commom problems in trauma of elderly

32
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล COMMON PROBLEMS IN TRAUMA OF ELDERLY

Upload: krongdai-unhasuta

Post on 27-Jun-2015

538 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: Commom problems in trauma of elderly

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาล ัยมหิดล

COMMON PROBLEMS

IN TRAUMA OF ELDERLY

Page 2: Commom problems in trauma of elderly

ข้อมูลประชากรประเทศไทย

ประชากร จ านวน

ทั้งประเทศ ๖๔,๖๒๓,๐๐๐

แยกตามเพศ ชาย ๓๑,๔๓๘,๐๐๐

หญิง ๓๓,๑๘๕,๐๐๐

แยกตามกลุ่มอายุ ๖๐ ปี ๙,๕๑๗,๐๐๐

๖๕ ปี ๖,๔๐๘,๐๐๐

อายุคาดเฉลี่ย ๖๐ ปี ชาย ๑๙.๙

หญิง ๒๓.๑

อายุคาดเฉลี่ย ๖๕ ป ี ชาย ๑๖.๓

หญิง ๑๙.๑

สถาบันวิจยัประชากรและสังคม, ๒๕๕๖

Page 3: Commom problems in trauma of elderly

อุบัติเหตุของผู้สูงอายุ และสาเหตุที่พบบ่อย

• ลื่นหกล้ม

• ถูกรถเฉี่ยวชน

• พลัดตกหกล้ม

• ไฟไหม้ น้ าร้อนลวก

• อื่นๆ : หยิบยาผิด

ใช้ยาผิด

• กระดูกสะโพกแตกหัก

(hip fracture)

• กระดูกเชิงกรานแตกหัก

• บาดเจ็บที่ศีรษะ

(traumatic brain injury)

• กระดูกซี่โครงแตกหัก

(rib fractures)

• อื่นๆ: แผลไหม,้ แพ้ยา

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 4: Commom problems in trauma of elderly

“ไม่รู้ ไม่ได้ท า และจ าไม่ได้”

• ชีวิตประจ าวันของผู้สูงอายุ ที่อยู่กับสภาวะ

การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย และการเสื่อม

ของอวัยวะ

• เกรงใจ

• อาย

• กลัว

• กังวล

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 5: Commom problems in trauma of elderly

สาเหตุที่ท าให้เกิดอุบัติเหตุ

• มองเห็นไม่ชัด หูตึง ทรงตัวไม่ดี

• ปัจจัยสิ่งแวดล้อม เช่น

• แสงสว่างไม่เพียงพอ

• พื้นไม่เรียบ เปียกลื่น

• เสื้อผ้าที่สวมใส่รุ่มร่าม

• รองเท้าหลวม ไม่กระชับ

• ผลข้างเคียงของยาที่รบัประทาน

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 6: Commom problems in trauma of elderly

ประเด็นปญัหาทีพ่บ

•มีการบาดเจ็บร่วมกับอาการซึม สับสบ

หรือจ าเหตุการณ์ไม่ได้

•มีการบาดเจ็บร่วมกับการตอบสนองช้า

•มีการบาดเจ็บรว่มกับอาการ stroke

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 7: Commom problems in trauma of elderly

ปัจจัยที่มีผลต่อการบาดเจ็บ

ของผู้สูงอายุ

• อายุ

• คะแนนความรุนแรงของการบาดเจ็บ

• กลไกการบาดเจ็บ

• ต าแหน่งการบาดเจ็บ

• เวลาที่ได้รับบาดเจ็บน้อยกว่า 24 ชั่วโมง

และมากกว่า 24 ชั่วโมง

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 8: Commom problems in trauma of elderly

