apn

24
1 นโยบายสภาการพยาบาลในการออกวุฒิบัตรผูมี ความรูความชํานาญเฉพาะทางพยาบาล สมจิต หนุเจริญกุล RN.Ph.D. ประธานอํานวยการสอบวุฒิบัตรแสดงความรู ความชํานาญเฉพาะทาง สภาการพยาบาล May 12, 2007 1.Clinical Nurse Specialist 2.Nurse Practitioner 3.Nurse Anesthetist 4.Nurse Midwife

Upload: ekegg

Post on 07-Mar-2015

307 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: APN

1

นโยบายสภาการพยาบาลในการออกวฒุบิัตรผูมีความรูความชํานาญเฉพาะทางพยาบาล

สมจิต หนุเจริญกุล RN.Ph.D.ประธานอํานวยการสอบวุฒิบัตรแสดงความรู

ความชํานาญเฉพาะทางสภาการพยาบาลMay 12, 2007

1.Clinical Nurse Specialist

2.Nurse Practitioner3.Nurse Anesthetist4.Nurse Midwife

Page 2: APN

2

การพฒันา APN ในประเทศไทย• กอน พ.ศ. 2513 - ประกาศนียบัตรผดุง

ครรภ 6 เดือน• พ.ศ. 2513 - หลักสตูรเฉพาะทางระยะ

สั้น - โรคหัวใจและทรวงอก 4 เดือน

พ.ศ. 2520 - ปริญญาโททางการ พยาบาลที่มหิดล

- ผลิต CNS + beginning researcher

Page 3: APN

3

พ.ศ. 2531- ความกาวหนาของพยาบาล(ก.พ.)- พยาบาลวิชาชีพขั้นพื้นฐาน- พยาบาลผูชํานาญการ C 7 – 8- พยาบาลผูเช่ียวชาญ C 9- พยาบาลผูเช่ียวชาญพิเศษ C10

พ.ศ. 2535 ประชุมการพยาบาลผูเชี่ยวชาญครั้งแรก ที่ คณะแพทยศาสตร ร.พ.รามาธิบด ีโดยภาควิชาพยาบาลศาสตร

Page 4: APN

4

หนาที่ของสภาการพยาบาล

มาตรา 7 (8) ใหสภาการพยาบาลมีหนาที่ออกหนังสืออนุมตัิบัตรหรือวุฒิบัตร ผูมีความรูความชํานาญเฉพาะทาง หรือหนังสืออยางอืน่แกผูท่ีมีความรูความสามารถ

พ.ศ. 2536 สภาการพยาบาลแตงตั้งคณะทํางานเพื่อ พัฒนาระบบการมีพยาบาลผูมี

ความรูความชํานาญเฉพาะทางพ.ศ. 2536 – 2538 แยกแยะความแตกตางระหวาง

Expert by experienceกับ

Expert by experience + Education training

Page 5: APN

5

พ.ศ. 2538 กรมการแพทยแตงตั้งคณะทํางานเพื่อพัฒนา วชิาชพีการพยาบาล

พ.ศ. 2538 สภาการพยาบาลจัดประชุมเพื่อวางระบบการออกวุฒิบัตรผูมีความรูความชาํนาญ เฉพาะทาง

Page 6: APN

6

ปฏิญญานครนายก

• หลักสูตรฝกอบรมเพื่อขอรับวุฒิบัตรผูมีความรูความชํานาญเฉพาะทาง

ขอบังคับสภาการพยาบาลวาดวยการออกวุฒิบัตร

แสดงความรู ความชํานาญ เฉพาะทางการพยาบาลและ

การผดุงครรภ พ.ศ 2541

Page 7: APN

7

คุณสมบัติของผูมีสิทธิสอบเพื่อรบัวุฒิบัตร

(๑) เปนผูผานการฝกอบรมตามระบบ หรือการฝกอบรมแบบแยกสวนตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข ตามขอบังคบันี้ หรือ

(๒) เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป สาขาพยาบาลศาสตรท่ีเปนหลักสูตรที่ผลิตผูมีความรู ความชํานาญเฉพาะสาขา จากสถาบันการศึกษาที่ สภาการพยาบาลรับรองในประเทศ หรือตางประเทศ และตองเปนผูมีประสบการณทางคลินิกในสาขาที่ กําหนดไวในขอบังคับนี้ เปนระยะเวลารวมกันทั้งกอน และหลังสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ไมนอยกวา ๓ ป หรือ

Page 8: APN

8

(๓) เปนผูสําเร็จการศึกษาในระดับ ปริญญาโทในสาขาที่เกี่ยวของ ที่ไดศึกษาเพิ่มเติมใหมีสิทธิสอบเพื่อรับวุฒิบตัรสาขาตาง ๆ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่สภาการพยาบาลกาํหนด

การฝกอบรมและสอบความรู

Page 9: APN

9

คุณสมบตัิผูสมัครเขารบัการฝกอบรม

(๑) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการพยาบาล การพยาบาลและการผดุงครรภ หรอืเทียบเทาขึ้นไป

