brochure

3
การฝังเข็ม (Acupuncture) งค์การอนามัยโลก ( WHO) ได้ประกาศ ยอมรับการรักษาโรค และบรรเทาอาการด้วย วิธีฝังเข็มโดยแพทย์แผนจีนผูได้รับใบประกอบวิชาชีพแพทย์ แผนจีน จากกองประกอบโรค ศิลปะ กระทรวงสาธารณสุข ไว้ ดังนีโรคที่สามารถรักษาด้วยการฝังเข็ม กลุ่มอาการปวดต่างๆ อัมพฤกษ์ -อัมพาต โรคทางหู เช่น มีเสียงดัง ผิดปกติในหู โรคภูมิแพ้ หวัดเรื้อรัง และ หอบหืด โรคเครียด นอนไม่หลับ ซึมเศร้า โรคทางผิวหนัง เช่น สิว ฝ้า ผมร่วง โรคอัลไซเมอร์ โรคพาร์กินสัน โรคระบบทางเดินอาหารและ ลาไส้ ริดสีดวงทวาร โรคความดันโลหิตสูง-เลิกยาเสพติด เช่น สุรา บุหรี เสือมสมรรถภาพทางเพศ การรักษาที่ได้ผลเด่นชัดเป็นพิเศษ อาการปวด ปวดต้นคอเรื้อรัง หัวไหล่ ข้อศอก สันหลัง ปวดเอว ปวดหัวเข่า ปวดจากโรครูมาตอยด์ ปวดจากการเคล็ดขัดยอก ปวด ประจาเดือน ปวดนิวในถุงน้าดี ปวด ศีรษะซึงมีสาเหตุมาจากความเครียด หรือก่อนการมีประจาเดือน ปวดไม เกรน ปวดหลังปวดในระบบทางเดิน ปัสสาวะ ปวดเส้นประสาทบริเวณ ต่างๆ อาการทัวไป อัมพฤกษ์ และ ผลข้างเคียงหลังจากป่วยด้วยโรค ทางสมอง ความดันโลหิตสูงหรือต

Upload: manangioma-man

Post on 26-Oct-2015

11 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

-

TRANSCRIPT

Page 1: Brochure

1

การฝังเข็ม

(Acupuncture) ง ค์ ก า ร อ น า มั ย โ ล ก

(WHO) ได้ประกาศ

ยอมรับการรักษาโรค

และบรรเทาอาการด้วย

วิธีฝังเข็มโดยแพทย์แผนจีนผู้

ได้รับใบประกอบวิชาชีพแพทย์

แผนจีน จากกองประกอบโรค

ศิลปะ กระทรวงสาธารณสุข ไว้

ดังนี้

โรคทีส่ามารถรักษาดว้ยการฝงัเขม็

กลุ่มอาการปวดต่างๆ

อัมพฤกษ-์อัมพาต

โรคทางหู เช่น มีเสียงดัง

ผิดปกติในหู

โรคภมูิแพ ้ หวัดเรื้อรัง และ

หอบหืด

โรคเครยีด นอนไม่หลับ

ซึมเศร้า

โรคทางผิวหนัง เช่น สิว ฝ้า

ผมรว่ง

โรคอัลไซเมอร ์

โรคพารก์ินสัน

โรคระบบทางเดินอาหารและ

ล าไส้

ริดสีดวงทวาร

โรคความดันโลหิตสูง-ต า

เลิกยาเสพติด เช่น สรุา บุหรี

เสื อมสมรรถภาพทางเพศ

การรักษาทีไ่ดผ้ลเดน่ชดัเปน็พเิศษ

อาการปวด ปวดต้นคอเรื้อรัง

หัวไหล่ ข้อศอก สนัหลัง ปวดเอว

ปวดหัวเข่า ปวดจากโรครูมาตอยด ์

ปวดจากการเคล็ดขัดยอก ปวด

ประจ าเดือน ปวดนิ วในถุงน้ าด ี ปวด

ศีรษะซึ งมีสาเหตุมาจากความเครียด

หรือก่อนการมีประจ าเดือน ปวดไม

เกรน ปวดหลังปวดในระบบทางเดิน

ปัสสาวะ ปวดเส้นประสาทบริเวณ

ต่างๆ

อาการทั วไป อัมพฤกษ์ และ

ผลข้างเคียงหลังจากปว่ยด้วยโรค

ทางสมอง ความดันโลหิตสูงหรือต า

Page 2: Brochure

2

งูสวัด เม็ดเลือดขาวน้อยกว่าปกต ิ

สมรรถภาพทางเพศถดถอย ภมูิแพ ้

หอบหืด หวาดวติกกังวล นอนไม่หลับ

แพ้ท้อง การเลิกยาเสพติด เป็นต้น

การฝงัเขม็ (Acupuncture) คอือะไร?

