maihetmolapit y7v4 jun-jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 ·...

16
*สรุปเหตุการณเรือน้ำตาลลมที่อยุธยา *คพ. รวมพลังลดมลพิษ รักษ์สิ่งแวดลอมไทย ใตรมพระบารม * ตามไปดูบรรยากาศปวงประชารวมพลิกฟื้นผืนปา ถวายพอหลวง * ตามไปดูบรรยากาศปวงประชารวมพลิกฟื้นผืนปา ถวายพอหลวง *สถิติการรองเรียนปญหามลพิษ ในรอบ 3 เดือน *สถิติการรองเรียนปญหามลพิษ ในรอบ 3 เดือน *หมายเหตุมลพิษ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปที7 ฉบับที4 เดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2554 http://www.pcd.go.th

Upload: others

Post on 18-Jan-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Maihetmolapit Y7V4 Jun-Jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 · ทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล อม

*สรุปเหตุการณเรือน้ำตาลลมที่อยุธยา*คพ. รวมพลังลดมลพิษ รักษ์ส่ิงแวดลอมไทย ใตรมพระบารมี

* ตามไปดูบรรยากาศปวงประชารวมพลิกฟื้นผืนปา ถวายพอหลวง* ตามไปดูบรรยากาศปวงประชารวมพลิกฟื้นผืนปา ถวายพอหลวง

*สถิติการรองเรียนปญหามลพิษ ในรอบ 3 เดือน*สถิติการรองเรียนปญหามลพิษ ในรอบ 3 เดือน

*หมายเหตุมลพิษกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ปที่ 7 ฉบับที่ 4 เดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2554

http://www.pcd.go.th

Page 2: Maihetmolapit Y7V4 Jun-Jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 · ทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล อม

2 หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554

คณะผูจัดทำ

ที่ปรึกษา นายสุพัฒน หวังวงศวัฒนา อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ นางสุณี ปยะพันธุพงศ รองอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ นายวรศาสน อภัยพงษ รองอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ นางสาววชิรา แสงศรี เลขานุการกรม บรรณาธิการ นายนิชร คงเพชร ผูชวยบรรณาธิการ นางสาวจุฑามาศ เอี่ยมสระศรี กองบรรณาธิการ นางอังคณา จั่นอุไร นางสาวนภวัส บัวสรวง นางสาวลัคนา

จุลแสง นายบัญชาการ วินัยพานิช นางสาวกนกวรรณ สุขสด นางสาวพิรพร เพชรทอง นางสาวรุจิเรข ราชบุรี นางสาวพิชญา เกตุนุติ นางสาวอัญชลี คงสมบูรณ นางสาวกานตสินี ดวงดี นางสาววราวรรณ เฉลิมโอฐ นางสาวสินีนาฏ วรรณศรี นายไผทวุฒิ มีนะกนิษฐ นายวัชระ พันธุนราวิกิจ นางกรรณิกา เอี่ยมศิริ นายชัย ปทุมานุสรณ นางสาวบรรจง ประภาธนานันท นายโกสุม เผือกทอง นายรุดเจรด หมัดหลี

ทักทาย เรื่องเดนในฉบับ

2 หมายเหตุมลพิษ มิถุนายน - กรกฎาคม 2554

จังหวัดสมุทรปราการ หรือที่เรียกกันวา เมืองปากน้ำ เปนเมืองหนาดานทางทะเลที่สำคัญ มีการขยายตัวของ ภาคอุตสาหกรรมและเปนแหลงรองรับมลพิษทางน้ำที่ไหลลงสูปากอาวไทย แตดวยสายพระเนตรท่ียาวไกลของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระราชดำริที่จะอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งรัฐบาลในอดีตไดมีมติคณะรัฐมนตรีในป 2520 ใหอนุรักษพื้นที่ 6 ตำบลในพ้ืนที่กระเพาะหมู อำเภอพระประแดง ซึ่งเปนพ้ืนท่ีสีเขียว จัดเปนสวนกลางมหานคร เปรียบเสมือน “ปอดฟอกอากาศ” ของคนกรุงเทพฯ และพ้ืนที่ใกลเคียง และในเวลาตอมาจังหวัดสมุทรปราการไดรวมกับหนวยงานภาคสวนตางๆ และประชาชนในพื้นที่ไดรวมกันรณรงคและสรางจิตสำนึกใหประชาชนทุกคนรวมปลูกตนไม ดูแลและบำรุงรักษาตนไม เพื่อฟนคืนสภาพความสมดุลสูระบบนิเวศและตอบสนองแนวทางตามพระราชดำริเกี่ยวกับการรักษาสภาพธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งบนพื้นที่ 72 ไร บริเวณพื้นท่ีหมู 5 ตำบลทรงคนอง (ซอยวัดจากแดง) ซึ่งเปนพ้ืนที่สวนหน่ึงของบริเวณสวนกลางมหานครแหงน้ี สงเสริมใหพื้นท่ี 6 ตำบลในพ้ืนท่ีกระเพาะหมูเปนพ้ืนท่ี สีเขียวที่ยั่งยืน เกิดความสมดุลตามธรรมชาติ

กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และหนวยงานทุกภาคสวน จึงรวมกันปลูกปาเฉลิมพระเกียรติ “พลิกฟนผืนปา ดวยพระบารมี” ถวาย ความจงรั กภั ก ดีน อมรำลึ ก ในพระมหาก รุณา ธิคุณและเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เน่ืองในโอกาส พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 ในพื้นที่สวนเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ตำบลทรงคนอง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) จัดโครงการทำดีเพื่อแผนดิน รวมพลังลดมลพิษ รักษสิ่งแวดลอมไทย ใตรมพระบารมี เพ่ือเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาส มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 และเพ่ือเปนการสนองแนวทางดำเนินงานจากพระราชดำริใน งานดานอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยคัดเลือกกิจกรรมแกไขปญหามลพิษทางน้ำ ปญหาน้ำเสีย การอนุรักษดิน การรักษาและฟนฟูระบบนิเวศ และหมายเหตุมลพิษไมพลาดท่ี จะเก็บบรรยากาศปวงประชารวมปลูกปาถวายพอหลวง พรอมกับสรุปเหตุการณกรณีเรือน้ำตาลลมในแมน้ำเจาพระยาท่ีจังหวัด

พระนครศรีอยุธยา และรายงานสถิติรองเรียนเร่ืองปญหามลพิษ ในรอบ 3 เดือน

นอกจากนี้ปลายเดือนกรกฎาคม คพ. จัดคายตนกลาพิทักษ สิ่งแวดลอม คัดเลือกเยาวชนทั่วประเทศ สรางเครือขายของเยาวชนรวมกันทำกิจกรรมทัศนศึกษางานดานสิ่งแวดลอมและ

แลกเปล่ียนประสบการณจากผูสื่อขาวมืออาชีพ เพื่อเปนตัวอยางที่ดีแกเยาวชนท่ัวประเทศ ซึ่ง คพ. จะนำเรื่องราวดีๆ เหลานี้มาเลาสูกันฟงตอไป

เรื่องและภาพ : ฝายเผยแพรและประชาสัมพันธ

Page 3: Maihetmolapit Y7V4 Jun-Jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 · ทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล อม

3หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554

ีพลิกฟนผืนปา

3หมายเหตุมลพิษ มิถุนายน - กรกฎาคม 2554

นายสุพัฒน หวังวงศวัฒนา อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ กลาวในการเปดงานโครงการปลูกปาเฉลิมพระเกียรติ “พลิกฟนผืนปา ดวยพระบารมี” วา “กรมควบคุมมลพิษ ไดรวมกับหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน นักเรียน และประชาชนในพื้นที่ปลูกพันธุกลาไม จำนวน 1,000 กลาไมในพื้นท่ีกระเพาะหมู อำเภอพระประแดง เพื่อใหเกิดพ้ืนท่ีสีเขียวตามแนวพระราชดำริ และเพื่อนอมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณและเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธนัวาคม 2554 เปนการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในการทรงงานและแสดงอัจฉริยภาพดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และยังไดจัดเดินเทิดพระเกียรติและรณรงครักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม จากบริเวณสวนสุขภาพลัดโพธิ์ถึงสวนเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ระยะทาง 1.84 กโิลเมตร”

นายเชิดศักดิ์ ชูศรี ผูวาราชการจังหวัดสมุทรปราการ กลาววา “ดวยสายพระเนตรที่ยาวไกลของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระราชดำริที่จะอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหอนุรักษพื้นที่ 6 ตำบลในพื้นที่กระเพาะหมู อำเภอพระประแดง เปนพื้นที่สีเขียว เปรียบเสมือน ‘ปอดฟอกอากาศ’ ของคนกรุงเทพฯ และพ้ืนท่ีใกลเคียง การมารวมปลูกปาเฉลิมพระเกียรติ ‘พลิกฟนผืนปา ดวยพระบารมี’ จะสงเสริมใหพื้นที่ 6 ตำบลในพื้นที่กระเพาะหมูเปนพื้นที่สีเขียวท่ียั่งยืน เกิดความสมดุลตามธรรมชาติ และสนองแนวพระราชดำริในการดูแล สิ่งแวดลอม”

หนวยงานที่เขารวมประกอบดวย สถานีโทรทัศนสีกองทัพบก ชอง 7 มณฑลทหารบกท่ี 11 กองทัพบก กรมสรรพาวุธทหารเรือ องคการขนสงมวลชนกรุงเทพ โรงเรียนเทศบาลวัดทรงธรรม โรงเรียนโสตศึกษา (ทุงมหาเมฆ) บริษัท ดัชมิลล จำกัด บริษัท บางกอกแคนแมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด บริษัท ไทยเบเวอรเรจแคน จำกัด เทศบาลเมืองพระประแดง องคการบริหารสวนตำบล ทรงคนอง โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลทรงคนอง สถานีตำรวจภูธรพระประแดง สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ธนาคารกสิกรไทย บริษัทบุญรอดเทรดด้ิง จำกัด และบริษัทเมืองไทยประกันชีวิต จำกัด

การจัดโครงการปลูกปาเฉลิมพระเกียรติ “พลิกฟนผืนปา ดวยพระบารมี” ขึ้น จึง

เปนการถวายความจงรักภักดี นอมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณและเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 และเปนการสนองงานตามพระราชดำริที่ทรงตองการใหบริเวณแหงน้ีเปนพ้ืนที่สีเขียว เพ่ือเปนปอดฟอกอากาศของคนกรุงเทพฯ และชาวสมุทรปราการตอไป

Page 4: Maihetmolapit Y7V4 Jun-Jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 · ทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล อม

� หมายเหตุมลพิษ มิถุนายน - กรกฎาคม 2554

เกาะสถานการณ์์

สรุปเหตุการณ์กรณีเรือน้ำตาลล่ม ในแม่น้ำเจ้าพระยาที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

1. บริษัท เจ เอ็น พี ไทยแลนด์ จำกัด ได้

รับจ้างบริษัท ไทยรวมทุนคลังสินค้า จำกัด ขนส่งน้ำตาล

ปริมาณ 2,400 ตัน จากจังหวัดอ่างทองผ่านจังหวัด

พระนครศรีอยุธยาเพื่อไปส่งที่ท่าเรือแถวปากแม่น้ำ

เจ้าพระยา จังหวัดสมุทรปราการ โดยได้เช่าเรือจำนวน 3

ลำ จากบริษัท อัลฟ่า มารีน ซัพพลาย จำกัด และบริษัท

อื่นอีก 2. บริษัทฯ มาบรรทุกน้ำตาล และปรากฏว่าจาก

การลากจูงเรือดังกล่าวผ่านสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา

(สะพานหัวดุม) เรือลำที่ 2 ซึ่งเป็นของบริษัท อัลฟ่า มารีน

ซัพพลาย จำกัด ได้กระแทกกับตอม่อสะพาน ส่วนหัวเรือ

ค่อยๆ จมลงและหลุดจากการลากจูง ท้ายเรือไปเกยตื้น

บริเวณหมู่ที่ 2 บ้านภูเขาทอง ตำบลภูเขาทอง อำเภอ

พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทำมุม 60

องศา ทำให้ทางเดินน้ำเปลี่ยนแปลงเข้ากระแทกฝั่งอย่าง

รุนแรงทั้งสองฝั่ง ซึ่งบริเวณดังกล่าวมีบ้านเรือนราษฎร

อาศัยอยู่ ตลิ่งพังทลายทำให้บ้านเรือนได้รับความเสียหาย

โดยเกิดเหตุเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2554 เวลาประมาณ

17.00 น.

2. หลังจากเกิดเหตุ ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องรวมทั้งอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ

ได้ไปยังที่เกิดเหตุ เพื่อร่วมกันวางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหา

ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ดังกล่าว วางแนวทางใน

การกู้เรือและนำน้ำตาลออกจากเรือ

3. ในวันที่ 3 มิถุนายน 2554 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

นายกรัฐมนตรี พร้อมด้วย นายสุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการ

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และผู้ว่าราชการ

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้ลงพื้นที่เพื่อติดตามการแก้ไขปัญหา

และหามาตรการแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน โดยนายกรัฐมนตรี ได้

สั่ งการ ให้นำข้ อมู ลทั้ งหมดเข้ าสู่ ที่ ป ระชุมคณะรั ฐมนตรี

เพื่อหามาตรการเยียวยาและชดเชยความเสียหายให้แก่ชาวบ้าน

ต่อไป

4. ได้กำหนดแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหา

ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ดังนี้

• จะต้องขนถ่ายน้ำตาลจากเรือที่จมขึ้นมาโดยเร็ว เพื่อไม่

ให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพน้ำในวงกว้าง เนื่องจากน้ำตาลเมื่อ

ละลายน้ำและไหลลงสู่แม่น้ำจะเป็นสารอาหารให้แก่จุลินทรีย์ใน

น้ำ จุลินทรีย์จะย่อยสลายน้ำตาล โดยใช้ออกซิเจนในน้ำใน

กระบวนการย่อยอาหาร และหากมีน้ำตาลไหลลงสู่แม่น้ำเป็น

เรื่อง : นายพลาวุธ น้อยเคียง สำนักจัดการคุณภาพน้ำ ภาพ : ฝ่ายเผยแพร่และประชาสัมพันธ์