(๒) ไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชพีจากสภาการพยาบาล(ก) การพยาบาล ชัน้หนึง่ หรอื

(ข) การพยาบาล ชัน้หนึง่ และการผดุงครรภ ชัน้หนึง่ หรอื

(ค) การพยาบาลและการผดงุครรภ ชัน้หนึง่

Page 10: APN

10

(๓) มีประสบการณในการปฏบิัติการ พยาบาลในสาขาที่เกี่ยวของ เปน เวลาไมนอยกวา ๓ ป

(๔) คุณสมบัติอื่น ๆ ตามที่ คณะกรรมการสภาการพยาบาล จะกําหนด

การฝกอบรมตามระบบ

Page 11: APN

11

(๑) การฝกอบรมตามหลักสูตรที่สภากาพยาบาลรับรอง โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสภาการพยาบาล

(๒) การฝกอบรมในสถาบันที่ทําการฝกอบรม ซึง่ไดรับการรับรองจากคณะกรรมการสภาการพยาบาล

(๓) การฝกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติตอเนื่องกัน เปนเวลาไมนอยกวา ๒ ป

Page 12: APN

12

(๔) การฝกอบรมจะตอง(ก) ฝกอบรมในสถาบันหลักเปนเวลา

ไมนอยกวา ๒ ป หรือ(ข) ฝกอบรมในสถาบันหลักเปน

ระยะเวลาไมนอยกวา ๑ ป และใน สถาบนัสมทบเปนเวลาไมนอยกวา ๑ ป

รูปแบบการฝกอบรมตามระบบ

Page 13: APN

13

(ก) ภาคทฤษฎี ไดแก - การบรรยาย การสัมมนา ในหมวด วิชาแกน ศาสตรการพยาบาลและศาสตรพื้นฐานที่เก่ียวของกับการพยาบาล ๑๑ หนวยกิต หรือ ๑๖๕ ช่ัวโมง และการบรรยาย การสัมมนา การศึกษาคนคว าดวยตนเอง ในหมวดวิชาการพยาบาลเฉพาะสาขา ๑๔ หนวยกิต หรือ ๒๑๐ ช่ัวโมง

(ข) ภาคปฏิบัติ ไดแก - การปฏิบตัิงานในสาขา ๑๕๐๐ ชั่วโมง โดยผูเขารับการฝกอบรมอาจมีกิจกรรมทางภาคทฤษฎีรวมดวยภายในระยะเวลา ไมนอยกวา ๑ ป

Page 14: APN

14

การฝกอบรมตาม (ก) และ (ข) อาจจะผสมผสานกัน หรือแยกกันได โดยมี

ระยะเวลารวมกันตองไมนอยกวา ๒ ป

สาขาวุฒิบัตรที่สภาการพยาบาลออกให1. การพยาบาลมารดา-ทารก2. การพยาบาลชุมชน3. การพยาบาลเด็ก4. การพยาบาลอายุรศาสตร – ศัลยศาสตร5. การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช

TNC 2541

Page 15: APN

15

ผังแสดงคุณสมบัติของผูขอสอบรบัวุฒิบัตรสําเร็จการศึกษาปริญญาโท-เอก

จากสาขาอื่น

มีประสบการณในสาขา 3 ป

สําเร็จการศึกษาปริญญาโท-เอก(ไทย)ตรงสาขาการพยาบาลและประสบการณ 3 ป

สําเร็จการศึกษาปริญญาตรี

ทางการพยาบาลฝกอบรมเฉพาะ

สาขา

สําเร็จการศึกษาปริญญาโท-เอกตรงสาขาทางการพยาบาล

ตางประเทศ(ทั้งคนไทยและตางชนิดและประสบการณ 3 ป

ขอสอบเพื่อรับวุฒิบัตร

ได certified จากตางประเทศ

ที่สภาการพยาบาลรับรอง

เรียนเพิ่มเติมตามสภากําหนด

สภาการพยาบาล ๒๕๔๑

มติ เรื่อง การปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง

วันที่ 24 สิงหาคม 2544

Page 16: APN

16

ประเทศไทยจําเปนตองมีการปฏิบัติ การพยาบาลเปน 2 ระดับ• การปฏิบัติการพยาบาลทั่วไป (General Nursing Practice- G.N.)• การปฏิบัติการพยาบาลขั้นสงู(Advanced Practice Nurse -APN)

คุณสมบัติของผูปฏิบัติการพยาบาลขัน้สูง

1. จบปริญญาโททางการพยาบาลเฉพาะสาขา/หลักสูตรวุฒิบัตร และ

2. ไดรับวุฒิบัตรรับรองความรูความชํานาญเฉพาะทางในสาขา จากสภาการพยาบาล

Page 17: APN

17

การเปดหลักสูตรการปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง เปดไดท้ังหลักสตูร แผน ก และ

