earth pressure theories - eng.sut.ac.th

25
1 www.geocities.com/soil4sut Lateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548 Lateral earth pressure and retaining structures .ดร.พรพจน ตันเส็ง download เอกสารนี้ไดจาก http://www.geocities.com/soil4sut 21 กุมภาพันธ 2549 สวนที2 - Theories 430421 Foundation Engineering 2 www.geocities.com/soil4sut Lateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548 โครงสรางกันดิน (Retaining structures) กําแพงกันดิน (Retaining walls) กําแพงเข็มพืด (Sheetpile walls)

Upload: others

Post on 29-Apr-2022

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

1

1

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

Lateral earth pressure and retaining structuresLateral earth pressure and retaining structures

อ.ดร.พรพจน ตันเส็ง

download เอกสารน้ีไดจาก http://www.geocities.com/soil4sut

21 กุมภาพนัธ 2549

สวนท่ี 2 - Theoriesสวนท่ี 2 - Theories

430421 Foundation Engineering

2

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

โครงสรางกนัดิน (Retaining structures)

กําแพงกันดิน(Retaining walls)

กําแพงเข็มพืด(Sheetpile walls)

Page 2: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

2

3

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

Gravity walls

Semigravity walls

Cantilever walls

ใชคอนกรีตที่ไมเสริมเหล็ก ตองออกแบบใหไมเกิดหนวยแรงดึงในคอนกรีต

ใชคอนกรีตเสริมเหล็กในปริมาณต่ํา ที่ใชเหล็กเสริมเพื่อลดปริมาณคอนกรีตที่จะตองใช

เปนกําแพงคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยพิจารณากําแพงสวนที่ยื่นจากแผนพื้นเปนคานยื่น

4

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

Sheet pile wall

Cantilever Anchored with

free end Anchored with

fixed end

Page 3: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

3

5

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

ชนิดของกําแพงกันดินเม่ือจําแนกจากสติฟเนสของกาํแพง

กําแพงทีมี่สติฟเนสสูง ไดแกโครงสรางกนัดินชนิด Gravity wall, Semi-gravity wall, Cantilever wall

กําแพงทีมี่สติฟเนสตํ่า ไดแกกําแพงเข็มพืดเหล็กซ่ึงจะมีขนาดบางกวา

กําแพงคอนกรีตเสริมเหล็ก

เข็มพืดเหล็ก

6

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

เปรียบเทยีบขนาดและสติฟเนสของกําแพง

800m

m

เปรียบเทยีบขนาดของเข็มพืดเหล็กกับกําแพงคอนกรีตเสริมเหล็ก

เปรียบเทยีบการแอนตัวของกําแพงเม่ือรับน้ําหนักบรรทกุเทากนั

Page 4: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

4

7

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

เปรียบเทยีบขนาดและสติฟเนสของกําแพง (ตอ)

8

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

ทฤษฎีที่ใชในการคํานวณแรงดันดินดานขาง

1) The Rankine Theory

2) The Coulomb Theory

Page 5: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

5

9

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

แรงดันดินดานขางของดินขึ้นอยูกับทิศทางการเคลื่อนตัวของกําแพง

กําแพงไมเคลื่อน (At rest)

กําแพงเคลื่อนออกจากดิน(Active)

กําแพงเคลื่อนตัวดันดิน (Passive)

ตัวอยางแสดงดัง Slide ตอไป

10

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

กําแพงเคลื่อนออกจากดิน (Active)

Page 6: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

6

11

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

กําแพงเคลื่อนตัวดันดิน (Passive)

12

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

ทฤษฏีแรงดันดินของ Rankine

Page 7: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

7

13

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

แรงดันดินดานขางในสภาพนิ่ง (At rest lateral earth pressure)

qK0 ( )HK γ0

14

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

คา σh คํานวณไดจากสมการ

uK vh += '0σσ

K0 = Coefficient of at rest earth pressure

Page 8: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

8

15

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

Jaky (1944)Normally consolidated soil

Alpan (1967)

Wroth and Houlsby (1985)

Over consolidated clay

Brooker และ Ireland’s (1965)

Normally consolidated clay

สมการผูเสนอชนิดของดิน

φsin10 −=K

( )pIK 007.004.00 +=

( )pIK 001.064.00 +=%400 −=pI%8040 −=pI

( ) ( ) ( )nncoc OCRKK 00 =

42.0 %,40 =< nI p32.0 %,40 => nI p

ประมาณโดยคา K0 โดยใชวิธี Empirical

16

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

แรงดันดินเม่ือดินเคล่ือนตัวดันกําแพง (Active earth pressure)(ในกรณีที่ไมคิดแรงเสียดทานระหวางดินกบักําแพง)

