edu reform-draft

35
ราง พระราชบัญญัติ การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. .... ....................................... .................................... .......................................... ........................................................................................................................................ โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติ พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล… .................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................................... มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ....มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป มาตรา ๓ ใหยกเลิก (๑) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ (๒) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ (๓) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓

Upload: boonlert-aroonpiboon

Post on 20-Jan-2017

5.902 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Edu reform-draft

ราง

พระราชบัญญัติ

การศึกษาแหงชาต ิ

พ.ศ. ....

.......................................

....................................

..........................................

........................................................................................................................................

โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติ

พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล…

..................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ....”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

เปนตนไป

มาตรา ๓ ใหยกเลิก

(๑) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒

(๒) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕

(๓) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓

Page 2: Edu reform-draft

-๒-

มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี ้

“การศึกษา” หมายความวา กระบวนการเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม

โดยการถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทาง

วิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม สังคม การเรียนรูและปจจัยเกื้อหนุนใหบุคคล

เรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

“การศึกษาภาคบังคับ”หมายความวา การศึกษาที่จัดใหเด็กจํานวนเกาชั้นปโดยไมเสีย

คาใชจาย และใหเด็กซึ่งมีอายุยางเขาปที่สี่เขาเรียนในสถานศึกษาจนอายุเขาปที่สิบสอง เวนแตสอบไดชั้นปที่

เกาของการศึกษาภาคบังคับ

“เตรียมอุดมศึกษา” หมายความวา การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อเตรียมความ

พรอมผูเรียนกอนเขาเรียนระดับอุดมศึกษา

“การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความวา การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหวางการศึกษา

ในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อใหสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตไดอยางตอเนื่อง

ตลอดชีวิต

“สถานศึกษา” หมายความวา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนยการเรียน วิทยาลัย

สถาบัน มหาวิทยาลัย หนวยงานการศึกษา หรือหนวยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ที่มีอํานาจหนาที่หรือมี

วัตถุประสงคในการจัดการศึกษา

“มาตรฐานการศึกษา” หมายความวา ขอกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึง

ประสงคและมาตรฐานที่ตองการใหเกิดข้ึนในสถานศึกษาทุกแหง และเพื่อใชเปนหลักในการเทียบเคียงสําหรับ

การสงเสริมและกํากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา

“หลักสูตรแกนกลางการศึกษาภาคบังคับ” หมายความวา หลักสูตรการศึกษาที่สถาบันวิจัย

และพัฒนาหลักสูตรแหงชาติจัดทําขึ้นเพื่อเปนกรอบหรือแนวทางของการจัดทําหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ

ของสถานศึกษา

“การประกันคุณภาพภายใน” หมายความวา การประเมินผล การควบคุมและการติดตาม

ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน เพื่อใหเกิดการพัฒนาคุณภาพและ

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหนวยงานตนสังกัดที่มีหนาที่

กํากับดูแลสถานศึกษานั้น

“การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความวา การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ

คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษา

แหงชาติหรือบุคคลหรือหนวยงานภายนอกที่สํานักงานดังกลาวรับรอง เพื่อใหเกิดการพัฒนาการประกัน

คุณภาพ และพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

“ผูสอน” หมายความวา ครูและคณาจารยในสถานศึกษาระดับตาง ๆ

Page 3: Edu reform-draft

-๓-

“ครู” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการเรียนการสอนและการ

สงเสริมการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการตาง ๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน

“คณาจารย” หมายความวา บุคลากรซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการสอนและการวิจัยใน

สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน

“ผูบริหารสถานศึกษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษา

แตละแหง ทั้งของรัฐและเอกชน

“ผูบริหารการศึกษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษานอก

สถานศึกษา

“บุคลากรทางการศึกษา” หมายความวา ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา รวมทั้ง

ผูสนับสนุนการศึกษาซึ่งเปนผูทําหนาที่ใหบริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการ

สอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหนวยงานการศึกษาตาง ๆ

“กระทรวง” หมายความวา กระทรวงกลาโหม กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา กระทรวง

การพัฒนาสั งคมและความมั่ นคงของมนุษย กระทรวง เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร

กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย หรือกระทรวงวัฒนธรรม แลวแตกรณ ี

“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๕ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

ใหสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ มีอํานาจในการออกระเบียบ หรือประกาศ

เพื่อใหมีการปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้

ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

หมวด ๑

บทท่ัวไป

ความมุงหมายและหลักการ

มาตรา ๖ การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื ่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที ่สมบูรณทั ้ง

รางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับ

ผูอื่นไดอยางมีความสุข และตองมีการพัฒนาการศึกษาอยางมีคุณภาพและมาตรฐานและทันการเปลี่ยนแปลง

ของสังคมโลกและเปนไปอยางตอเนื่องและทันเหตุการณ

Page 4: Edu reform-draft

-๔-

มาตรา ๗ ในกระบวนการเรียนรูตองมุงปลูกฝงใหผูเรียนมีคุณลักษณะ ดังตอไปนี้

(๑) มีจิตสํานึกที่ถูกตองและยึดมั่นในการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

(๒) รูจักรักษาและสงเสริมสิทธิ หนาที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และ

ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย

(๓) มีระเบียบวินัยคํานึงถึงประโยชนสวนรวม รูจักเสียสละเพื่อสวนรวม

(๔) มีความภาคภูมิใจในความเปนไทย รูจักรักษาผลประโยชนสวนรวมและของประเทศชาติ

รวมทั้งสงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปญญาไทย ภูมิปญญาทองถิ่น และความรูอัน

เปนสากล ตลอดจนอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(๕) มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง

(๖) มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ใฝรูและเรียนรูไดดวยตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

มาตรา ๘ การจัดการศึกษาใหยึดหลัก ดังนี้

(๑) เปนการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน

(๒) ใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา

(๓) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรูใหเปนไปอยางตอเนื่อง

มาตรา ๙ การจัดระบบ โครงสราง และกระบวนการจัดการศึกษา ใหยึดหลัก ดังนี้

(๑) มีเอกภาพดานนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัต ิ

(๒) มีการกระจายอํานาจทางการศึกษา งบประมาณ และทรัพยากรทางการศึกษาไป

สูสถานศึกษา และองคกรปกครองสวนทองถิ่น

(๓) มีการกําหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและ

ประเภทการศึกษา มีการรับรองและตรวจสอบคุณวุฒิการศึกษาของผูเรียนและครู คณาจารย และบุคลากร

ทางการศึกษา

(๔) มีการจัดการศึกษาใหเปนไปตามหลักสูตรของสถานศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งใน

การศึกษาภาคบังคับตองสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางดวย

(๕) มีหลักการสงเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา และการ

พัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาอยางตอเนื่อง

(๖) ระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ มาใชในการจัดการศึกษา

(๗) สงเสริม และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา และนําไปใชอยางมี

ประสิทธิภาพ

(๘) การมีสวนรวมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น

เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น

Page 5: Edu reform-draft

-๕-

หมวด ๒

สิทธิและหนาที่ทางการศึกษา

มาตรา ๑๐ การจัดการศึกษา ตองจัดใหบุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษา

จํานวนเกาป ที่รัฐจะตองจัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไมเก็บคาใชจาย เริ่มจากระดับปฐมวัยจนถึงระดับ

ประถมศึกษา

ภายใตบังคับมาตรา ๒๐ ใหรัฐจัดทุนการศึกษาใหแกบุคคลตามวรรคหนึ่งตามความจําเปน

ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๑๑ บุคคลดังตอไปนี้มีสิทธิและโอกาสไดรับการศึกษาเปนพิเศษจากรัฐ

(๑) บุคคลซึ่งมีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม การสื่อสาร และ

การเรียนรู หรือมีรางกายพิการหรือทุพพลภาพ ใหจัดการศึกษาตั้งแตแรกเกิดหรือพบความพิการโดยไมเสีย

คาใชจาย

(๒) บุคคลซึ่งไมสามารถพึ่งตนเองได หรือไมมีผูดูแล หรือดอยโอกาส

สิทธิและโอกาสไดรับการศึกษาเปนพิเศษจากรัฐ ใหหมายความรวมถึงการไดรับสิ่งอํานวย

ความสะดวก สื่อ บริการ และความชวยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนด

ในระเบียบของสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

มาตรา ๑๒ การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ ตองจัดดวยรูปแบบที่

เหมาะสมโดยคํานึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น

มาตรา ๑๓ บิดา มารดา หรือผูปกครองมีหนาที่จัดใหบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูในความดูแลไดรับ

การศึกษาภาคบังคับตามมาตรา ๒๐ และตามกฎหมายที่เกี่ยวของ ตลอดจนใหไดรับการศึกษานอกเหนือจาก

การศึกษาภาคบังคับ ตามความพรอมของครอบครัว

มาตรา ๑๔ ใหรัฐ และองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีหนาที่ในการจัดการศึกษา ทั้งนี้ ตามที่

กําหนดในนโยบายการศึกษาแหงชาติ ตลอดจนใหบุคคล ครอบครัว องคกรชุมชน เอกชน องคกรเอกชน

องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษา ทั้งนี้ ให

เปนไปตามที่กฎหมายวาดวยสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

มาตรา ๑๕ บิดา มารดา หรือผูปกครองมีสิทธิไดรับสิทธิประโยชน ดังตอไปนี ้

(๑) การสนับสนุนจากรัฐ ใหมีความรูความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และการใหการศึกษา

แกบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูในความดูแล ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี้

Page 6: Edu reform-draft

-๖-

(๒) เงินอุดหนุนจากรัฐสําหรับการจัดการศึกษาภาคบังคับของบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูในความ

ดูแลที่ครอบครัวจัดให ใหอุดหนุนเปนเวลาเกาปนับแตเริ่มเขารับการศึกษาภาคบังคับ ทั้งนี้ ตามที่กําหนดใน

พระราชบัญญัตินี้

(๓) การดูแลและเสรมิสรางพัฒนาการการเรยีนรูของเด็กตั้งแตแรกเกิดจนเขาสูการศึกษาภาค

บังคับโดยไดรับการอุดหนุนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยการจัดการ

และบริหารการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

(๔) การลดหยอนหรือยกเวนภาษีสําหรับคาใชจายการศึกษาตามที่กฎหมายกําหนด

มาตรา ๑๖ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบัน

ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาภาคบังคับมีสิทธิไดรับสิทธิ

ประโยชนตามควรแกกรณี ดังตอไปนี้

(๑) การสนับสนุนจากรัฐใหมีความรูความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูบุคคลซึ่งอยูในความ

ดูแลรับผิดชอบ ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี ้

(๒) เงินอุดหนุนจากรัฐสําหรับการจัดการศึกษาภาคบังคับ ทั้ งนี้ ตามที่กําหนดใน

พระราชบัญญัตินี้

(๓) การลดหยอนหรือยกเวนภาษีสําหรับคาใชจายการศึกษาตามที่กฎหมายกําหนด

หมวด ๓

ระบบการศึกษา

มาตรา ๑๗ การจัดการศึกษามีสามรปูแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ

การศึกษาตามอัธยาศัย

(๑) การศึกษาในระบบ เปนการศึกษาที่กําหนดจุดมุงหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร

ระยะเวลาของการศึกษา และการวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขของการสําเร็จการศึกษาที่แนนอน

(๒) การศึกษานอกระบบ เปนการศึกษาที่มีความยืดหยุนในการกําหนดจุดมุงหมาย รูปแบบ

วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา และการวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขสําคัญของการสําเร็จ

การศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะตองมีความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของ

บุคคลแตละกลุม

(๓) การศึกษาตามอัธยาศัย เปนการศึกษาที่ใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามความสนใจ

ศักยภาพ ความพรอม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ สังคม สภาพแวดลอม สื่อ หรือแหลง

ความรูอื่น ๆ

สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได

Page 7: Edu reform-draft

-๗-

ใหมีการเทียบโอนผลการเรียนที่ผูเรียนสะสมไวในระหวางรูปแบบเดียวกันหรือตางรูปแบบได

ไมวาจะเปนผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกันหรือไมก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรูนอกระบบ ตามอัธยาศัย การ

ฝกอาชีพ หรือจากประสบการณการทํางาน

มาตรา ๑๘ การศึกษาในระบบมีสามระดับ คือ การศึกษาภาคบังคับ การศึกษาระดับกอน

อุดมศึกษา และการศึกษาระดับอุดมศึกษา

การศึกษาภาคบังคับประกอบดวย การศึกษาปฐมวัย และการศึกษาระดับประถมศึกษา

การแบงระดับและประเภทของการศึกษาภาคบังคับ ใหเปนไปตามที่กําหนดในระเบียบของสภานโยบายและ

พัฒนาการศึกษาแหงชาติ

การศึกษาระดับกอนอุดมศึกษา ประกอบดวย

(๑) การศึกษาระดับมัธยมศึกษา คือ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน และเตรียม

อุดมศึกษา

(๒) การศึกษาระดับอาชีวศึกษา คือ การศึกษาอาชีวศึกษาตอนตน และอาชีวศึกษาตอน

ปลาย

การแบงระดับและประเภทของการศึกษากอนอุดมศึกษาตามวรรคสาม ใหเปนไปตามที่

กําหนดในระเบียบของสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบงเปนสองระดับ คือ ระดับต่ํากวาปริญญา และระดับปริญญา

มาตรา ๑๙ การแบงระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตาม

อัธยาศัยใหเปนไปตามที่กําหนดในระเบียบของสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

มาตรา ๒๐ ใหมีการศึกษาภาคบังคับจํานวนเกาชั้นป โดยใหเด็กซึ่งมีอายุยางเขาปที่สี่เขาเรียน

ในสถานศึกษาจนอายุเขาปที่สิบสอง เวนแตสอบไดชั้นปที่เกาของการศึกษาภาคบังคับ หลักเกณฑและวิธีการ

นับอายุใหเปนไปตามที่คณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษากําหนด

มาตรา ๒๑ การจัดการศึกษาภาคบังคับ ใหจัดในสถานศึกษาดังตอไปนี้

(๑) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ไดแก ศูนยเด็กเล็ก ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ศูนยพัฒนาเด็กกอน

เกณฑของสถาบันศาสนา ศูนยบริการชวยเหลือระยะแรกเริ่มของเด็กพิการและเด็กซึ่งมีความตองการพิเศษ

หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่เรียกชื่ออยางอื่น

(๒) โรงเรียน ไดแก โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และโรงเรียนที่สังกัดสถาบันพุทธศาสนา

หรือศาสนาอื่น

(๓) ศูนยการเรียน ไดแก สถานที่เรียนที่หนวยงานจัดการศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ครอบครัว

ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ

โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย สถานสงเคราะห และสถาบันสังคมอื่นเปนผูจัด

Page 8: Edu reform-draft

-๘-

มาตรา ๒๒ การจัดการศึกษาระดับกอนอุดมศึกษา ใหจัดในสถานศึกษาตามมาตรา ๒๑ (๒)

และ (๓) เวนแตกรณีการจัดการศึกษาระดับกอนอุดมศึกษาที่เปนอาชีวศึกษา ใหเปนไปตามมาตรา ๒๔

มาตรา ๒๓ การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหจัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย หรือ

หนวยงานที่เรียกชื่ออยางอื่น ทั้งนี้ ใหเปนไปตามกฎหมายเกี่ยวกับสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา กฎหมายวา

ดวยการจัดตั้งสถานศึกษาน้ัน ๆ และกฎหมายที่เกี่ยวของ

มาตรา ๒๔ การจัดการอาชีวศึกษา การฝกอบรมวิชาชีพ ใหจัดในสถานศึกษาของรัฐ

สถานศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ หรือพื้นที่ประกอบการอุตสาหกรรมหรือกสิกรรม โดยความรวมมือ

ระหวางสถานศึกษากับผูประกอบการ ทั้งนี้ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการอาชีวศึกษาและกฎหมายที่

เกี่ยวของ

มาตรา ๒๕ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่นของรัฐ อาจจัดการศึกษา

เฉพาะทางตามความตองการและความชํานาญของหนวยงานนั้นได โดยคํานึงถึงนโยบายและมาตรฐาน

การศึกษาของชาติ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในระเบียบของสภานโยบายและพัฒนา

การศึกษาแหงชาติ

มาตรา ๒๖ ใหมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาและนโยบายการศึกษาของชาติใน

ทุกระดับ เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหมีองคความรูและฐานขอมูลที่เกิดขึ้นจากการศึกษาวิจัยระบบการศึกษา

และนโยบายการศึกษาของชาติ ซึ่งเปนประโยชนตอการพัฒนาระบบการศึกษาและนโยบายการศึกษาของชาติ

ใหมีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และทันตอสถานการณความ

เปลี่ยนแปลงในสังคมโลก

ใหมีกองทุนศึกษาวิจัย และพัฒนาระบบการศึกษาและนโยบายการศึกษาของชาติ เพื่อเปน

ทุนหมุนเวียนและคาใชจายในการสนับสนุนการวิจัยระบบการศึกษาและนโยบายการศึกษาของชาติอยาง

ตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีการวิจัยเชิงนโยบาย และการวิจัยประยุกตตางๆ เพื่อประโยชนในการพัฒนา

ระบบการศึกษาและนโยบายการศึกษาของชาติ

ใหสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาแหงชาติตามมาตรา ๕๑ มีอํานาจหนาที่ในการ

ดําเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง และตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ และกฎหมายวาดวย

สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาแหงชาติ

Page 9: Edu reform-draft

-๙-

หมวด ๔

แนวการจัดการศึกษา

มาตรา ๒๗ การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนา

ตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนา

ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ

มาตรา ๒๘ การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา

ตามอัธยาศัย ตองเนนความสําคัญทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูและบูรณาการตามความเหมาะสม

ของแตละระดับการศึกษาในเรื่องตอไปนี้

(๑) ความรูเรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม ไดแก ครอบครัว

ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรความเปนมาของสังคมไทยและระบบการเมือง

การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

(๒) ความรูและทักษะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมทั้งความรูความเขาใจและ

ประสบการณเรื่องการจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

อยางสมดุลยั่งยืน

(๓) ความรูเกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทย และการประยุกตใช

ภูมิปญญา

(๔) ความรูและทักษะดานคณิตศาสตรและดานภาษา เนนการใชภาษาไทยอยางถูกตอง

(๕) ความรูและทักษะในการประกอบอาชีพและการดํารงชีวิตอยางมีความสุข

มาตรา ๒๙ การจัดกระบวนการเรียนรู ใหสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการ

ดังตอไปนี ้

(๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดย

คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล

(๒) ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูมา

ใชเพื่อปองกันและแกไขปญหา

(๓) จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทาํได คิดเปน ทํา

เปน รักการอาน และเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง

(๔) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน

รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงคไวในทุกวิชา

(๕) สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียน และ

อํานวยความสะดวก เพื่อใหผูเรียนเกดิการเรียนรูและมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของ

Page 10: Edu reform-draft

-๑๐-

กระบวนการเรียนรู ทั้งนี้ ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหลง

วิทยาการประเภทตาง ๆ

(๖) จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความรวมมือกับบิดา

มารดา ผูปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝาย เพื่อรวมกันพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ

มาตรา ๓๐ รัฐตองสงเสริมการดําเนินงานและการจัดตั้งแหลงการเรียนรูตลอดชีวิตทุก

รูปแบบ ไดแก หองสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ หอศิลป สวนสัตว สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร อุทยาน

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ศูนยการกีฬาและนันทนาการ แหลงขอมูล และแหลงการเรียนรูอื่นอยางพอเพียงและ

มีประสิทธิภาพ

มาตรา ๓๑ ใหสถานศึกษาจัดการประเมินผูเรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผูเรียน

ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การรวมกิจกรรมและการทดสอบควบคูไปในกระบวนการเรียน

การสอนตามความเหมาะสมของแตละระดับและรูปแบบการศึกษา

ใหสถานศึกษาใชวิธีการที่หลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเขาศึกษาตอ และใหนําผลการ

ประเมินผูเรียนตามวรรคหนึ่งมาใชประกอบการพิจารณาดวย

มาตรา ๓๒ ใหสถานศึกษารวมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครอง

สวนทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น

สงเสริมความเขมแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรูภายในชุมชน เพื่อใหชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรม

มีการแสวงหาความรู ขอมูล ขาวสาร และรูจักเลือกสรรภูมิปญญาและวิทยาการตาง ๆ เพื่อพัฒนาชุมชนให

สอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการ รวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนใหมีการแลกเปลี่ยนประสบการณการ

พัฒนาระหวางชุมชน

มาตรา ๓๓ ใหสถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการ

สงเสริมใหผูสอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียนในแตละระดับการศึกษา

หมวด ๕

การบริหารและการจัดการศึกษา

สวนที่ ๑

การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ

มาตรา ๓๔ โครงสรางองคกรจัดการศึกษาสวนกลาง ใหมีองคกรหลักในการกําหนด

นโยบายการบริหารการจัดการ และการตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน โดยแบงองคกรเปนสี่กลุม

Page 11: Edu reform-draft

-๑๑-

(๑) กลุ มนโยบายทางการศึกษา ไดแก สภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรมทางการศึกษา

(๒) กลุมปฏิบัติการทางการศึกษา ไดแก กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานปลัดกระทรวง

ศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการ

มัธยมศึกษา สํานักงานการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

(๓) กลุมสนับสนุนการจัดการศึกษา ไดแก สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาแหงชาติ

สถาบันวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาแหงชาติ สถาบันครุศึกษาแหงชาติ และสํานักงานนวัตกรรมและ

