france-siamese maps 1904-1908

110
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 433 ดงทไดกลาวมาแลวขางตนในบท “แผนทมาตราสวน 1 : 200,000 ระหวางสยามกบฝรงเศส พ.ศ. 2446/47 (ค.ศ. 1904) และ พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908) วา ไดมการยกเลกแผนท 1 : 200,000 ชุดทจดทำาขนตามหนงสอสญญา ค.ศ. 1904 เปนจำานวน 3 ระวางคอ ระวางท 9 พนมกุเลน (Kulen หรอ Camlen) ระวางท 10 Lake หรอ Lae ซงหมายถง “ตนเลสาบ” ก บระวางท 11 ค อเม องตราด (Muang Trat) ในต วสะกดฝร งเศสใช Krat งน เน องมาจากการลงนามในหน งส สญญา 1907 ในโอกาสทพระจุลจอมเกลาฯ รชกาลท 5 เสดจประพาสยุโรปครงท 2 ป พ.ศ. 2450 (ค.ศ. 1907) และทรง ตกลงเลกดนแดนกบจนทบุร ดงนนจงตองยกเลกแผนทระวางท 9-10-11 นนเอง ตอระหวางป พ.ศ. 2451-52 (ค.ศ. 1908-09) กไดมการจดตงคณะกรรมการผสมระหวางฝรงเศสกบสยาม เพอ ทำาแผนทและกำาหนดเขตแดนขนใหมเปนการทดแทนจำานวน 5 ระวาง ดงตอไปน คอ แผนท 1 : 200,000 ชุดแรก และ แผนท 1 : 200,000 ชุดหลง ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศส พ.ศ. 2446/47 (ค.ศ. 1904) และ พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908) Franco-Siamese Maps 1904-1908 ชาญวทย เกษตรศร สุภลกษณ กาญจนขุนด และอครพงษ ค ำาคูณ

Upload: textbooksproject-foundation

Post on 10-Mar-2016

239 views

Category:

Documents


7 download

DESCRIPTION

ชุดแผนที่มาตราส่วน 1:200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศส 1904 และ 1908 France-Siamese Maps 1904-1908

TRANSCRIPT

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 433

ดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นในบท “แผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศส พ.ศ. 2446/47 (ค.ศ.1904)และพ.ศ. 2451(ค.ศ. 1908)ว่าได้มีการยกเลิกแผนที่1 : 200,000ชุดที่จัดทำาขึ้นตามหนังสือสัญญาค.ศ. 1904เป็นจำานวน3ระวางคือระวางที่9พนมกุเลน(KulenหรือCamlen)ระวางที่10LakeหรือLaeซึ่งหมายถึง“ตนเลสาบ”กบัระวางที่11คอืเมอืงตราด(Muang Trat) ในตวัสะกดฝรัง่เศสใช้Kratทัง้นีเ้นือ่งมาจากการลงนามในหนงัสอืสัญญา1907ในโอกาสที่พระจุลจอมเกล้าฯรัชกาลที่5เสด็จประพาสยุโรปครั้งที่2ปีพ.ศ. 2450(ค.ศ. 1907)และทรงตกลงเลิกดินแดนกับจันทบุรีดังนั้นจึงต้องยกเลิกแผนที่ระวางที่9-10-11นั้นเอง ต่อระหว่างปีพ.ศ. 2451-52(ค.ศ. 1908-09)ก็ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการผสมระหว่างฝรั่งเศสกับสยามเพื่อทำาแผนที่และกำาหนดเขตแดนขึ้นใหม่เป็นการทดแทนจำานวน5ระวางดังต่อไปนี้คือแผนที่1 : 200,000ชุดแรกและแผนที่1 : 200,000ชุดหลัง

ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000ระหว่างสยามกับฝรั่งเศส พ.ศ. 2446/47 (ค.ศ. 1904)

และ พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)Franco-Siamese Maps 1904-1908

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ

434 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

(36)แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก

ระวางที่ 1 เมืองคอบ-เมืองเชียงล้อม (Mg. Khop-Mg. Xieng Lom)

พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

ระวางเมอืงคอบ-เมอืงเชยีงลอ้ม(Mg. Khop-Mg. Xieng Lom)เปน็1ใน11ระวางทีจ่ดัพมิพข์ึน้ในปีค.ศ.1908ตามการร้องขอของคณะกรรมการปักปันเขตแดนผสมสยาม-ฝรั่งเศส (ฝ่ายสยาม) เพื่อแสดงเส้นพรมแดนประเมินตามความในมาตรา 1 และ 2 ของอนุสัญญาว่าด้วยการกำาหนดเส้นเขตแดนและหนังสือแนบท้ายสนธิสัญญาฉบับลงวันที่ 23มีนาคมค.ศ.1907 แผนทีน่ีแ้สดงจดุตัง้ตน้ของเสน้เขตแดนทางบกระหวา่งสยาม-ฝรัง่เศสอนิโดจนีในเวลานัน้และปจัจบุนัคอืไทย-ลาวซึ่งได้ระบุเอาไว้ตรงกับถ้อยคำาในอนุสัญญามาตรา2ที่ว่าเส้นเขตแดนบริเวณนี้ให้เป็นไปตามสันปันน้ำาไปจนถึงลำาน้ำาโขงตรงที่เรียกว่าแก่งผาได (ตรงบริเวณเส้นเขตแดนบรรจบกับแม่น้ำาโขงด้านบน) ปัจจุบันนี้อยู่ในเขตบ้านห้วยลึก ตำาบลม่วงยายอำาเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย พื้นที่ดังกล่าวไทยและลาวสามารถกำาหนดแนวเส้นเขตแดนตรงกันแล้วแต่ยังไม่สามารถดำาเนินการปักหลักเขตแดนได้ เนือ่งจากประชาชนในทอ้งถิน่คดัคา้นเพราะเกรงวา่จะเสยีพืน้ทีส่ำาหรบัทอ่งเทีย่วและการประมงในแมน่้ำาโขงไปใหล้าวจุดสังเกตประการสำาคัญสำาหรับการอ่านแผนที่ชุดนี้ในทุกระวางคือแผนที่พยายามจะแสดงให้เห็นว่าเส้นเขตแดนนั้นวางอยู่บนสันปันน้ำา โดยการแสดงทางน้ำาไหลหรือลำาห้วยบนภูเขากำากับเอาไว้อย่างชัดเจนกระนั้นก็ตามในเวลาต่อมาเมื่อไทยและลาวสบืสทิธิต์อ่จากฝรัง่เศสปรากฏวา่มปีญัหาในการใชแ้ผนทีเ่พือ่เปน็แนวในการถา่ยทอดเสน้เขตแดนลงภมูปิระเทศจรงิอยา่งมากดว้ยวา่ธรรมชาตมิกีารเปลีย่นแปลงบรเิวณทีเ่คยเปน็ทางน้ำาไหลหรอืลำาหว้ยอาจเหอืดแหง้ไปการสำารวจในระยะหลงัจงึหาไมพ่บทำาใหท้ัง้สองฝา่ยตคีวามแผนทีก่นัไปตา่งๆนานาและความเหน็ทีแ่ตกตา่งนัน้เองทำาใหเ้กดิขอ้พพิาทเรือ่งดนิแดนได้

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 435

แผนท

ี่ 1 : 20

0,00

0 ชุด

แรก

ระวา

งที่ 1

เมือง

คอบ

-เมือง

เชียง

ล้อม (

Mg.

Kho

p-M

g.X

ieng

Lom

) พ.ศ

. 245

1 (ค

.ศ. 1

908)

436 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 437

438 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 439

440 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 441

442 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

(37)แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก

ระวางที่ 2 แม่น้ำาด้านเหนือ (Haut Me-Nam)พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

ระวาง แม่น้ำาด้านเหนือ (Haut Me-Nam) เป็นระวางที่ 2 ที่เชื่อมต่อกับระวางเมืองคอบเพื่อแสดงเขตแดนระหว่างสยาม-อินโดจีน ในบริเวณที่ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดน่านซึ่งอยู่ตรงข้ามกับแขวงไซยะบุลีของลาว จุดข้ามแดนที่ชัดเจนที่สุดที่ระบุเอาไว้ในแผนที่ระวางนี้คือบริเวณด่านห้วยโก๋น-เมืองเงิน ซึ่งปัจจุบันนี้มีเส้นทางจากเมืองเงินใน แขวงไซยะบุลีเข้าไปจนถึงเมืองปากแบ่งที่สามารถข้ามแม่น้ำาโขงไปยังแขวงอุดมไซยและแขวงหลวงพระบางได้ แผนที่ระวางนี้ได้ชื่อว่าเป็นแม่น้ำาด้านเหนือก็จริงแต่ไม่ได้แสดงอะไรเกี่ยวกับแม่น้ำาโขงในส่วนที่อยู่ในแผ่นดินลาวมากนักนอกจากแสดงให้ทราบว่าเป็นแม่น้ำาเท่านั้น แผนที่จะให้รายละเอียดเกี่ยวกับเส้นเขตแดนทางบกในฝั่งขวาของแม่น้ำาโขงเป็นสำาคัญ และชื่อระวางHaut Me-Namเป็นภาษาผสมระหว่างภาษาฝรั่งเศสคือคำาว่าHautกับภาษาท้องถิ่นไทย-ลาวคือ Me-Namซึ่งเป็นการตั้งชื่อที่แตกต่างจากระวางอื่นๆซึ่งมักจะเอาภาษาท้องถิ่นที่บอกสถานสำาคัญมาตั้งเป็นชื่อแผนที่