Page 5: Maihetmolapit Y7V4 Jun-Jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 · ทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล อม

สรุปเหตุการณ์กรณีเรือน้ำตาลล่ม ในแม่น้ำเจ้าพระยาที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จำนวนมากจะทำให้มีสารอาหาร

ในปริมาณมาก จุลินทรีย์จึงเพิ่ม

จำนวนมากขึ้นอย่างรวดเร็ว การใช้

ออกซิเจนของจุลินทรีย์ในการย่อย

สลายน้ำตาลจึงเพิ่มมากขึ้น ส่งผล

ให้ปริมาณออกซิเจนในแม่น้ำ (DO)

ลดต่ำลง และจะเป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำหากปริมาณออกซิเจน

ในแม่น้ำต่ำกว่า 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ทั้งนี้การดำเนินการขนถ่าย

โดยการสูบน้ำตาลจากเรือที่ล่มถ่ายลงเรือเหล็ก ได้เริ่มงานได้ใน

วันพฤหัสบดีที่ 2 มิถุนายน 2554 และขนถ่ายจนหมดใน

วันเสาร์ที่ 4 มิถุนายน 2554

• ให้กรมควบคุมมลพิษ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดล้อมจังหวัด ติดตามตรวจสอบเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ ตลอด

จนประชาสัมพันธ์และแจ้งเตือนคุณภาพน้ำ ซึ่งกรมควบคุมมลพิษ

ได้ดำเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำและแจ้งเตือนทั้งใน

ระบบ SMS ไปยังผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพมหานคร และจังหวัดสมุทรปราการ

และหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งได้ออกประกาศแจ้งเตือน

ประชาสัมพันธ์ทางสื่อต่างๆ เป็นระยะอย่างต่อเนื่อง

5. ในระหว่างดำเนินการในการขนถ่ายน้ำตาลและการกู้เรือ

ได้เกิดผลกระทบเกิดขึ้น ได้แก่

• ผลกระทบต่อคุณภาพน้ำ เนื่องจากในช่วงคืนวันที่เกิด

เหตุได้มีน้ำตาลบางส่วนรั่วไหลออกจากเรือส่งผลให้ปริมาณ

ออกซิเจน (DO) ในแม่น้ำบริเวณท้ายน้ำลดต่ำลงจนเป็นศูนย์ และ

ส่งผลกระทบต่อสัตว์น้ำเรื่อยมาตามมวลน้ำเสียที่

เคลื่อนที่ไปถึง โดยพบปลาตายและลอยหัว เช่น ปลา

ลิ้นหมา ปลาม้า ปลาเนื้ออ่อน กุ้งก้ามกราม ฯลฯ ตั้งแต่

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพฯ

และจังหวัดสมุทรปราการ โดยจากการตรวจสอบจากผล

การตรวจวัดปริมาณออกซิเจนละลาย (DO) ในแม่น้ำของ

สถานีตรวจวัดกรมควบคุมมลพิษ คาดการณ์การเคลื่อนตัว

ของมวลน้ำเสียและพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบได้ดังนี้

วันที่ 1 มิถุนายน 2554 มวลน้ำเสีย

(พื้นที่ DO เป็นศูนย์) จะอยู่บริเวณ อำเภอ

บางปะอินและอำเภอบางไทร จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา ใช้ระยะเวลาราว 2 วัน

คุณภาพน้ำจึงเริ่มกลับสู่ภาวะปกติ

วันที่ 2 มิถุนายน 2554 มวล

น้ำเสีย (พื้นที่ DO เป็นศูนย์) เริ่มเข้าสู่

บริเวณ อำเภอสามโคกและอำเภอเมือง

จังหวัดปทุมธานี ใช้ระยะเวลาราว 2 วัน

คุณภาพน้ำจึงเริ่มกลับสู่ภาวะปกติ

วันที่ 3 มิถุนายน 2554 มวลน้ำเสีย (พื้นที่ DO เป็นศูนย์)

เริ่มเข้าสู่บริเวณ อำเภอปากเกร็ดและอำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี

ใช้ระยะเวลาราว 2 วัน คุณภาพน้ำจึงเริ่มกลับสู่ภาวะปกติ

วันที่ 4 มิถุนายน 2554 มวลน้ำเสีย (พื้นที่ DO เป็นศูนย์)

เริ่มเข้าสู่บริเวณ พื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้ระยะเวลาราว 2 วัน

คุณภาพน้ำจึงเริ่มกลับสู่ภาวะปกติ

วันที่ 5 มิถุนายน 2554 มวลน้ำเสีย (พื้นที่ DO เป็นศูนย์)

เริ่มเข้าสู่บริเวณ เขตจังหวัดสมุทรปราการ ใช้ระยะเวลาราว 2 วัน

คุณภาพน้ำจึงเริ่มกลับสู่ภาวะปกติ

ตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน 2554 คุณภาพน้ำแม่น้ำ

เจ้าพระยาในจุดที่ได้รับผลกระทบได้กลับเข้าสู่ภาวะปกติ

• ปัญหาการกัดเซาะตลิ่ง เนื่องจากเรือที่จมได้กีดขวาง

การไหลของน้ำ กระแสน้ำที่มีความแรงจึงกัดเซาะตลิ่ง ทำให้ตลิ่ง

พัง มีบ้านเรือนได้รับความเสียหาย ต้องทำการรื้อตัวบ้านออก

กรมเจ้าท่าร่วมกับจังหวัดและกองทัพบกได้ก่อสร้างเขื่อนป้องกัน

กระแสน้ำ โดยการตีเข็มตลอดแนวตลิ่งที่พังทลายระยะทาง 45

เมตร และวางแนวกั้นกระสอบทราย เพื่อป้องกันน้ำกัดเซาะตลิ่ง

ได้ในระดับหนึ่ง

�หมายเหตุมลพิษ มิถุนายน - กรกฎาคม 2554

Page 6: Maihetmolapit Y7V4 Jun-Jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 · ทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล อม

� หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554

6. วันที่ 7 มิถุนายน 2554 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการ

ดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหากรณีเรือบรรทุกน้ำตาลล่มในแม่น้ำ

เจ้าพระยา บริเวณตำบลภูเขาทอง อำเภอพระนครศรีอยุธยา

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อมเสนอดังนี้

• ให้กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กระทรวงคมนาคม และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดล้อม บูรณาการเพื่อแก้ไขและฟื้นฟูผลกระทบจากอุบัติเหตุ

หรือเรือบรรทุกน้ำตาลล่มร่วมกัน

• ให้กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กระทรวงคมนาคม และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดล้อม พิจารณาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุเรือบรรทุก

น้ำตาลล่มทั้งทางตรงและทางอ้อม ภายใต้บทบัญญัติตาม

กฎหมายที่แต่ละกระทรวงรับผิดชอบ โดยมอบหมายให้กระทรวง

คมนาคมเป็นหน่วยงานหลักในการรวบรวมความเสียหายที่เกิด

ขึ้นจากทุกหน่วยงาน และดำเนินการฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายจาก

ผู้ประกอบการที่เป็นผู้ขออนุญาตขนส่งน้ำตาล

• ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทำ

การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ได้รับผลกระทบ

จากอุบัติเหตุเรือน้ำตาลล่ม โดยดำเนินการติดตามและฟื้นฟู

คุณภาพน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่จุดที่เกิดเหตุบริเวณจังหวัด

พระนครศรีอยุธยา จนถึงปากแม่น้ำบริเวณจังหวัดสมุทรปราการ

และให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์พิจารณาดำเนินการเพื่อ

ปล่อยสัตว์น้ำทดแทนสัตว์น้ำที่ตายจากอุบัติเหตุดังกล่าว

7. การกู้เรือหลังจากที่สูบน้ำตาลออกจากเรือหมดแล้ว ได้มี

ความพยายามในหลายรูปแบบแต่ก็มีอุปสรรคในเรื่องกระแสน้ำที่

มีความแรงมาก ทำให้ทำงานได้ยากลำบาก จนในที่สุดในวันที่

11 มิถุนายน 2554 กรมเจ้าท่า กองทัพเรือ และหน่วยงานที่

เกี่ยวข้องได้ใช้วิธีการกู้เรือ โดยใช้พอนทูนจำนวน 2 ลูก สูบน้ำให้

เต็มพอนทูนแล้วปล่อยให้จมลงในระวางเรือ หลังจากนั้นนำปั๊มลม

ขนาดใหญ่มาอัดอากาศลงในพอนทูน เพื่อให้พอนทูนลอยขึ้นมา

ช่วยพยุงเรือให้พ้นน้ำ เมื่อเรือพ้นน้ำแล้วใช้วิธีลากท้ายเรือออก

จากฝั่ง และลากจูงนำออกไปซ่อมต่อไป โดยการปฏิบัติการกู้เรือ

เสร็จสิ้นในวันที่ 12 มิถุนายน 2554

� หมายเหตุมลพิษ มิถุนายน - กรกฎาคม 2554

Page 7: Maihetmolapit Y7V4 Jun-Jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 · ทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล อม

�หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554

ของฝากชุมชน

โรงเรียนรวมใจ ลดน้ำใช้ ลดน้ำเสีย เพื่อเจ้าพระยาสดใส

วันที่ 8 กรกฎาคม กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดประชุมชี้แจงกิจกรรม โรงเรียนรวมใจ ลดน้ำใช้ ลดน้ำเสีย เพื่อเจ้าพระยาสดใส ณ โรงแรมรามา การ์เด้นส์ กรุงเทพฯ โดยมี นายสุพัฒน์ หวังวงศ์วัฒนา อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ เป็นประธาน

สิ่งพิมพ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

วันที่ 27 พฤษภาคม นายวรศาสน์ อภัยพงษ์ รองอธิบดี กรมควบคุมมลพิษ เป็นประธานเปิดการอบรมผลิตสิ่งพิมพ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ณ ห้องประชุมศักดิ์สิทธิ์ ตรีเดช กรมควบคุมมลพิษ เพื่อให้ผู้ประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเกิดความรู้ความเข้าใจในการผลิตสิ่งพิมพ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ไดออกซินและฟิวแรนจากอุตสาหกรรม เหล็กและโลหะ

วันที่ 29 มิถุนายน กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดให้มี “การสัมมนาเพื่อเสริมสร้างความตระหนักในการลดการปลดปล่อยสารไดออกซินและฟิวแรนจากอุตสาหกรรมเหล็กและโลหะ” ณ โรงแรม เดอะทวิน ทาวเวอร์ กรุงเทพฯ เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับแนวทางด้านเทคนิคที่ดีที่สุดสำหรับการลดการปลดปล่อยสารไดออกซินและฟิวแรนจากอุตสาหกรรมเหล็กและโลหะ

คพ. จัดสัมมนาการพัฒนาระบบทำเนียบการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษในประเทศไทย วันที่ 28 มิถุนายน กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดแถลงข่าวโครงการ “พัฒนา

ระบบการจัดทำทำเนียบการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษ” หรือ “The Development of Basic Schemes for Pollutant Release and Transfer Register System : PRTR in the Kingdom of Thailand” โดยมีกรมโรงงานอุตสาหกรรม การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และหน่วยงาน Japan International Cooperation Agency (JICA) รัฐบาลญี่ปุ่น เป็นองค์กรร่วม ณ โรงแรมมารวยการ์เด้น กรุงเทพฯ โดยมีนางสุณี ปิยะพันธุ์พงศ์ รองอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ เป็นประธาน

คพ. รับฟังความคิด เห็น ร่ าง รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2553

วันที่ 24 มิถุนายน กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดรับฟังความคิดเห็น ร่าง รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2553 ณ ห้องประชุมศักดิ์สิทธิ์ ตรีเดช เพื่อจัดทำรายงานสถานการณ์มลพิษให้สอดคล้องและเป็นประโยชน์แก่ทุกภาคส่วน

�หมายเหตุมลพิษ มิถุนายน - กรกฎาคม 2554

Page 8: Maihetmolapit Y7V4 Jun-Jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 · ทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล อม

8 หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554

กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) ไดรับเร่ืองรองเรียนดานมลพิษระหวางเดือนมกราคม-มิถุนายน 2554 จำนวน 220 เรื่อง เปนเรื่องรองเรียนในชวงไตรมาสท่ี 2 (เดือนเมษายน-มิถุนายน 2554) จำนวน 98 เรื่อง (รูปท่ี 1) สำหรับรายละเอียดในไตรมาสท่ี 2 พบวา ในเดือนมิถุนายนมีการรองเรียนมากท่ีสุด จำนวน 39 เรื่อง ปญหามลพิษที่ไดรับการรองเรียนมากท่ีสุด 2 อันดับแรก คือ ปญหากล่ินเหม็น คิดเปนรอยละ 43 รองลงมาคือ ปญหา ฝุนละออง/เขมาควัน คิดเปนรอยละ 24 (รูปท่ี 2) กรมควบคุมมลพิษไดดำเนินการแกไขปญหาเรื่องรองเรียนและแจงหนวยงานที่เกี่ยวของดำเนินการตามอำนาจหนาที่แลว จำนวน 42 เรื่อง คิดเปนรอยละ 43

เพื่อเปนการแกไขปญหาเร่ืองรองเรียนดานมลพิษใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเปนการบูรณาการระหวางหนวยงาน คพ. จะใหคำปรึกษาและความชวยเหลือในการสนับสนุนดาน วิชาการแกหนวยงานที่ไดรับเรื่องรองเรียนในพื้นท่ีที่ไมสามารถดำเนินการได โดยในระหวางเดือนมกราคม-มิถุนายน 2554 กรมควบคุมมลพิษได รับเร่ืองขอความอนุเคราะห จำนวน 40 เร่ือง เปนเรื่องขอความอนุเคราะหในชวงไตรมาสท่ี 2 จำนวน 23 เรื่อง (ขอมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2554)

