epi info unit07

33
ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน บทที7 การจัดการขอมูล ดวย โปรแกรมยอย Analyze Data การทําความเขาใจและเรียนรูเกี่ยวกับการจัดการขอมูลของโปรแกรมยอย Analyze Data กอนวิเคราะหขอมูลสถิติเชิงพรรณนา ถือเปนอีกประเด็นหนึ่งที่มีความสําคัญในการชวยใหผูวิเคราะห สามารถใชงานโปรแกรมยอยดังกลาวไดอยางคลองตัวและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นในบทนี้จึงไดนําเอา คําสั่งที่สําคัญและมีความจําเปนตองใชในการจัดการขอมูลมากลาวถึงวิธีการใชงาน ซึ่งประกอบดวย คําสั่ง Delete Record / Undelete Record คําสั่ง List คําสั่ง Define / Undefine คําสั่ง Assign คําสั่ง Record คําสั่ง Select / Cancel Select คําสั่ง If และคําสั่ง Sort / Cancel Sort 7.1 การลบและเรียกคืนผลการลบเรคคอรด ดวยคําสั่ง Delete Record / Undelete Record เปนการลบเรคคอรด และเรียกคืนผลการลบเรคคอรดของขอมูลในแฟมขอมูล ซึ่งจําแนกตามรายการคําสั่งไดดังนี9.1.1 การลบเรคคอรดดวยคําสั่ง Delete Record เชน แฟมขอมูล : SICK ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล ) : ID SEX AGE SICKNESS และมีขอมูลเปนดังรูปที7.1 รูปที7.1 รายการขอมูลในแฟมชื่อ SICK

Upload: banjong-ardkham

Post on 20-Jun-2015

578 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Epi info unit07

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

บทท่ี 7

การจัดการขอมูล ดวย

โปรแกรมยอย Analyze Data

การทําความเขาใจและเรียนรูเกี่ยวกับการจัดการขอมูลของโปรแกรมยอย Analyze Dataกอนวิเคราะหขอมูลสถิติเชิงพรรณนา ถือเปนอีกประเด็นหนึ่งที่มีความสําคัญในการชวยใหผูวิเคราะหสามารถใชงานโปรแกรมยอยดังกลาวไดอยางคลองตัวและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นในบทนี้จึงไดนําเอาคําสั่งที่สําคัญและมีความจําเปนตองใชในการจัดการขอมูลมากลาวถึงวิธีการใชงาน ซ่ึงประกอบดวยคําสั่ง Delete Record / Undelete Record คําสั่ง List คําสั่ง Define / Undefine คําสั่ง Assign คําสั่ง Record คําสั่ง Select / Cancel Select คําสั่ง If และคําสั่ง Sort / Cancel Sort

7.1 การลบและเรียกคืนผลการลบเรคคอรด ดวยคําสัง่ Delete Record / Undelete Record

เปนการลบเรคคอรด และเรียกคืนผลการลบเรคคอรดของขอมูลในแฟมขอมูล ซ่ึงจําแนกตามรายการคําสั่งไดดังนี้

9.1.1 การลบเรคคอรดดวยคําสั่ง Delete Record เชน แฟมขอมูล : SICK ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE SICKNESS

และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.1

รูปท่ี 7.1 รายการขอมูลในแฟมชื่อ SICK

Page 2: Epi info unit07

บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

116

โดยจากฐานขอมูลขางตน หากตองการลบเรคคอรดของขอมูลในแฟมขอมูล สามารถปฏิบัติเปนขั้นตอนไดดังนี้

. เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลช่ือ

SICK และคลิก Views เปน SICKNESS แลวเล่ือนเมาสไปคลิกที่ปุม ดังรูปที่ 7.2

รูปท่ี 7.2 หนาตางรายการคําสั่ง Read

. ขอมูลที่มีอยูในแฟมขอมูล เมื่อใชคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.3

รูปท่ี 7.3 รายการขอมูลจากการใชคําสั่ง List

Page 3: Epi info unit07

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

117

. กําหนดเปาหมายในการลบเรคคอรด เชน • ตองการลบเรคคอรดที่เปนเพศชาย • ตองการลบเรคคอรดที่มีอายุระหวาง 20 – 30 ป

เปนตน

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Delete Record ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 7.4

รูปท่ี 7.4 รายการคําสั่ง Delete Records

. จากนั้นจะปรากฏหนาตาง DELETE RECORDS ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดดังนี้ Permanent Deletion เปนการลบเรคคอรดออกจากแฟมขอมูลอยางถาวร และไมสามารถ

เรียกคืนดวยคําสั่ง Undelete Record ได Mark for Deletion เปนการลบเรคคอรดในแฟมขอมูลช่ัวคราว ซ่ึงเมื่อเรียกดูดวยคําสั่ง

List จะไมปรากฏเรคคอรดดังกลาว แตเมื่อเรียกดูในโปรแกรมยอย Enter Data เรคคอรดนี้จะยังคงอยู แตจะถูกกําหนดไมใหแสดง และหากตองการเรียกคืน ก็สามารถทําได โดยใชคําสั่ง Undelete Record