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 443

แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 2 แม่น้ำาด้านเหนือ (Haut Me-Nam) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

444 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 445

446 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 447

448 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 449

450 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

(38)แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก

ระวางที่ 3 เมืองน่าน (Mg. Nan)พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

ระวางเมืองน่าน(Mg. Nan)เป็นระวางที่ 3แสดงเขตสยามและอินโดจีนด้านจังหวัดน่านและแขวงไซยะบุลีของลาวในปัจจุบัน เช่นเดียวกับระวางอื่นๆ แม้ชื่อแผนที่จะได้ชื่อว่าเป็นระวางเมืองน่าน แต่ไม่ได้ให้รายละเอียดอะไรเกี่ยวกับเมืองน่านมากนักเมื่อเปรียบเทียบกับรายละเอียดที่ให้ไว้ในพื้นที่ในบริเวณเส้นเขตแดนหากมองแผนที่ระวางนี้ในระยะไกลจะพบว่ามีการเขียนแผนที่โดยละเว้นรายละเอียดลักษณะพื้นที่ซึ่งอยู่ไกลเส้นเขตแดนทำาให้สีของพื้นที่แตกต่างกันมาก กล่าวคือในบริเวณเขตแดนนั้นแผนที่จะให้ข้อมูลว่าลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาโดยการแสดงเส้นชั้นความสูงและลำาหว้ยหรอืทางน้ำาไหลเพือ่แสดงสนัปนัน้ำาเอาไว้พรอ้มทัง้ใชช้ือ่ภเูขาทีใ่ชก้ำาหนดเสน้เขตแดนเอาไวอ้ยา่งชดัเจนดว้ยดงัปรากฏชัดเจนในตอนล่างสุดของแผนที่จะเห็นภูหลักหมื่นซึ่งทำาให้เข้าใจได้ว่าสันปันน้ำาที่ใช้นี้เป็นสันปันน้ำาของภูเขาลูกนี้และชื่อของมันก็เป็นที่รู้จักกันดีในท้องถิ่นแต่ลักษณะภูมิประเทศของพื้นที่ซึ่งอยู่ห่างออกไปเช่นในตัวเมืองน่านนั้นแผนที่จะไม่บอกรายละเอียดพวกนี้เอาไว้ซึ่งก็เป็นการดีเพราะจะไม่ทำาให้เกิดความสับสนอันเนื่องมาแต่สถานที่หลายแห่งหรือแม่น้ำาภูเขาหลายลูกในท้องถิ่นอาจจะตั้งชื่อซ้ำาๆกัน

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 451

แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 3 เมืองน่าน (Mg.Nan) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

452 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 453

454 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 455

456 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 457

458 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

(39)แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรกระวางที่ 4 ปากลาย (Pak Lay)

พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

ระวางปากลาย(Pak Lay)เป็นระวางที่ 4ในจำานวน11ระวางที่แสดงเส้นเขตแดนในพื้นที่เมืองปากลายแขวงไซยะบุลีของลาว และในส่วนของไทยนั้นคือพื้นที่บางส่วนของอำาเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ในปัจจุบัน จุดสำาคัญคือได้แสดงพื้นที่พิพาทระหว่างไทยและลาวบริเวณสามหมู่บ้าน ได้แก่ บ้านใหม่ บ้านกลาง และบ้านสว่างในยุคสมัยปัจจุบันเอา ไว้ด้วย หากพิจารณาด้านบนสุดของแผนที่ซึ่งเป็นจุดเริ่มเขตแดนในระวางนี้จะเห็นภูกิ่วนกแซวและมีเส้นทางสายหนึ่งตัดขา้มเสน้เขตแดนเขา้ไปยงับา้นใหม่ซึง่อยูใ่นเขตลาวและลาวอา้งวา่อยูใ่นอำานาจปกครองของลาวมานานแลว้โดยสมยักอ่นอยู่ในเขตปากด่าน จะสังเกตเห็นชื่อบ้านด่าน อยู่เหนือบ้านใหม่ขึ้นไปเล็กน้อย และทั้งหมดนั้นอยู่ในอำานาจปกครองของเมืองปากลาย(ตามแผนที่อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของบ้านใหม่)เป็นเมืองริมแม่น้ำาโขงส่วนฝั่งสยามหรือฝั่งไทยในปัจจุบันนั้นปรากฏชื่อบ้านบ่อเบี้ยชัดเจนซึ่งบ้านบ่อเบี้ยนั้นคือตำาบลบ่อเบี้ยอำาเภอบ้านโคกจังหวัดอุตรดิตถ์นั่นเอง ทางการไทยระบุว่าสามหมู่บ้านที่พิพาทนั้นตั้งอยู่ในเขตตำาบลบ่อเบี้ยนี่เองบ้านบ่อเบี้ยนี้ตั้งอยู่ห่างเส้นเขตแดนตามแผนที่นี้เพียง2เซนติเมตรหากใช้มาตราส่วน1 : 200,000เป็นฐานแล้วจะพบว่าหมู่บ้านนี้ห่างเส้นเขตแดน4กิโลเมตรและห่างจากบ้านใหม่8กิโลเมตรหากถือตามแผนที่ระวางนี้ข้อพิพาทในกรณีสามหมู่บ้านซึ่งเป็นเหตุให้มีการปะทะทางทหารในปีพ.ศ. 2527น่าจะยุติได้ไม่ยากนักเพราะบ้านใหม่นั้นปรากฏชัดเจนว่าอยู่ในเขตลาว

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 459

แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 4 ปากลาย (Pak Lay) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

460 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 461

462 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 463

464 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 465

466 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

(40)แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก

ระวางที่ 5 น้ำาเหือง (Nam Heung)พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

ระวางน้ำาเหือง(Nam Heung)เป็นระวางที่ 5จาก11ที่พิมพ์ในปีค.ศ. 1908(พ.ศ. 2451)เพื่อแสดงเส้นเขตแดนระหวา่งสยามและอนิโดจนีในพืน้ทีป่จัจบุนันัน้แผนทีร่ะวางนีจ้ะครอบคลมุพืน้ทีบ่างสว่นของจงัหวดัพษิณโุลกและจงัหวดัเลยของไทยสว่นฝัง่ลาวนัน้คอืพืน้ทีข่องแขวงไซยะบลุีจดุสำาคญัทีส่ดุของแผนทีร่ะวางนีค้อืแสดงเสน้เขตแดนในพืน้ทีซ่ึง่ไทยและลาวพิพาทกันในปัจจุบันคือบ้านร่มเกล้าอำาเภอชาติตระการจังหวัดพิษณุโลกและเมืองบ่อแตนแขวงไซยะบุลีของลาวซึ่งเคยมีการปะทะทางทหารในปีพ.ศ. 2530(ค.ศ. 1987) ในขอ้พพิาทนัน้ไทยและลาวเหน็ตา่งกนัในเรือ่งเสน้เขตแดนตามลำาน้ำาเหอืงเพราะในสนธสิญัญาปีค.ศ. 1907(พ.ศ. 2450) นั้นระบุให้เอาร่องน้ำาลึกในแม่น้ำาเหืองที่เกิดแต่ภูเขาเมี่ยงเป็นเส้นเขตแดน แต่แม่น้ำาเหืองที่ปรากฏในแผนที่นั้นมีสองสายกล่าวคือสายหนึ่งเกิดแต่ภูเขาเมี่ยงชื่อแม่น้ำาเหืองง่าอีกสายหนึ่งชื่อแม่น้ำาเหืองมีต้นกำาเนิดจากภูสอยดาวในแผนที่ระวางนี้เขียนเส้นเขตแดนไปตามลำาน้ำาเหืองง่าซึ่งมาจากภูเขาเมี่ยงหากถือตามแผนที่นี้บ้านร่มเกล้าซึ่งเป็นหมู่บ้านตั้งใหม่ไม่มีปรากฏในแผนที่น่าจะตั้งอยู่ในเขตไทย อย่างไรก็ตาม ธงชัย วินิจจะกูล นักประวัติศาสตร์ ได้ตั้งข้อสังเกตว่า ชื่อลำาน้ำาเหืองง่าหรืออื่นๆ และแนวลำาน้ำาทั้งสองสายยังคงมีปัญหาอยู่ เพราะปรากฏในเอกสารอื่นต่างออกไปเช่นในโทรเลขสื่อสารของข้าหลวงฝรั่งเศสลงวันที่5กรกฎาคมค.ศ. 1908(พ.ศ. 2451)เรียกลำาน้ำาสองสายว่าNam Houng NgaiและNam Houng Noi โดยให้ถือว่าNam Houng Ngaiที่เกิดแต่ภูเขาเมี่ยงเท่านั้นเป็นเส้นเขตแดน

แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 5 น้ำาเหือง (Nam Heung) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

468 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 469

470 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 471

472 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 473

474 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

(41)แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก

ระวางที่ 6 ปาสัก (Bassac) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

ระวางปาสกั(Bassac)ระวางนีเ้ปน็แผนทีร่ะวางแรกทีแ่สดงเสน้เขตแดนสยามและอนิโดจนีตอนใต้ตัง้ชือ่ตามเมอืงปาสักหรือป่าสักหรือจำาปาสักในปัจจุบัน แต่ก็เหมือนกับระวางอื่นคือไม่ได้แสดงรายละเอียดอะไรในแขวงจำาปาสักมากนัก หากมุ่งแสดงเส้นเขตแดนสยามและอินโดจีนโดยเส้นเขตแดนในบริเวณนี้ใช้สันปันน้ำาของภูแดนเมืองไปจนถึงแม่น้ำาโขงตรงปากห้วยดอน โดยทั่วไปแล้วการสำารวจและจัดทำาเส้นเขตแดนยุคใหม่สำาหรับพื้นที่ในบริเวณนี้ไม่มีปัญหามากนักยกเว้นบริเวณ ช่องเม็กและบ้านทุ่งหนองบัวในเขตจังหวัดอุบลราชธานีและแขวงจำาปาสัก ซึ่งไทยและลาวเห็นไม่ตรงกันด้วยปรากฏว่า สันปันน้ำาถูกทำาลายอันมาจากการก่อสร้างและการดัดแปลงภูมิประเทศอีกประการหนึ่งภูแดนเมืองในแผนที่นั้นก็ไม่ใช่ภูเขาลูกเดียวหากแต่มีหลายลูกในชื่อต่างๆกันไปเช่นภูกลางโคกภูถ้ำาห้อภูจ้อก้อและจำานวนหนึ่งก็ไม่ได้อยู่ชิดติดกันหากแต่ปรากฏว่ามีช่องว่างระหว่างภูเขาแต่ละลูก ทำาให้เกิดปัญหาในการถ่ายทอดเส้นเขตแดนตามสนธิสัญญาและแผนที่ลงในภูมิประเทศจริงและทำาให้มีความเห็นในการตีความแตกต่างกันได้ง่าย

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 475

แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 6 ปาสัก (Bassac) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