รูปท่ี 1 จำนวนเรื่องรองเรียนระหวางเดือนเมษายน-มิถุนายน 2554

8 หมายเหตุมลพิษ มิถุนายน - กรกฎาคม 2554

รูปท่ี 2 สัดสวนปญหามลพิษที่มีการรองเรียน ระหวางเดือนเมษายน-มิถุนายน 2554

พื้นที่ที่ มี เรื่องรองเรียนดานมลพิษมากท่ีสุด คือ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีเรื่องรองเรียนรวม 66 เรื่อง คิดเปนรอยละ 67 ของเรื่องรองเรียนดานมลพิษของทั้งหมดท่ีไดรับระหวางเดือนเมษายน-มิถุนายน 2554 (รูปท่ี 3)

รูปท่ี 3 สถิติเร่ืองรองเรียนดานมลพิษแบงตามพื้นที่ระหวางเดือนเมษายน-มิถุนายน 2554

สถิติการรองเรยนเร่องปญหามลพิษสถิติการรองเรยนเร่องปญหามลพิษ (เดือนเมษายน-มิถุนายน 2554)(เดือนเมษายน-มิถุนายน 2554)

เรื่องและภาพ : กานตสินี ดวงดี ฝายตรวจและบังคับการ

รักษสิ่งแวดลอม

Page 9: Maihetmolapit Y7V4 Jun-Jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 · ทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล อม

9หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554 9หมายเหตุมลพิษ มิถุนายน - กรกฎาคม 2554

Page 10: Maihetmolapit Y7V4 Jun-Jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 · ทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล อม

10 หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554 10 หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554

ดวยป พ .ศ .2554 เปนปมหามงคลท่ีพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 7 รอบ กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่ไดพระราชทานโครงการอันเนื่อง

มาจากพระราชดำริเพื่ออำนวยประโยชนสุขแกบรรดาพสกนิกร โดยเฉพาะอยางยิ่งในงานดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

และส่ิงแวดลอม เชน การแกไขปญหามลพิษ น้ำเสีย การอนุรักษดิน การฟนฟูระบบนิเวศ ฯลฯ ซึ่งโครงการและวิธีการตางๆ ที่พระองคทรงดำริในปจจุบันไดรับการยอมรับกันอยางกวางขวาง

ทั้งภายในประเทศไทยและนานาประเทศ เพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 กรมควบคุมมลพิษจึงจัดโครงการ “ทำดีเพ่ือแผนดิน รวมพลังลดมลพิษ รักษส่ิงแวดลอมไทย ใตรม พระบารมี” สนองแนวทางดำเนินงานจากพระราชดำริในงานดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม โดย คัดเลือกกิจกรรมการแกไขปญหามลพิษทางน้ำ ปญหาน้ำเสีย การอนุรักษดิน การรักษาและฟนฟูระบบนิเวศ ประกอบดวย

GREEN TALK GREEN TALK

10 หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 10 หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554 10 หมายเหตุมลพิษ มิถุนายน - กรกฎาคม 2554

1. “โรงเรียนรวมใจ ลดน้ำใช ลดน้ำเสีย เพ่ือเจาพระยาสดใส” เพื่อสรางการมีสวนรวม สรางการเรียนรูในการลดการใชน้ำและสรางความตระหนักถึงความสำคัญของแหลงน้ำ โดยมีกลุมเปาหมายคือ สถานศึกษาในลุมน้ำเจาพระยาและพ้ืนที่อื่นที่สนใจ โดยรับสมัครสถานศึกษาท่ีสนใจเขารวมกิจกรรม “โรงเรียนรวมใจ ลดน้ำใช ลดน้ำเสีย เพื่อเจาพระยาสดใส” เพื่อดำเนินกิจกรรมลดการใชน้ำในสถานศึกษา โดย คพ. และหนวยงานรวมดำเนินการจะใหคำแนะนำ สนับสนุนการดำเนินงานติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา เมื่อสิ้นสุดกิจกรรมจะมีการมอบประกาศเกียรติคุณใหแกสถานศึกษาที่เขารวมโครงการ พรอมจัดทำปฏิญญาเพื่อแสดงเจตจำนงในการประหยัดน้ำในปตอๆ ไป ผลท่ีคาดวาจะไดรับ คือ ลดปริมาณน้ำใชและน้ำเสียที่ทำใหเกิด

มลพิษทางน้ำ สรางการมีสวนรวมในการดูแลรักษาส่ิงแวดลอม และสถานศึกษาที่เขารวมโครงการสามารถนำความรูที่ไดรับไป

ดำเนินงานอยางตอเนื่องและเปนตนแบบใหสถานศึกษาอื่นๆ ตอไป

“ทำดีเพ่ือแผนดิน รวมพลังลดมลพิษ รักษสิ่งแวดลอมไทย ใตรมพระบารมี”

เร่ืองและภาพ : ฝายเผยแพรและประชาสัมพันธ

Page 11: Maihetmolapit Y7V4 Jun-Jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 · ทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล อม

11หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554 11หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 11หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 11หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554

2. “การเรียกคืนซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (We Can Do)” เพื่อปองกันและแกไขปญหาที่เกิดจากโลหะหนักจากซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟา

และอิเล็กทรอนิกส ซึ่งซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสที่เปนเปาหมาย โครงการฯ ไดแก ซากโทรศัพทเคล่ือนที่ แบตเตอร่ีโทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทบาน/สำนักงาน เครื่องพิมพ (Printer) เครื่องโทรสาร เครื่องโทรสารอเนกประสงค (Multifunction Fax) เคร่ืองเลน MP3 เกมกด เคร่ืองเลนวีซีดี เคร่ืองเลนดีวีดี และกลองถายรูปดิจิตอล เนื่องจากช้ินสวนตางๆ ของซากผลิตภัณฑมีโลหะหนักเปนองคประกอบ หากโลหะหนักเหลานี้ไดรับการจัดการอยางไมเหมาะสมและเกิดการร่ัวไหลสูสิ่งแวดลอม

จะเปนอันตรายตอสุขภาพและระบบนิเวศท้ังในระยะส้ันและระยะยาว คาดวาในป พ.ศ. 2554 ประเทศไทยจะมีปริมาณซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เกิดข้ึนมากกวา 3 แสนตัน หรือมากกวา 15 ลานชิ้น

คพ. จึงไดรวมมือกับภาคสวนตางๆ ในการดำเนินงานเรียกคืนซากผลิตภัณฑฯ โดยสามารถนำไปสกัดโลหะมีคาออกเพื่อนำกลับมาใชประโยชนและกำจัดซาก

ผลิตภัณฑฯ ดวยวิธีการท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม 3. “ชุมชนพัฒนา สูปญหาหมอกควัน” เพื่อเสริมสรางศักยภาพการบริหารจัดการ

ปญหามลพิษจากหมอกควันและไฟปา การอนุรักษและฟนฟูระบบนิเวศการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมใหแกชุมชน เครือขายอาสาสมัคร และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในพื้นที่เปาหมาย 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน และจัดทำสารคดีองคความรูเชิงชีวิตจริง (Reality Feature) ที่จะสามารถนำไปใชในการเผยแพรแนวทางและผลการดำเนินงานความเปนตนแบบสำหรับพื้นที่อื่นๆ ตอไปในอนาคต