Page 9: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

9

17

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

แรงดันดินดานขางในสภาวะแอคทีฟ และแพซซฟีทีเ่สนอโดย Rankine (1857)

สมมุติฐาน

1. กําแพงอยูในแนวด่ิง

2. ไมมีแรงเสียดทานระหวางดินกับกําแพง

3. ดินถมหลังกําแพงอยูในแนวราบและไมมีหนวยแรงเฉือนเกิดข้ึนในระนาบราบและระนาบด่ิง

4. กําแพงแข็งและยาวไมสิน้สุดโดยดินเปนดินที่มีเนื้อสมํ่าเสมอ (homogeneous) และมีคุณสมบัติเหมือนกนัในทุกๆแกนที่พิจารณา (isotropic)

5. สภาวะของดินเร่ิมแรกจะตองอยูในสภาพนิ่ง (at-rest state)

18

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

สถานะของหนวยแรงเปรียบเทียบระหวางดินในสภาพนิ่งกับดินในสภาวะแอคทีฟ

vh = K0 v

= c + tan

h = Ka v

c

Ac cot

สถานะของหนวยแรงของดินในสภาพนิ่ง

สถานะของหนวยแรงของดินในสภาพแอคทีฟ (ดินเคล่ือนออกจากกําแพงจนวิบัติ)

vh K σσ ′= 0

ดินอยูในสภาพแอคทีฟ(สภาวะที่ดินวิบัติ)

ดินอยูในสภาพน่ิง(สภาวะเร่ิมตน)

vah K σσ ′=1 2

1

2

Page 10: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

10

19

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

การคํานวณแรงดันดานขางในสภาวะแอคทฟี

( )( ) 2/cot2

2/sinφσσ

σσφcA

R

hv

hv

++−

==

( )( )φσσ

σσφcot2

sinchv

hv

++−

=

( ) ( ) φφσφσ cos2sin1sin1 cvh −−=+

φφ

φφσσ

sin1sin12

sin1sin1 2

+−

+−

=c

vh

φφ

φφσσ

sin1sin12

sin1sin1

+−

+−

= cvh

จากสมการจะเหน็วาแรงดันดานขางแบบแอคทฟีสัมพนัธกบัหนวยแรงในแนวด่ิงและกําลังของดิน

20

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

Ka = Coefficient of active lateral earth pressure

aavh KcK 2'' −=σσ

สมการนี้จะเขียนในรูปแบบกระชับไดเปน

c = cohesion of soil

ϕϕ

sin1sin1

+−

=aK

ϕ = friction angle

Page 11: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

11

21

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

ในการที่จะเกิดสภาวะแอคทีฟนัน้กาํแพงจะตองเกิดการเคล่ือนตัวมากเพยีงพอ โดยปริมาณการเคล่ือนตัว

0.01H ถึง 0.04HCohesive soil

0.001H ถึง 0.004HGranular soil

ปริมาณการเคล่ือนตัวที่กอใหเกดิสภาวะแอคทฟีชนดิของดิน

22

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

จากสมการของแรงดันดินดานขางในสภาวะแอคทฟีสามารถนําไปเขียนเปน stress profile ไดดังรูป

aKc2−

aav KcK 2−σ

aavh KcK 2−σ=σ

z

Page 12: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

12

23

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

แรงดันดินเม่ือดินกําแพงเคล่ือนตัวดันดิน (Passive earth pressure)(ในกรณีที่ไมคิดแรงเสยีดทานระหวางดินกับกาํแพง)

24

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

สถานะของหนวยแรงเปรียบเทียบระหวางดินในสภาพนิ่งกับดินในสภาวะแพซซีฟ

= c + tan

h = K0 v v h = Kp v

c

Ac cot

R

สถานะของหนวยแรงของดินในสภาพนิ่ง

สถานะของหนวยแรงของดินในสภาพแพซซีฟ (ดินเคลื่อนเขาหากําแพงจนวิบัติ)

vh K σσ ′= 0

vph K σσ ′=1 2

ดินอยูในสภาพแพซซีฟ(สภาวะที่ดินวิบัติ)

ดินอยูในสภาพนิ่ง(สภาวะเร่ิมตน)

