตน ในการเพิ่มสมาชิกในระบบโดยผูบริหารระบบเปนผูกรอก

สมาชิกทีละคน และอนุมัติโดยผูบริหารระบบ ดังรูป

แกไขหรือลบขอมูลสมาชิกในระบบ

กรณีตองการเพิ่มสมาชิกใหมในระบบ

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

41

Click เพื่อเพิ่มหรือปรับปรุงขอมูลสมาชิก

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

42

• การกําหนดสิทธิใหเปนผูสรางรายวิชา (Course Creator)

ผูบริหารระบบมีฐานะหรือบทบาทเปน Administrator ถือเปนผูมีสิทธิ์สูงสุด มีสิทธิ์ในการกําหนดบทบาทหรือสิทธิ์ใหกับสมาชิกในระบบ Moodle การกําหนดบทบาทใหกับสมาชิกวาใหมีบทบาทเปนอะไร สามารถกําหนดได โดยการเลือกประเภทบทบาท และเลือกชื่อสมาชิกเขาไปอยูในกลุมนั้น ดังรูปในหนาตอไป เปนตัวอยาง เลือกนายสมศักด ดีเสมอ ใหเปนมีบทบาทเปน Student หรือนักเรียน

Click เลือกบทบาทของสมาชิกแตละประเภทเพื่อกําหนดบทบาทของสมาชิก

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

43

การบริหารจัดการรายวิชา

• การสรางและแกไขประเภทวิชา การบริหารจัดการรายวิชา เปนหนาที่ของผูบริหารระบบอีเลิรนนิ่ง ที่จะตองเปนผูกําหนดวารายวิชาที่เปดสอนในระบบ Moodle ใหมี ก่ีกลุมหรือก่ีประเภทวิชา รวมทั้งเปนผูมีบทบาทในการอนุมัติการขอสรางรายวิชาใหมในแตละกลุม หรือการยกเลิกการเปดสอนในรายวิชานั้น เมื่อติดตั้งระบบ Moodle ใหม จะมีการกําหนดประเภทรายวิชามาใหช่ือ Miscellanous เราสามารถเปลี่ยนชื่อประเภทวิชาได และสามารถเพิ่มประเภทรายวิชาได เชน แบงประเภทตามหลักสูตร แบงตามระดับชั้น แบงตามภาควิชา แบงตามคณะ หรือแบงตามสาระการเรียนรูก็ได

เลือกรายช่ือสมาชิก เพื่อกําหนดบทบาทในการเปนผูใชในระบบ แลว click ปุมเพื่อเพิ่มสมาชิกในกลุมบทบาทที่ตองการ

เลือกประเภทของบทบาท

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

44

กรณีตองการ แกไขประเภทของรายวชิา ใหเลือก click ที่ช่ือประเภทรายวิชา เพื่อทําการแกไขชื่อประเภทรายวชิา จากภาพ เลือกประเภทรายวิชา Miscellaneous เพื่อทําการแกไข จะไดผลลัพธดังรูปตอไปนี ้

ใหพิมพช่ือประเภทวิชาที่ตองการแกไขหรอืปรับเปลี่ยน จากนั้นใหเลือก click ปุม [เปล่ียนชื่อ]

ระบบก็จะทําการเปลี่ยนประเภทรายวิชาตามที่ตองการ

กรอกกลุมหรือประเภทของรายวิชาเพิ่ม แลว click [เพิ่มประเภท] เพื่อบันทึก

ปุมสําหรับ ลบ ซอน และยายประเภทของรายวิชา

แกไขแลวเลือก click เพื่อเปลี่ยนช่ือประเภทรายวิชา

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

45

สําหรับ การสรางและบรหิารจัดการรายวิชา จะอธิบายขั้นตอนการสรางรายวิชาอยูใน คูมือสวนของผูสอนในระบบ Moodle ในสวนตอไป

• การสรางรายวิชา ผูมีสิทธิ์สรางรายวิชา (Course creater) ทําการ Login เขาสูระบบ แลวทําการเพิ่มรายวิชาใหมในระบบดังนี ้