4. “จัดประชุมวิชาการลดมลพิษตามแนวทางทฤษฎีใหมและเศรษฐกิจพอ

เพียง” โดยรวบรวมโครงการ งานวิจัย และส่ิงประดิษฐของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ตลอดจนผูที่ดำเนินรอยตามแนวพระราชดำริ หรือตามแนวทางทฤษฎีใหมและเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีผลสำเร็จทางดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการมลพิษและ สิ่งแวดลอม เปนจำนวนไมนอยกวา 84 โครงการ/ราย แลวนำมาจัดแสดงเผยแพรในการประชุมวิชาการลดมลพิษตามแนวทางทฤษฎีใหมและเศรษฐกิจพอเพียง แสดงนิทรรศการ เพ่ือเผยแพรองคความรู ผลงาน และพระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการมลพิษและส่ิงแวดลอมตอสาธารณะ และจัดทำหนังสือและส่ือประชาสัมพันธสำหรับแจกจายแกทุกภาคสวน

การดำเนินโครงการ ทำดีเพื่อแผนดิน รวมพลังลดมลพิษ รักษส่ิงแวดลอมไทย

ใตรมพระบารมี จะเปนการสนองแนวทางการดำเนินงานตามแนวพระราชดำริในดาน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และเพ่ือปองกันและฟนฟูระบบนิเวศ ใหยั่งยืน

11หมายเหตุมลพิษ มิถุนายน - กรกฎาคม 2554

Page 12: Maihetmolapit Y7V4 Jun-Jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 · ทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล อม

12 หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 12 หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554

รักษชุมชน

12 หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 12 หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 12 หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554 12 หมายเหตุมลพิษ มิถุนายน - กรกฎาคม 2554

กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) จัดทำโครงการลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอยในพื้นท่ีจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาคร เพื่อรวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาคร ดำเนินการคัดแยกขยะมูลฝอยเพื่อนำกลับมาใช

ประโยชน และลดปริมาณขยะมูลฝอยที่จะนำไป

กำจัดอยางมีประสิทธิภาพและสอดคลองกับสภาพ

ของทองถิ่น ตั้งเปานำขยะมูลฝอยกลับมาใชประโยชนใหไดถึงรอยละ 30 ในแตละพื้นที่

คพ.คพ. จับมือสมุทรสงครามและสมุทรสาครจับมือสมุทรสงครามและสมุทรสาคร

ลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอยลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอย คพ. ไดแสวงหาภาคีรวมดำเนินงาน โดยรวมกับ กรมสงเสริม

คุณภาพสิ่งแวดลอม สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาคร รวมท้ัง อปท. เพื่อเปนตนแบบ ในการดำเนินงานแกพื้นท่ีอื่นๆ ตอไป โดยมุงเนนใหทุกภาคสวนในพ้ืนที่รวมดำเนินการ ไมวาจะเปนฝายคณะสงฆ ฝายปกครอง ฝายการศึกษา ตลอดจนชุมชนและประชาชน เพื่อใหเกิดการลดขยะต้ังแตตนทาง และใหมีการนำขยะมาใชประโยชนใหมากท่ีสุด ดวยวิธีการตางๆ อาทิ ตลาดนัดขยะ การทอดผาปา ธนาคารขยะ การแยกขยะอินทรียไปทำปุยหมัก น้ำหมัก ซึ่งจะทำใหปริมาณขยะท่ีเขาสูระบบกำจัดลดลง เปนการยืดอายุการใชงานของสถานท่ีกำจัด และลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมท่ีจะเกิดข้ึน

ภายใตโครงการฯ ไดมีการดำเนินกิจกรรมตางๆ เพื่อเปนการสงเสริมสนับสนุน อปท. จัดการขยะมูลฝอย ดังน้ี

- การประชุมช้ีแจงรายละเอียดโครงการลด คัดแยก และใชประโยชนจากขยะมูลฝอย

พื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาคร เพื่อกระตุน สงเสริม และผลักดันใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นเขามามีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอย โดยมุงเนนการดำเนินงานดานลด คัดแยก และใชประโยชนใหประสบ ผลสำเร็จมากท่ีสุด ทั้งน้ีไดคัดเลือก อปท. ที่มีศักยภาพในการดำเนินงานเขารวม จำนวน 16 แหง ประกอบดวย อปท. ในพื้นที่จังหวัด

เรื่องและภาพ : วานิช สาวาโย สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

Page 13: Maihetmolapit Y7V4 Jun-Jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 · ทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล อม

13หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 13หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554 13หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 13หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 13หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554

คพ. จับมือสมุทรสงครามและสมุทรสาครลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอย

สมุทรสงคราม จำนวน 6 แหง ไดแก เทศบาลเมืองสมุทรสงคราม เทศบาลตำบลกระดังงา เทศบาลตำบลเหมืองใหม เทศบาล ตำบลบางย่ีรงค เทศบาลตำบลอัมพวา เทศบาลตำบลบางนกแขวก และ อปท. ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 10 แหง ไดแก เทศบาลนครสมุทรสาคร เทศบาลเมืองกระทุมแบน เทศบาลตำบลหลักหา เทศบาลตำบลบางหญาแพรก เทศบาลตำบลสวนหลวง องคการบริหารสวนตำบลบานบอ องคการบริหารสวนตำบลบางน้ำจืด องคการบริหารสวนตำบลบานเกาะ องคการบริหารสวนตำบลอำแพง องคการบริหารสวนตำบลคอกกระบือ

- กิจกรรมการฝกอบรมใหความรู การมีสวนรวมของ

ประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอย ดำเนินกิจกรรมรวมกันระหวางกรมสงเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอมและ คพ. เพื่อใหเจาหนาท่ี ชุมชน และประชาชนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีความรูความเขาใจเก่ียวกับแนวทางในการจัดการ

ขยะมูลฝอย รวมท้ังการจัดทำแผนปฏิบัติการลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอยของแตละองคกรปกครองสวนทองถิ่น และจัดใหมีการศึกษาดูงานและแลกเปล่ียนประสบการณการดำเนินงานดานการจัดการขยะมูลฝอย ณ ชุมชนซอยสหกรณ เทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ซึ่งเปนพื้นที่ที่ประสบ ผลสำเร็จในการดำเนินงานดานนี้และสามารถเปนตนแบบใหแกพื้นที่อื่นไดนำไป

ประยุกตใชในพื้นท่ีอยางเหมาะสมตอไป นอกจากน้ียังไดมีการประชุมเพื่อวางแนวทางการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอยสำหรับ อปท. ที่เขารวมโครงการ ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม ไดเริ่มดำเนินกิจกรรมตางๆ ตามแผน ปฏิบัติการ อาทิ การคัดแยกขยะในครัวเรือน การรณรงคประชาสัมพันธ ธนาคารขยะโรงเรียน ธนาคารขยะชุมชน การทำปุยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

- การสำรวจและวิเคราะหองคประกอบขยะมูลฝอยของ อปท. ทั้ง 16 แหง ที่เขารวมโครงการ เพื่อประเมิน

ปริมาณและองคประกอบขยะมูลฝอยในชวงเริ่มตนการดำเนินกิจกรรม โดยจะไดทำการสำรวจและวิเคราะห องคประกอบขยะมูลฝอยอีกคร้ังในชวงเดือนกรกฎาคม 2554 เพื่อประเมินปริมาณและองคประกอบขยะมูลฝอยภาย

หลังจากไดดำเนินกิจกรรมลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอยไปแลว รวมท้ังประเมินผลการนำขยะมูลฝอยกลับมาใชประโยชนจากการดำเนินกิจกรรมตางๆ ในแตละพื้นที่ ตลอดจนจะไดทำการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนในพ้ืนท่ีที่เขารวมโครงการเพ่ือประเมินความพึงพอใจตอการดำเนินโครงการ

คาดวาการดำเนินงานที่ตอเนื่องภายใตการมีสวนรวมของทองถิ่น จะทำใหสามารถชวยลดปญหาขยะ

มูลฝอยท่ีเกิดข้ึนในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาคร รวมท้ังเปนตนแบบใหทองถิ่นหรือกลุม อปท. อื่นๆ สามารถนำไปขยายผลเพ่ือดำเนินการในรูปแบบเดียวกันหรือนำไปใชประโยชนที่เหมาะสมตอไป

13หมายเหตุมลพิษ มิถุนายน - กรกฎาคม 2554

Page 14: Maihetmolapit Y7V4 Jun-Jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 · ทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล อม

14 หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554

เก็บมาเลา

14 หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 14 หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554 14 หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 14 หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 14 หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554 14 หมายเหตุมลพิษ มิถุนายน - กรกฎาคม 2554

ความจริงแลวโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรไดมีพัฒนาการมามากกวา 50 ป สาธารณรัฐประชาชนจีนเปนประเทศหน่ึงที่มี นโยบายนำพลังงานนิวเคลียรมาใชในการผลิตกระแสไฟฟา สำหรับโรงไฟฟาท่ีไปดูงานคร้ังนี้เปนโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร generation 3+ (โรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรแบบน้ำอัดความดันซึ่งเปนโรงไฟฟาท่ีนิยมใชมากท่ีสุด ใชเชื้อเพลิงปฏิกรณเปนยูเรเนียม และใชน้ำเปนตัวระบายความรอน ระบบการทำงานของโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรดังกลาวเปนแบบระบบปด แบงออกเปน 2 วงจร โดยวงจรแรกเปนระบบระบายความรอนออกจากเตาปฏิกรณ น้ำจะไหลผานเตาปฏิกรณเพื่อระบายความรอนออกจากแกนปฏิกรณ และนำความรอนที่ไดสงตอใหวงจรที่ 2 ซึ่งเปนชุดกำเนิดไอน้ำ เพื่อผลิตไอน้ำสงไปดันกังหันใหหมุนเพื่อผลิตเปนกระแสไฟฟา หลังจากนั้นไอน้ำจะควบแนนจนกลายเปนน้ำและไหลกลับไปท่ีอุปกรณผลิตไอน้ำ เพื่อเปล่ียนเปนไอน้ำตอไปเรื่อยๆ และแทงเชื้อเพลิงปฏิกรณจะถูกเปล่ียนทุก 18 เดือน เพื่อใหมีพลังงานความรอนในระดับท่ีกำหนด โดยแทงเชื้อเพลิง

ปฏิกรณจะสามารถนำมาผานกระบวนการ Reprocessing เพื่อนำกลับมาใชใหมได) โรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรแหงแรกของสาธารณรัฐประชาชนจีนเริ่มเดินเครื่องเม่ือ พ.ศ. 2537 โดยนำเทคโนโลยีจากประเทศฝร่ังเศสมาใช ตอมาไดมีการขยาย โรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่องและไดใชเทคโนโลยีของประเทศตางๆ เชน รัสเซีย แคนาดา ฯลฯ ซึ่งปจจุบันมีโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรที่เดินเครื่องปฏิกรณแลวจำนวน 13 โรง มีกำลังการผลิตรวม 10,234 เมกะวัตต โรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรสวนใหญใชเทคโนโลยีแบบน้ำอัดความดัน (PWR) จำนวน 11 โรง และใชเทคโนโลยีแบบน้ำมวลหนักอัดความดัน (PHWR : Candu 6) จำนวน 2 โรง สำหรับโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรที่กำลังกอสราง จำนวน 25 โรง ใชเทคโนโลยีแบบน้ำอัดความดัน (PWR) และอยูในพื้นที่ติดทะเล และมีแผน จะเพิ่มกำลังการผลิตเปน 400,000 เมกะวัตต ใน พ.ศ. 2593 ในอนาคตมีโครงการท่ีจะกอสรางโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร จำนวน 2 แหง ซึ่งไมอยูติดทะเล

จีน เร่องเลาจาก… เร่องเลาจาก…

โครงการกอสรางโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรนิงเดโครงการกอสรางโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรนิงเด

เร่ืองและภาพ : นางสาวชมพูนุท โลหิตานนท กองแผนงานและประเมินผล

ปลายเดือนเมษายน 2554 ดิฉันไดมีโอกาสรวมทริปกับผูแทนจากหนวยงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ภาคส่ือมวลชน และภาคประชาชน รวม 24 คน เดินทางไปศึกษาดูงานในโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย กลุมส่ือสารสาธารณะและการยอมรับของประชาชน ปที่ 2 ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งจัดโดยสำนักพัฒนาโครงการโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร กระทรวงพลังงาน รวมกับสถาบันวิจัยและให คำปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กอนการเดินทางไปศึกษาดูงานโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร ภาพโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรในความนึกคิดของดิฉันมีแตความนากลัว นึกออกแตภาพโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรเชอรโนบิล ประเทศยูเครนระเบิด โรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรที่ฟุกุชิมะ ประเทศญ่ีปุน ที่มีการรั่วไหลของสารกัมมันตรังสี โดยไมรูเลยวาโรงไฟฟาทั้ง 2 แหงดังกลาวเปนโรงไฟฟาแบบใด ใชเทคโนโลยีอะไร เม่ือเราไปเดินรอบๆ อาคารโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรจะตองแตงกายอยางไร ตองระมัดระวังตัวมากแคไหน รวมทั้งความปลอดภัยสำหรับผูไปศึกษาดูงาน แตเม่ือไดมีโอกาสเยี่ยมชมโครงการกอสรางโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรนิงเด (Ningde) โรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรดายาเบย (Daya Bay Nuclear Complex) โรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรลิงอาว 1 และ 2 (Ling Ao (I)-(II)) ทำใหรับทราบขอมูลพรอมกับลบภาพความนากลัวจากจินตนาการ และคลายความสงสัยวาทำไมประเทศตางๆ ถึงกลาสรางโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร

Page 15: Maihetmolapit Y7V4 Jun-Jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 · ทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล อม

15หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 15หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 15หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554 15หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 15หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554 15หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 15หมายเหตุมลพิษ กุมภาพันธ - มีนาคม 2554 15หมายเหตุมลพิษ เมษายน - พฤษภาคม 2554