ขอสังเกตเพิ่มเติม: กรณีแฟมขอมูลที่ถูกจัดการดวยคําสั่ง Relate คําสั่ง Write และคําสั่ง Merge เมื่อนํามาเปดใช หากตองการลบเรคคอรด จะไมปรากฏตัวเลือก Mark for Deletion ใหกําหนด

เปนสวนในการกําหนดเงื่อนไขการลบเรคคอรด เชน

Page 4: Epi info unit07

บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

118

ตองการลบเรคคอรดที่มีหมายเลข ID ตั้งแต 5 ขึ้นไป การกําหนดเงื่อนไข : ID > 4 ตองการลบเรคคอรดที่เปนเพศชาย

การกําหนดเงื่อนไข : SEX=1 ตองการลบเรคคอรดที่มีอายุนอยกวา 30

การกําหนดเงื่อนไข : AGE < 30 ตองการลบเรคคอรดที่มีอายุระหวาง 20 – 30 ป

การกําหนดเงื่อนไข : AGE >19 AND AGE <31

กรณี Run Silent มีความหมายดังนี้ Run Silent แสดงขอความเตือนกอนลบทุกครั้ง Run Silent ไมตองแสดงขอความเตือนกอนลบทุกครั้ง ตัวเลือกเหลานี้ ถือเปนตัวชวยในการกําหนดเงื่อนไขของการลบเรคคอรด

. ดังนั้นจากฐานขอมูล : SICK ถาตองการลบเรคคอรด ที่มีอายุ 63 ป จึงสามารถกําหนดเงื่อนไขการลบเปน Age = 63 จากนั้นเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม ดังรูปที่ 7.5

รูปท่ี 7.5 การกาํหนดเงื่อนไขการลบเรคคอรด บนหนาตาง Delete Records

Page 5: Epi info unit07

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

119

. จากนั้นจะปรากฏหนาตาง เพื่อยืนยันการลบ (กรณีที่ระบุตัวเลือก Run Silent จะไมปรากฏหนาตางดังกลาวนี้) คลิกปุม OK เมื่อตกลง หรือปุม Cancel เมื่อตองการยกเลิก ดังรูปที่ 7.6

รูปท่ี 7.6 หนาตางยืนยันการลบเรคคอรด

. ผลที่ไดจากการลบเรคคอรด ที่มีอายุ 63 ป โดยใชคําสั่ง List พบวา เรคคอรดที่มีอายุ 63 ป จะถูกลบออกจากฐานขอมูลไปอยางถาวร ดังรูปที่ 7.7

รูปท่ี 7.7 ผลการลบเรคคอรด จากการใชรายการคําสั่ง List

9.1.2 การเรียกคืนผลการลบเรคคอรดดวยคําสั่ง Undelete Record เชน แฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE และมีขอมูล

เปนดังรูปที่ 7.8

รูปท่ี 7.8 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN

Page 6: Epi info unit07

บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

120

โดยจากฐานขอมูลขางตน หากตองการลบเรคคอรดแบบชั่วคราวและเรียกคืนผลการลบของขอมูลในแฟมขอมูล สามารถปฏิบัติเปนขั้นตอนไดดังนี้

. เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลช่ือ

MAIN

.เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Delete Record ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 7.9

รูปท่ี 7.9 รายการคําสั่ง Delete Recodrs

.ตองการลบเรคคอรดที่มีอายุต่ํากวา 35 ปลงมาแบบชั่วคราว ซ่ึงสามารถกําหนดตัวเลือกและเงื่อนไขการลบบนหนาตาง DELETE RECORDS ไดดังรูปที่ 7.10

รูปท่ี 7.10 การกําหนดเงื่อนไขการลบเรคคอรดบนหนาตาง Delete Records

Page 7: Epi info unit07

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

121

.ผลที่เกิดขึ้นจากการลบเรคคอรดแบบชั่วคราว เมื่อกําหนดการแสดงขอมูลดวยคําสั่ง List จะไมปรากฏเรคคอรดที่ถูกลบ แตหากนําแฟมดังกลาวไปเปดใชในโปรแกรมยอย Enter Data เรคคอรดที่ถูกลบดังกลาวจะยังคงอยู เพียงแตถูกกําหนดไมใหแสดงผลเทานั้น ดังรูปที่ 7.11

รูปท่ี 7.11 ผลลัพธที่ไดจากการลบเรคคอรดแบบชั่วคราว

.เมื่อตองการเรียกคืนผลการลบเรคคอรด สามารถทําไดโดยเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง

Undelete Record ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 7.12

รูปท่ี 7.12 รายการคําสั่ง Undelete Records

คําสั่ง List ในโปรแกรมยอย Analyze Data

โปรแกรมยอย Enter Data จํานวนเรคคอรดทั้งหมดยังเทาเดิม

ขอมูลยังคงอยู แตถูกกําหนดไมใหแสดงผล(แกไข/เพิ่มเติมไมได)