เลือกรายวิชาทั้งหมดเพื่อขอเพิ่มรายวิชาใหม

เลือกเมนูเพิ่มรายวิชา

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

46

กรอกรายละเอียดของวิชาที่เพิ่มใหมใหครบ แลว

เลือกปุมบันทึก

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

47

• การเพิ่มผูเรียนเปนกลุมโดยวิธีการ Upload การเพิ่มผูเรียนหรือสมาชิกเปนกลุม โดยวิธีการ upload ช่ือผูเรียนเปนกลุมหรือเปนหองเรียน มี

ขั้นตอนโดยสงัเขป ดังตอไปนี้ 1. จัดเตรียมชือ่ผูใชในรูปแบบของไฟล Excel ตามแบบฟอรมที่กําหนดให (ตวัอยางในแผน

CD-ROM) เพือ่ใหสามารถ Upload รายช่ือผูเรียนเขาไปเก็บในระบบเปนกลุมได ดังนี้

ตัวอยางรายวิชาที่ได

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

48

2. แปลงไฟลเปนประเภท CSV คือขั้นตอนการแปลงรูปแบบไฟลจาก Microsoft Excel ใหเปนไฟลขอความที่แบงแตละสวน (Field) ดวยเครื่องหมาย Comma (,) โดยการใชคําสั่ง บันทึกแฟมเปน ของ Microsoft Excel แลวเลือกประเภทเปน MS-Dos (csv) และทําการบันทึกไฟลเปนชือ่ใหมไว ดังรูป

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

49

3. เปล่ียนแปลงรหัสขอมูลเปน ประเภท UTF-8 ดวยโปรแกรม EditPlus แลวทําการบันทึกไฟลกอนทําการ upload ทั้งนี้ เนื่องจากรหสัขอมูลในฐานขอมูลของ Moodle กําหนดรหัสขอมูลไวเปน UTF- 8 จึงตองเปลี่ยนรหัสขอมูลกอนทําการ upload ในขั้นตอนตอไป ดังรูป

เลือกประเภทไฟล CSV

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

50

4. การกําหนดรหัสวิชาและการสรางกลุมผูเรียน ในรายวชิาที่ตองการเพิ่มรายชื่อสมาชิกหรือ

ผูเรียน ผูบริหารระบบหรือผูสอน จะตองกาํหนดชี่อ รหัสวิชาและชื่อกลุม (group) ในรายวิชา ใหตรงกับขอมูลสองฟลดสุดทายของไฟลที่ตองการ upload คือ คอลัมน course1 และ group 1 ของผูเรียนใหตรงกบัขอมูลในไฟลที่จะ Upload

ทําการสรางกลุมผูเรียนในรายวิชา ดังรูป

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

51

เลือกเมนูสรางกลุมในรายวิชาที่ตองการ upload สมาชิก โดยการเลือกปุมคําสั่ง

กําหนดชื่อกลุมใหตรง

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

52

5. ทําการ Upload รายช่ือจากไฟลในขอ 3 เมื่อในรายวิชามีรหัสวิชา และรายชื่อกลุมผูเรียนใน

รายวิชาแลว จะทําการ Upload ไฟล โดยการเลือกที่เมนู จัดการระบบ บัญชีผูใช และ อัพโหลดสมาชิก ดังรูป

ช่ือกลุมที่สรางไวในรายวิชานี้ ขณะนี้ยังไมมีสมาชิก (0)

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

53

เลือกไฟลประเภท CSV ที่จัดเตรียมไว เพื่อทําการ upload

ตรวจสอบเงื่อนไขสําหรับการ upload ตามที่ตองการ แลวจึงทํา

การ upload สมาชิก

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

54

6. ตรวจสอบการเขาสูระบบของผูเรียน เมื่อทําการ upload รายช่ือผูเรียนเปนกลุมแลว ผูบริหาร

ระบบควรทดสอบการเขาสูระบบโดยใชช่ือและรหัสผานของผูเรียน เพื่อความมั่นใจวารายชื่อผูเรียนเขาสูระบบแลว รวมทั้งตรวจสอบในรายวิชาที่ upload รายช่ือสมาชิกแลว วามีรายชื่อผูเรียนอยูในกลุมถูกตองหรือไม ดังรูป