แผน ข

• แผน ก.เนนการปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงควบคูการวิจัยเพื่อพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาล

• แผน ข.เนนการปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงควบคูการนําผลการวิจยัไปปฏิบัติการพยาบาล

Page 18: APN

18

การปฏิรูประบบสุขภาพ•การเพิ่มขีดวามสามารถของหนวยปฐมภมูิ

•ผูสูงอายุเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว

สาขาวุฒิบัตรที่สภาการพยาบาลออกให• การพยาบาลมารดา-ทารก CNS• การพยาบาลชุมชน CNS• การพยาบาลเด็ก CNS• การพยาบาลอายุรศาสตร – ศัลยศาสตร CNS• การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต CNS• การพยาบาลผูสูงอายุ ๒๕๔๘ CNS• การพยาบาลเวชปฏบิัติชุมชน ๒๕๔๙ NP• การผดุงครรภ NP CNS สภาการพยาบาล ๒๕๕๐

Page 19: APN

19

สมรรถนะกลาง1. Direct Clinical Practice2. Expert Coaching and Guidance3. Consultation4. Research5. Clinical and professional

Leadership6. Collaboration7. Ethical Decision Making

Care managerCRNA

CNM

NP Blend CNS & NP

CNS

Evolving Role

Others

Page 20: APN

20

Total numbers of certified APNs1. Mother and new born 15

2. Pediatric nursing 373. Medical surgical nursing 2054. Mental Heath and Psychiatric

Nursing 195. Community Health Nursing 43 6. Geriatric Nursing 197. Community Health NP 3

Total 353

อนาคตของ APN• ปญหาสุขภาพของประชาชน• ตําแหนงตองสอดคลองกับระบบขององคกร/ มาตรฐานระบบบริการสาธารณสุข พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพ

Page 21: APN

21

อนาคตของวิชาชีพ• Contribution ของ วิชาชีพตอสังคมตองชัดเจน

• การขยายขอบเขตของการปฏิบัติ• การขยายขอบเขตของสขุภาพ-องครวม

• Knowledge and technology

• Evidence Based Practice• ทาทีตอความรูและความจริง• การจัดการความรู

Page 22: APN

22

Nurses are not immature blood cell, when we mature we still are nurses who are very strong, and the body (Health care system) can not be alive without nurses

พยาบาลเวชปฏิบัติ• Expanded the scope of

nursing practice to meet the health care needs of the people

Page 23: APN

23

*Early 1930 – practice medicine*Today- expanded roles for nurses

*MD attempt to control CRNAestablish anesthesia care team require MDas a leader reimbursement

ระดับ 11

ระดับ 10

ระดับ 9ระดับ 8

ระดับ 7

ระดับ 3-5 หรือ 6ระดับ 2-4 หรือ 5ระดับ 1-3 หรือ 4

• จําแนกกลุมตําแหนงเปน 4 ประเภท อิสระจากกัน• แตละกลุมมี 2-5 ระดับ แตกตางกันตามคางาน

และโครงสรางการทํางานในองคกร• มีบัญชีเงินเดือนพื้นฐานแยกแตละกลุม • กําหนดชื่อเรียกระดับตําแหนงแทนตัวเลข

• จําแนกเปน 11 ระดับ สําหรับทุกตําแหนง• มีบัญชีเงินเดือนเดียว

เช่ียวชาญ

ทรงคุณวุฒิ

ระดับตน

วิชาการ

ชํานาญการ

ชํานาญการพิเศษ

ทั่วไป

ทกัษะพิเศษ

ระดับตน

ระดับอาวุโส

ชํานาญงาน

ระดับตน

ระดับสูง

อํานวยการระดับตน

ระดับสูง

บริหาร

เปรียบเทียบโครงสรางชั้นงานและประเภทตําแหนง ...เดิม ใหม

Page 24: APN

24

การกําหนดตาํแหนงหลักสําหรับใชเทียบเคียง ...

หัวหนาฝาย/งานผูปฏิบัติงานที่มีทักษะสูง

หัวหนางานผูปฏิบัติระดับชํานาญงาน

ผูปฏิบัติงานอาวุโส

ผูปฏิบัติงานระดับตน

หัวหนากลุม ผูปฏิบัติงานที่ใชความชํานาญเฉพาะตัว

หัวหนางาน ผูปฏิบัติงานที่มีประสบการณ

ผูปฏิบัติงานระดับตน

ที่ปรึกษากระทรวงผูทรงคุณวุฒิใน

งานวิชาการ/วิชาชีพผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานงานวิชาการ/วิชาชีพ ผูอํานวยการสํานัก

ผูอํานวยการกอง

รองอธิบดีหรือเทียบเทา

ปลัดกระทรวงรองปลัดกระทรวงอธิบดีหรือเทียบเทา

ประเภทบริหารประเภทอํานวยการประเภทวชิาการประเภททั่วไป