ขอความบงช้ีวาเรคคอรดนี้ถูกลบ

Page 8: Epi info unit07

บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

122

.จากนั้นจะปรากฏหนาตาง UNDELETE ซ่ึงสามารถกําหนดตัวเลือกและเงื่อนไขการเรียกคืนเหมือนเดิมไดดังรูปที่ 7.13

รูปท่ี 7.13 การกําหนดเงื่อนไข การเรียกคืน บนหนาตาง Undelete

. จากนั้นจะปรากฏหนาตาง เพื่อยืนยันการเรียกคืนผลการลบเรคคอรด (กรณีที่ระบุตัวเลือก Run Silent จะไมปรากฏหนาตางดังกลาวนี้) คลิกปุม OK เมื่อตกลง หรือปุม Cancel เมื่อตองการยกเลกิ ดังรูปที่ 7.14

รูปท่ี 7.14 หนาตางยืนยันการเรียกคืนเรคคอรด Undelete

. ผลที่ได จะเปนการเรียกคืนเรคคอรดที่เคยถูกลบไปดวยเงื่อนไขกอนหนานี้ ซ่ึงกรณีดังกลาว ผูใชงานตองตระหนักวา การเรียกคืน(Undelete) จะสามารถทําไดก็ตอเมื่อมีการลบเรคคอรดแบบช่ัวคราว(Mark for Deletion)เทานั้น แตหากทําการลบเรคคอรดแบบถาวร(Permanent Deletion) การเรียกคืนจะไมสามารถทําได

Page 9: Epi info unit07

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

123

7.2 การแสดงและแกไขขอมูล ดวยคําสัง่ List

เปนคําสั่งที่ใชในการแสดงและแกไขขอมูลในตัวแปรตางๆซึ่งอยูในแฟมขอมูลที่ทําการวิเคราะห โดยจะแสดงผลทางหนาตาง Output ในทุกตัวแปร หรือบางตัวแปรที่ตองการ เชน แฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.15

รูปท่ี 7.15 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN

โดยจากฐานขอมูลขางตน หากตองการแสดงผลและแกไขขอมูลในแฟมขอมูล สามารถปฏิบัติเปนขั้นตอนไดดังนี้

. เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลช่ือ MAIN และ Views ช่ือ Baseline

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง List ในกลุมคําสั่ง Statistics ดังรูปที่ 7.16

รูปท่ี 7.16 รายการคําสั่ง List

Page 10: Epi info unit07

บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

124

. จากนั้นจะปรากฏหนาตาง LIST ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้

• เปนสวนในการกําหนดตัวแปรที่ตองการแสดงผลของขอมูล โดยการคลิกที่ตัวแปร

• กรณี All (*) Except ถามีการเลือก แสดงวา ตัวแปรที่กําหนด จะเปนตัวแปรที่ถูกยกเวนไมใหแสดงผล

• เปนสวนในการกําหนดตัวเลือกในการแสดงผล ดังนี้

Web (HTML) แสดงแบบภาษา HTML Grid แสดงแบบตารางแกไขไมได

Allow Updates แสดงแบบตารางแกไขได

. หากตองการแสดงผลขอมูลตัวแปร ID SEX AGE โดยกําหนดการแสดงผลเปน Web(HTML) Grid และ Allow Updates มีผลการแสดงดังรูปที่ 7.17

Web(HTML) Grid (ไมสามารถแกไขคาขอมูลได) Allow Updates (สามารถแกไขคาขอมูลได)

รูปท่ี 7.17 รูปแบบตางๆในการแสดงผลขอมูลตามรายการคําสั่ง List

Page 11: Epi info unit07

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

125

7.3 การสรางและยกเลิกตัวแปรใหม ดวยคําสัง่ Define / Undefine

เปนคําสั่งที่ใชในการสรางและยกเลิกตัวแปรใหม เพื่อทําใหการวิเคราะหขอมูลมีความครอบคลุมมากขึ้น เชน แฟมขอมูล : DISEASE ประกอบดวยตัวแปร(ฟลด) :

HOSPITAL โรงพยาบาล DS1 จํานวนผูปวยดวยโรคเบาหวาน DS2 จํานวนผูปวยดวยโรคหัวใจ DS3 จํานวนผูปวยดวยโรคเกาท

และมีฐานขอมูลเปนดังรูปที่ 7.18

รูปท่ี 7.18 รายการขอมูลในแฟมชื่อ DISEASE

หากในการวิเคราะหขอมูลตองการทราบจํานวนผูปวยทั้งหมดของโรงพยาบาล ซ่ึงพบวา ขอมูลดังกลาวไมมีในฐานขอมูล แตสามารถทราบไดจากการนําจํานวนผูปวยในแตละโรคมารวมกัน ดังนั้นจึงสรางตัวแปรใหมขึ้นมาชื่อ TOTAL_DS โดยมีขึ้นตอนในการสรางตัวแปรใหม จําแนกไดดังนี้

. เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลช่ือ DISEASE และ Views ช่ือ HospitalDisease