Page 13: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

13

25

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

การคํานวณแรงดันดานขางในสภาวะแพซซฟี

( )( ) 2/cot2

2/sinφσσ

σσφcA

R

hv

hv

++−

==

( ) ( ) φφσφσ cos2sin1sin1 cvh −−=+

φφ

φφσσ

sin1sin12

sin1sin1 2

−−

+

−+

=c

hv

φφ

φφσσ

sin1sin12

sin1sin1

−+

+

−+

= chv

26

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

Kp = Coefficient of passive lateral earth pressure

aavh KcK 2'' +=σσ

สมการนี้จะเขียนในรูปแบบกระชับไดเปน

c = cohesion of soil

ϕϕ

sin1sin1

−+

=pK

ϕ = friction angle

Page 14: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

14

27

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

ในการที่จะเกิดสภาวะแพซซีฟไดนัน้กาํแพงจะตองเกิดการเคล่ือนตัวมากเพยีงพอ ดังตาราง

0.005HDense sand

0.01HLoose sand

0.05HSoft clay

0.01HStiff clay

ปริมาณการเคล่ือนตัวที่กอใหเกดิสภาวะแพซซฟีชนดิของดิน

28

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

จากสมการของแรงดันดินดานขางในสภาวะแอคทฟีสามารถนําไปเขียนเปน stress profile ไดดังรูป

pKc2

ppvh KcK 2+σ=σ

ppv KcK 2+σ

z

Page 15: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

15

29

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

สรุปสมการที่ใชคํานวณแรงดันดินดานขาง

สภาวะแอคทฟี (Active)

Rankine (1857)

สภาวะแพซซฟี (Passive)

Rankine (1857)

สภาวะนิ่ง (At rest)

สมการสภาวะของดิน

vh K σσ ′=′ 0

aavh KcK 2'' −=σσ

ϕϕ

sin1sin1

+−

=aK

apvh KcK 2'' +=σσ

ϕϕ

sin1sin1

−+

=pK

30

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

สรุปแรงดันดินดานขางในสภาวะตางๆ

Page 16: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

16

31

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

ตัวอยางที่ 1 จงคํานวณหาแรงดันดินดานขางตอหนึ่งหนวยความยาวของกําแพงในสภาพที่กําแพงไมมีการเคล่ือนตัว

ดินไมมีการเคล่ือนตัวดังนัน้กาํแพงอยูในสภาพนิ่ง

ϕsin10 −=K

( ) 41.036sin110 =−= oK

คํานวณหนวยแรงประสิทธิผลในแนวด่ิง แลวจึงคํานวณหนวยแรงดันดินดานขางจากหนวยแรงประสิทธิผลในแนวด่ิง

uv −=′ σσ

vh K σσ ′=′ 0

( ) 47.032sin120 =−= oK

32

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

แรงดันดินเม่ือกาํแพงไมมีการเคล่ือนตัว (At rest state)

3.00

3.00

)(t/m2hσ′

1F

2F

3F

)(t/m2hσ′

z z

5F

4F

t/m14.3)3)(09.2(5.01 ==Ft/m2.7)3)(4.2(2 ==F

t/m70.1)3)(4.253.3(5.03 =−=F

t/m46.2)3)(82.0(4 ==Ft/m82.2)3)(94.0(5 ==F

t/m32.1782.246.27.12.714.3 =++++=∑ xF

Page 17: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

17

33

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

ตัวอยางที่ 2 จากตัวอยางที ่1 จงคํานวณแรงดันดินดานขางทีก่ระทําตอกาํแพงเม่ือกําแพงเคล่ือนตัวออกจากมวลดิน (active state)

เม่ือกาํแพงเคล่ือนตัวออกจากมวลดิน ดินจะอยูในสภาพแอคทีฟ (active state)

ϕϕ

sin1sin1

+−

=aK

259.036sin136sin1

=+−

=o

o

aK

คํานวณหนวยแรงดันดินดานขางจากหนวยแรงประสทิธิผลในแนวด่ิง

aava KcK 2−′=′ σσ

ขอพึงระวัง บริเวณรอยตอของช้ันดิน ถึงแมวาจะมีหนวยแรงประสทิธิผลในแนวด่ิงเทากัน แตหนวยแรงดานขางไมจําเปนจะตองเทากนั (ดูจากตัวอยาง)

34

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

3.00

3.00

)(t/m2aσ ′

1F

2F

3F

z z

4F

5F

t/m98.1)3)(32.1(5.01 ==F

t/m71.4)3)(57.1(2 ==F

t/m10.1)3)(57.13.2(5.03 =−=F

)(t/m2aσ ′

t/m56.1)3)(52.0(4 ==F

t/m83.1)3)(61.0(5 ==F

t/m18.1183.156.110.171.498.1 =++++=∑ xF

แรงดันดินเม่ือกาํแพงเคล่ือนที่ออกจากมวลดิน (Active state)