ตัวอยางรายชื่อสมาชิกที่ไดทําการ upload แลว

ตัวอยางรายชื่อสมาชิกที่ทดลอง Login เขาสูระบบ

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

55

การจัดการโมดูล โมดูล (Module) คือ โปรแกรมสําเร็จรูป มีหนาที่หรือทํางานเฉพาะดาน เชน โมดูลแบบทดสอบ โมดูลการบาน โมดูลกระดานเสวนา ซ่ึงองคประกอบสําคัญของ Moodle เมื่อติดตั้งและประกอบรวมเปน Moodle LMS แลวจะเลือกใชหรือไมโมดูลไหนก็ได แตก็จะมีผลตอการจัดการเรียนรูในสวนที่เกี่ยวของ เชน โมดูลที่ช่ือ การบาน (Assignment) หากไมเลือกใชหรือลบทิ้ง ก็ไมสามารถจะจัดกิจกรรมมอบหมายการบานใหผูเรียนได หรือโมดูลที่เปนกรอบ (Block) หากซอนหรือลบทิ้ง ก็จะไมสามารถแสดงกรอบหรือบล็อกที่หนาของเว็บได

• การจัดการกิจกรรมทั้งหมด กิจกรรมเปนโมดูลมาตรฐานของ Moodle ซ่ึงมีหลายประเภท แตละโมดูลมีหนาที่และกําหนด

รายละเอียดทีแ่ตกตางกันไป ดังรูป

รายช่ือสมาชิกในกลุมทั้งหมด

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

56

นอกจากนั้นยงัมีโมดูลพิเศษที่มีผูพัฒนาเขามาเสริม ผูบริหารระบบ Moodle ที่ชํานาญแลว อาจหาโมดูลทีต่รงความตองการเขามาเสริมไดจากเว็บไซต download.moodle.org ในสวนของ Module and Plugins

• การจัดการกรอบ (Block) กรอบ (Block) คือองคประกอบที่ประกอบเปนสวนตาง ๆ ในหนาเว็บเพ็จ เพื่อเสริมประสิทธิภาพการทํางานของระบบ Moodle ดังรูป

รายช่ือโมดูลที่เปนมาตรฐานของ Moodle

จัดการโมดูลดวยการซอน/แสดง การลบ การตั้งคา จากเมนูสวนนี้

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

57

หมายเหตุ การซอนหรือการลบทิ้ง กรอบของระบบ จะมีผลตอการจัดโครงสรางในหนาของเว็บเพจดวย

การปดหรือเปด Block ใหทํางานหรือไมทํางาน

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

58

• การจัดการฟลเตอร ฟลเตอร คือการจัดการกรองหรือระบุใหระบบมีเงื่อนไขบางอยาง เชน ลักษณะการแสดงผล

ลักษณะการลงิก การกรองคําหยาบ การแสดงผลดานมัลติมีเดีย สามารถกําหนดใหทํางาน (แสดง) หรือไมทํางาน (ซอน) และตั้งคาได ดังรูป

การจัดการรูปแบบ

บทบาทของผูบริหารระบบ (Adminstrator) การดูแลรักษาระบบและการปรับแตงระบบบริหารจัดการเรียนรู Moodle ใหสามารถบริหารการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด จําเปนตองมีความรูหลายประการ เชน ความรูเกี่ยวกับระบบปฏิบัติเครือขาย พื้นฐานความรูดานเครือขาย ความรูดานเทคโนโลยีการเรียนรู ในเอกสารนี้ จะยกตัวอยางการปรับแตงระบบ Moodle ขั้นพื้นฐานเทานั้น เพื่อใหเปนแนวทางการศึกษาในระดับสูงตอไป ปกติเมื่อผูบริหารเขาสูระบบ จะแสดงสภาพแวดลอมทั่วไปของ Moodle ดังรูป

จัดการฟลเตอรใหแสดงหรือซอน รวมทั้งการตั้งคา

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

59

• การกําหนดการแสดงผลหนาแรก เมื่อเขาสูระบบไดแลว ก็สามารถปรับแตงระบบเบื้องตนได โดยกําหนดองคประกอบของหนาเว็บไซตดวยเมนูของผูบริหารระบบ ซ่ึงอยูทางคอลัมนซายมือของจอภาพ ไดดังนี ้

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

60

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

61

เมนูสําหรับบริหารจัดการระบบ อีเลิรนนิ่ง โดยสิทธิ์ของผูบริหารสามารถดําเนินการไดทกุอยาง

กําหนดใหแสดงสวนประกอบในหนาแรกของเว็บไซตประกอบดวย

ขาวและประเภทรายวิชา

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

62

การเลอืกรูปแบบที่ใชในเว็บ (theme) ระบบ Moodle มีรูปแบบ (theme) มาตรฐานที่ใชแสดงในหนาแรกของระบบ สามารถกําหนดได จากเมนู การจัดการระบบ ในสวนที่เกีย่วกับรูปแบบที่ใชในเวบ็ เลือกรูปแบบเว็บ จากนั้นจะมีตวัอยางรปูแบบมาตรฐานใหเลือกใช ผูบริหารระบบสามารถเลือกรูปแบบที่ตองการไดทันที ดังนี้

เมื่อเลือกแลว ระบบจะถามเพื่อยืนยัน และจะแสดงผลลัพธเปนรูปแบบที่เลือกไวทนัที เชน แบบ OceanBlue

เลือกรูปแบบเว็บ เพื่อกําหนดรูปแบบหนาแรกของระบบใหม

ตามที่ตองการได

Click เลือกหรือแสดงตัวอยางกอนตัดสินใจ

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

63

การปรับแตงองคประกอบในหนาเว็บ

การปรับแตงหนาเว็บของ Moodle โดยตรง ทําไดโดยการเลือกปุม เพื่อ

เร่ิมแกไขและปรับแตง โดยขณะอยูในโหมดแกไข จะแสดงเปนปุมเปน และ เมื่อตองการยกเลิกการแกไขหนานี้ ก็ click อีกครั้ง เพื่อกลับไปยังโหมดปกต ิ การปรับแตงหนาเว็บ คือ การปรับแตงองคประกอบตาง ๆ ที่อยูในหนาเว็บ ซ่ึงเรียกวา กรอบ (Block) มีอยูหลายประเภท แตละกรอบจะมีช่ือ และรายละเอียด ผูบริหารระบบสามารถใช Icon รูปภาพคําสั่งที่อยูบริเวณหัวของแตละกรอบ เพื่อใชในการปรับแตง เชน ซอนการแสดงผล ยายขึ้นบน ลงลาง ไปไวตําแหนงทางซายหรือขวา (ความหมายของสัญลักษณแสดงไวในหนาตอไป)

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

64

ความหมายของสัญลักษณที่ใชในการปรับแตงและแกไข มีดังนี้

สัญลักษณ ความหมาย สัญลักษณ ความหมาย

Help with แสดงคําอธิบายหรือขอความชวยเหลือเพิ่มเติมในงานหรือจุดทีก่ําลังทํางานดวย

การมอบบทบาทสําหรับกรอบนี้ วาผูใชระบบมีบทบาทหรือสิทธิ์อยางไร

เพิ่มแหลงขอมลูสําหรับการเรียนรู เชน หนาเว็บเพจ

เพิ่มกิจกรรมสําหรับการเรียนรู เชน กระดานเสวนา หองสนทนา

แกไขบทคัดยอ หรือแกไขคาเร่ิมตนของกิจกรรมหรือเนื้อหา

ลบหัวขอหรือเนื้อหาหรือกจิกรรม

ยายไปทางขวา ยายไปทางซาย

ยายไปขางลาง ยายไปขางบน

แตละกรอบ จะมีช่ือกรอบ มีเมนูสําหรับซอน/แสดง ลบ ยาย รวมทั้งการแกไขในกรอบ

การจัดกรอบ (block) สําหรับการเพิ่มกรอบแสดงที่หนาเว็บเพจ

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

65

ยายตําแหนง การมอบหมายบทบาท

แสดงผลหรือหัวขอ ซอนการแสดงผลหรือหัวขอ

เรียนรวมกันไมแบงกลุม เรียนหรือทํากจิกรรมแบบแบงกลุม

การเพิ่มกรอบในหนาเว็บเพจ ทําไดโดยการเลือก กรอบที่ชื่อวา การจัดการกรอบ ดังรูป

ดังตัวอยางการปรับเพิ่ม กรอบ (Block) เชน การแสดงกรอบกิจกรรมลาสุด ขาวลาสุด สมาชิกออนไลนดังรูป