476 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 477

478 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 479

480 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 481

482 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

(42)แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก

ระวางที่ 7 โขง (Khong) พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

ระวางโขง(Khong)ระวางนีเ้ปน็หนึง่ในชดุแผนทีซ่ึง่แสดงเสน้เขตแดนระหวา่งสยามและอนิโดจนีทางตอนใต้ซึง่ในปจัจบุนัหมายถงึพืน้ทีบ่รเิวณรอยตอ่ระหวา่งไทยลาวและกมัพชูาแตเ่นือ่งจากเดมินัน้แผนทีน่ีใ้ชแ้สดงเสน้เขตแดนระหวา่งสยามและอินโดจีนเป็นหลักและผู้ทำาแผนที่ไม่ได้สนใจเขตแดนระหว่างประเทศในกลุ่มอินโดจีนด้วยกันดังนั้นจึงไม่ปรากฏว่ามีเส้นเขตแดนระหว่างลาวและกัมพูชาในแผนที่ระวางนี้แต่อย่างใด เส้นเขตแดนโดยประมาณระหว่างไทยลาวและกัมพูชาในปัจจุบันนั้นหากใช้แผนที่ระวางนี้จะอยู่ประมาณช่องบกหรือโอบก(ในแผนที่ระวางนี้จะเห็นOUปรากฏอยู่ชัดเจน)คือรอยต่อระหว่างพนมดงรักและภูแดนเมืองความจริงชื่อภูแดนเมืองโดยตัวของมันเองนั้นน่าจะบอกความหมายเกี่ยวกันเส้นเขตแดนสมัยโบราณเอาไว้ค่อนข้างจะชัดเจนอยู่แล้ว ไทยและลาวไมม่ปีญัหาในการกำาหนดเสน้เขตแดนในยคุปจัจบุนัสำาหรบัพืน้ทีบ่รเิวณนี้แตม่อีปุสรรคบางประการในการสำารวจและจดัทำาหลกัเขตแดนอนัเนือ่งมาจากมกีารวางกบัระเบดิเอาไวม้ากระหวา่งสงครามสว่นเขตแดนระหวา่งไทยและกัมพูชาในส่วนนี้ในยุคสมัยปัจจุบันนี้ยังไม่ได้มีการสำารวจและจัดทำาหลักเขตแดนแต่อย่างใดรวมทั้งเกิดปัญหาท่าทีของไทยเกี่ยวกับการใช้แผนที่ระวางถัดไปคือระวางดงรักด้วยทำาให้การใช้แผนที่ในการกำาหนดเส้นเขตแดนมีความคลุมเครือ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 483

แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 7 โขง (Khong) พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

484 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 485

486 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 487

488 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 489

490 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

(43)แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรกระวางที่ 8 ดงรัก (Dangrek)

พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

แผนที่ระวางที่ 8 “ดงรัก (DANGREK)” หนึ่งในชุดแผนที่ชุดแรก 11 ระวาง ที่ถูกส่งมายังเสนาบดีการต่างประเทศของสยาม ตามเอกสารราชการ เลขที่ 89/525 ลงวันที่ 20 สิงหาคมพ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908) โดย หม่อมเจ้าจรูญศักดิ์กฤดากรอัครราชทูตสยามประจำากรุงปารีสแผนที่นี้ถูกกล่าวถึงในนามของแผนที่“มาตราส่วน1: 200,000”และเป็นผลงานของ“คณะกรรมการเขตแดนผสมอินโดจีนและสยาม(COMMISSION DE DELIMITATION ENTRE L’ INDO-CHINE ET LE SIAM)”โดยมีประธานร่วมสองคนคือพลตรี หม่อมชาติเดชอุดมฝ่ายสยามและมีพันเอก แบร์นาร์ดฝ่ายฝรั่งเศสซึ่งได้รับการแต่งตั้งขึ้นตามสัญญาฉบับวันที่ 13กุมภาพันธ์พ.ศ. 2446/47 (ค.ศ. 1904)แผนที่ระวาง“ดงรัก”(DANGREK)แผ่นนี้ประกอบด้วยแผนที่ย่อย2ส่วนที่ปรากฏในแผ่นเดียวกันได้ส่วนบนชื่อ“อุบลถึงโคราช(OUBOUN àà KORAT)”เป็นแผนที่มาตราส่วน1: 500,000แสดงภูมิประเทศและชื่อเมืองจากเมืองโคราชถึงเมืองอุบลและแผนที่ส่วนล่างคือแผนที่แสดงเส้นเขตแดนระหว่างสยามกับกัมพูชาของฝรั่งเศสตามแนวเทือกเขาพนมดงรักโดยแสดงเส้นเขตต่อเนื่องจากแผนที่ระวาง“โขงKHONG”ที่บริเวณทิศเหนือของเขาสัตตโสม(Ph.Sethisom)เรื่อยไปทางทิศตะวันตกจนไปสิ้นสุดลงบริเวณที่มีชื่อว่าตำาหนักประเทศ(Damnac Prates) แผนที่“ดงรัก”(DANGREK)นี้มีเจตนาแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าตำาแหน่งของ“ปราสาทพระวิหาร(Preas Vihear)”ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเส้นเขตแดนบนแผนที่ ซึ่งถูกกำาหนดโดยเครื่องหมาย+++++++และทำาให้ตัวปราสาทอยู่ในฝั่งกัมพูชา นอกจากนี้ ยังมีข้อความระบุไว้บนมุมบนด้านซ้ายของแผนที่ว่า “การลงพื้นที่กระทำาโดย (Les travaux sur le terrain ont été exécutés par)ร้อยเอก แคร์แลร์แห่งกองทหารอาณานิคม(le Capitaine KERLER, de l’Infanterie Coloniale)และร้อยเอก อุ่มแห่งกองทหารต่างชาติ(le Capitaine OUM, de la Légion Ètrangère)และระบุที่ด้านมุมล่างด้านซ้ายของแผนที่ชุดนี้ถูกพิมพ์โดยH.BARRÈRE, Editeur Géographe. 21 Rue du Bac, PARIS.แผนที่นี้แหละที่ฝา่ยทนายของกมัพชูาใชอ้า้งตอ่ศาลโลกในกรณคีดปีราสาทเขาพระวหิารและชนะคดไีปดว้ยคะแนน9 : 3เมือ่15มถินุายนพ.ศ. 2505(ค.ศ. 1962)

