mac design ch 12 flex trans

44
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), .เอกพจน ตันตราภิวัฒน , ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1 การออกแบบเครื่องจักรกล ( Machine Design ) เอกพจน ตันตราภิวัฒน บทที12 อุปกรณสงกําลังแบบออน (Flexible Mechanical Transmission Components)

Upload: mylife-cef

Post on 21-Oct-2015

38 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1

การออกแบบเครือ่งจักรกล

( Machine Design )

เอกพจน ตันตราภิวัฒน

บทที่ 12 อปุกรณสงกําลังแบบออน

(Flexible Mechanical Transmission Components)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2

อุปกรณสงกําลังกลแบบออน (ใหตัวได)

Flexible Mechanical Elements

เปนอุปกรณสําหรับเชื่อมตอ และสงถายกําลังโดยตัวอุปกรณสามารถ

ใหตัว หรือปรับโคงงอได

โดยทั่วไปที่นิยมใชประกอบดวย

•Belts

•Roller Chains

•Wire Ropes

•Flexible Shafts

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 3

สายพาน (Belts)

มีหลากหลายชนิดซึ่งมคีณุลักษณะและการใชงานที่แตกตางกัน บางแบบตอง

ใชการเชื่อมตอเปนวง บางชนิดจะเปนขนาดสําเร็จจากโรงงานผูผลิต ไม

สามารถเลือกความยาวได ชนิดของสายพานที่นิยมใชทั่วไปไดแก

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 4

รูปทรง และหนาตัดสายพาน

• ในแตละชนิดของสายพานยังมีชนิดแยกยอยขึ้นอยูกับคุณสมบัติ

พิเศษที่ตองการเชน เพิ่มพื้นที่สัมผัส เพิ่มความออนตัวของ

สายพาน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 5

รูปแบบทั่วไปในการสงกาํลังดวยสายพาน

• Open Drive

• Cross Drive

• Friction Enhance

• Twist

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 6

การสงกาํลังแบบอื่นๆนอกจากจะสงถายกําลังโดยทั่วไปแลวยังมีการใชสายพานใน

ลักษณะพิเศษที่เกี่ยวของกับการสงถายกาํลังคือ

– ตดัตอการสงถายกําลังคลายกับการใชคลัช

– ปรับเปลี่ยนอัตราทดแบบตอเนื่อง และแบบเปนขั้นบันได

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 7

การวิเคราะหสายพานขับแบบ Open Drive

รูปแบบงายที่สุด และนิยมใชในการสงกําลังดวยสายพาน คือ

แบบ open drive ดังแสดงในรูป

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 8

การวิเคราะหสายพานขับแบบ Cross Drive

สําหรับการสงกําลังดวยสายพาน โดยใหมีทิศทางการหมุนของ

พูลเลสวนทางกันอาจทําไดโดยใช Cross Drive ดังแสดงในรูป

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 9

การวิเคราะหแรงบนสายพาน

• สมมุติวาแรงเสียดทานระหวางสายพาน และ

พูลเลแปรผันโดยตรงกับแรงดันหรือแรงตึงของ

สายพานจะได

• โดยที่แรง

• จะไดแรงตึงดานขับ และดานสง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 10

การวิเคราะหแรงบนสายพาน (ตอ)• แรงตึงเริม่ตนบนสายพานกําหนดโดย

• แรงตึงเริม่ตนจะตองมากเพียงพอให

สามารถสงผานกําลังเทากับ 2*T/D ได

• ในกรณทีี่เปนสายพานขนาดใหญ

น้ําหนักของสายพานสามารถคดิเปน

แรงตึงเริม่ตนไดโดย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 11

การวิเคราะหการสงกําลังของสายพานแบน

• กําลังงานที่สายพานแบนสงไดคอื

• ทั้งนี้คาความตงึบนสายพานที่ควรใชจะตองมี

การปรบัเปลี่ยนตามขนาดของพูลเลย และ

ความเรว็ที่ใชโดย Cp และ Cv

VFFP )( 21 −=

ตารางหาคา pulley correction factor Cp

กราฟหาคา speed correction factor Cv

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 12

ตัวอยางการวเิคราะหสายพานแบบแบบ open drive

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 13

ตัวอยางการวิเคราะหสายพานแบบแบบ open drive (ตอ)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 14

ตัวอยางการวิเคราะหสายพานแบบแบบ open drive (ตอ)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 15

ตัวอยางการออกแบบสายพานแบน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 16

ตัวอยางการออกแบบสายพานแบน (ตอ)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 17