เลือกรายการเพื่อเพิ่มกรอบ (block) แสดงเพิ่มในหนา เว็บเพจตามความตองการและ

ความจําเปน

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

66

รายการกรอบ (block) ใหมที่กําหนดใหแสดงเพิ่มจากเดิม

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

67

การติดตั้งโมดูลเสริม (Plug-in Module)

• โมดูลหนังสือ (Book) สําหรับจัดการ e-Book

Moodle มีโปรแกรมประยุกตเพิ่มเติม (Plug-in) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพอยูจํานวนมาก ผูบริหารระบบสามารถเลือก Download แลวนํามาติดตั้งเพิ่มเติมไปในระบบของ Moodle ได ซ่ึงซอฟตแวรเพิ่มเติมเหลานี้ มีทั้ง โปรแกรมเสริมความสามารถ (Module) และบล็อก (Block) ติดตั้งเพิ่มเพื่อเสริมความสามารถ ตัวอยางเชน Module Book สําหรับสรางแหลงเรียนรูในลักษณะ e-Book เปนตน

ขั้นตอนการตดิตัง้ โมดูลหนงัสือ (Book) มีดังนี ้ 1. Download โมดูลหนังสือจากเว็บไซตของ Moodle จากเมนู Download (ในการอบรมไดทําการ Download ไวในแผน CD-ROM แลว ) ดังรูป

2. ทําการแตกไฟลท่ี Download ซ่ึงอยูในรปูแบบของไฟล Zip แลวนําไปไวใน Folder ยอยของระบบ Moodle คือที่ sub-folder ช่ือ mod ซ่ึงเปนที่เก็บรวบรวมโมดูลตาง ๆ ของ Moodle เอง และที่ติดตั้งเพิ่ม

Download โดยการ click เลือก Book Module

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

68

3. เขาสูระบบในบทบาทของผูบริหารสูงสดุ ทําการตรวจสอบระบบเพื่อใหติดตั้ง Module ที่เพิ่มมาใหมอัตโนมัติ

คัดลอก Folder Book ไปไวที่ Sub-Folder mod ของระบบ

Moodle

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

69

• โมดูลแบบสํารวจ (Feedback) สําหรับสรางแบบสอบถามออนไลน มีขั้นตอนเชนเดียวกับการติดตั้งโมดูลหนังสือ

Moodle จะตรวจสอบ Module ที่ติดตั้งเพิ่ม และทําการ

upgrade อัตโนมัติทันที

Module หนังสือที่ติดตั้งเพิ่มจะแสดงใหเห็น และสามารถสรางกิจกรรมหนังสือในหนาเอกสาร

ทุก ๆ หนาไดตอไป

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

70

เมื่อติดตั้งเรียบรอย เราสามารถสรางแบบสํารวจใหเปนกิจกรรม

หนึ่งในการเรียนได

ทดลองสรางขอคําถามในแบบสํารวจไดจากการแกไขขอคําถาม

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

71

แหลงเรียนรูสําหรับผูบริหารระบบ Moodle

ระบบ Moodle เปนระบบที่มีความสามารถสูงในการบริหารจัดการการเรียนรูแบบอีเลิรนนิ่ง ทําให Moodle เองมีสวนประกอบ มีเทคนิคมากมาย และมีการปรับเปลี่ยนรุนอยูตลอดเวลา รวมทั้งมีผูพัฒนาทั้ง โมดูล (Module) กรอบ (Block) รูปแบบหนาเว็บ (Theme) เขามาเสริมจํานวนมาก ผูบริหารระบบที่มีความสนใจสามารถศึกษาเพิ่มเติมไดจากเว็บไซต www.moodle.org และเว็บไซตที่เกี่ยวของอื่น ๆ ที่ลิงกไปจากเว็บไซตของ moodle.org โดยสามารถสมัครเปนสมาชิกและเขาเรียนในรายวิชาที่สนใจไดฟรี ดังรูป

เมื่อสมัครเปนสมาชิกแลว เขาเขาไปแลกเปลี่ยนเรียนรูกับกลุมผูสนใจในประเทศไทย ไดที่ Moodle in Thailand จะเปนแหลงเรยีนรูที่ดีของผูใช และผูบริหารระบบ ดัง

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

72

รูป

เว็บไซตอางอิง • http://www.moodle.org

• http://e-learning.yru.ac.th

• http://www.opensourcecms.com

• http://www.appservnetwork.com