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 491

แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 8 ดงรัก (Dangrek) พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

492 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 493

494 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 495

แผนที่ 1:200,000 ชุดแรก ระวางที่ 8 ดงรัก (Dangrek) พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908) ตัดขยายส่วนบน OUBOUN & KORAT มาตราส่วน 1:500,000

496 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 497

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 499

แผนที่ 5 ระวาง ซึ่งเป็นผลงานชุดหลังของ “คณะกรรมการปักปันเขตแดนผสมอินโดจีนและสยาม(COMMISSION DE DELIMITATION DE LA FRONTIERE ENTRE L’INDO-CHINE ET LE SIAM)” ซึ่งแต่งตั้งขึ้นตามสนธิสัญญาฉบับวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2449/50 (ค.ศ. 1907) โดยมีประธานร่วมสองคน คือ พลเอก พระองค์เจ้าบวรเดช ฝ่ายสยาม และ พันตรี กีชาร์ด มองต์แกรส์ ฝ่ายฝรั่งเศส ซึ่งได้จัดทำาแผนที่มาตราส่วน1 : 200,000จำานวน5ระวางพิมพ์แล้วเสร็จในปีพ.ศ. 2452(ค.ศ. 1909)จึงมีผลให้แผนที่ชุดเดิม3ระวางสุดท้ายคือPhnom Kulen, Lake และMuang Trat ถูกยกเลิกไป แผนทีช่ดุนี้ครอบคลมุเสน้เขตแดนในพืน้ทีจ่งัหวดัตราดจนัทบรุีสระแกว้บรุรีมัย์และสรุนิทร์สว่นพืน้ทีข่องจงัหวดัศรีสะเกษ และอุบลราชธานี คือส่วนของแผนที่ของ“คณะกรรมการเขตแดนผสมอินโดจีนและสยาม (COMMISSION DE DELIMITATION ENTRE L’ INDO-CHINE ET LE SIAM)” ซึ่งแต่งตั้งขึ้นตามอนุสัญญาฉบับวันที่13กุมภาพันธ์พ.ศ. 2446(ค.ศ. 1904)คือระวาง“ดงรัก”(DANGREK)และ“โขง”(KHONG)

500 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

(44)แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง

ระวาง SECTEUR No.1 หรือแผ่นที่ 1พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

แผนที่ระวางSECTEUR No.1 หรือแผ่นที่ 1 :ผลงานของ “คณะกรรมการปักปันเขตแดนผสมอินโดจีนและสยาม(COMMISSION DE DELIMITATION DE LA FRONTIERE ENTRE L’INDO-CHINE ET LE SIAM)”ซึ่งแต่งตั้งขึ้นตามสนธิสัญญาฉบับปีพ.ศ. 2449/50(ค.ศ. 1907)จัดทำาขึ้นระหว่างปีพ.ศ. 2450-51(ค.ศ. 1907-08)ครอบคลุมหลักเขตที่71-73จากโดยปรากฏชื่อร้อยโทDefertและร้อยโทRoxas Elioฝ่ายฝรั่งเศสและร้อยโทKhun Ronnaratและร้อยโทDengฝ่ายสยามเป็นผู้รับผิดชอบ

แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.1 หรือแผ่นที่ 1 พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

502 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 503

504 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 505

506 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

(45)แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง

ระวาง SECTEUR No.2 หรือแผ่นที่ 2พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