เทคโนโลยีทางการศึกษา

(๔) กลุ มตรวจสอบและรับรองมาตรฐานการศึกษา ไดแก สํานักงานรับรองมาตรฐาน

การศึกษาแหงชาติ และสํานักงานรับรองคุณวุฒิการศึกษาแหงชาติ

มาตรา ๓๕ ใหมีคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เรียกวา “สภานโยบายและพัฒนาการศึกษา

แหงชาติ” เพื่อทําหนาที่ในการกําหนดนโยบายการศึกษา และดําเนินการอื่นตามที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี้

จํานวนไมเกินยี่สิบหาคน ประกอบดวย

(๑) นายกรัฐมนตรี เปนประธานกรรมการ

(๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานวิทยาศาสตร ดานสังคมศาสตร ดานปฐมวัยและประถมศึกษา

ดานมัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษา ดานอาชีวศึกษา ดานอุดมศึกษา ดานการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัย ดานกฎหมาย และดานเศรษฐศาสตร จํานวนดานละสองคน

(๓) กรรมการผูแทนจากภาคเอกชนทีเ่กี่ยวของกบัการคาและการลงทุน จํานวนสองคน

(๔) กรรมการผูแทนจากภาคประชาสังคมดานการศึกษา จํานวนสองคน

(๕) กรรมการผูแทนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึง่คน

(๖) กรรมการผูแทนผูปกครอง จํานวนหนึ่งคน

ใหสํานักงานสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติเปนนิติบุคคลและเปนอิสระ และให

เลขาธิการสภาเปนเลขานุการในคณะกรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนง

ของกรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) (๔) (๕) และ (๖) และการดําเนินงานของ

คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่กฎหมายวาดวยสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

กําหนด

มาตรา ๓๖ สภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ใหมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้

(๑) กําหนดนโยบายการศึกษาของชาติทั้งระบบทุกระดับและทุกประเภท

Page 12: Edu reform-draft

-๑๒-

(๒) ใหความเห็นชอบและตรวจสอบการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปในสวนที่

เกี่ยวกับการศึกษาใหสอดคลองกับนโยบายการศึกษาแหงชาติ

(๓) กําหนดนโยบายการศึกษา วิเคราะห และวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาทุกระดับ

(๔) พิจารณาขอเสนอแนะการจดัทําหลักสูตรการศึกษาสาํหรบัการศึกษาในระบบทุกระดับและ

สาขา

(๕) พิจารณาใหความเห็นชอบนโยบายการศึกษาพิเศษ และการศึกษาทางเลือกในทุกระดับ

(๖) พิจารณาใหความเห็นชอบในการแตงตั้งคณะกรรมการตามมาตรา ๓๘ มาตรา ๔๐ มาตรา

๔๔ มาตรา ๔๖ และมาตรา ๕๐ ตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ

(๗) พิจารณาออกระเบียบเกี่ยวกับการแตงตั้งคณะกรรมการมาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา

๕๓ มาตรา ๕๔ มาตรา ๕๕ และมาตรา ๕๖ และใหความเห็นชอบแตงตั้งคณะกรรมการดังกลาว

(๘) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้งโยกยายขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่

ระดับสูงในกระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาของชาติ

(๙) พิจารณากําหนดมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู คณาจารย และ

บุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งกําหนดนโยบายการพัฒนาวิชาชีพครู ผูบริหารสถานศึกษาและผูบริหารการศึกษา

(๑๐) ติดตามตรวจสอบการดําเนินการใหเปนไปตามนโยบายการศึกษาของชาติ

(๑๑) พิจารณาอุทธรณกรณีการสั่งเพิกถอนใบอนุญาต การปดหลักสูตร การปดสถานศึกษา

หรือการงดรับนักเรียนของสถานศึกษาเอกชน สถานศึกษาซึ่งไมไดรับการรับรองมาตรฐาน และสถานศึกษาที่

ไมไดขอรับการประเมินมาตรฐาน

(๑๒) พิจารณาสั่งปดสถานศึกษาของสถานศึกษาซึ่งไมไดรับการรับรองมาตรฐาน และ

สถานศึกษาที่ไมไดขอรับการประเมินมาตรฐานตามมาตรา ๗๒ และมาตรา ๗๕

(๑๓) การกํากับดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

(๑๔) เสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาในการจัดการศึกษาของชาติ

(๑๕) อํานาจอื่นตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ

มาตรา ๓๗ กระทรวงมีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการสงเสริมและกํากับดูแลการจัดการศึกษาทุก

ระดับและทุกประเภท กําหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา

สงเสริมและประสานงานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการกีฬาเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม

ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาเทาที่ไมขัดหรือแยงกับองคกรที่มีหนาที่ในการตรวจสอบตาม

มาตรา ๕๕ และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกระทรวงหรือสวนราชการที่

สังกัดกระทรวง

มาตรา ๓๘ ใหมีคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา ประกอบดวย

(๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ

Page 13: Edu reform-draft

-๑๓-

(๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษาปฐมวัย ดานประถมศึกษา ดานการศึกษาพิเศษ ดาน

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน

(๓) กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึ่งคน

(๔) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับปฐมวัยและประถมศึกษาจากสถานศึกษาของรัฐ จํานวน

หนึ่งคน

(๕) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับปฐมวัยและประถมศึกษาจากสถานศึกษาของเอกชน

จํานวนหนึ่งคน

ใหมี เลขาธิการสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา เปนเลขานุการของ

คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง และดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา ทั้งนี้

ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ

คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนงของ

กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) และการดําเนินงานของคณะกรรมการตามวรรค

หนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ

มาตรา ๓๙ ใหคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา มีอาํนาจหนาที่

(๑) เสนอแนะนโยบายการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษาตอสภานโยบายและพัฒนา

การศึกษาแหงชาติ

(๒) เสนอแนะการจัดทําหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา

(๓) ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษาใหเปนไปตาม

นโยบายการศึกษาของชาติ

(๔) เสนอแนะนโยบายการศึกษาพิเศษระดับการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา

(๕) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย ขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ของ

สํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา และของโรงเรียนและสถานศึกษาในสังกัดที่ยังไมไดถายโอนไป

องคกรปกครองสวนทองถิ่น

(๖) กํากับ ดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพของครู และบุคลากร

ทางการศกึษาของสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศกึษา สถานศึกษาทั้งของรฐั เอกชน และองคกร

ปกครองสวนทองถิ่น

(๗) พิจารณาการอนญุาตการจัดตั้งโรงเรียนและสถานศึกษาเอกชนและองคกรปกครองสวน

ทองถิ่นในขั้นปฐมวัยและประถมศึกษา ตลอดจนการพักใชใบอนุญาต และเพิกถอนใบอนุญาต

(๘) กํากับ ดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานการศึกษาปฐมวยัและประถมศึกษา สถานศึกษา

ทั้งของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น

(๙) กําหนดกฎและหลักเกณฑทีจ่ําเปนในการบรหิารการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา

Page 14: Edu reform-draft

-๑๔-

มาตรา ๔๐ ใหมีคณะกรรมการการมัธยมศึกษา ประกอบดวย

(๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ

(๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานมัธยมศึกษา ดานอาชีวศึกษา ดานการศึกษาพิเศษ ดาน

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน

(๓) กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึ่งคน

(๔) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับมัธยมศึกษาจากสถานศึกษาของรัฐ จํานวนหนึ่งคน

(๕) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับมัธยมศึกษาจากสถานศึกษาของเอกชน จํานวนหนึ่งคน

ใหมีเลขาธิการสํานักงานการมัธยมศึกษา เปนเลขานุการของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง

และดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานการมัธยมศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร

ราชการกระทรวงศึกษาธิการ

คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนงของ

กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) และการดําเนินงานของคณะกรรมการตามวรรค

หนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ

มาตรา ๔๑ ใหคณะกรรมการการมัธยมศึกษา มีอํานาจหนาที่

(๑) เสนอแนะนโยบายการศึกษามัธยมศึกษาตอสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

(๒) เสนอแนะการจัดทําหลักสูตรมัธยมศึกษา

(๓) ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษามัธยมศึกษาใหเปนไปตามนโยบาย

การศึกษาของชาติ

(๔) เสนอแนะนโยบายการศึกษาพิเศษระดับมัธยมศึกษา

(๕) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย ขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ของ

สํานักงานการมัธยมศึกษา และของโรงเรียนและสถานศึกษาในสังกัดที่ยังไมไดถายโอนไปองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น

(๖) กํากับ ดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพของครู และบุคลากร

ทางการศกึษาของสํานักงานการมัธยมศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น

(๗) พิจารณาการอนุญาตการจัดตั้งโรงเรียนและสถานศึกษาเอกชนและองคกรปกครองสวน

ทองถิ่นในขั้นมัธยมศึกษา ตลอดจนการพักใชใบอนุญาต และเพิกถอนใบอนุญาต

(๘) กํากับ ดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานการศึกษามัธยมศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐ

เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น

(๙) กําหนดกฎและหลักเกณฑทีจ่ําเปนในการบรหิารการศึกษามัธยมศึกษา

มาตรา ๔๒ ใหมีคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประกอบดวย

(๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ

Page 15: Edu reform-draft

-๑๕-

(๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานมัธยมศึกษา ดานอาชีวศึกษา ดานการศึกษาพิเศษ ดาน

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน

(๓) กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึ่งคน

(๔) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับอาชีวศึกษาจากสถานศึกษาของรัฐ จํานวนหนึ่งคน

(๕) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับอาชีวศึกษาจากสถานศึกษาของเอกชน จํานวนหนึ่งคน

ใหมีเลขาธิการสํานักงานการอาชีวศึกษา เปนเลขานุการของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง

และดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานการอาชีวศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร

ราชการกระทรวงศึกษาธิการ

คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนงของ

กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) และการดําเนินงานของคณะกรรมการตามวรรค

หนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ

มาตรา ๔๓ ใหคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีอํานาจหนาที่

(๑) เสนอแนะนโยบายการศึกษาอาชีวศึกษาตอสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาต ิ

(๒) เสนอแนะการจัดทําหลักสูตรอาชีวศึกษา

(๓) ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาใหเปนไปตามนโยบายการศึกษา

ของชาติ

(๔) เสนอแนะนโยบายการศึกษาพิเศษระดับอาชีวศึกษา

(๕) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย ขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ของ

สํานักงานการอาชีวศึกษา และของโรงเรียนและสถานศึกษาในสังกัดที่ยังไมไดถายโอนไปองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น

(๖) กํากับ ดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพของครู และบุคลากร

ทางการศกึษาของสํานักงานการอาชีวศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น

(๗) พิจารณาการอนุญาตการจัดตั้งโรงเรียนและสถานศึกษาเอกชนและองคกรปกครองสวน

ทองถิ่นในขั้นอาชีวศึกษา ตลอดจนการพักใชใบอนุญาต และเพิกถอนใบอนุญาต

(๘) กํากับ ดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานการศึกษาอาชีวศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐเอกชน

และองคกรปกครองสวนทองถิ่น

(๙) กําหนดกฎและหลักเกณฑทีจ่ําเปนในการบรหิารการศึกษาอาชีวศึกษา

มาตรา ๔๔ ใหมีคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประกอบดวย

(๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ

Page 16: Edu reform-draft

-๑๖-

(๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการอุดมศึกษา ดานอาชีวศึกษา ดานการศึกษาพิเศษ ดาน

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดานสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร ดานวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี ดานวิทยาศาสตรสุขภาพ และดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน

(๓) กรรมการผูแทนจากผูบริหารสถาบันอุดมศึกษาซึ่ ง เลือกกันเอง กลุมละหนึ่งคน

ประกอบดวย

(ก) ผูแทนจากที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยของรัฐ

(ข) ผูแทนจากที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคล

(ค) ผูแทนจากที่ประชุมอธิการบดีสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

(๔) กรรมการผูแทนอาจารยจากกลุมมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุมมหาวิทยาลัยราชภัฏและ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และกลุมสถาบันอุดมศึกษาเอกชน กลุมละหนึ่งคน

ใหมีเลขาธิการสํานักงานการอุดมศึกษา เปนเลขานุการของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง

และดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานการอุดมศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร

ราชการกระทรวงศึกษาธิการ

การเลือกกรรมการตาม (๓) และ (๔) ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการ

กระทรวงศึกษาธิการ

มาตรา ๔๕ ใหคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีอํานาจหนาที่

(๑) เสนอแนะนโยบายการศึกษาอุดมศึกษาตอสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

(๒) เสนอแนะการจัดทําหลกัสูตรอุดมศึกษา

(๓) ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษาอุดมศึกษาใหเปนไปตามนโยบายการศึกษา

ของชาติ

(๔) เสนอแนะนโยบายการศึกษาพเิศษระดับอุดมศึกษา

(๕) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย ขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ของ

สํานักงานการอุดมศึกษา

(๖) กํากับ ดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพของคณาจารย และ

บุคลากรทางการศึกษาของสํานักงานการอุดมศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น

(๗) พิจารณาเหตผุลและความจําเปนในการจัดตัง้มหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

เพื่อเสนอตอคณะรัฐมนตร ี

(๘) พิจารณาการอนุญาตการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาของเอกชน ตลอดจนการพักใชใบอนุญาต

และเพิกถอนใบอนุญาต

Page 17: Edu reform-draft

-๑๗-

(๙) กํากับ ดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานการอุดมศึกษา มหาวิทยาลัย สถาบันอุดมศึกษา

ทั้งของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น

(๑๐) กําหนดกฎและหลักเกณฑที่จําเปนในการบริหารการศึกษาอุดมศึกษา

มาตรา ๔๖ ใหมีคณะกรรมการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอ ัธยาศ ัย

ประกอบดวย

(๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ

(๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา ดานมัธยมศึกษา ดาน

อาชีวศึกษา ดานการอุดมศึกษา ดานการศึกษาพิเศษ ดานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และ

ดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน

(๓) กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึ่งคน

(๔) กรรมการผูแทนเครือขายภาคเอกชนที่จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

จํานวนสองคน

ใหมีเลขาธิการสํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เปนเลขานุการ

ของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง และดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัย ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ

คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนงของ

กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) และการดําเนินงานของคณะกรรมการตามวรรค

หนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ

มาตรา ๔๗ ใหคณะกรรมการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีอํานาจ

หนาที่

(๑) เสนอแนะนโยบายการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตอสภานโยบายและ

พัฒนาการศึกษาแหงชาติ

(๒) เสนอแนะการจัดทําหลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

(๓) ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยใหเปนไปตามนโยบายการศึกษาของชาติ

(๔) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย ขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ของ

สํานักงานการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

(๕) พิจารณาการอนุญาตการจัดการเรียนการสอนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยของเอกชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนการพักใชใบอนุญาต และเพิกถอนใบอนุญาต

(๖) กํากับ ดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

Page 18: Edu reform-draft

-๑๘-

(๗) กําหนดกฎและหลักเกณฑที่จําเปนในการบริหารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัย

มาตรา ๔๘ ใหสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปรญิญาเปนนิติบคุคล และอาจจัดเปน

สวนราชการหรือเปนหนวยงานในกํากับของรัฐ ยกเวนสถานศึกษาเฉพาะทางตามมาตรา ๒๕

ใหสถานศึกษาดังกลาวดําเนินกิจการไดโดยอิสระ สามารถพัฒนาระบบบริหาร และการ

จัดการที่เปนของตนเอง มีความคลองตัว มีเสรีภาพทางวิชาการ โดยสอดคลองกับนโยบายการศึกษาแหงขาติ

และอยูภายใตการกํากับดูแลของสภาสถานศึกษา ตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษาน้ัน ๆ

มาตรา ๔๙ การกํากับดูแลการจัดการศึกษาของภาคเอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น

ในแตละจังหวัด ใหอยูในอํานาจหนาที่ของสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา สํานักงานการ

มัธยมศึกษา และสํานักงานการอาชีวศึกษา แลวแตกรณี ทั้งนี้ ตามที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวยระเบียบ

บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ

มาตรา ๕๐ ในการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา หรืออาชีวศึกษา

แลวแตกรณี ใหมีคณะกรรมการสถานศึกษาแตละสถานศึกษา เพื่อทําหนาที่กําหนดนโยบายกํากับและสงเสริม

สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา ใหความเห็นชอบแผนพัฒนาสถานศึกษา และใหความเห็นชอบหลักสูตร

สถานศึกษาที่ผูบริหารสถานศึกษานั้นจัดทําข้ึนตามที่กําหนดในมาตรา ๖๗

ใหคณะกรรมการสถานศึกษาตามวรรคหนึ่ง ประกอบดวย ผูแทนผูปกครอง ผูแทนครู ผูแทน

องคกรชุมชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูแทนศิษยเกาของสถานศึกษา ผูแทนพระภิกษุสงฆและหรือ

ผูแทนองคกรศาสนาอื่นในพื้นที่ และผูทรงคุณวุฒิในทองถิ่น โดยสถานศึกษาที ่มีการจัดการศึกษาระดับ

อาชีวศึกษาอาจมีกรรมการเพิ่มขึ้นได ทั้งนี้ ตามที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวยการจัดการและบริหารการศึกษา

ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

ใหกรรมการสถานศึกษาคัดเลือกกรรมการคนใดคนหนึ่ง เปนเลขานุการของคณะกรรมการ

สถานศึกษา โดยใหผูบริหารสถานศึกษานั้นเปนผูชวยเลขานุการ

ในกรณีที่เปนสถานศึกษาขนาดเล็ก ซึ่งไมอาจมีองคประกอบของคณะกรรมการสถานศึกษา

ตามที่กําหนดในวรรคสองได ใหคณะกรรมการสถานศึกษาของสถานศึกษาน้ันมีองคประกอบตามเทาที่มีอยูใน

เขตพื้นที่นั้น หรือในกรณีที่มีความประสงคใชคณะกรรมการสถานศึกษารวมกันกับสถานศึกษาขนาดเล็กอื่น

ใหหนวยงานภูมิภาคของสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา สํานักงานการมัธยมศึกษา และ

สํานักงานการอาชีวศึกษาในพื้นที่นั้น แลวแตกรณี จัดใหมีคณะกรรมการสถานศึกษารวมกันได แตตองมี

จํานวนสถานศึกษาที่มีคณะกรรมการสถานศึกษารวมกันไดไมเกินสามแหง

ความในมาตรานี้ไมใชบังคับแกสถานศึกษาตามมาตรา ๒๑ (๑) และ (๓)

Page 19: Edu reform-draft

-๑๙-

มาตรา ๕๑ ใหมีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาแหงชาติ เปนองคการมหาชนที่มีฐานะ

เปนนิติบุคคล และบริหารจัดการโดยคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาแหงชาติ

ประกอบดวย

(๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ

(๒) กรรมการผูแทนจากกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนา

หลักสูตรการศึกษาแหงชาติ คณะกรรมการสถาบันครุศึกษาแหงชาติ คณะกรรมการสํานักงานนวัตกรรมและ

เทคโนโลยีทางการศึกษา คณะกรรมการสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ และคณะกรรมการ

สํานักงานรับรองคุณวุฒิการศึกษาแหงชาติ จํานวนแหงละหนึ่งคน

(๓) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการวิจัย ดานการวัดและประเมินผล ดานระบบการศึกษา ดาน

การศึกษาในระบบ ดานการศึกษานอกระบบ ดานการศึกษาตามอัธยาศัย ดานการศึกษาพิเศษ จํานวนดานละ

หนึ่งคน ที่ไดรับการสรรหาและไดรับความเห็นชอบจากสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

ใหคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาแหงชาติ มีอํานาจหนาที่ตามที่

กําหนดไวในมาตรา ๒๖ และที่กําหนดในกฎหมายวาดวยการวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษา

ใหมีผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาแหงชาติ ทําหนาที่เลขานุการของ

คณะกรรมการตามวรรคหนึ่งและดําเนินงานโดยทั่วไปของสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาแหงชาติ

ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยการวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษา

มาตรา ๕๒ ใหมีสถาบันวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาแหงชาติ เปนองคการมหาชนที่มี

ฐานะเปนนิติบุคคล และบริหารจัดการโดยคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาแหงชาติ

ประกอบดวย

(๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ

(๒) กรรมการผูแทนจากกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบ

การศึกษาแหงชาติ คณะกรรมการสถาบันครุศึกษาแหงชาติ คณะกรรมการสํานักงานนวัตกรรมและเทคโนโลยี

ทางการศึกษา คณะกรรมการสํานักงานรบัรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ และคณะกรรมการสํานักงานรับรอง

คุณวุฒิการศึกษาแหงชาติ จํานวนแหงละหนึ่งคน

(๓) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการวิจัย ดานการวัดและประเมินผล ดานหลักสูตร ดาน

การศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา ดานมัธยมศึกษา ดานอาชีวศึกษา ดานอุดมศึกษา ดานการศึกษานอกระบบ

ดานการศึกษาตามอัธยาศัย และดานการศึกษาพิเศษ จํานวนดานละหนึ่งคน ที่ไดรับการสรรหาและไดรับความ

เห็นชอบจากสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

ใหคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาแหงชาติ มีอํานาจหนาที่ตามที่

กําหนดไวในหมวด ๖ และตามกฎหมายวาดวยการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการศึกษา

Page 20: Edu reform-draft

-๒๐-

ใหมีผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาแหงชาติ ทําหนาที่เลขานุการของ

คณะกรรมการตามวรรคหนึ่งและดําเนินงานโดยทั่วไปของสถาบันวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาแหงชาติ

ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการศึกษา

มาตรา ๕๓ ใหมีสถาบันครุศึกษาแหงชาติ เปนองคการมหาชนที่มีฐานะเปนนิติบุคคล และ

บริหารจัดการโดยคณะกรรมการสถาบันครุศึกษาแหงชาติ ประกอบดวย

(๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ

(๒) กรรมการผูแทนจากกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบ

การศึกษาแหงชาติ คณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาแหงชาติ คณะกรรมการสํานักงาน

นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา และคณะกรรมการสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ

จํานวนแหงละหนึ่งคน

(๓) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการวิจัย ดานการเรียนการสอน ดานการวัดและประเมินผล

ดานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา ดานมัธยมศึกษา ดานอาชีวศึกษา ดานอุดมศึกษา ดานการศึกษานอก

ระบบ ดานการศึกษาตามอัธยาศัย และดานการศึกษาพิเศษ จํานวนดานละหนึ่งคน ที่ไดรับการสรรหาและไดรับ

ความเห็นชอบจากสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

(๔) ผูแทนคณบดีคณะครุศาสตรหรือศึกษาศาสตรจากมหาวิทยาลัย หรือสถาบันอุดมศึกษา

ของรัฐ หรือเอกชน จํานวนหนึ่งคน

ใหคณะกรรมการสถาบันครศุึกษาแหงชาติ มีอํานาจหนาที่ตามที่กําหนดไวในมาตรา ๗๘ และ

มาตรา ๘๔ และตามกฎหมายวาดวยสถาบันครุศึกษาแหงชาติ

ใหมีผูอํานวยการสถาบันครุศึกษาแหงชาติ ทําหนาที่เลขานุการของคณะกรรมการตามวรรค

หนึ่งและดําเนินงานโดยทั่วไปของสถาบันครุศึกษาแหงชาติ ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยสถาบัน

ครุศึกษาแหงชาติ

มาตรา ๕๔ ใหมีสํานักงานนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา เปนองคการมหาชนที่มี

ฐานะเปนนิติบุคคล และบริหารจัดการโดยคณะกรรมการสํานักงานนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

ประกอบดวย

(๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ

(๒) กรรมการผูแทนจากกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบ

การศึกษาแหงชาติ คณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาแหงชาติ คณะกรรมการสถาบันครุ

ศึกษาแหงชาติ คณะกรรมการสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ และคณะกรรมการสํานักงาน

รับรองคุณวุฒิการศึกษาแหงชาติ จํานวนแหงละหนึ่งคน

(๓) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการวิจัย ดานเทคโนโลยีทางการศึกษา ดานการศึกษาในระบบ

ดานการศึกษานอกระบบ ดานการศึกษาตามอัธยาศัย ดานการศึกษาพิเศษ ดานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ

Page 21: Edu reform-draft

-๒๑-

โทรทัศน ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และดานเทคโนโลยีสารสนเทศ จํานวนดานละหนึ่งคน ที่ไดรับการ

สรรหาและไดรับความเห็นชอบจากสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

ใหคณะกรรมการสํานักงานนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา มีอํานาจหนาที่ตามที่

กําหนดไวในหมวด ๑๐ และตามกฎหมายวาดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

ใหมีผูอํานวยการสํานักงานนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ทําหนาที่เลขานุการของ

คณะกรรมการตามวรรคหนึ่งและดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

มาตรา ๕๕ ใหมีสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ เปนองคการมหาชนที่มีฐานะ

เปนนิติบุคคล และบริหารจัดการโดยคณะกรรมการสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ ประกอบดวย

(๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ

(๒) กรรมการผูแทนจากกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบ

การศึกษาแหงชาติ คณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาแหงชาติ คณะกรรมการสถาบัน

ครุศึกษาแหงชาติ คณะกรรมการสํานักงานนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา และคณะกรรมการสํานักงาน

รับรองคุณวุฒิการศึกษาแหงชาติ จํานวนแหงละหนึ่งคน

(๓) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการวัดและประเมินผล ดานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา

ดานมัธยมศึกษา ดานอาชีวศึกษา ดานอุดมศึกษา ดานการศึกษานอกระบบ ดานการศึกษาตามอัธยาศัย ดาน

การศึกษาพิเศษ และดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน ที่ไดรับการสรรหาและไดรับความเห็นชอบจากสภา

นโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

ใหคณะกรรมการสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ มีอํานาจหนาที่ตามที่กําหนด

ไวในหมวด ๗ และตามกฎหมายวาดวยการรับรองมาตรฐานการศึกษา

ใหมีผูอํานวยการสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ ทําหนาที่เลขานุการของ

คณะกรรมการตามวรรคหนึ่งและดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ ทั้งนี้

ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยการรับรองมาตรฐานการศึกษา

มาตรา ๕๖ ใหมีสํานักงานรับรองคุณวุฒิการศึกษาแหงชาติ เปนองคการมหาชนที่มีฐานะเปน

นิติบุคคล และบริหารจัดการโดยคณะกรรมการสํานักงานรับรองคุณวุฒิการศึกษาแหงชาติประกอบดวย

(๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ

(๒) อธิบดีกรมการกงสุล และเลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เปนกรรมการ

(๓) กรรมการผูแทนจากกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบ

การศึกษาแหงชาติ คณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาแหงชาติ คณะกรรมการสถาบัน

ครุศึกษาแหงชาติ คณะกรรมการสํานักงานนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา และคณะกรรมการสํานักงาน

รับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ จํานวนแหงละหนึ่งคน

Page 22: Edu reform-draft

-๒๒-

(๔) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการวัดและประเมินผล ดานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา

ดานมัธยมศึกษา ดานอาชีวศึกษา ดานอุดมศึกษา ดานการศึกษานอกระบบ ดานการศึกษาตามอัธยาศัย

ดานการศึกษาพิเศษ และดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน ที่ไดรับการสรรหาและไดรับความเห็นชอบจาก

สภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

ใหคณะกรรมการสํานักงานรับรองคุณวุฒิการศึกษาแหงชาติ มีอํานาจหนาที่ตามที่กําหนดไว

ในมาตรา ๗๙ และมาตรา ๘๐ และตามกฎหมายวาดวยการรับรองคุณวุฒิการศึกษา

ใหมีผูอํานวยการสํานักงานรับรองคุณวุฒิการศึกษาแหงชาติ ทําหนาที่เลขานุการของ

คณะกรรมการตามวรรคหนึ่งและดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานรับรองคุณวุฒิการศึกษาแหงชาติ ทั้งนี้

ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยการรับรองคุณวุฒิการศึกษา

สวนที่ ๒

การบริหารและการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน

มาตรา ๕๗ ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีอํานาจจัดการศึกษา และสนับสนุนการจัด

การศึกษาของสถานศึกษาในเขตพื้นที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นในระดับใดระดับหนึ่งหรือทุกระดับตามความ

พรอม ความเหมาะสม และความตองการภายในทองถิ่น ทั้งนี้ ตามที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวยการจัดการ

และบริหารการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

มาตรา ๕๘ ใหสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติกําหนดหลักเกณฑ วิธีการและ

มาตรฐานการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยใหคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและ

ประถมศึกษา คณะกรรมการการมัธยมศึกษา และคณะกรรมการการอาชีวศึกษา แลวแตกรณี ดําเนินการ

เตรียมความพรอมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการจัดการศึกษาตามนโยบายการศึกษาแหงชาติ และ

กํากับดูแลการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในสวนที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษาในขอบเขต

อํานาจของตน

มาตรา ๕๙ ในสวนที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาขององคกรปกครองสวน

ทองถิ่นใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีความพรอมหรือมีความจําเปนเสนอเรื่องตอคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา เพื่อพิจารณาใหความเห็น เมื่อคณะกรรมการการอุดมศึกษาใหความเห็นแลว ใหเสนอเรื่องตอสภา

นโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติเพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบ หากสภานโยบายและพัฒนาการศึกษา

แหงชาติพิจารณาแลวเห็นวาองคกรปกครองสวนทองถิ่นน้ันมีความพรอมและมีความจําเปน และสอดคลองกับ

นโยบายการศึกษาแหงชาติ ใหเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาตรากฎหมายจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาดังกลาว

ตอไป

Page 23: Edu reform-draft

-๒๓-

มาตรา ๖๐ การจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นตามหมวดนี้ ใหเปนไปตาม

กฎหมายวาดวยการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สวนที่ ๓

การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน

มาตร ๖๑ การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชนใหมีความเปนอิสระ โดยมีการกํากับ

ติดตาม การประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากรัฐ และตองปฏิบัติตามหลักเกณฑการประเมิน

คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเชนเดียวกับสถานศึกษาของรัฐ

มาตรา ๖๒ ใหสถานศึกษาเอกชนตามมาตรา ๒๑ (๒) เปนนิติบุคคล และมีคณะกรรมการ

บริหาร ประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษาเอกชน ผูรับใบอนุญาต ผูแทนผูปกครอง ผูแทนองคกรชุมชน ผูแทน

ครู ผูแทนศิษยเกา และผูทรงคุณวุฒิ

จํานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและ

กรรมการ วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนง ใหเปนไปตามที่กําหนดในระเบียบสภานโยบาย

และพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

มาตรา ๖๓ ใหสถานศึกษาเอกชนจัดการศึกษาไดทุกระดับและทุกประเภทการศึกษาตามที่

กฎหมายกําหนด โดยรัฐตองกําหนดนโยบายและมาตรการที่ชัดเจนเกี่ยวกับการมีสวนรวมของเอกชนในดาน

การศึกษา

การกําหนดนโยบายและแผนการจดัการศึกษาของรฐัหรือขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ให

คํานึงถึงผลกระทบตอการจัดการศึกษาของเอกชน โดยใหคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา

คณะกรรมการการมัธยมศึกษา และคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในกรณีที่เปนการจัดการศึกษาขององคกร

ปกครองสวนทองถิ่น ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นรวมรับฟงความคิดเห็นของเอกชนและประชาชน

ประกอบการพิจารณาดวย

ใหสถานศึกษาของเอกชนที่จัดการศึกษาระดับปริญญาดําเนินกิจการไดโดยอิสระ สามารถ

พัฒนาระบบบริหารและการจัดการที่เปนของตนเอง มีความคลองตัว มีเสรีภาพทางวิชาการ และอยูภายใตการ

กํากับดูแลของสภาสถานศึกษา ตามกฎหมายวาดวยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

มาตรา ๖๔ รัฐตองใหการสนับสนุนดานเงินอุดหนุน การลดหยอนหรือการยกเวนภาษี และ

สิทธิประโยชนอยางอื่น ที่เปนประโยชนในทางการศึกษาแกสถานศึกษาเอกชนตามความเหมาะสม รวมทั้ง

สงเสริมและสนับสนุนดานวิชาการใหสถานศึกษาเอกชนมีมาตรฐานและสามารถพึ่งตนเองได

Page 24: Edu reform-draft

-๒๔-

มาตรา ๖๕ ในกรณีที่สถานศึกษาเอกชนใด จัดการศึกษาโดยไมเปนไปตามหลักเกณฑ และ

วิธีการตามกฎหมาย หรือดําเนินการจัดการศึกษาอันเปนเท็จ หรือปกปดความจริงเกี่ยวกับขอมูลผูเรียน หรือ

ปกปดหรือแจงขอมูลอันเปนเท็จเกี่ยวกับคุณวุฒิของผูเรียน ครู คณาจารย หรือบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด

ของตน ใหคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา คณะกรรมการการมัธยมศึกษา และ

คณะกรรมการการอาชีวศึกษา และคณะกรรมการการอุดมศึกษา แลวแตกรณี ดําเนินการสอบสวน

หาขอเท็จจริง และมีอํานาจสั่งเพิกถอน พักใชใบอนุญาต หรือสั่งงดรับผูเรียน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

หมวด ๖

หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร

มาตร ๖๖ ใหมีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาภาคบังคับที่มีวัตถุประสงคมุงเนนเพื่อความ

เปนไทย ความเปนพลเมืองที่ดีของชาติ การดํารงชีวิต การประกอบอาชีพ และเพื่อการศึกษาตอ

ใหสถาบันวิจัยและพัฒนาหลักสูตรแหงชาติมีหนาที่วิจัยและพัฒนาหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาภาคบังคับตามวรรคหนึ่ง เสนอตอสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติเพื่อใหความเห็นชอบ

มาตรา ๖๗ ใหสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา สํานักงานการมัธยมศึกษา

สํานักงานการอาชีวศึกษา หรือหนวยงานอื่นของรัฐที่เกี่ยวของมีหนาที่จัดใหมีการกํากับติดตามใหสถานศึกษา

จัดทําหลักสูตรสถานศึกษา ตามวัตถุประสงคในมาตรา ๖๖ โดยใหคํานึงถึงสภาพและวิถีของชุมชนและสังคม

ภูมิปญญาทองถิ่นและปรัชญาการศึกษาของสถานศึกษานั้น ๆ และใหมีหนาที่รวมถึงการสงเสริมสนับสนุนให

สถานศึกษา ดําเนินการจัดทําสาระของหลักสูตรสถานศึกษาตามวัตถุประสงคในมาตรา ๖๖ ดวย

ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีหนาที่สนับสนุนใหคณะกรรมการสถานศึกษาที่อยูในพื้นที่

ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาใหเปนไปตามวัตถุประสงคของหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาภาคบังคับตามมาตรา ๖๖ โดยใหคํานึงถึงสภาพชุมชนและสังคม ภูมิปญญาทองถิ่นและปรัชญา

การศึกษาของสถานศึกษานั้น ๆ

มาตรา ๖๘ หลักสูตรการศึกษาระดับตาง ๆ รวมทั้งหลักสูตรการศึกษาสําหรับบุคคลตาม

มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒ ตองมีลักษณะหลากหลาย ทั้งนี้ ใหจัดตามความเหมาะสมของแตละระดับโดย

มุงพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลใหเหมาะสมแกวัยและศักยภาพ

สาระของหลักสูตร ทั้งที่เปนวิชาการ และวิชาชีพ ตองมุงพัฒนาคนใหมีความสมดุล ทั้งดาน

ความรู ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบตอสังคม

สําหรับหลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษา นอกจากคุณลักษณะในวรรคหนึ่งและวรรคสอง

แลว ยังมีความมุงหมายเฉพาะที่จะพัฒนาวิชาการ วิชาชีพชั้นสูง และการคนควาวิจัย เพื่อพัฒนาองคความรู

และพัฒนาสังคม

Page 25: Edu reform-draft

-๒๕-

มาตรา ๖๙ ใหสถาบันวิจัยและพัฒนาหลักสูตรแหงชาติจัดใหมีการประเมินหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาภาคบังคับทุกสามป และเสนอรายงานการประเมินหลักสูตรและขอเสนอแนะตอสภา

นโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติเพื่อพิจารณา

ใหมีการประเมินหลักสูตรมัธยมศึกษา และหลักสูตรอาชีวศึกษาทุกหาป และเสนอรายงาน

การประเมินหลกัสตูรและขอเสนอแนะตอสาํนักงานการมธัยมศึกษา สํานักงานการอาชีวศึกษา และแจงใหสภา

นโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติเพื่อทราบ ในกรณีที่ขอเสนอแนะการประเมินใหมีการปรับปรุงหลักสูตร

ใหสํานักงานการมัธยมศึกษา สํานักงานการอาชีวศึกษาดําเนินการพิจารณาปรับปรุงหลักสูตรใหแลวเสร็จ

ภายในหนึ่งป

หมวด ๗

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา

มาตรา ๗๐ ใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน

การศึกษาทุกระดับ ประกอบดวย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก

ระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา อยางนอยตองสอดคลองกับนโยบาย

การจัดการศึกษาของสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ วัตถุประสงคและผลสัมฤทธิ์ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาภาคบังคับ การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ภาคบังคับ และผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนตามนโยบายหลักสูตร ทั้งนี้ ใหเปนไปตามแนวทางที่กําหนดในระเบียบ

ของสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

สถานศึกษาประเภทใดที่ไมตองเขารับการประกันคุณภาพการศึกษาตามพระราชบัญญัตินี้

ใหเปนไปตามที่สภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติประกาศกําหนด

มาตรา ๗๑ ใหหนวยงานตนสังกัด สถานศึกษา และองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่จัด

การศึกษาตองจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และดําเนินการประกันคุณภาพภายในตาม

ระบบดังกลาวปละหนึ่งครั้ง

ใหคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา คณะกรรมการการมัธยมศึกษา

คณะกรรมการการอาชีวศึกษา และคณะกรรมการการอุดมศึกษา แลวแตกรณี กําหนดเกณฑการประเมิน

การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหสอดคลองกับนโยบายการศึกษาของชาติ ระบบการประกันคุณภาพ

ภายนอก และระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ตามระเบียบของสภานโยบายและ

พัฒนาการศึกษาแหงชาติในมาตรา ๗๐

การประกันคุณภาพภายในถือเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตอง

ดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการจัดทํารายงานประจําปเสนอตอหนวยงานตนสังกัด หนวยงานที่เกี่ยวของ

Page 26: Edu reform-draft

-๒๖-

และเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกัน

คุณภาพภายนอก

มาตรา ๗๒ สํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติมีอํานาจหนาที่พัฒนาเกณฑ และ

วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทําการประเมินผลการจัดการศึกษา เพื่อใหมีการตรวจสอบคุณภาพของ

สถานศึกษา โดยคํานึงถึงความมุงหมายและหลักการและแนวการจัดการศึกษาในแตละระดับ ตลอดจนบริหาร

จัดการ และดําเนินการเกี่ยวกับการศึกษาวิจัย พัฒนา และใหบริการทางการประเมินผลทางการศึกษา และ

ทดสอบทางการศึกษาอยางตอเนื่อง รวมทั้งเปนศูนยกลางความรวมมือดานการทดสอบทางการศึกษาใน

ระดับชาติและระดับนานาชาติ

สถานศึกษาที่ไดรับการประเมินระบบการประกันคุณภาพภายในแลว ใหขอรับการประเมิน

ระบบการประกันคุณภาพภายนอกจากสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ อยางนอยหนึ่งครั้ง

ในทุกหาปนับตั้งแตการประเมินครั้งสุดทาย

สถานศึกษาแหงใดไมไดขอรับการประเมินภายในกําหนดเวลาตามวรรคสอง ใหถือวา

สถานศึกษานั้นไมไดรับการรับรองมาตรฐาน และใหหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่มีอํานาจกํากับดูแล

สถานศึกษานั้นรายงานตอสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติเพื่อทราบ และสั่งงดรับนักเรียน และ

ใหสถานศึกษาตองดําเนินการขอรับการประเมินโดยเร็ว แตทั้งนี้ตองไมเกินหนึ่งป หากพนกําหนดดังกลาว

ใหหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่มีอํานาจกํากับดูแลรายงานตอสภานโยบายและพัฒนาการศึกษา และ

สั่งปดสถานศึกษา หากหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่มีอํานาจกํากับดูแลไมดําเนินการ ใหสํานักงาน

รับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติรายงานตอสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ เพื่อสั่งปด

สถานศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยการรับรองมาตรฐานการศึกษา

การจัดทําเกณฑ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอกและประเมินผลการจัดการศึกษาตามวรรค

หนึ่ง วิธีการขอรับการประเมินตามวรรคสอง และวิธีดําเนินการในกรณีสถานศึกษาที่ไมไดรับการรับรอง

มาตรฐานตามวรรคสาม ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการรับรองมาตรฐานการศึกษา

มาตรา ๗๓ ใหคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา คณะกรรมการการ

มัธยมศึกษา คณะกรรมการการอาชีวศึกษา และคณะกรรมการการอุดมศึกษา แลวแตกรณี กําหนด

อัตราสวนจํานวนสถานศึกษาที่มีความพรอมในการเขารับการประเมินระบบการประกันคุณภาพภายนอก

ทั้งนี้ ใหกําหนดอัตราสวนจํานวนไมนอยกวารอยละสิบหาของสถานศึกษาในแตละปการศึกษา

ใหสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ กําหนดอัตราสวนจํานวนของสถานศึกษาที่

สํานักงานสามารถประเมินการประกันคุณภาพภายนอกไดในแตละปการศึกษา โดยใหกําหนดอัตราสวน

จํานวนไมเกินรอยละสิบหาของจํานวนสถานศึกษาในแตละปการศึกษา ทั้งนี้ เงื ่อนไขขางตนมิใหใชบังคับ

ในปที่หาซึ่งเปนปการศึกษาสุดทายของรอบการประเมินในแตละรอบ

Page 27: Edu reform-draft

-๒๗-

มาตรา ๗๔ ใหสถานศึกษาใหความรวมมือในการจัดเตรียมเอกสารหลักฐานตาง ๆ ที่มีขอมูล

เกี่ยวของกับสถานศึกษา ตลอดจนใหบุคลากร คณะกรรมการประจําสถานศึกษา รวมทั้งผูปกครองและผูที่มี

สวนเกี่ยวของกับสถานศึกษาใหขอมูลเพิ่มเติมในสวนที่พิจารณาเห็นวา เกี่ยวของกับการปฏิบัติภารกิจของ

สถานศึกษา ตามคํารองขอของสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ หรือบุคคลหรือหนวยงาน

ภายนอกที่สํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติรับรองซึ่งเปนผูทําการประเมินคุณภาพภายนอกของ

สถานศึกษานั้น

มาตรา ๗๕ ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไมไดตามมาตรฐานที่กําหนด

ใหสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ จัดทําขอเสนอแนะการปรับปรุงแกไขตอหนวยงานตนสังกัด

และสถานศึกษา เพื่อใหหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษารวมมือกันจัดทําแผนการปรับปรุงแกไข และขอรับ

การประเมินภายนอกใหมภายในหนึ่งปนับแตไดรับทราบผลการประเมิน หากพนระยะเวลาดังกลาวหรือ

หากขอรับการประเมินภายนอกใหมแลว แตผลปรากฏวาสถานศึกษานั้นไมผานการประเมินภายนอกอีก

ใหสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติแจงหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่มีอํานาจกํากับดูแล

ใหสั่งปดสถานศึกษา หากหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่มีอํานาจกํากับดูแลไมดําเนินการ ใหนําความตาม