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Define ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.19

รูปท่ี 7.19 รายการคําสั่ง Define

Page 12: Epi info unit07

บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

126

. จากนั้นจะปรากฏหนาตาง DEFINE ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้

• เปนสวนในการระบุช่ือตัวแปรใหมที่ตองการสราง(ช่ือตองไมซํ้ากับชื่อตัวแปรที่มีอยูเดิม)

• เปนสวนในการกําหนดขอบเขตของตัวแปรใหมเพื่อการใชงาน โดยจําแนกไดดังนี้ Standard ตัวแปรที่สรางใหมจะมีสถานภาพใชไดเฉพาะในฐานขอมูลที่กําลังทํางาน

ขณะนั้น หากทําการเปดแฟมขอมูลใหมดวยคําสั่ง Read ตัวแปรใหมที่สรางขึ้นทั้งหมดจะถูกยกเลิกไปโดยอัตโนมัติ

Global ตัวแปรที่สรางใหมจะมีสถานภาพใชไดหลายฐานขอมูล แมทําการเปดแฟมขอมูลใหมดวยคําสั่ง Read ตัวแปรใหมที่สรางขึ้นก็ยังคงอยู และจะถูกยกเลิกไปเมื่อใชคําสั่ง Undefine หรือออกจากโปรแกรมยอย Analyze Data เทานั้น (ซ่ึงกรณีกําหนดตัวแปรใหมเปน Global นี้ จะใชคําสั่ง Assign ไดเฉพาะกําหนดเปนคาคงที่เทานั้น)

Permanent ตัวแปรที่สรางใหมจะมีสถานภาพใชไดหลายฐานขอมูล แมทําการเปดแฟมขอมูลใหมดวยคําสั่ง Read ตัวแปรใหมที่สรางขึ้นก็ยังคงอยู และจะถูกยกเลิกไปเมื่อใชคําสั่ง Undefine หรือออกจากโปรแกรมยอย Analyze Data เชนเดียวกันกับ Global (ซ่ึงกรณีกําหนดตัวแปรใหมเปน Permanent นี้ จะใชกับคําสั่ง Assign ไมได)

ขอสังเกตเพิ่มเติม ในทางปฏิบัติสวนใหญจะกําหนดขอบเขตตัวแปรเปน Standard และหากเมื่อตองการจัดเก็บเปนตัวแปรถาวร หรือตองการใหตัวแปรใหมที่สรางขึ้นยังคงอยูในฐานขอมูล ก็จะใชคําสั่ง Write(Export) ไปจัดเก็บเปนแฟมขอมูลใหม สวน Global จะใชในกรณีที่มีการวิเคราะหเชื่อมโยงกับตาราง หรือ Views อ่ืน ซ่ึงในการวิเคราะหจึงจําเปนตองกําหนดเปน Global เพื่อใหสามารถเรียกตัวแปรที่สรางใหมมาใชงานได สวนกรณี Permanent โดยทั่วไปมักไมกําหนด เนื่องจากไมสามารถระบุคาดวยคําสั่ง Assign ได และที่สําคัญยังไมเห็นความจําเปนที่ตองกําหนดขอบเขตแบบนี้ เพราะหากตองการกําหนดตัวแปรสรางใหมแบบถาวร ยังมีวิธีการใชงานแบบอื่นที่งายและเหมาะสมมากกวา

Page 13: Epi info unit07

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

127

. หากตองการกําหนดตัวแปรใหมช่ือ TOTAL_DS และมีขอบเขตแบบ Standard สามารถระบุในหนาตาง DEFINE ไดดังรูปที่ 7.20

รูปท่ี 7.20 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Define

. หากตองการดูรายละเอียดของตัวแปรที่สรางใหม สามารถเรียกดูไดดวยคําสั่ง Display ในกลุม Variables และไดผลลัพธดังรูปที่ 7.21

รูปท่ี 7.21 รายละเอียดของการกําหนดตวัแปร จากการใชรายการคําสั่ง Display

. หากตองการลบตัวแปรที่สรางใหม ทําไดโดยเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Undefine ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.22

รูปท่ี 7.22 รายการคําสั่ง Undefine

Page 14: Epi info unit07

บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

128

. จากนั้นจะปรากฏหนาตาง UNDEFINE ใหระบุเลือกตัวแปรใหมที่สรางขึ้นแลวตองการยกเลิก จากนั้นจึงคลิกที่ปุม OK ดังรูปที่ 7.23

รูปท่ี 7.23 การระบุตัวแปรใหมที่ตองการยกเลิก บนหนาตาง Undefine

. และหากเรียกดูรายละเอียดของตัวแปรดวยคําสั่ง Display ในกลุม Variables จะพบวา ตัวแปรใหมที่สรางขึ้น ไดถูกยกเลิกออกไปแลวดังรูปที่ 7.24