แผนที่ระวาง SECTEUR No.2 หรือแผ่นที่ 2 : ผลงานของ “คณะกรรมการปักปันเขตแดนผสมอินโดจีนและสยาม (COMMISSION DE DELIMITATION DE LA FRONTIERE ENTRE L’INDO-CHINE ET LE SIAM)” ซึ่งแต่งตั้งขึ้นตามสนธิสัญญาฉบับปี พ.ศ. 2449/50 (ค.ศ. 1907) จัดทำาขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2450-51(ค.ศ. 1907-08) ครอบคลุมหลักเขตที่ 69-70 โดยปรากฏชื่อ ร้อยโท Defert ฝ่ายฝรั่งเศส และ ร้อยโท Nai Petch ฝ่ายสยามเป็นผู้รับผิดชอบ

แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.2 หรือแผ่นที่ 2 พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

508 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 509

510 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 511

512 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

(46)แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง

ระวาง SECTEUR No.3 หรือแผ่นที่ 3พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

แผนที่ระวางSECTEUR No.3 หรือแผ่นที่ 3 :ผลงานของ “คณะกรรมการปักปันเขตแดนผสมอินโดจีนและสยาม (COMMISSION DE DELIMITATION DE LA FRONTIERE ENTRE L’INDO-CHINE ET LE SIAM)” ซึ่งแต่งตั้งขึ้นตามสนธิสัญญาฉบับปี พ.ศ.2449/50 (ค.ศ.1907) พิมพ์จัดทำาขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2450-51(ค.ศ. 1907-08) ครอบคลุมหลักเขตที่ 49-68 โดยปรากฏชื่อ ร้อยเอก Seneque ฝ่ายฝรั่งเศส และ ร้อยเอก Wath ฝ่ายสยามเป็นผู้รับผิดชอบ

แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.3 หรือแผ่นที่ 3 พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

514 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 515

516 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 517

518 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 519

520 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

(47)แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง

ระวาง SECTEUR No.4 หรือแผ่นที่ 4พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

ผลงานของ“คณะกรรมการปกัปนัเขตแดนผสมอนิโดจนีและสยาม(COMMISSION DE DELIMITATION DE LA FRONTIERE ENTRE L’INDO-CHINE ET LE SIAM)” ซึ่งแต่งตั้งขึ้นตามสนธิสัญญาฉบับปี พ.ศ. 2449/50(ค.ศ. 1907)จัดทำาขึ้นระหว่างปีพ.ศ.2450-51(ค.ศ. 1907-08)ครอบคลุมหลักเขตที่23-48โดยปรากฏชื่อร้อยโทDessemond ฝ่ายฝรั่งเศสและร้อยโทMom Luang Chouyฝ่ายสยามเป็นผู้รับผิดชอบ

แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.4 หรือแผ่นที่ 4 พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

522 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 523

524 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 525

526 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 527

528 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

(48)แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง

ระวาง SECTEUR No.5 หรือแผ่นที่ 5 (ส่วนที่ 1)พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

แผนทีร่ะวางSECTEUR No.5 หรอืแผน่ที่5:(สว่นที่1และ2)ผลงานของ“คณะกรรมการปกัปนัเขตแดนผสมอนิโดจนีและสยาม(COMMISSION DE DELIMITATION DE LA FRONTIERE ENTRE L’INDO-CHINE ET LE SIAM)”ซึ่งแต่งตั้งขึ้นตามสนธิสัญญาฉบับปีพ.ศ. 2449/50(ค.ศ. 1907)จัดทำาขึ้นระหว่างปีพ.ศ. 2450-51(ค.ศ. 1907-08)ครอบคลุมหลักเขตที่1-22Bโดยปรากฏชื่อร้อยโทMalandianฝ่ายฝรั่งเศสและร้อยโทMom Luang Suk ฝ่ายสยามเป็นผู้รับผิดชอบ

แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.5 หรือแผ่นที่ 5 พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908) (ส่วนที่ 1)

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 531

532 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 533

534 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 535

536 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

(49)แผนที่ 1:200,000 ชุดหลัง

ระวาง SECTEUR No.5 หรือแผ่นที่ 5 (ส่วนที่ 2)พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

ดูคำาอธิบายแผนที่(48)หน้า526

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 537

แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.5 หรือแผ่นที่ 5 พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908) (ส่วนที่ 2)

538 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 539

540 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำาคูณ 541

542 ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