ตัวอยางการออกแบบสายพานแบน (ตอ)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 18

ตัวอยางการออกแบบสายพานแบน (ตอ)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 19

สายพานรูปตวัวี V-Belts

• เปนสายพานสําเร็จ (ไมตองตอ)ซึ่งมีหนาตัดรูปตัววี ทําใหเพิ่มแรง

กดโดยอาศัยหลักการของลิ่ม มีหนาตัดที่นิยมแบงตามขนาด ไดแก

ชนิด A, B, C, D และ E

• นิยมใชในเครื่องจักรกลทั่วไปที่มีการสงกําลังไมสูงมากนัก แต

สามารถเพิ่มจํานวนเสนเพื่อเพิ่มความสามารถในการสงกําลัง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 20

ตัวอยางขนาด และหนาตัดของ V-Belt

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 21

การวิเคราะห และเลือกใชสายพานรูปตัววี• ขนาดความยาวพิท และระยะระหวาง pulley หาไดจาก

• ในการเลือกสายพานใหเลือกความยาวพิท Lp= L+Lc โดย Lc เปนคาที่บวกเขาไปกับความยาวเสนรอบวงในของสายพานหาไดจากตาราง

• การเลือกสายพาน– หาคา V, Lp, C, φ, และ exp(0.5123φ)– หาคา Hd , Ha , และ Nb จาก Hd /Ha แลวปดคาขึ้น– หาคา Fc, F, F1, F2, และ Fi , แลวตรวจสอบ nf s

– หาอายุของสายพาน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 22

การวิเคราะหแรงตึงบนสายพานตัววี

( )

( )DKFFFT

dKFFFT

bb

bb

+=+=

+=+=

1212

1111

แรงจากแรงหนศีูนย

แรงดานตึง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 23

การวิเคราะหการสงกําลังของสายพานตัววี

• คากําลังงานที่อนุญาต

– Ha = allowable power, per belt, จากตาราง 17–12

– K1 = angle-of-wrap correction factor, จากตาราง 17–13

– K2 = belt length correction factor, จากตาราง 17–14

• คากําลังงานที่ออกแบบ

• หาอายุการใชงานเปนรอบ

• อายุการใชงานเปนชั่วโมง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 24

ตัวอยางตารางคุณสมบตัสิายพานตัววี

คา power ratingคา Angle Contact

Correction Factor K1

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 25

ตัวอยางตารางคุณสมบตัสิายพานตัววี

คาตัวแปรความทนทาน คา Belt Length Correction Factor K2

คา Service

Factor Ks

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 26

ตัวอยางการวิเคราะหสายพานตัววี

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 27

ตัวอยางการวิเคราะหสายพานตัววี (ตอ)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 28

ตัวอยางการวิเคราะหสายพานตัววี (ตอ)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 29

สายพาน Timing Belt

• เปนสายพานสําเร็จคลายกับสายพานรูปตัววี

• มีฟนสําหรับปองกันการเลื่อนหรอืสลิป

• ตัวพูลเลยตองมีฟนรองรับสายพานพอดี

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 30

โซสงกําลัง (Roller Chain)

• สามารถใชงานที่ความยาวได

หลากหลาย

• มีความแข็งแรงสูง

• ประสิทธิภาพการสงกําลังดีพอควร

• ใชในงานที่เกี่ยวของกับอุณหภูมิสูง

ได (สายพานใชไมได)

• ทํางานที่ความเร็วต่ําถึงปานกลาง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 31

โซ และเฟองโซ (Sprocket)

• เสนผาศูนยกลางพิทคือ

• ความเรว็ของโซ(เฉลี่ยทั้งเสน)คอื

• เนื่องจากลักษณะการขบกันของเฟองโซเมื่อหมุน

ดวยความเร็วรอบคงทีจ่ะทําใหความเร็วของโซที่

เขาออกแตละขอเปลี่ยนไปโดยมคีวามเร็วสูงสุด

และต่ําสุดคอื

• ความเรว็ที่เปลี่ยนไปขึ้นอยูกับจํานวนฟนของเฟอง

โซ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 32

การออกแบบ และเลือกใชโซ

• อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของโซหาไดจาก

• คากําลังงานที่สงไดพิจารณาจากสองกรณีคือจํากัดจากตัว

Link Plate และตัว Roller

5.11

8.05.11

2

)07.03(9.01

08.111

1000

004.0

npNKH

pnNH

r

p

=

= − Link Plate Limit

Roller Limit

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 33

การออกแบบ และเลือกใชโซ (ตอ)