รัฐบาลกลางไดดำเนินการศึกษาโครงการเพ่ือพิจารณา คัดเลือกพื้นที่ และเปนผูตัดสินใจคัดเลือกพื้นท่ีโครงการฯ โดยรัฐบาลทองถิ่นจะเปนผูอนุมัติใหดำเนินโครงการฯ ในพื้นที่ โดยในรัศมีประมาณ 5 กิโลเมตรรอบพื้นที่โครงการฯ ไมใหมีชุมชน หนาแนนจะตองอพยพประชาชนในพื้นที่และจัดหาที่อยูใหมใหทดแทน ในข้ันเร่ิมตนกอนดำเนินโครงการฯ จะใหองคความรู ใหขอมูลและตอบขอซักถามของประชาชนในพ้ืนที่จนเกิด การยอมรับ มีการสรางอาชีพใหแกประชาชนโดยรอบพ้ืนที่ เชน กลุมชาวประมง การทำฟารมสัตวน้ำ การปลูกชา และการรับเปนพนักงานในโรงไฟฟา ฯลฯ มีการพัฒนาสาธารณูปโภคข้ันพื้นฐาน มีการสรางโรงเรียน โรงพยาบาล พัฒนาชุมชน มีการซอมอพยพและหนีเม่ือเกิดอุบัติภัย และเม่ือโครงการฯ เริ่มดำเนินการแลวจะจัดสรรรายไดสวนหนึ่งใหแกรัฐบาลทองถ่ิน รวมท้ังรัฐบาลกลางจะนำรายไดที่เกิดข้ึนจากการจัดเก็บภาษีในแตละทองถิ่นกลับคืนใหแตละทองถิ่นตามอัตราที่จัดเก็บได โดยท่ัวไปพื้นที่ที่มีโครงการโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรจะมีรายไดสูง ทำใหรัฐบาลกลางจัดสรรเงินรายไดกลับคืนทองถิ่นนั้นในอัตราที่สูงดวย ประชาชนสวนใหญในพื้นที่จะยอมรับและพึงพอใจในการมี โครงการฯ

โรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรนิงเด (Ningde) ตั้งอยูในจังหวัดฟูเจียน ทางทิศตะวันออกเฉียงใตของสาธารณรัฐประชาชนจีน ประกอบดวยโรงไฟฟา 6 หนวย ขนาดกำลังการผลิตหนวยละ 1,080 เมกะวัตต ใชเทคโนโลยีแบบน้ำอัดความดัน (PWR : CPR-1000) การกอสรางใชระยะเวลา 56 เดือน ซึ่งไดพัฒนาเทคโนโลยี ระบบการดำเนินงานและการบริหารจัดการโดยสาธารณรัฐประชาชนจีน ดำเนินการโดยหนวยงานของรัฐบาล (องคกรดำเนินงานลักษณะคลายการไฟฟาฝายผลิตของประเทศไทย) โดยแบงการดำเนินงานเปน 2 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 ประกอบดวย โรงไฟฟานิงเด 1-4 ซึ่งจะเริ่มเดินเครื่องใน พ.ศ. 2555-2558 ตามลำดับ และระยะท่ี 2 โรงไฟฟานิงเด 5-6 จะดำเนินการในระยะถัดไป สำหรับงบประมาณการกอสรางตอหนวย (ไมรวมคาท่ีดิน) ราคาประมาณ 3 ใน 4 ของโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรโดยท่ัวไป เหตุที่มีราคาคอนขางต่ำเพราะรัฐบาลใหการสนับสนุน ใหเงินอุดหนุน ยกเวนภาษี และใชเทคโนโลยีที่พัฒนาโดยสาธารณรัฐประชาชนจีน การกอสรางโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรจะสราง คร้ังละ 2 หนวย เพราะมีความคุมทุนและประหยัดตอหนวย การกอสรางมากกวาการสรางคร้ังละ 1 หนวย และใชระยะเวลาดำเนินการนอยกวาการกอสรางคร้ังละหนวย

จีน การพัฒนาโครงการกอสรางโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรนิงเดการพัฒนาโครงการกอสรางโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรนิงเด

ประสบการณที่ไดจากการศึกษาดูงานดังกลาวทำใหกลับมาคิดตอในการประยุกตใชความรูสำหรับการจัดการพลังงานทางเลือกของไทยในอนาคตวา โรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรเปนแหลงพลังงานสะอาดท่ีสำคัญแหลงหนึ่ง ถึงแมวาตนทุนในการกอสรางจะมีราคาสูง แตตนทุนในการดำเนินงานต่ำ ทั้งนี้หากประเทศไทยจะเดินหนานโยบายกอสรางโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรตองเตรียมการเร่ืองใหองคความรู ขอมูล และใหประชาชนรวมตัดสินใจในการดำเนินโครงการฯ ตั้งแตข้ันกอนเริ่มดำเนินโครงการฯ การเตรียมพัฒนาบุคลากร เทคโนโลยี การต้ังหนวยงาน การเตรียมเขารวมเปนภาคีอนุสัญญาและออกกฎหมายภายในประเทศท่ีเกี่ยวของกับพลังงานนิวเคลียร การทบทวนมาตรฐานการปลอยมลพิษที่เกี่ยวของกับโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร เชน การกำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลและมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหลงน้ำผิวดิน โดยเฉพาะเร่ืองสารกัมมันตรังสีและอุณหภูมิ การปรับปรุงขอกำหนดและมาตรการท่ีเกี่ยวของท่ีมีอยู ณ ปจจุบันใหครอบคลุมการดำเนินงานโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร ในอนาคต และเตรียมความพรอมในดานตางๆ ตอไป รวมท้ังการสนับสนุนนโยบายจากรัฐบาล และส่ิงท่ีสำคัญคือ การมีมาตรการกำกับ ดูแล บริหารจัดการ ควบคุม ความปลอดภัยในการดำเนินงานโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรที่เขมงวดใหเปนไปตามกฎหมายและตามมาตรฐานสากล มีการรายงานผลการดำเนินงานตอสาธารณะ และใหภาคประชาชนไดมีสวนรวมในการติดตามตรวจสอบการดำเนินงาน

ประสบการณและการประยุกตใชประสบการณและการประยุกตใช

15หมายเหตุมลพิษ มิถุนายน - กรกฎาคม 2554

Page 16: Maihetmolapit Y7V4 Jun-Jul54infofile.pcd.go.th/mgt/pollution2554_4qrt.pdf · 2011-08-16 · ทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล อม

ติดตอขอทราบขอมูลเพิ่มเติมไดที่ 92 ซอยพหลโยธิน 7 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2298 2082-4 โทรสาร 0 2298 2085

กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

ชำระคาฝากสงเปนรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 32/2538 ไปรษณียสามเสนใน

เรียน

ปญหามลพิษ 1650 อุบัติภัยสารเคมี

สายดวน 1650 กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม • รับแจงเหตุฉุกเฉินจากอุบัติภัยสารเคมี • รับแจงเรื่องรองเรียนมลพิษ • ใหบริการขอมูลการระงับภัยสารเคมีเบื้องตน

GREEN SERVICE “อูสีเขียว” คลินิกไอเสียมาตรฐาน

รักรถ ลดโลกรอน กับอูสีเขียว คลินิกไอเสียมาตรฐาน บริการคุณภาพ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

“โครงการเรียกคืนอะลูมิเนียมเพ่ือจัดทำ ขาเทียมพระราชทาน รวมบริจาค โดยสงทางไปรษณีย หรือที่กรมควบคุมมลพิษ”