รูปท่ี 7.24 รายละเอียดการยกเลิกตัวแปรใหม จากการใชรายการคําสั่ง Display

7.4 การระบุหรือกําหนดคาตัวแปร ดวยคําสั่ง Assign

เปนคําสั่งที่ใชในการระบุคา หรือคํานวณคาใหกับตัวแปรใหม ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงมักใชรวมกับคําสั่ง Define เพราะเมื่อมีการสรางตัวแปรใหม ก็จะตองกําหนดคาใหกับตัวแปรใหม เชน จากขอมูลชุดเดิม (DISEASE) ที่ประกอบดวยตัวแปร(ฟลด) : HOSPITAL DS1 DS2 DS3 หากตองการทราบจํานวนผูปวยทั้งหมดของโรงพยาบาล จึงตองสรางตัวแปรใหมขึ้นมาชื่อ TOTAL_DS ตามขั้นตอนการใชคําสั่ง Define ดังที่กลาวไปขางตน ตอมาจึงเปนขั้นตอนการกําหนดคาใหกับ ตัวแปรใหม ซ่ึงจํานวนผูปวยทั้งหมด จะเกิดขึ้นจากจํานวนผูปวยในแตละโรคมารวมกัน ดังนั้นจึงอาจเปนในรูปสมการไดดังนี้ TOTAL_DS = DS1 + DS2 + DS3

Page 15: Epi info unit07

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

129

ดังนั้นจึงนํารูปแบบสมการดังกลาวไปกําหนดเปนเงื่อนไขในการกําหนดคาตัวแปรดวยคําสั่ง Assign ซ่ึงจําแนกเปนขั้นตอนไดดังนี้

. เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลช่ือ DISEASE และ Views ช่ือ HospitalDisease

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Define ในกลุมคําสั่ง Variables แลวกําหนดชื่อตัวแปรใหมเปน TOTAL_DS ระบุขอบเขตเปน Standard ดังรูปที่ 7.25

รูปท่ี 7.25 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Define

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Assign ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.26

รูปท่ี 7.26 รายการคําสั่ง Assign

Page 16: Epi info unit07

บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

130

. จากนั้นจะปรากฏหนาตาง ASSIGN ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้

• ใชกําหนดตัวแปรที่ตองการระบุคาโดยการคลิกที่ปุม แลวเลือกตัวแปรที่ตองการระบุคา

• ใชกําหนดเงื่อนไขเพื่อระบุคา หรือคํานวณคาของตัวแปร ซ่ึงสวนนี้จะระบุเฉพาะสวนที่เปนเงื่อนและอยูหลังเครื่องหมายเทากับเทานั้น

ตัวเลือกเหลานี้ ถือเปนตัวชวยในการกําหนดเงื่อนไข

. หากตองการระบุคาใหกับตัวแปรใหมช่ือ TOTAL_DS และมีเงื่อนไขเทากับ DS1+DS2+DS3 สามารถระบุในหนาตาง ASSIGN ไดดังรูปที่ 7.27

รูปท่ี 7.27 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Assign

. และหากตองการเรียกดูรายละเอียดของขอมูล สามารถเรียกดูไดดวยคําสั่ง List ในกลุม Statistics และไดผลลัพธดังรูปที่ 7.28

รูปท่ี 7.28 ผลการกําหนดรายการคําสั่ง Assign

Page 17: Epi info unit07

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

131

ดังที่กลาวไปขางตน ตัวแปรที่สรางใหมโดยกําหนดขอบเขตเปน Standard จะเปนการสรางและกําหนดคาตัวแปรชั่วคราวในระหวางการวิเคราะหเทานั้น ซ่ึงหากมีการปด หรือเรียกเปดแฟมขอมูลใหมดวยคําสั่ง Read ตัวแปรที่ถูกสรางดังกลาวจะถูกยกเลิกทันที ดังนั้นหากผูใชงานตองการใหตัวแปรที่สรางใหมและคาที่ระบุนั้นยังคงอยูในแฟมขอมูล จึงควรใชรายการคําสั่ง Write(Export) ในการโอนยายขอมูลไปจัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง

7.5 การแปลงคาและจัดกลุมขอมูล ดวยคําสัง่ Recode

เปนคําสั่งที่ใชในการแปลงคา และจัดกลุมขอมูล ซ่ึงสามารถจําแนกออกตามวิธีการใชงานที่พบบอยไดดังนี้

7.5.1 การแปลงคาขอมูล

เปนการเปลี่ยนคาขอมูลเดิมของตัวแปรเปนคาใหม เพื่อรองรับการวิเคราะหทางสถิติใหมีความครอบคลุมมากขึ้น เชน แฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.29

รูปท่ี 7.29 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN

โดยจากฐานขอมูลขางตน หากตองการ Label ใหกับตัวแปรเพศ(SEX) โดยกําหนดให 1 = Male

2 = Female ซ่ึงสามารถปฏิบัติจําแนกเปนขั้นตอนไดดังนี้

. เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลช่ือ MAIN และ Views ช่ือ Baseline

Page 18: Epi info unit07

บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

132

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Define ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.30

รูปท่ี 7.30 รายการคําสั่ง Define

. กําหนดชื่อตัวแปรใหมเพื่อรองรับการแปลงคาใหมช่ือ SEX1 ระบุขอบเขตแบบ Standard ดังรูปที่ 7.31