การฝงัเขม็ เป็นวิธีการแทงเขม็รกัษา

โรคด้วยการใช้เข็มซึ งมีหลายขนาด

แทงลงไปตรงต าแหนง่ของจุดฝังเขม็

ตามอวยัวะต่างๆ ของร่างกาย โดย

ใช้หลักการรกัษาของแพทย์แผนจีน

หลักการรกัษาดว้ยการฝงัเขม็ ไม่เพียงแต่จะช่วยให้หลอด

เลือดบริเวณที ปกัเข็มขยายตัวเท่านั้น

แต่หลอดเลือดฝอยทั วร่างกายก็จะมี

การขยายตัวอย่างเหมาะสม ซึ งมผีล

ท าให้เน้ือเยื อทั งร่างกายได้รับ

สารอาหารและขจัดของเสียที คั งค้าง

ไดด้ี

การฝังเขม็ยังสามารถออก

ฤทธิ์กระตุ้นเพื อปรับการท างานของ

อวัยวะอื น ๆ ที อยู่ห่างไกลออกไปจาก

จุดฝังเข็มได้อีกดว้ย

ก า ร ค้ นค ว้ า ใ นด้ า นก า ร

ฝังเข็มพบว่า การฝังเข็ม สามารถ

กระตุ้นสมองให้หลั งสารออกมาหลาย

ชนิ ด ที ส า คั ญคื อ เ อ น ดอ ร์ ฟิ น

(Endorphins) ซึ งมีฤทธิ์ระงับความ

ปวดที แรงมาก (มากกว่ามอร์ฟีนถึง

1,000 เท่า) จึงมีฤทธิ์ในการลดความ

เจ็บปวดได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้

ยังลดการอักเสบของเนื้อเยื อ กระตุ้น

การปลดปล่ อยพลั ง งานภายใน

ร่างกายได้ เป็นต้น

ในด้านระบบภูมิคุ้มกันของ

ร่างกาย การฝังเข็ม กระตุ้นให้ระบบ

ภูมิคุ้มกันให้เม็ดเลือดขาวท าลายสิ ง

แปลกปลอมหรือเชื้อโรคในร่างกาย

จึงสามารถเสริมสร้างภูมิคุ้มกันของ

คนเราให้เข็มแข็งขึ้นได ้

อนัตรายและผลขา้งเคยีงจากการฝงัเขม็

การฝังเขม็เป็นการกระตุ้น

เพื อปรับการท างานของอวัยวะ จึงไม่

มีอันตรายจากการใช้เกินขนาด

(Overdose) หรือการเกิดพิษ

(Intoxication) เหมือนเช่นการใช้ยา

โดยทั วไป

ค าถามทีพ่บบอ่ย

การฝังเขม็เจบ็หรอืไม่?

ขณะที เข็มผ่านผิวหนัง จะมี

อาการเจ็บอยู่บ้างแต่ไม่มาก และเมื อ

เข็มแทงเข้าไปลึกถึงต าแหน่งของจุด

ฝังเข็ม จะมีอาการปวดหน่วงๆ และ

ปวดร้าว ไปตามทางเดินของเส้น

ลมปราณ

Page 3: Brochure

3

เขม็ทีใ่ช้ฝงัเปน็อยา่งไร?

เข็มที ใช้ในการฝังเข็ม มขีนาด

เล็กและบางมาก ไม่มีสารหรือยา

ชนิดใดเคลือบเข็มอยู ่ เข็มที ใช้เป็น

เข็มใหม่ จะใช้เพียงครั้งเดียวแล้วทิ้ง

ไม่น ากลับมาใช้ใหม่โดยเด็ดขาด

การเตรยีมตวักอ่นการฝงัเขม็

รับประทานอาหารก่อนมา

ฝังเข็มเสมอ เพราะการฝังเข็ม

ใ น ช่ ว ง ผู้ ป่ ว ย หิ ว ห รื อ

อ่อนเพลีย จะมีโอกาสเสี ยงต่อ

การเป็นลมไดง้่าย

พักผ่อนนอนหลับอย่าง

เพียงพอ

ไม่สวมเสื้อผ้าที รัดแนน่และ

สวมเสื้อแขนส้ัน

ปิดเครื องมือสื อสารทุกชนิด

จดัท าโดย จุฬา

การแพทย ์ส าโรง

เวลาท าการ : เปดิท าการ

ทุกวนั

8.00 - 20.00

น.

โทร. 02-756-9759