มาตรา ๗๒ วรรคสามาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๗๖ หามผูบริหารสถานศึกษาที่ถูกสั่งปดสถานศึกษาตามมาตรา ๗๒ และมาตรา ๗๓

นั้นตั้งสถานศึกษาใหมแทนสถานศึกษาเดิมหรือมีสวนในการบริหารสถานศึกษาใดไมวาโดยทางตรงหรือ

ทางออม

มาตรา ๗๗ การทดสอบทางการศึกษาเพื่อวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูเรียนและคุณภาพ

ของสถานศึกษา ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการประกันคุณภาพการศึกษา และการดําเนินงานในหมวดนี้ หรืออํานาจ

หนาที่อื่นของสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการรับรองมาตรฐาน

การศึกษา

หมวด ๘

ครู คณาจารย บุคลากรทางการศึกษา และการรับรองคุณวุฒิ

มาตรา ๗๘ ใหมีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการ

ศึกษาใหมีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเปนวิชาชีพชั้นสูง โดยสถาบันครุศึกษาแหงชาติซึ่งมีอํานาจ

หนาที่ผลิตและพัฒนาครู คณาจารย รวมทั้งบุคลากรทางการศึกษาใหมีความพรอมและมีความเขมแข็งในการ

เตรียมบุคลากรใหมและการพัฒนาบุคลากรประจําการอยางตอเนื่อง

Page 28: Edu reform-draft

-๒๘-

ใหมีกองทุนพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาในสถาบันครุศึกษาแหงชาติ เพื่อ

จัดสรรเงินทุนแกการดําเนินงานในการผลิตและพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา ใหมีคุณภาพ

รัฐพึงจัดสรรงบประมาณกองทุนพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาอยาง

เพียงพอ

มาตรา ๗๙ ใหสํานักงานรับรองคุณวุฒิการศึกษาแหงชาติมีอํานาจหนาที่ในการทดสอบ

และรับรองคุณวุฒิวิชาชีพครูและผูบริหารการศึกษา การพักใชและเพิกถอนการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพครู เปน

ศูนยขอมูลคุณวุฒิการศึกษาของผูสําเรจ็การศึกษาในทุกระดับและทุกประเภท ตรวจสอบและรับรองการสําเร็จ

การศึกษาและคุณวุฒิการศึกษาของผูสําเร็จการศึกษาในทุกระดับและทุกประเภท การเทียบระดับและการ

เทียบโอน ทั้งในประเทศและตางประเทศ ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยการรับรองคุณวุฒิการศึกษา

มาตรา ๘๐ ผูซึ่งจะประกอบวิชาชีพครูและผูบริหารการศึกษาตองเปนผูสําเร็จการศึกษาจาก

สถาบันครุศึกษาแหงชาติ และผานการทดสอบเพื่อการรับรองคุณวุฒิจากสํานักงานรับรองคุณวุฒิการศึกษา

แหงชาติ

ความในวรรคหนึ่งไมใชบังคับแกบุคลากรทางการศึกษาที่จัดการศึกษาตามอัธยาศัย

สถานศึกษาตามมาตรา ๒๑ (๓) และวิทยากรพิเศษทางการศึกษา

มาตรา ๘๑ ใหสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติกําหนดมาตรฐานวิชาชีพ และ

จรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทั้งกําหนดนโยบายการพัฒนาวิชาชีพครู ผูบริหารสถานศึกษาและผูบริหาร

การศึกษา

ความในมาตรานี้ไมใชบังคับแกคณาจารย ผูบริหารสถานศึกษา และผูบริหารการศึกษาใน

ระดับอุดมศึกษาระดับปริญญา

มาตรา ๘๒ ใหคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา คณะกรรมการการ

มัธยมศึกษา และคณะกรรมการการอาชีวศึกษา แลวแตกรณี ทําหนาที่เปนองคกรกลางบริหารงานบุคคล

ของขาราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา

สํานักงานการมัธยมศึกษา และสํานักงานการอาชีวศึกษา แลวแตกรณี ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวย

ระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

มาตรา ๘๓ ใหมีกฎหมายวาดวยเงินเดือน คาตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชนเกื้อกูล

อื่น สําหรับขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อใหมีรายไดที่เพียงพอและเหมาะสมกับฐานะทางสงัคม

และวิชาชีพ

ใหมีกองทุนสงเสริมครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อจัดสรรเปนเงินอุดหนุน

งานริเริ่มสรางสรรค ผลงานดีเดน และเปนรางวัลเชิดชูเกียรติครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา ทั้งนี้

ใหเปนไปตามที่กําหนดระเบียบสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

Page 29: Edu reform-draft

-๒๙-

มาตรา ๘๔ การผลิตและพัฒนาคณาจารยและบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนา มาตรฐาน

และจรรยาบรรณของวิชาชีพ และการบริหารงานบุคคลของขาราชการหรือพนักงานของรัฐในสถานศึกษา

ระดับปริญญาที่เปนนิติบุคคล ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษาแตละแหงและกฎหมายที่

เกี่ยวของ

ใหสถาบันครุศึกษาแหงชาติมีหนาที่พัฒนาองคความรูเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนของ

คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาระดับปริญญาที่เปนนิติบุคคลของรัฐใหสอดคลองกับ

นโยบายการศึกษาแหงชาติ

มาตรา ๘๕ ใหหนวยงานทางการศึกษาระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนใหมีสวนรวมในการจัด

การศึกษาโดยนําประสบการณ ความรอบรู ความชํานาญ และภูมิปญญาทองถิ่นของบุคคลดังกลาวมาใช

เพื่อใหเกิดประโยชนทางการศึกษาและยกยองเชิดชูผูที่สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา

หมวด ๙

การระดมทรัพยากร และการลงทุนเพื่อการศึกษา

มาตรา ๘๖ ใหมีการระดมทรัพยากรและการลงทุนดานงบประมาณ การเงิน และทรัพยสิน

ทั้งจากรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชนเอกชน องคกรเอกชน องคกร

วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอื่น และตางประเทศมาใชจัดการศึกษา ดังนี้

(๑) ใหรัฐและองคกรปกครองสวนทองถิ่นระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา โดยอาจจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาไดตามความเหมาะสม ทั้งนี้ ใหเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด

(๒) ใหบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น เอกชน องคกร

เอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา

โดยเปนผูจัดและมีสวนรวมในการจัดการศึกษา บริจาคทรัพยสิน และทรัพยากรอื่นใหแกสถานศึกษา และมี

สวนรวมรับภาระคาใชจายทางการศึกษาตามความเหมาะสมและความจําเปน

ทั้งนี้ ใหรัฐและองคกรปกครองสวนทองถิ่นสงเสริมและใหแรงจูงใจในการระดมทรัพยากร

ดังกลาว โดยการสนับสนุน การอุดหนุน และใชมาตรการลดหยอนหรือยกเวนภาษี ตามความเหมาะสมและ

ความจําเปน ทั้งนี้ ใหเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด

มาตรา ๘๗ ใหสถานศึกษาของรัฐหรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เปนนิติบุคคล มีอํานาจใน

การปกครอง ดูแล บํารุงรักษา ใช และจัดหาผลประโยชนจากทรัพยสินของสถานศึกษา ทั้งที่เปนที่ราชพัสดุ

Page 30: Edu reform-draft

-๓๐-

ตามกฎหมายวาดวยที่ราชพัสดุ และที่เปนทรัพยสินอื่น รวมทั้งจัดหารายไดจากบริการของสถานศึกษา และ

เก็บคาธรรมเนียมการศึกษาที่ไมขัดหรือแยงกับนโยบาย วัตถุประสงค และภารกิจหลักของสถานศึกษา

บรรดาอสังหาริมทรัพยที่สถานศึกษาตามวรรคหนึ่งไดมาโดยมีผูอุทิศให หรือโดยการซื้อหรือ

แลกเปลี่ยนจากรายไดของสถานศึกษา ไมถือเปนที่ราชพัสดุ และใหเปนกรรมสิทธิ์ของสถานศึกษา

บรรดา รายไดและผลประโยชนของสถานศึกษาตามวรรคหนึ่ง รวมทั้งผลประโยชนที่เกิดจาก

ที่ราชพัสดุ เบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสญัญาลาศึกษา และเบี้ยปรับที่เกดิจากการผดิสัญญาการซื้อทรัพยสนิหรือ

จางทําของที่ดําเนิน การโดยใชเงินงบประมาณไมเปนรายไดที่ตองนําสงกระทรวงการคลังตามกฎหมายวาดวย

เงินคงคลังและกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ

บรรดารายไดและผลประโยชนของสถานศึกษาตามวรรคหนึ่งที่ไมเปนนิติบุคคล รวมทั้ง

ผลประโยชนที่เกิดจากที่ราชพัสดุ เบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาลาศึกษา และเบี้ยปรับที่เกิดจากการผิด

สัญญาการซื้อทรัพยสินหรือจางทําของที่ดําเนินการโดยใชเงินงบประมาณใหสถานศึกษาสามารถจัดสรรเปน

คาใชจายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษานั้น ๆ ไดตามระเบียบที่กระทรวงการคลังกําหนด

มาตรา ๘๘ ใหรัฐจัดสรรงบประมาณแผนดินใหกับการศึกษาในฐานะที่มีความสําคัญสูงสุดตอ

การพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศโดยจัดสรรเปนเงินงบประมาณเพื่อการศึกษา ดังนี ้

(๑) จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเปนคาใชจายรายบุคคลที่เหมาะสมแกผูเรียนการศึกษาภาค

บังคับที่จัดโดยรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และเอกชนใหเทาเทียมกัน

(๒) จัดสรรทุนการศึกษาในรูปของกองทุนกูยืมใหแกผูเรียนที่มาจากครอบครัวที่มีรายไดนอย

ตามความเหมาะสมและความจําเปน

(๓) จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่นเปนพิเศษ ใหเหมาะสมและสอดคลอง

กับความจําเปนในการจัดการศึกษาสําหรับผูเรียนที่มีความตองการเปนพิเศษแตละกลุมตามมาตรา ๑๑ และ

มาตรา ๑๒ โดยคํานึงถึงความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาและความเปนธรรม ทั้งนี้ ใหเปนไปตาม

หลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในระเบียบสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

(๔) จัดสรรงบประมาณเปนคาใชจายดําเนินการและงบลงทุนใหสถานศึกษาของรัฐตาม

นโยบายแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติและภารกิจของสถานศึกษา โดยใหมีอิสระในการบริหารงบประมาณ

และทรัพยากรทางการศึกษา ทั้งนี้ ใหคํานึงถึงคุณภาพและความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา

(๕) จัดสรรงบประมาณในลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไปใหสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐที่

เปนนิติบุคคล และเปนสถานศึกษาในกํากับของรัฐหรือองคการมหาชน

(๖) จัดสรรกองทุนกูยืมดอกเบี้ยต่ําใหสถานศึกษาเอกชน เพื่อใหพึ่งตนเองได

(๗) จัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษาของรัฐและเอกชน

Page 31: Edu reform-draft

-๓๑-

มาตรา ๘๙ ใหรัฐจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาที่จัดโดยบุคคล ครอบครัว องคกรชุมชน

องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ตามความเหมาะสม

และความจําเปน

มาตรา ๙๐ ใหมีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการ

ใชจายงบประมาณการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับหลักการศึกษา แนวการจัดการศึกษาและคุณภาพ

มาตรฐานการศึกษา โดยหนวยงานภายในและหนวยงานของรัฐที่มีหนาที่ตรวจสอบภายนอก

หลักเกณฑและวิธีการในการตรวจสอบ ติดตามและการประเมิน ใหเปนไปตามที่กําหนดใน

ระเบียบสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

หมวด ๑๐

เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

มาตรา ๙๑ ใหสํานักงานนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษามีอํานาจหนาที่พิจารณา

เสนอนโยบาย แผน สงเสริม การพัฒนาและการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา รวมทั้งการประเมิน

คุณภาพและประสิทธิภาพของการผลิตและการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตอสภานโยบายการศึกษาแหงชาติ

เพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบ และศึกษา วิจัย และผลิตนวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อใชในการเรียนการสอนที่

คุณภาพและมาตรฐาน กําหนดการใชเทคโนโลยีทางการศึกษาที่เหมาะสมกับระบบการศึกษาของชาติในทุก

ระดับและทุกประเภท และการประสานความรวมมือในการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษากับผูประกอบการ

เอกชน ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

มาตรา ๙๒ ในการกําหนดทรัพยากรเพื่อการจัดการศึกษาที่ตองใชนวัตกรรมและเทคโนโลยี

สื่อการสอนทุกระดับที่ทันสมัยและเหมาะสมกับการจัดการศึกษาจาก ใหคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง

กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ และหนวยงานที่เกี่ยวของตองจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนํา

และโครงสรางพื้นฐานอืน่ ที่จําเปนตอการสงวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทศัน วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสาร

ในรูปอื่น เพื่อใชประโยชนสําหรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และ

การศึกษาพิเศษ รวมทั้งการทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมตามความจําเปน

มาตรา ๙๓ ใหจัดตั้งกองทุนพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจากเงินอุดหนุน

ของรัฐ คาสัมปทาน และผลกําไร ที่ไดจากการดําเนินกิจการดานสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ

โทรคมนาคมจากทุกฝายที่เกี่ยวของ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกรประชาชน รวมทั้งใหมีการลดอัตรา

คาบริการเปนพิเศษในการใชเทคโนโลยีดังกลาวเพื่อการพัฒนาคนและสังคม โดยใหใชจายเพื่อการศึกษา วิจัย

และพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวของกับนวัตกรรมและ

Page 32: Edu reform-draft

-๓๒-

เทคโนโลยีใหมีขีดความสามารถและความรูทักษะที่เพียงพอตอการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยี ทั้งนี้ ตามที่

กําหนดในกฎหมายวาดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

มาตรา ๙๔ ใหสํานักงานนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาจัดหรือจัดใหมีการผลิตและ

พัฒนาตนแบบของแบบเรียน ตํารา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพอื่น วัสดุอุปกรณ และเทคโนโลยีเพื่อ

การศึกษาอื่น

ใหสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา สํานักงานการมัธยมศึกษา และสํานักงาน

การอาชีวศึกษา เรงรัดพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต และมีการใหแรงจูงใจแกผูผลิตแบบเรียน ตํารา

หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพอื่น วัสดุอุปกรณ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตามวรรคหนึ่ง ทั้งนี้ โดยเปด

ใหมีการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม

มาตรา ๙๕ ผูเรียนมีสิทธิไดรับการพัฒนาขีดความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

ในโอกาสแรกที่ทําได เพื่อใหมีความรูและทักษะเพียงพอที่จะใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหา

ความรูดวยตนเองไดอยางเนื่องตลอดชีวิต

หมวด ๑๑

การพิทักษระบบคุณธรรมทางการศึกษา

มาตรา ๙๖ การจัดระเบียบการบริหารงานบุคคลของครู คณาจารย และบุคลากรทางการ

ศึกษาตามพระราชบัญญัตินี้ ใหคํานึงถึงระบบคุณธรรมดังตอไปนี้

(๑) การรับบุคคลเพื่อบรรจุเขารับราชการ เขาทํางานและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงตอง

คํานึงถึงความรูความสามารถของบุคคล ความเสมอภาค ความเปนธรรม และประโยชนของทางราชการ

(๒) การบริหารทรัพยากรบุคคล ตองคํานึงถึงผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพขององคกรและ

ลักษณะของงาน และผลสัมฤทธ์ิและประสิทธิภาพของการจัดการศึกษาตามนโยบายการศึกษาแหงชาติ โดย

ไมเลือกปฏิบัติอยางไมเปนธรรม

(๓) การพิจารณาความดีความชอบ การเลื่อนตําแหนง และการใหประโยชนอื่นแกครู

คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาตองเปนไปอยางเปนธรรมโดยพิจารณาจากผลงาน ศักยภาพ และความ

ประพฤติ และจะนําความคิดเห็นทางการเมืองหรือสังกัดพรรคการเมืองมาประกอบการพิจารณามิได

(๔) การดําเนินการทางวินัย ตองเปนไปดวยความยุติธรรมและโดยปราศจากอคต ิ

(๕) การบริหารทรัพยากรบุคคลตองมีความเปนกลางทางการเมือง

Page 33: Edu reform-draft

-๓๓-

มาตรา ๙๗ ครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษามีเสรีภาพในการรวมกลุมตามที่

บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ แตทั้งนี้ตองไมกระทบประสทิธิภาพในการบริหารราชการแผนดินและความตอเนื่องใน

การจัดทําบริการสาธารณะ และการจัดการศึกษาของชาติ โดยตองไมมีวัตถุประสงคทางการเมือง

หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการรวมกลุมตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่กําหนดใน

กฎหมายวาดวยการพิทักษระบบคุณธรรมทางการศึกษา

มาตรา ๙๘ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรมทาง

การศึกษา” ซึ่งสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติใหความเห็นชอบในการแตงตั้งประกอบดวย

(๑) กรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติสรรหาและแตงตั้ง

เปนประธานกรรมการ

(๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา ดานมัธยมศึกษา ดาน

อาชีวศึกษา ดานอุดมศึกษา และดานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จํานวนดานละหนึ่งคน

(๓) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมาย ดานการบริหารงานบุคคล และดานการบริหาร

ราชการแผนดิน จํานวนดานละหนึ่งคน

ใหเลขาธิการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติให เปนเลขานุการของคณะกรรมการ

พิทักษระบบคุณธรรมทางการศึกษา

กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) ใหคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา

คณะกรรมการการมัธยมศึกษา คณะกรรมการการอาชีวศึกษา คณะกรรมการการอุดมศึกษา และ

คณะกรรมการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยแลวแตกรณี เสนอชื่อผูทรงคุณวุฒิจํานวนดาน

ละสามคนตอสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ เพื่อพิจารณาคัดเลือกใหเหลือหนึ่งคน

กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๓) ใหสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติดําเนินการ

สรรหาและแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเหมาะสมและมีคุณธรรมเปนที่ยอมรับ

หลักเกณฑวิธีการสรรหา การแตงตั้ง คุณสมบัติ และลักษณะตองหาม วิธีการดําเนินงาน

คาตอบแทนหรือผลประโยชนตอบแทนอื่นๆ ของกรรมการพิทักษระบบคุณธรรมทางการศึกษาตามมาตรานี้

ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยการพิทักษระบบคุณธรรมทางการศึกษา

มาตรา ๙๙ ใหคณะกรรมการพิทกัษระบบคุณธรรมทางการศึกษา มีอํานาจหนาที ่

(๑) การพจิารณาเรื่องรองทุกขหรอือุทธรณคําสัง่ของผูบงัคับบัญชาของหนวยงานของรฐัที่จัด

การศึกษาในทุกระดับและทุกประเภท

(๒) การพิจารณาอุทธรณคําสั่งเกี่ยวกับการพักใชและการเพิกถอนใบอนุญาตของสถานศึกษา

และการไมรับรองคุณวุฒิการศึกษา

(๓) เสนอแนะตอสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ เพื่อใหคณะกรรมการการศึกษา

ปฐมวัยและประถมศึกษา คณะกรรมการการมัธยมศึกษา คณะกรรมการการอาชีวศึกษา คณะกรรมการการ

Page 34: Edu reform-draft

-๓๔-

อุดมศึกษา และคณะกรรมการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยดําเนินการจัดใหมีหรือปรับปรุง

นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลในสวนที่เกี่ยวกับการพิทักษระบบคุณธรรมทางการศึกษา

(๔) พิจารณาเรื่องการคุมครองระบบคุณธรรมตามกฎหมายวาดวยการพิทักษระบบคุณธรรม

ทางการศกึษา

(๕) ออกกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ และวิธีการเพื่อปฏิบัติการตามกฎหมายวาดวยการพิทักษ

ระบบคุณธรรมทางการศึกษา

บทเฉพาะกาล

....

Page 35: Edu reform-draft

รายนามคณะทํางานการปฏริูปการศกึษาชาติทั้งระบบ

สํานักงานผูตรวจการแผนดนิ

๑. ศาสตราจารยศรรีาชา วงศารยางกูร ประธานคณะทํางาน

ผูตรวจการแผนดิน

๒. ศาสตราจารย ดร.อุทมุพร จามรมาน คณะทํางาน

ที่ปรึกษาผูตรวจการแผนดิน

๓. ศาสตราจารยยุพา วงศไชย คณะทํางาน

ที่ปรึกษาผูตรวจการแผนดิน

๔. ดร.สริิกร มณีรินทร ผูทรงคุณวุฒิประจําคณะทํางาน

อดีตรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ

๕. นายกิตติรัตน มังคละครี ี ผูทรงคุณวุฒิประจําคณะทํางาน

อดีตเลขาธิการสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

๖. นายคมสัน โพธิ์คง ผูทรงคุณวุฒิประจําคณะทํางาน

รองคณบดีฝายวิชาการ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต

๗. ผูชวยศาสตราจารย ดร. ภูมิ มูลศิลป ผูทรงคุณวุฒิประจําคณะทํางาน

อาจารยประจําคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอสัสมัชัญ

๘. นายธนาชัย สุนทรอนันตชัย ผูทรงคุณวุฒิประจําคณะทํางาน

ผูชวยคณบดี คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ

๙. นางกรชนก ใจเกษม คณะทํางานและเลขานุการ

นักวิชาการอาวุโส สํานักงานผูตรวจการแผนดิน

๑๐. นางสาวขรมันตี ศิริฤทัยวัฒนา คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ

นักวิชาการ สํานักงานผูตรวจการแผนดิน

๑๑. นางสาวพีรญัญา โพธิเสถียร คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ

นักวิชาการ สํานักงานผูตรวจการแผนดิน