รูปท่ี 7.31 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Define

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Recode ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.32

รูปท่ี 7.32 รายการคําสั่ง Recode

Page 19: Epi info unit07

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

133

. จากนั้นจะปรากฏหนาตาง RECODE ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้ ขอสังเกตเพิ่มเติม : ในการแปลงคา หรือจัดกลุมขอมูลดวยคําสั่ง Recode ควรสรางตัวแปรใหม เพื่อมารองรับผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการ Recode เสมอ ทั้งนี้เพื่อใหตัวแปรเกาและคาขอมูลเกายังคงอยูและสามารถใชวิเคราะหขอมูลในประเด็นอื่นไดอีกโดยไมสูญเสียคุณคาของขอมูลจริงไป เชน ความหมาย : 1 – 4 = 1 5 – 9 = 2 10 - 14 = 3

ความหมาย : 0 = Not Risk 1 = Risk

เปนสวนที่ใหระบุตัวแปรที่ตองการแปลงคา

เปนสวนที่ใหระบุตัวแปรเพื่อรองรับคาใหมที่แปลง

ระบุคาเริ่มตนในแตละระดับ

ระบุคาสิ้นสุดในแตละระดับ

ระบุคา หรือตัวอักษรในแตละระดับ

ระบุไดไมเกิน 12 ระดับ

Page 20: Epi info unit07

บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

134

กรณีตองการแทรกแถว ใหคลิกเมาสบนแถบหัวแถวที่ตองการแทรก จากนั้นจึงกดปุม Ctrl – Insert กรณีตองการลบแถว ใหคลิกเมาสบนแถบหัวแถวที่ตองการลบ จากนั้นจึงกดปุม Ctrl – Del

• เปนปุมที่ใชในการกําหนดชวงของรหัส กรณีทราบคาเริ่มตนและคาสิ้นสุด และชวงในการแบงแตละระดับเทากัน เชน

. ระบุคาใหตัวแปรใหมช่ือ SEX1 โดยกําหนดเงื่อนไข 1 = Male และ 2 = Female ดังรูปที่ 7.33

รูปท่ี 7.33 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Recode

คาเริ่มตน คาสิ้นสุด

ใหแตละระดับแบงเทากันคือ 5

ถาไมถูกเลือก คาของชวงในแตละระดับจะเรียงจากต่ําไปหาสูง

ถาถูกเลือก คาของชวงในแตละระดับจะเรียงจากสูงไปหาต่ํา

Page 21: Epi info unit07

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

135

. ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.34

รูปท่ี 7.34 ผลจากการใชรายการคําสั่ง Recode

7.5.2 การจัดกลุมขอมูล เปนการจัดกลุมขอมูลโดยกําหนดชวงของคาขอมูลเดิม เปนคาใหม เพื่อรองรับการวิเคราะหทางสถิติใหมีความครอบคลุมมากขึ้น เชน แฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.35

รูปท่ี 7.35 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN

โดยจากฐานขอมูลขางตน หากตองการจัดกลุมขอมูลใหกับตัวแปรอายุ(AGE) โดย

สรางตัวแปรใหมช่ือ AGE1 และมีเงื่อนไขการจัดกลุมดังนี้ อายุต่ํากวา 30 = 1 30 – 35 ป = 2 มากกวา 35 ปขึ้นไป = 3 ซ่ึงสามารถปฏิบัติจําแนกเปนขั้นตอนไดดังนี้

Page 22: Epi info unit07

บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

136

. เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลช่ือ MAIN และ Views ช่ือ Baseline

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Define ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.36

รูปท่ี 7.36 รายการคําสั่ง Define

. กําหนดชื่อตัวแปรใหมช่ือ AGE1 ระบุขอบเขตแบบ Standard ดังรูปที่ 7.37

รูปท่ี 7.37 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Define

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Recode ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูป

รูปท่ี 7.38 รายการคําสั่ง Recode

Page 23: Epi info unit07

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

137

. ระบุคาใหกับตัวแปรใหมช่ือ AGE1 โดยกําหนดเงื่อนไขไดดังรูปที่ 7.39

รูปท่ี 7.39 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Recode

. ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.40

รูปท่ี 7.40 ผลที่ไดจากรายการคําสั่ง Recode

การใชคําสั่ง Recode โดยจัดเก็บในตัวแปรใหมที่สรางขึ้น และระบุขอบเขตเปน Standard ผลที่ไดจะเปนการจัดเก็บคาตัวแปรไวช่ัวคราว ดังนั้นหากผูใชงานตองการบันทึกตัวแปรใหมและคาขอมูลใหมใหคงอยูในแฟมขอมูล จึงควรใชรายการคําสั่ง Write(Export) ในการโอนยายขอมูลไปจัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง

Page 24: Epi info unit07

บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

138

7.6 การคัดเลือกขอมูลบางสวน ดวยคําสัง่ Select / Cancel Select

เปนคําสั่งที่ใชในการคัดเลือกขอมูลมาบางสวนตามเงื่อนไขที่กําหนด เพื่อรองรับการวิเคราะหทางสถิติใหมีความครอบคลุมมากขึ้น เชนแฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.41

รูปท่ี 7.41 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN

ซ่ึงหากตองการวิเคราะหขอมูลเฉพาะในกลุมเพศชาย (SEX = 1) สามารถนําเงื่อนไขดังกลาวไปกําหนดในการใชคําสั่ง Select ไดดังนี้

. เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลช่ือ MAIN และ Views ช่ือ Baseline

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Select ในกลุมคําสั่ง Select/If ดังรูปที่ 7.42

รูปท่ี 7.42 รายการคําสั่ง Select

Page 25: Epi info unit07

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

139

. จากนั้นจะปรากฏหนาตาง SELECT ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้

• เปนสวนที่ใชในการกําหนดเงื่อนไขตามที่ตองการ โดยมีสัญลักษณที่สําคัญดังนี้

= แสดงความเทากัน - แสดงการลบ < > แสดงความไมเทากัน / แสดงการหาร + แสดงการบวก * แสดงการคูณ AND ตัวเชื่อม “และ” OR ตัวเชื่อม “หรือ”

ตัวเลือกเหลานี้ ถือเปนตัวชวยในการกําหนดเงื่อนไข

. ระบุคาเงื่อนไข SEX = 1 ในหนาตาง SELECT ไดดังรูปที่ 7.43

รูปท่ี 7.43 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Select

. ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.44

รูปท่ี 7.44 ผลจากการใชรายการคําสั่ง Select

Page 26: Epi info unit07

บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

140

ภายหลังจากใชคําสั่ง Select ตามเงื่อนไขที่กําหนด การกระทําการใดๆกับขอมูลหรือการวิเคราะหขอมูล จะเปนไปเฉพาะในกลุมที่ถูกคัดเลือกมาตามเงื่อนไขดังกลาวเทานั้น และเมื่อทําการวิเคราะหเรียบรอยแลว ควรทําการยกเลิกการกําหนดเงื่อนไขการคัดเลือกดังกลาวดวยคําสั่ง Cancel Select ดังนี้

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Cancel Select ในกลุมคําสั่ง Select/If ดังรูปที่ 7.45

รูปท่ี 7.45 รายการคําสั่ง Cancel Select

. จากนั้นจะปรากฏหนาตาง CANCEL SELECT ขึ้นมา และคลิกที่ปุม OK ดังรูปที่ 7.46

รูปท่ี 7.46 หนาตางยืนยันการยกเลิกรายการคําสั่ง Select

. ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.47

รูปท่ี 7.47 ผลการยกเลิกรายการคําสั่ง Select

Page 27: Epi info unit07

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

141

ดังนั้นในการกําหนดเงื่อนไขการคัดเลือกขอมูลบางสวนมาวิเคราะหดวยคําสั่ง Select ภายหลังจากที่ทําการวิเคราะหในกลุมเงื่อนไขดังกลาวสิ้นสุด จึงควรยกเลิกการคัดเลือกโดยใชคําสั่ง Cancel Select กอนทําการวิเคราะหสวนอื่นตอไป แตทั้งนี้คําสั่ง Select จะมีผลเฉพาะในขณะที่แฟมขอมูลนั้นเปดอยูเทานั้น ซ่ึงหากมีการปด หรือเรียกเปดแฟมขอมูลใหมดวยคําสั่ง Read คําสั่งดังกลาวจะถูกยกเลิกไปโดยอัตโนมัติ

7.7 การกําหนดเงือ่นไขขอมูล ดวยคําสัง่ If

เปนคําสั่งที่ใชในการระบุคา หรือคํานวณคา หรือกําหนดเงื่อนไขตามที่ตองการใหกับ ตัวแปรใหม ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงมักใชรวมกับคําสั่ง Define เพราะเมื่อมีการสรางตัวแปรใหม ก็จะตองกําหนดคาใหกับตัวแปรใหม เชน จากแฟมขอมูล: DISEASE ประกอบดวยตัวแปร(ฟลด) : HOSPITAL DS1 DS2 DS3 และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.48

รูปท่ี 7.48 รายการขอมูลในแฟมชื่อ DISEASE

หากตองการประเมินขนาดปญหาของโรคหัวใจโดยพิจารณาจากจํานวนผูปวย สมมติวา หากโรงพยาบาลใด มีจํานวนผูปวยตั้งแต 20 คนขึ้นไปถือวา รุนแรง

ดังนั้นหากนํามากําหนดเปนเงื่อนไข เพื่อจัดการขอมูลและนําไปวิเคราะหผล โดยใชคําสั่ง If สามารถปฏิบัติเปนขั้นตอนไดดังนี้

. เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลช่ือ DISEASE และ Views ช่ือ HospitalDisease

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Define ในกลุมคําสั่ง Variables แลวกําหนดชื่อตัวแปรใหมเปน LEVEL ระบุขอบเขตเปน Standard ดังรูปที่ 7.49