ผู้สูงอายุที่ได้รับอุบัติเหตุ ควรได้รับการดูแล

รักษาในศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บ (trauma

center) เพราะมีความพร้อมทั้งอุปกรณ์

เครื่องมือ และบุคลากร ในการให้การดูแล

รักษา

ACS, 2012

Page 9: Commom problems in trauma of elderly

รายการ ศูนย์บรบิาลผูบ้าดเจ็บ ระดบั 1 ระดบั 2 ระดบั 3 ระดบั 4

1. พยาบาลทีผ่า่นการฝึกอบรม

ดา้นการบาดเจ็บอยา่งน้อย 1

คน ประจ าบรเิวณการชว่ยชีวติ

ฉุกเฉิน ตลอดเวลา

2. พยาบาลทีผ่า่นการฝึกอบรม

การชว่ยฟ้ืนคนืชีพข ัน้สูงประจ า

อยูใ่นคณะผูบ้รบิาลผูป่้วย

บาดเจ็บ

คูม่ือมาตรฐานศนูย์บรบิาลผูบ้าดเจ็บส าหรบัประเทศไทย, 2554

TRAUMA CENTER

Page 10: Commom problems in trauma of elderly

รายการ ศูนย์บรบิาลผูบ้าดเจ็บ ระดบั 1 ระดบั 2 ระดบั 3 ระดบั 4

1. พยาบาลทีเ่กีย่วขอ้งมีทกัษะการ

พยาบาลผูป่้วยบาดเจ็บ

2. พยาบาลทีผ่า่นการฝึกอบรม

เฉพาะทางการพยาบาลผูป่้วย

บาดเจ็บ

TRAUMA CENTER

คูม่ือมาตรฐานศนูย์บรบิาลผูบ้าดเจ็บส าหรบัประเทศไทย, 2554

Page 11: Commom problems in trauma of elderly

TRAUMA CENTER

คูม่ือมาตรฐานศนูย์บรบิาลผูบ้าดเจ็บส าหรบัประเทศไทย, 2554

เครือ่งมือ ศูนย์บรบิาลผูบ้าดเจ็บ

ระดบั 1 ระดบั 2 ระดบั 3 ระดบั 4

1. เครือ่งมือชว่ยชีวติฉุกเฉิน

2. เครือ่งมือในการเฝ้าระวงัตดิตาม

อาการ

3. เครือ่งมือผา่ตดัฉุกเฉิน -

4. ยา เวชภณัฑ์ และอุปกรณ์การ

ชว่ยชีวติ

Page 12: Commom problems in trauma of elderly

ผู้สูงอายุที่ได้รับอุบัติเหตุที่มีอายุมากขึ้น

มักได้รับ triage ต่ ากว่าที่เป็นจริง (under triage)

ท าไม

การ Triage จึงมีความส าคัญ ?

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 13: Commom problems in trauma of elderly

TRIAGE

คน้หาภาวะคกุคามชีวติ ระบุความรุนแรงการบาดเจ็บ/ความเจ็บป่วย จดัล าดบัในการดแูลรกัษา

Ventilation

Oxygenation

Perfusion

A Airway

B Breathing

C Circulation

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 14: Commom problems in trauma of elderly

ผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 55 ปี ควรส่งไป

รับการรักษา ที่ Trauma center

• ผู้สูงอายุที่มีคะแนน TS น้อยกว่า 12 คะแนน

จะมีอัตราตายสูงถึง 65%

• การหายใจน้อยกว่า 10 ครั้ง/นาที จะมีอัตรา

ตายสูง ถึง 100%

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 15: Commom problems in trauma of elderly

TRAUMA SCORE = 1+2+3+4+5

1. GCS 2. SBP 3. RR

14-15 = 5 90 = 4 10-24 = 4

11-13 = 4 70-90 = 3 25-35 = 3

8-10 = 3 59-69 = 2 35 = 2

5-7 = 2 50 = 1 10 = 1

3-4 = 1 0 = 0 0 = 0

4. Respiratory effort 5. Capillary refill

Normal = 1 Normal = 2

Shallow = 0 Delay = 1

Retractions = 0 None = 0

คะแนน TS น้อยกว่า 12 คะแนน จะมีอัตราตายสูงถึง 65%

Page 16: Commom problems in trauma of elderly

Initial Assessment

Airway and C-spine

protection

patent airway

Obstructed airway

Breathing and

ventilation

- RR,

- Breath

sounds,

- Chest

movement

Circulation and control

bleeding

- SBP,

- SI,

- Signs of

shock

ค้นหาภาวะคกุคามชีวติ

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 17: Commom problems in trauma of elderly