• คาประมาณความยาวโซ (เปนจํานวนเทาของระยะ pitch) สามารถหาไดจาก

• ระยะระหวางเฟองโซสองตัวคอื

• การใชงานโซจะจํากัดความเร็วเนื่องจากการควบกันของแกนโซและลูกกลิ้งโดย

– แรง F ในทีน่ีค้ือแรงตึงของโซมหีนวยเปนปอรน (หนวยอังกฤษ)

pLNNA

NNAApC

pCNNNN

pC

pL

−+

=

⎥⎥⎦

⎢⎢⎣

⎡⎟⎠⎞

⎜⎝⎛ −

−+−=

−+

++=

2

28

4

/4)(

22

12

2122

2

21221

π

π

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 34

การคํานวณการสงกาํลังของโซ• การประมาณความสามารถในการสงกําลังของโซหาไดจาก

• ความสามารถในการสงกําลังในการออกแบบ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 35

ตัวอยางตารางมาตรฐานโซ AISI

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 36

ตัวอยางการวิเคราะหเลอืกใชเฟองโซ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 37

ตัวอยางการวิเคราะหเลอืกใชเฟองโซ (ตอ)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 38

ลวดสลิง (Wire Rope)

• เปนชิ้นสวนที่ใชแพรหลาย ซึ่งการวิเคราะหสามารถทําไดโดย

ใชพื้นฐาน Mechanics ได

• ภาระเสมือนที่คํานวณจากการพิจารณาการดัดโคงของ

ลวดสลิงบนรอกคือ

– สังเกตวา Er คือคา Young’s Modulus ของสลิงทั้งเสนไมใช

เฉพาะลวดฝอย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 39

ตัวอยางตารางคุณสมบตัลิวดสลงิ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 40

ความแข็งแรง ในการออกแบบลวดสลิง

• เมื่อมีการดัดผานสวนโคงที่เล็กจนเกินไปจะทําใหลวดสูญเสียความแข็งแรง

• ในการออกแบบจริงควรตองคํานึงถึงภาระที่กอใหเกิดความลาดวย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 41

คาความปลอดภัยในการออกแบบลวดสลิง

• คาความปลอดภัยในการใชลวดสลิงในงานตางๆมักมีคาสูงเพราะมักจะเกี่ยวของกับงานที่มีการใชภาระสูง และมีการเปลี่ยนแปลงที่คาดเดาไดยากบอยครั้ง

• ลวดสลิงจําเปนตองมีการตรวจสอบเปนระยะตามอายุการใชงาน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 42

อุปกรณสงกาํลังแบบออนชนิดอื่นๆ

• Flexible Shafts

• Throttle Cables

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 43

แบบฝกหัด1.จากภาพขางลางเปนเครือ่งกวนผสมอาหารสตัว ทํางานดวยมอเตอรไฟฟาหมุนที่ความเรว็ 1450 rpm ขับเคลือ่นพูลเลย A มขีนาดเสนผาศูนยกลาง 150 mm สงกําลังไปยังพูลเลย B มขีนาดเสนผาศูนยกลาง 300 mm ติด้ตัง้หางกันระยะระหวางจุดศูนยกลางเทากับ 600 mm ในระหวางที่เครือ่งทํางานพบวาแรงตึงดานตึงของสายพานเทากับ 950N ในขณะทีแ่รงตงึดานหยอนมขีนาด 180N จงหาแรงบิด และกําลังของมอเตอร พรอมทั้งหาขนาดสัมประสิทธความเสียดทานของสายพานที่จะไมกอใหเกิดการ slip

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 44

แบบฝกหัด2. ในการสงกําลังดวยโซแบบ single ขนาด ANSI No.40 ระหวางเฟองโซตัวขบั

เคลือ่นที่มีจํานวนฟนเทากับ 15 ฟน หมุนดวยความเรว็ 775 rpm สงกําลังไปยังเฟองโซตัวตามมีจํานวนฟนเทากับ 58 ฟนจงคํานวนหา

– ระยะติด้ตัง้ระหวางเฟองโซทั้งสองตัวถากําหนดใหใชทั้งวงจํานวนขอทั้งหมด 80 ขอ

– แรงบิดสูงสุดที่ยอมใหมีไดทีเ่ฟองตัวสง และกําลังงานที่สงได

– ประมาณคาแรงตงับนโซที่เกิดขึ้นถาใชงานที่ 50 % ของกําลังงานสูงสุด