Page 18: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

18

35

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

ตัวอยางที่ 3 จากตัวอยางที ่1 จงคํานวณแรงดันดินดานขางทีก่ระทําตอกาํแพงเม่ือกําแพงเคล่ือนเขาหามวลดิน (passive state)

3.00

3.00

1F

z

)(t/m2pσ′

2F3F

z

4F

5F

)(t/m2pσ ′

t/m46.29)3)(64.19(5.01 ==F

t/m8.49)3)(60.16(2 ==F

t/m72.11)3)(6.1641.24(5.03 =−=F

t/m1.23)3)(7.7(4 ==F

t/m53.19)3)(51.6(5 ==F

t/m61.13353.191.2372.118.4946.29 =++++=∑ xF

แรงดันดินเม่ือกาํแพงเคล่ือนที่เขาหามวลดิน (Passive state)

36

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

ความลึกของการขุดดินโดยไมตองใชคํ้ายนัดานขาง

Page 19: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

19

37

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

สําหรับดินเหนยีวซ่ึงอยูในสภาวะ undrained เราสามารถคํานวณความลึกของการขุดโดยไมตองใชคํ้ายนัได

ในสภาวะ undrained ของดินเหนียว ϕ=0°, c =su คา Ka = 1.0

ua sz 2−= γσ

ในกรณีที่ σa = 0

γu

cracksz 2

=

ความลึก zcrack คือระยะที่เกิดแรงดึงข้ึนในเนือ้ดิน แตดินรับแรงดึงไดนอยจึงเกิดรอยแยกข้ึนที่ผิวดิน

ดังนัน้ เม่ือคิดความลึกที่จะทาํใหเกิดสภาวะสมดุลในแนวแกน x (Hcr) จะเปนสองเทาของ zcrack

γu

crsH 4

=

38

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

รอยแยกเนื่องจากหนวยแรงดึงซ่ึงเกิดในดินหลังกาํแพง

z cra

ck

Hcr

z

0=aσ

us2−

Page 20: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

20

39

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

รอยแยกเนื่องจากหนวยแรงดึงในดิน เกิดข้ึนเม่ือดินมีการเคล่ือนตัวจนเกิดสภาวะแอคทฟี

Tension crack

40

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

ตัวอยางที่ 4 จากช้ันดินดังรูปจงคํานวณความลึกของ tension crack และความลึกของดินที่สามารถขุดไดโดยไมตองใชคํ้ายนั

( ) m77.18.16.12==crackz

t= 1.8 t/m3

= 1.6 t/m2

ความลึกของ tension crack

ความลึกของดินที่ขุดไดโดยไมตองใชคํ้ายนั

( ) m56.38.16.14==crH

Page 21: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

21

41

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

ทฤษฎีแรงดันดินของ Coulomb

42

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

นาย Coulomb ซ่ึงเปนวิศวกรชาวฝรั่งเศสไดพัฒนาวิธีการคํานวณแรงดันดินดานขางโดยใชวิธี Trial wedge ในป 1776 ซ่ึงเปนเวลาเกือบหน่ึงศตวรรษกอนที่ Rankine ซ่ึงเปนวิศวกรชาวอังกฤษจะพัฒนาทฤษฎีแรงดันดินของเขาขึ้นมา

ซ่ึงแรงดันดินดานขางที่คํานวณโดยวิธีน้ีจะนําแรงเสียดทานระหวางผิวของกําแพงกับดินเขามาพิจารณาดวย

ในการคํานวณจะใชวิธี Limit Equilibrium ซ่ึงมีหลักในการคํานวณคือ

1. ทดลองสมมุติแนวการวิบัติที่เปนไปได

2. พิจารณาดินที่อยูเหนือแนววิบัติเปนกอนดินชิ้นเดียว และหาแรงที่กระทําตอกอนดินน้ี

3. ทดลองเลือกแนวการวิบัติแนวอ่ืน ซ่ึงแตละแนววิบัติจะใหคําตอบแรงดันดินดานขาง 1 คา ดังน้ันแรงดันดินดานขางสูงที่สุดจึงเปนแรงดันดินที่คํานวณโดยวิธีของ Coulomb

รายละเอียดจะไดแสดงในหนาตอไป

Page 22: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

22

43

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

W

P

NT

F

1. ทดลองสมมุติแนวการวิบัติที่เปนไปได

2. พิจารณาดินที่อยูเหนือแนววิบัติเปนกอนดินชิ้นเดียว และหาแรงที่กระทําตอกอนดินน้ี

3. ทดลองเลือกแนวการวิบัติแนวอ่ืน ซ่ึงแตละแนววิบัติจะใหคําตอบแรงดันดินดานขาง 1 คา ดังน้ันแรงดันดินดานขางสูงที่สุดจึงเปนแรงดันดินที่คํานวณโดยวิธีของ Coulomb

44

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

ตัวอยาง: จงคํานวณแรงดันดินดานขางแบบแอคทีฟที่กระทําตอกําแพงที่มีความสูง 6.1 เมตร และมี ϕ=30° ดังรูป

ในการคํานวณแรงดันดินดานขางเราจะทดลองใชวิธี trial wedge ในการคํานวณ ซึ่งมีข้ันตอนดังนี้คือ

1. ทดลองสมมุติแนวการวิบัติที่เปนไปได เพือ่ความสะดวกเราจะทดลองแนวการวิบัติที่ทํามุม θ กับระนาบราบเริ่มต้ังแต 45 องศา ไปจนถึง 79 องศา โดยเพิ่มมุมครั้งละ 1 องศา

3kN/m 3.17=γo30=ϕ

?=P

Page 23: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

23

45

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

2. เขียน Free body diagram ของดินที่อยูเหนือแนววิบัติ และหาแรงที่กระทําบน Free body นี้ โดยใชหลักการสมดุลของแรง

2.1 น้ําหนักของกอนดิน

W

P

NT

F

h

θtanh

( )θθ tan2

1tan2

1 2hhhW =

=

2.2 แรง F ∑ = 0yF

( ) WF =−ϕθcos

( )ϕθ −=

cosWF

2.3 แรง P ∑ = 0xF

( )ϕθ −= sinFP

หมายเหตุ: หรืออาจจะใชวิธี Force polygon ในการคํานวณก็ได

WF

P

46

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

3. ทดลองเลอืกแนวการวิบัติแนวอื่น แลวตรวจสอบวาแนวการวิบัติใดใหคา P สูงที่สุดก็จะเปนคําตอบ

แรง P ที่กระทําตอกําแพง(kN)

แรง F ที่กระทําบนระนาบวิบัติ(kN)

น้ําหนักดิน W(kN)

มุม θ(องศา)

67.688.29356.7580

76.0102.24468.4178

83.1115.52580.2576

89.1128.30392.2974

94.2140.727104.5872

98.3152.928117.1570

101.6165.026130.0468

104.1177.134143.3066

105.9189.358156.9864

106.9201.804171.1462

(Max) 107.3214.578185.8360

106.9227.788201.1258

105.9241.548217.1056

54

52

50

48

46

44

233.85

251.47

270.08

289.81

310.82

333.30

255.980

271.219

287.411

304.724

323.349

343.506

104.1

101.6

98.3

94.2

89.1

83.1

Page 24: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

24

47

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

กราฟความสัมพันธระหวางมุมของระนาบวิบัติกับแรงที่กระทําตอกําแพง จะเห็นวาที่มุม 60 องศา จะมีแรงกระทําตอกําแพงสูงที่สุดเทากับ 107.3 kN

0

20

40

60

80

100

120

45 55 65 75 85

มุม θ (องศา)

แรงที่กระทําตอกําแพง

P (k

N/m

^2)

48

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

ในกรณีที่คิดความฝดระหวางกําแพงกับดิน และดินถมไมอยูในระนาบราบ

การคํานวณแรงดันดินที่กระทําตอกําแพงก็ยังคงใชวิธี Limit equilibrium เหมือนเดิม ที่แตกตางกันคือแรง P จะไมกระทําในแนวราบเหมือนกับในกรณีของกําแพงที่ไมมีแรงเสียดทานดังรูป

Page 25: earth pressure theories - eng.sut.ac.th

25

49

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

1. ทดลองสมมุติแนวการวิบัติที่เปนไปได

2. พิจารณาดินที่อยูเหนือแนววิบัติเปนกอนดินชิ้นเดียว และหาแรงที่กระทําตอกอนดินน้ี

W

P

NT

F

W

F

P

Free body diagram Force polygon

50

www.geocities.com/soil4sutLateral earth pressure and retaining structures – Term 3/2548

3. ทดลองเลือกแนวการวิบัติแนวอ่ืน ซ่ึงแตละแนววิบัติจะใหคําตอบแรงดันดินดานขาง 1 คา ดังน้ันแรงดันดินดานขางสูงที่สุดจึงเปนแรงดันดินที่คํานวณโดยวิธีของ Coulomb

แนวที่

1

แนวที่ 2

แนวที่

3

แรงที่กระทําตอกําแพง

maxP

แนวที่

1

แนวที่

2

แนวที่

3