ASSESSMENT SEVERITY

OF HYPOVOLEMIC SHOCK

Allgower’s shock index

SI = HR SBP

0.5-0.6 = normal

0.8 = 10-20 %

1.0 = 20-30 %

1.1 = 30-40 %

1.5-2.0 = 40-50 %

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 18: Commom problems in trauma of elderly

TRAUMATIC SHOCK

เซลล์เน้ือเยือ่ขาดออกซเิจน

และมีการก าซาบออกซเิจนไมเ่พียงพอ

เน่ืองจากการบาดเจ็บจากอบุตัเิหต ุ

• Hypovolemic shock

• Cardiogenic shock

• Spinal shock

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 19: Commom problems in trauma of elderly

Trauma Treatment for Nurses

Follow Advance Trauma Life Support (ATLS©)

Airway and

C-spine protection

Breathing and

ventilation Circulation and

control bleeding Disability

ความรูส้กึตวั Exposure

การบาดเจ็บ

ประเมนิการอุดก ัน้ทางเดนิหายใจ

เปิดทางเดนิหายใจ

Clear airway และใส ่ airway

ให ้O2 mask with reservoir

bag 10-12 L/M

เตรียมใสท่อ่ช่ว่ยหายใจ

ประเมนิ HR, V/S, signs of shock

หา้มเลือด กรณีทีม่แีผลเลือดออก

เปิดเสน้ ให ้IV อุณหภูม ิ39

หม่ผา้

เจาะเลือด Hct., G/M

ตรวจรา่งกายศีรษะ-ปลาย

เทา้

ซกัประวตั ิMIVT,

AMPLE

ดามสว่นทีบ่าดเจ็บ

ลา้งแผล ท าแผล เย็บแผล

RICE

ประเมนิการหายใจ การเคลือ่นไหวของทรวงอก

เสียงหายใจ, คา่ O2 sat

ชว่ยการหายใจ โดย self inflating bag O2 100 %

เตรียมเครือ่งชว่ยหายใจ

ประเมนิระดบัความรูส้กึตวั (AVPU)

ประเมนิ GCS, pupils

เตรียมสง่ตรวจวนิิจฉยั (X-ray, CT)

เตรียมท าหตัถการ สง่หอ้งผา่ตดั

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 20: Commom problems in trauma of elderly

ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง

• อายุ > 50 ปี จะมีโอกาสเสียชีวิตมากกว่าผู้ที่มีอายุ

< 30 ปี 2.2 เท่า

• อาการของผู้ป่วยขึ้นอยู่กบั V/S 15 นาที แรกรับที่

ผิดปกติ และมีโอกาสเสียชีวิตมากกว่า 3 เท่า ของผู้

ที่มีสัญญาณชีพปกติ

(Merz, et al., 2011; Lichtveld et al., 2008)

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 21: Commom problems in trauma of elderly

ATLS : Advance Trauma Life Support

1 survey 2 survey

Airway Maintenance

with Cervical Spine

Protection

Breathing: ventilation

and oxygenation

Circulation with

hemorrhage control

Disability: Brief

neurologic examination

Exposure/

Environmental control

Head to toe

examination

History:

MIVT

(mechanism of

injury, injury

sustained, V/S,

treatment)

AMPLE

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 22: Commom problems in trauma of elderly

• AMPLE

Allergies

Medications,

Past illness

Last meal,

Events related to injury

• MIVT

Mechanism of injury

Injury sustained

Vital signs

Treatment

SECONDARY SURVEY

• GCS score, size, shape, reaction

• Lacerations, fractures

• Deformity, crepitus

• Deformity, emphysema

• Deformity, bruise

• Pain, tenderness

• Fracture, tenderness

• Motor response, pain response

• Deformity, abnormalities

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 23: Commom problems in trauma of elderly

GCS, SBP, RR

• GCS 8 ท าใหห้วัใจเตน้เร็วขึน้

• เมือ่สูญเสยีเลือด 470 มล. SBP

• ผูป่้วยทีม่ีภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ RR

• Revised Trauma Score (GCS, SBP, RR)