Page 28: Epi info unit07

บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

142

รูปท่ี 7.49 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Define

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง If ในกลุมคําสั่ง Select/If ดังรูปที่ 7.50

รูปท่ี 7.50 รายการคําสั่ง If

. จากนั้นจะปรากฏหนาตาง IF ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้

• เปนสวนที่ใชในการกําหนดเงื่อนไขการตัดสินใจ

• ตัวเลือกในการชวยกําหนดเงื่อนไข

Page 29: Epi info unit07

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

143

• เปนสวนในการกําหนดการกระทําหรือกําหนด

ขั้นตอนคํานวณคา เมื่อเปนไปตามเงื่อนไข

• เปนสวนในการกําหนดการกระทํา หรือกําหนดขั้นตอนการคํ านวณคา เมื่ อไม เปนไปตามเงื่อนไข

. ระบุเงื่อนไขตามที่ตองการเปนดังนี ้If Condition กําหนดเปน DS2 >= 20 Then กําหนดเปน ASSIGN LEVEL = “SEVERE” Else กําหนดเปน ASSIGN LEVEL = “NO SEVERE”

ดังรูปที่ 7.51

รูปท่ี 7.51 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง If

Page 30: Epi info unit07

บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

144

. ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.52

รูปท่ี 7.52 ผลจากการใชรายการคําสั่ง If

การกําหนดเงื่อนไขโดยใชคําสั่ง If โดยจัดเก็บในตัวแปรใหมที่สรางขึ้น และระบุขอบเขตเปน Standard ผลที่ไดจะเปนการจัดเก็บคาตัวแปรไวช่ัวคราว ดังนั้นหากผูใชงานตองการบันทึก ตัวแปรใหมและคาขอมูลใหมใหคงอยูในแฟมขอมูล จึงควรใชรายการคําสั่ง Write(Export) ในการโอนยายขอมูลไปจัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง

7.8 การจัดเรียงขอมูล ดวยคําสัง่ Sort / Cancel Sort

เปนคําสั่งที่ใชในการจัดเรียงขอมูลตามตัวแปรที่ระบุ เพื่อรองรับการวิเคราะหทางสถิติใหมีความครอบคลุมมากขึ้น เชนแฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.53

รูปท่ี 7.53 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN

ซ่ึงหากตองการจัดเรียงตัวแปรอายุ(AGE) จากนอยไปหามาก สามารถกําหนดโดยใชคําสั่ง Sort ไดดังนี้

Page 31: Epi info unit07

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

145

. เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลช่ือ MAIN และ Views ช่ือ Baseline

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Sort ในกลุมคําสั่ง Select/If

. จากนั้นจะปรากฏหนาตาง SORT ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้

• เปนสวนแสดงรายชื่อตัวแปรทั้งหมด เพื่อใหผูใชงานระบุวาตองการใหจัดเรียงโดยยึดตัวแปรใดเปนหลัก

• เปนสวนตัวเลือกในการกําหนดรูปแบบการจัดเรียง โดยมีรายละเอียดดังนี้ Ascending(++) นอยไปหามาก Descending(--) มากไปหานอย Remove from Sort ลบออกจากการเปนตัวแปรหลักในการจัดเรียง

• เปนสวนที่แสดงตัวแปรหลักที่ใชในการจัดเรียง

Page 32: Epi info unit07

บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

146

. เล่ือนเมาสดับเบิ้ลคลิกที่ตัวแปร AGE และกําหนดรูปแบบการจัดเรียงแบบ Ascending ดัง รูปที่ 7.54

รูปท่ี 7.54 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Sort

. ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.55

รูปท่ี 7.55 ผลจากการใชรายการคําสั่ง Sort การจัดเรียงขอมูลโดยใชคําสั่ง List เปนการจัดเรียงแบบชั่วคราว ดังนั้นหากผูใชงาน

ตองการใหการจัดเรียงดังกลาวยังคงอยูในแฟมขอมูล จึงควรใชรายการคําสั่ง Write(Export) ในการโอนยายขอมูลไปจัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง

Page 33: Epi info unit07

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

147

7.9 บทสรุป

การจัดการขอมูล ดวยโปรแกรมยอย Analyze Data ถือเปนเทคนิควิธีการใชงานที่มีความสําคัญในการวิเคราะหขอมูลทางสถิติ เพราะในการวิเคราะหขอมูลเพื่อใหครอบคลุมตามวัตถุประสงคของการวินิจฉัยชุมชน อาจจําเปนตองมีการเปลี่ยนแปลงคาของขอมูลเดิม หรือมีการกําหนดเงื่อนไขเพิ่มเติมใหกับขอมูล เพื่อใหสอดคลองกับแนวทางที่ตองการวิเคราะห ดังนั้นการเรียนรูวิธีการใชงานเกี่ยวกับคําสั่งในการจัดการขอมูลจึงมีความจําเปน และทําใหการวิเคราะหขอมูลมีความคลองตัวและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น