ท านายอตัราการเสยีชีวติในผูป่้วยอบุตัเิหตุไดด้ทีีส่ดุ

(Ley, et al., 2012; Campbell, et al., 2012; Guly, et al., 2010; Oyetunji, et al., 2010)

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 24: Commom problems in trauma of elderly

REVISED TRAUMA SCORE

RTS = 0.9368 GCS + 0.7326 SBP + 0.2908 RR

GCS SBP RR Coded Value

13-15 >89 10-29 4

9-12 76-89 >29 3

6-8 50-75 6-9 2

4-5 1-49 1-5 1

3 0 0 0

Page 25: Commom problems in trauma of elderly

ตัวบ่งชี้ส าคัญในการดูแล

ผู้สูงอายุที่มีการบาดเจ็บ

• อายุ

• อัตราการหายใจ

• admission BP, GCS, TS, RTS, ISS

• Initial management

อัตราตายและความพกิาร จากอุบัติเหตขุองผู้สูงอาย ุ

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 26: Commom problems in trauma of elderly

MONITORING

Assure life-

threatened conditions

Continuous monitoring

ABCDE

Relief of severe

pain

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 27: Commom problems in trauma of elderly

ประเด็นปญัหาทีพ่บ

•มีการบาดเจ็บร่วมกับอาการซึม สับสบ หรือ

จ าเหตุการณ์ไม่ได้

• แยกการเสื่อมสภาพทางสรีระของวัยที่สูงอายุ จาก

การบาดเจ็บ หรือภาวะโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่

• กรณีบาดเจ็บที่ศีรษะ มีอาการซึมหลังได้รับ

บาดเจ็บ หรือ หน้ามืด เป็นลม หรือฤทธิ์ของยา

ที่รับประทานแล้วท าให้เกิดการบาดเจ็บ

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 28: Commom problems in trauma of elderly

ประเด็นปญัหาทีพ่บ

•มีการบาดเจ็บร่วมกับการตอบสนองทีช่้า

• ต้องแยกให้ได้ว่า ระดับความรู้สึกตัว (level of

conscious) ที่ประเมินได้ เป็นเพราะการเสื่อมสภาพ

ทางสรีระของวัย หรือพยาธสิภาพ

• สายตาไม่ดี มองไม่เห็น หูได้ยินเสียงชัดเจน มีผล

ท าให้การตัดสินใจช้า ไม่สามารถตอบสนองได้

ทันที

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 29: Commom problems in trauma of elderly

ประเด็นปญัหาทีพ่บ

•มีการบาดเจ็บร่วมกับอาการ stroke

• มีอาการอ่อนแรงแล้วท าให้เกิดอุบัติเหตุ หรือ

ภายหลังได้รับอุบัติเหตุแล้วจึงมีแขน ขา อ่อน

แรง ซึ่งก่อนหน้านี้ไม่มีอาการดังกล่าว

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 30: Commom problems in trauma of elderly

“ไม่รู้ ไม่ได้ท า และจ าไม่ได้”

• การเข้าใจในการใช้ชีวิตประจ าวันของ

ผู้สูงอายุ

• การรู้จักความเสื่อมและการเปลี่ยนแปลง

ของอวัยวะ

• การประเมินและและเฝ้าสังเกต

อัตราตายและความพิการ จากอุบัติเหตุของผู้สูงอายุ

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 31: Commom problems in trauma of elderly

การป้องกันอุบัติเหตุ

• การสวมใส่สีเสื้อผา้สว่าง

• การสวมรองเท้าที่กระชับ

• ไมใ่ส่ฟันปลอมขณะนอนในเวลากลางคืน

• การขอความช่วยเหลือขณะที่ต้องข้ามถนน

• การใช้ไม้เท้าช่วยเหลือ

• การใช้ร่มใสไม่ปิดบังทิศทาง

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

Page 32: Commom problems in trauma of elderly

การปกป้องสุขภาพ

• การรักษาความชุ่มชื้นของผิวหนัง

• การบริหารการหายใจ

• การเหยียดแขน ขา เต็มที่

• การตรวจสุขภาพทุก 6 เดือน

“ลดอุบัติเหตุในผู้สูงอาย”ุ

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต