ผลการทดลองถิ่นกําเนิดไม acacia...

14
รายงานวนวัฒนวิจัย ประจําป 2542 Silvicultural Research Report 1999 148 ผลการทดลองถิ่นกําเนิดไม Acacia crassicarpa ที่สถานีทดลองปลูกพรรณไมลํ าเภา-ลําทราย จังหวัดกาญจนบุรี Results of Acacia crassicarpa Provenance Trial at Kanchanaburi Province พนิดา รุงรัตนกุล 1 Panida Roongrattanakul วิฑูรย เหลืองวิริยะแสง 2 Vitoon Luangviriyasaeng เกียรติกอง พิตรปรีชา 2 Kiatkong Pitpreecha ABSTRACT Provenance trial of Acacia crassicarpa at Lumpao-Lum Sai experiment station Kanchanaburi province consisted of 9 provenances from 2 regions as Papua New Guinea region (PNG) and Queensland region (QLD). Results of height growth at 5 years of age showed significant difference at P>0.05 between two regions but it did not significant between provenance within region. The mean height of PNG was higher than QLD which Bimadebun village provenance (CSRIO seedlot 16598 PNG) is the highest height growth. Diameter at breast height (DBH) was not significant difference (P>0.05) between two regions and between provenances within region. The Claudie river provenance (CSIRO seedlot 17944 QLD) was the poorest of height and DBH. Three phenology characteristics (stem form, branching habits and fruiting and health) was assessed by scoring system which were not significant difference (P>0.05) between regions for most characteristic except stem form, stem straightness (highly significant at P <0.01). It was not significant difference between provenance within region. The average phenology score of QLD was higher than PNG which showed that stem straightness of QLD was better than PNG. Less multiple stems were founded in this trial (4.5%) and branching habits mean score were higher than grand mean. The phenology of fruiting and health showed that most trees in the trial had not fruited yet and had free from insects and diseases. Keywords: Acacia crassicarpa, Provenance trial, Stem from, Branching habits 1 นักวิชาการปาไม 6สวนวนวัฒนวิจัย สํานักวิชาการปาไม 2 นักวิชาการปาไม 8สวนวนวัฒนวิจัย สํานักวิชาการปาไม

Upload: others

Post on 03-Jun-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ผลการทดลองถิ่นกําเนิดไม Acacia crassicarpafrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t12r42.pdf · รายงานวนวัฒนวิจัย

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2542 Silvicultural Research Report 1999

148

ผลการทดลองถิ่นกํ าเนิดไม Acacia crassicarpaทีส่ถานีทดลองปลูกพรรณไมล ําเภา-ลํ าทราย จังหวัดกาญจนบุรี

Results of Acacia crassicarpa Provenance Trialat Kanchanaburi Province

พนิดา รุงรัตนกุล1 Panida Roongrattanakul

วิฑูรย เหลืองวิริยะแสง2 Vitoon Luangviriyasaeng

เกียรติกอง พิตรปรีชา2 Kiatkong Pitpreecha

ABSTRACT

Provenance trial of Acacia crassicarpa at Lumpao-Lum Sai experiment station Kanchanaburi province consisted of 9 provenances from 2 regions as Papua New Guinea region (PNG) and Queensland region (QLD).

Results of height growth at 5 years of age showed significant difference at P>0.05 between two regions but it did not significant between provenance within region. The mean height of PNG was higher than QLD which Bimadebun village provenance (CSRIO seedlot 16598 PNG) is the highest height growth.

Diameter at breast height (DBH) was not significant difference (P>0.05) between two regions and between provenances within region. The Claudie river provenance (CSIRO seedlot 17944 QLD) was the poorest of height and DBH.

Three phenology characteristics (stem form, branching habits and fruiting and health) was assessed by scoring system which were not significant difference (P>0.05) between regions for most characteristic except stem form, stem straightness (highly significant at P<0.01). It was not significant difference between provenance within region. The average phenology score of QLD was higher than PNG which showed that stem straightness of QLD was better than PNG. Less multiple stems were founded in this trial (4.5%) and branching habits mean score were higher than grand mean. The phenology of fruiting and health showed that most trees in the trial had not fruited yet and had free from insects and diseases.

Keywords: Acacia crassicarpa, Provenance trial, Stem from, Branching habits

1 นักวิชาการปาไม 6ว สวนวนวัฒนวิจัย สํ านักวิชาการปาไม2 นักวิชาการปาไม 8ว สวนวนวัฒนวิจัย สํ านักวิชาการปาไม

Page 2: ผลการทดลองถิ่นกําเนิดไม Acacia crassicarpafrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t12r42.pdf · รายงานวนวัฒนวิจัย

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2542 Silvicultural Research Report 1999

149

บทคัดยอ

ผลการทดลองถิ่นกํ าเนิดไม Acacia crassicarpa จ ํานวน 9 ถ่ินกํ าเนิด (Provenances) จากสองภูมิภาค (Region) คอื ปาปวนิวกินี (Papua New Guinea-PNG) และ ควนีสแลนด (Queenland-QLD) ที่สถานีทดลองปลูกพรรณไมลํ าเภา-ลํ าทราย จังหวัดกาญจนบุรี เมื่ออายุ 5 ป แสดงใหเห็นความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสํ าคัญของการเจริญเติบโตดานความสูงระหวางภูมิภาค ซึ่งพบวาคาเฉล่ียความสูงของแหลงปาปวนิวกินีสูงกวาควนีสแลนด โดยถิ่นกํ าเนิด Binadebun Village (16598) จากปาปวนิวกินี มีคาเฉล่ียความสูงสูงที่สุด 13.47 เมตร สวนความโตไมมีความแตกตางทางสถิติที่ระดับนัยสํ าคัญ P<0.05 โดยถ่ินกํ าเนิด Claudie river (17944) จากควีนสแลนด มคีวามเจริญเติบโตตํ่ าที่สุดทั้งความโตและความสูง ผลการวิเคราะหความแปรปรวนของระดบัคะแนน ลักษณะทางชีพลักษณ 3 ลักษณะ คือ รูปทรงของลํ าตน (stem form) ก่ิงกาน (branching habits) และลักษณะอื่นๆ เชน การติดผลและการถูกทํ าลายโดยโรคและแมลง (fruiting and health) พบวาสวนใหญไมมีความแตกตางทางสถิติทั้งระดับภูมิภาค และถ่ินกํ าเนิดภายในภมูิภาคเดียวกัน ยกเวนความตรงของลํ าตน (stem straightness) ทีพ่บวามีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% (P<0.01) ระหวางปาปวนิวกนิแีละควีนสแลนด คอืมีคาเฉล่ียคะแนนของ ควีนสแลนดสูงกวาคาเฉล่ียคะแนนของปาปวนิวกินี ซึง่แสดงวารูปทรงของความตรงลํ าตนจากควีนสแลนดมคีณุภาพดกีวาปาปวนิวกินี สวนลํ าตนที่แตกที่ระดับพื้นดิน (multiple stems) นัน้มีเพียง 4.5% ลักษณะของกิ่งกานของไม A. crassicarpa พบวา 74.3%-90.8% ไมมก่ิีงกานที่ระดับ 1 ใน 4 ของความสูงของลํ าตนจากพืน้ดนิ ขนาดของกิ่งสวนมากมีขนาดใหญกวา 1 ใน 3 ของขนาดลํ าตนจํ านวน 1 ก่ิง 28.5% และใหญกวา 1 ใน 3 ของขนาดลํ าตนจํ านวน 1 ก่ิง 28.5% และใหญกวา 1 ใน 3 ของขนาดลํ าตน จํ านวนมากกวา 2 ก่ิงมีเพียง 4.7% คะแนนเฉลีย่ของการติดผลสวนมากไมมีการติดผล และคะแนนเฉลี่ยการถูกโรคและแมลงทํ าลายสวนมากไมมีการถูกทํ าลาย

ค ําหลัก: Acacia crassicarpa, ทดลองถิ่นกํ าเนิด, รูปทรงของลํ าตน, ลักษณะกิ่งกาน

ค ําน ํา

ไม A. crassicarpa ไดน ํามาปลกูทดลองในประเทศไทยนานกวา 10 ป ซึ่งผลการทดลองพบวาเปนไมทีม่กีารเจรญิเติบโตที่ดี แมในพื้นที่สภาพแลงและดินขาดความอุดมสมบูรณก็ยังเจริญเติบโตได Nhan และ Duc (1998) ไดท ําการปลูกทดลองชนิดไมตอนเหนือของประเทศเวยีดนามพบวาไม A. crassicarpa เตบิโตไดดีกวา E. camaldulensis ทีม่าจากแหลง Petford, Australia (Nhan และ Duc, 1998) และในประเทศอินโดนีเซียไม A. crassicarpa เปนไมที่นิยมปลูกเพ่ือการอตุสาหกรรมมากที่สุด เนื่องจากการเจริญเตบิโตดีและคุณสมบัติเนื้อไมดี (Shukor et al., 1998) และเปนไมที่ใชในการเผาถานที่มีอัตราการเผา

Page 3: ผลการทดลองถิ่นกําเนิดไม Acacia crassicarpafrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t12r42.pdf · รายงานวนวัฒนวิจัย

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2542 Silvicultural Research Report 1999

150

ไหมสูงที่สุด เทากับ 7.64 กรัม/นาที เมื่อเปรียบเทียบไม Acacia 17 ชนิด (สิริลักษณ และคณะ, 2538) จากการปลูกทดสอบเพื่อปกคลุมวัชพืชหญาคาที่จังหวัดนครราชสีมา พบวาไม A. crassicarpa สามารถปกคลมุหญาคาไดผลดีและมีการเจริญเติบโตดีที่สุดระหวางไม Acacia 5 ชนิด และไม E. camaldulensis(พนดิา และคณะ, 2543) คุณสมบัติของไม A. crassicarpa จงึเปนที่นาสนใจและควรมีการปรับปรุงพันธุไมชนดินีต้อไป เพ่ือใชประโยชนในการปลูกสรางสวนปา และผลิตไมเพ่ือการอุตสาหกรรม

ผลงานวิจัยนี้ จะเปนประโยชนในการปรับปรุงพันธุไม A. crassicarpa โดยการคัดเลือกแหลง (provenance) และสายพันธุ (family) น ํามาปลูกทดสอบสายพันธุ (Progeny test) และจัดสรางสวนผลิตเมล็ด (Seedling seed orchard) ตอไป

อุปกรณและวิธีการ

แหลงและถิ่นกํ าเนิดที่นํ ามาทดลองแหลงของไม A. crassicarpa ทีน่ ํามาทดลองทั้งหมด 9 ถ่ินกํ าเนิด โดยไดรับการสนับสนุนเมล็ด

จาก Australian Tree Seed Centre, CSIRO ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งสามารถแบงออกได 2 ภูมิภาค (Regions) คือ จากปาปวนิวกนิ ี 5 ถ่ินกํ าเนิด และจากควนีสแลนด 4 ถ่ินกํ าเนิด โดยมีรายละเอียดตาม ตารางที่ 1

Table 1. List of seed sources of A. crassicarpa

CSIROSeedlot

Provenance, Region Number ofparent trees

Latitude Longitude Altitude(meters)

16128 Jadine river – Bamaga, QLD 15 11° 2′ 142° 22′ 2016598 Bimadebun village, PNG 230 8° 37′ 141° 55′ 2517548 Oriomo old zim, PNG 5 8° 48′ 143° 6′ 2017552 Bensbach, PNG 35 8 53′ 141° 17′ 2517561 Limal – malam, PNG 30 8° 40′ 142° 43′ 4018219 Bensbach area, PNG 7 8° 53′ 141° 17′ 2517943 Oliver river, QLD 5 12° 19′ 142° 50′ 6017944 Claudie river, QLD 4 12° 48′ 143° 18′ 2017948 Chilli beach, QLD 10 12° 38′ 143° 23′ 3

Page 4: ผลการทดลองถิ่นกําเนิดไม Acacia crassicarpafrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t12r42.pdf · รายงานวนวัฒนวิจัย

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2542 Silvicultural Research Report 1999

151

สถานที่ปลูกทดลองสถานที่ปลูกทดลองถิ่นกํ าเนิดไม A. crassicarpa คอื สถานีทดลองปลูกพรรณไมลํ าเภา-ลํ าทราย

จงัหวัดกาญจนบุรี มีลักษณะทองที่ดังนี้ คือ เสนแวงที่ 99° 18′ E เสนรุงที่ 13° 58′ N ความสูงจากระดบันํ้ าทะเล 45 เมตร ปริมาณนํ้ าฝนเฉลี่ยรายป 900-1,000 มิลลิเมตร อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยรายป 35.3 องศา อุณหภูมิตํ่ าสุดเฉลี่ยรายป 24.4 องศา อุณหภูมิเฉล่ียรายป 29.9 องศา ลักษณะดิน Sandy and silty loam, pH 6.7

การวางแผนการทดลองการวางแผนการทดลอง ใชแผนแบบ Randomized complete block design ประกอบดวย 6 ซํ้ า

แตละซํ้ ามี 6 plot โดยการสุม ในแตละ plot ประกอบดวย 16 ตน ปลูก 4x4 ตน ดวยระยะปลูก 3x3 เมตร

การเก็บขอมูล เก็บขอมูลเมื่ออายุ 5 ป โดยเก็บขอมูลการเจริญเติบโต ดังนี้

ความโตของลํ าตนที่ระดับอก (DBH) และความสูง (Height) พรอมกับเก็บขอมูลลักษณะของชีพลักษณ (Phenology) คอื 3 ลักษณะ คือ

(1) รูปทรงลํ าตน (stem form)- ลักษณะของการแตกงาม (Axis persistence) 6 classes- ความตรงของลํ าตน (Stem straightness) 4 classes

(2) ลักษณะกิ่งกาน (Branching habits)- จ ํานวนกิ่งแรกที่ระดับตํ่ ากวา ¼ ของความสูง (Existence of upright branches at

first quarter ) 4 classes- การแตกกิ่งลักษณะเปนงาม (Forking) 2 classes- ขนาดของกิ่ง (Thickness exclude upright branches) 4 classes

(3) ลักษณะอื่นๆ- การติดผล (Fruiting) 2 classes- การถูกโรคและแมลงทํ าลาย (Stem damages) 2 classes

การวิเคราะหขอมูลขอมลูการเจริญเติบโตที่นํ ามาวิเคราะห คือ ความโตของลํ าตนที่ระดับอก (DBH) และความสูง

(Height) เมือ่อายุ 5 ป สํ าหรับในกรณีลํ าตนเปน Multiple stems ใหวดัทกุลํ าตนที่มีขนาดเกินกวาครึ่งหนึ่งของลํ าตนหลัก (Main stem) แลวคํ านวณเปน DBH เฉล่ีย โดยใชสูตร

Page 5: ผลการทดลองถิ่นกําเนิดไม Acacia crassicarpafrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t12r42.pdf · รายงานวนวัฒนวิจัย

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2542 Silvicultural Research Report 1999

152

DBH = (DBH12 + DBH1

2 + …… + DBHnn )1/2

ขอมลูลักษณะทางชีพลักษณะ เก็บขอมูลโดยการใหคะแนนเปนรายตน แลวนํ ามาคํ านวณคาเฉล่ีย(Plot mean) แลวนํ าคาเฉล่ีย มาวิเคราะหความแปรปรวน (ANOVA) โดยใชโปรแกรม Genstat 5.23

ผลการทดลอง

ผลของการวิเคราะหความแปรปรวนของการเจริญเติบโตของไม A. crassicarpa ที่อายุ 5 ป ทองที่จงัหวดักาญจนบุรี พบวา การเจริญเติบโตทางความสูงและความโตของไม A. crassicarpa ระหวางภูมิภาค 2 ภูมิภาค คือ ปาปวนิวกินี (PNG) และควนีสแลนด (QLD) คาความสูงมีความแตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญที่ระดับความเชื่อมั่นมากกวา 95% ซึง่พบวา PNG มคีาเฉล่ียความสูง สูงกวา QLD คือ 13.30 เมตร และ 12.85 เมตร ตามลํ าดับ แตความโต DBH พบวาไมมคีวามแตกตางกันที่ระดับภูมิภาค โดยคาเฉล่ียที่ได คือ PNG เทากับ 14.01 เซนติเมตร และ QLD 13.70 เซนติเมตร ตามลํ าดับ

จากตารางที ่2 แสดงคาเฉล่ียของการเจริญเติบโตทางความสูง จะเห็นไดวา ถ่ินกํ าเนิด Bimadibun village (16598) ซึ่งมาจาก PNG มคีวามสูง สูงที่สุดเทากับ 13.47 เมตร รองลงมา ไดแก ถ่ินกํ าเนิด Limal-malam (17561), Bensbach area (18219) ซึ่งมาจากแหลง PNG มคีวามสูง 13.40 เมตร และ 13.28 เมตร ตามลํ าดับ สวนผลคาเฉล่ียทางความโต DBH นัน้ พบวาถ่ินกํ าเนิด Jadine river (16128) จากแหลง QLD มคีาเฉล่ีย DBH สูงที่สุดเทากับ 14.74 เซนติเมตร รองลงมา ไดแก Limal-malam (17561) และ Oriomo (17548) จากแหลง PNG ซึง่มีความโต 14.50 เซนติเมตร และ 14.25 เซนตเิมตร ตามลํ าดับ สํ าหรับ Claudie river (17944) QLD นัน้ พบวามีคาเฉล่ียความโตและความสูงตํ่ าทีสุ่ด สํ าหรับเปอรเซ็นตการรอดตาย เมื่อวิเคราะหความแปรปรวนแลวพบวา ไมมีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% และถ่ินกํ าเนิด Oriomo (17548) PNG มีเปอรเซ็นตการรอดตายเฉลี่ยตํ่ าทีสุ่ดเทากับ 51%

เมือ่ส้ินสดุการทดลองไดมีการใหคะแนนลักษณะทางชีพลักษณ 3 ลักษณะ คือ รูปทรงของลํ าตน (Stem form) ลักษณะกิ่งกาน (Branching habits) และลักษณะอื่นๆ คือ การติดผล และการถูกทํ าลายจากโรคแมลง จากนั้นนํ าตัวเลขคะแนนมาวิเคราะหความแปรปรวน ผลแสดงตามตารางที่ 3 ซึ่งโดยสวนใหญนัน้พบวาไมมีความแตกตางทางสถิติ

ผลการใหคะแนนลักษณะรูปทรงของลํ าตน แบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ Axis persistence และ Stem straightness เมือ่นํ าคะแนน Axis persistence ทีไ่ดมานบัจํ านวนตามลักษณะที่แตกตางกัน 6 classes แสดงตามรูปภาพที่ 1 และภาพที่ 2 พบวาโดยสวนใหญแลว Axis persistence ทกุถ่ินกํ าเนิดจะมีความใกลเคยีงกัน และท่ีพบมากที่สุด คือ

Page 6: ผลการทดลองถิ่นกําเนิดไม Acacia crassicarpafrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t12r42.pdf · รายงานวนวัฒนวิจัย

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2542 Silvicultural Research Report 1999

153

Table 2. Mean height, dbh, score of stem form and survival percentage of A. crassicarpa

Stem formSeed source Altitude(m)

DBH(cm) Axis persistence Stem straightness

Survival percentage(%)

Bimadebun village 13.47 14.14 4.117 1.858 74.0Oriomo 13.20 14.25 4.111 2.009 51.0Bensbach 13.14 13.35 4.955 1.748 77.1Limal-malam 13.40 14.50 3.783 1.810 78.1Bensbach area 13.28 13.80 3.843 1.807 80.2

PNG Mean 13.30 14.01 3.962 1.846 72.08Jadine river 13.20 14.74 3.967 2.075 77.1Olive river 13.09 13.57 3.840 1.962 84.2Claudie river 12.40 12.88 3.740 2.313 65.6Chilli beach 12.71 13.61 3.667 2.083 70.8

QLD Mean 12.85 13.70 3.803 2.108 74.47

Table 3. Mean square of ANOVA of growth, stem form, branch characteristics and other trails of A. crassicarpa

Growth Stem form Branch characteristics OthersS.O.V. Df Height Dbh Axis

persistenceStem

straightnessUpright

branch at1st quater

Forking Branchthickness

Fruiting Healthy

Replicate 5 0.3798 4.878 0.9397 0.1883 0.01848 0.10022 0.46777 0.02357 0.54161ProvenanceSeedlot

1 2.6468** 1.257ns 0.3353ns 0.9146** 0.0604ns 0.0926ns 0.0001ns 0.0001ns 0.0960ns

WithinProvenance

7 0.4165ns 2.223ns 0.1265ns 0.0894ns 0.0265ns 0.0284ns 0.0873ns 0.0032ns 0.0081ns

Residual 39(1)

0.5138 1.491 0.2155 0.1161 0.02207 0.02796 0.05829 0.00252 0.01128

Page 7: ผลการทดลองถิ่นกําเนิดไม Acacia crassicarpafrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t12r42.pdf · รายงานวนวัฒนวิจัย

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2542 Silvicultural Research Report 1999

154

Figure 1. Showed mean of axis persistence score of 9 seedlots

Figure 2. Showed mean of axis persistence score of 6 classes (%) of 9 ssedlot *** N/A : small and dead trees were not scoring

Page 8: ผลการทดลองถิ่นกําเนิดไม Acacia crassicarpafrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t12r42.pdf · รายงานวนวัฒนวิจัย

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2542 Silvicultural Research Report 1999

155

1) มลัีกษณะการแตกงามที่ระดับลาง (lowest) คอืจากพื้นถึงความสูงไมเกิน 1 ใน 4 ของความสูงของลํ าตน (first quarter) อยูระหวาง 22.9-39.2% โดยที่ถ่ินกํ าเนิด Oriomo (17548) มีเปอรเซ็นตการแตกงามตํ่ าที่สุด 22.9% และถ่ินกํ าเนิด Limal-malam (17561) PNG มีเปอรเซ็นตแตกงามสูงที่สุด 39.2%

2) มลัีกษณะความตรงของลํ าตนที่ไมแตกงามจนถึงปลายยอด (Completely persistence) อยูระหวาง 14.9-33.3% โดยถิ่นกํ าเนิด Bimadebun village (16598) PNG มีมากที่สุด 33.3% และ Jadine river (16128) QLD มีนอยที่สุด 14.9%

ผลของการวิเคราะหความแปรปรวนของ stem straightness นัน้ พบวามีความแตกตางกันอยางมีนยัส ําคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 99% ในระดบัภมูภิาค โดยที่คะแนนเฉลี่ยของภูมิภาค QLD จะสูงกวา PNG คอื 2.11 และ 1.85 ตามลํ าดับ และไมมีความแตกตางกันทางสถิติของถิ่นกํ าเนิดภายในภูมิภาคเดียวกัน

เมือ่พิจารณาจากกราฟรูปที่ 3 จะเห็นวาความตรงของลํ าตนไม A. crassicarpa โดยสวนมากแลวจะมีความโคงงอของลํ าตนสูงมาก ถ่ินกํ าเนิดที่มีความโคงงอสูงที่สุด (class 1) ไดแก Limal-malam (17561) PNG เทากับ 58% ถ่ินกํ าเนิดที่มีความโคงงอ class 1 นอยที่สุด ไดแก Claudie river (17944) QLD สวนความตรง class 4 ซึง่ไมมีสวนโคงงอเลยนั้น ถ่ินกํ าเนิด Olive river (17943) QLD ที่สูงที่สุด 9% และตํ่ าที่สุด ไดแก Jadine river (16128) QLD และ Oriomo (17548) PNG คือไมมี class 4 เลย

Figure 3. Showed mean stem straightness score 4 classes (%) of 9 seedlots

Page 9: ผลการทดลองถิ่นกําเนิดไม Acacia crassicarpafrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t12r42.pdf · รายงานวนวัฒนวิจัย

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2542 Silvicultural Research Report 1999

156

ผลการใหคะแนนลักษณะกิ่งกาน (Branching habits) แบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ1) ขนาดและจ ํานวนกิ่งที่ระดับ 1 ใน 4 ของความสูงลํ าตน แบงเปน 4 ลักษณะ เมื่อนํ ามา

วเิคราะหความแปรปรวนแลวพบวา โดยสวนใหญแลว ไม A. crassicarpa มขีนาดและจํ านวนกิ่งที่ระดับ 1 ใน 4 ของขนาดลํ าตนเปนแบบ class 4 คือ 74.3-90.8% ไมมีก่ิงที่ระดับ 1 ใน 4 ของลํ าตน ที่เหลือจะมีลักษณะ class 3 และ class 2 คอืม ี1 ก่ิงขนาดไมเกิน ½ ของลํ าตน (class 3) และ 1 ก่ิงขนาดมากกวา ½ ของลํ าตน (class 2) และมีจํ านวนกิ่งมากกวา 1 ก่ิง (class 1) 0% แสดงตามรูปที่ 4

Figure 4. Showed mean of existence of upright branches at 1st quarter 4 classes (%) of 9 seedlots

2) ลักษณะการแตกของกิ่งขาง (Forking) เมือ่น ําคะแนนของการแตกกิ่งขาง วิเคราะหความแปร- ปรวน พบวาไมมีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับ 95% แบงออกเปน 2 ระดับคะแนน คือ class 1 มีการแตกกิ่งยอย (repeated) และ 2 ไมมีการแตกกิ่งยอย (single) เมือ่พิจารณาคะแนนเฉลี่ยแลวพบวา โดยสวนใหญไม A. crassicarpa ไมมีการแตกกิ่งยอย

3) ลักษณะขนาดความหนาของกิ่งกาน (Thickness) เมื่อวิเคราะหความแปรปรวนของคะแนนขนาดความหนาของกิ่งกาน ซึ่งแบงเปน 4 class คือ class 4มขีนาดกิง่บาง เสนผาศูนยกลางไมเกิน 1 ใน 3 ของลํ าตน ไปจนถึง class 1คอื ก่ิงขนาดใหญเกิน 1 ใน 3 ของลํ าตนมากกวา 2 ก่ิง พบวา ไมมีความแตกตางกันทางสถิติที่ความเชื่อมั่น 95% และเมือ่พิจารณาเปอรเซ็นตของคะแนนพบวา โดยสวนใหญแลว A. crassicarpa มขีนาดกิ่ง class 3 คอื 1 ก่ิงทีม่ีเสนผาศูนยกลางนอยกวา 1 ใน 3 ของขนาดลํ าตน 28.5% รองลงมาคือ class 4 มก่ิีงบางขนาดเล็กกวา 1 ใน 3 ของขนาดลํ าตน 24.4% สวนที่เปนลักษณะ class 2และ 1 นั้น รวมกันไมถึง 20% ดงัแสดงในรูปที่ 5

Page 10: ผลการทดลองถิ่นกําเนิดไม Acacia crassicarpafrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t12r42.pdf · รายงานวนวัฒนวิจัย

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2542 Silvicultural Research Report 1999

157

Figure 5. Showed mean of thickness 4 classes (%) of 9 seedlots

4) ผลการใหคะแนนลักษณะอื่นๆ แบงเปน 2 ลักษณะ คือ การติดผล และโรคแมลง เมื่อนํ าคะแนนของการติดผลมาวิเคราะหความแปรปรวนแลว พบวาไมมีความแตกตางทางสถิติพบวา ไมมีการติดผลเหมือนกันทุกถ่ินกํ าเนิด เมื่อนับคะแนนของการมีโรคและแมลงทํ าลาย มาวิเคราะหความแปรปรวน พบวาไมมีความแตกตางกันทางสถิติ สวนมากไมมีโรคและแมลงทํ าลาย

Table 4. Percentage of axis persisitence, stem straightness, upright branch at first quarter and branch thickness of A. crassicarpa

Scoring(by classes)

Axis persistence Stem straightness Upright branch atfirst quarter

Branch thickness

Class 6 17.6 - - -Class 5 14.0 - - -Class 4 10.5 1.4 61.3 24.4Class 3 6.5 11.3 8.1 28.5Class 2 18.4 13.2 2.1 13.9Class 1 4.5 16.2 0 4.7Total 71.5 42.1 71.5 71.5N/A

(small and dead)28.5 57.9 28.5 28.5

Page 11: ผลการทดลองถิ่นกําเนิดไม Acacia crassicarpafrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t12r42.pdf · รายงานวนวัฒนวิจัย

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2542 Silvicultural Research Report 1999

158

สรุปและวิจารณผล

จากผลการทดลองพบวาไม A. crassicarpa มกีารเจริญเติบโตที่ใกลเคียงกันในระหวาง 9 ถ่ินกํ าเนิด แตเมื่อแยกกลุมเปน 2 ภูมิภาค คือ PNG และ QLD แลว พบวามีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนยัส ําคญัทางดานความสูง นั่นคือ ทุกๆ แหลงที่มาจาก PNG มคีาเฉล่ียความสูงสูงกวาทุกแหลงที่มาจาก QLD จะมีเพียงถิ่นกํ าเนิดจาก Jadine river (16128) QLD ทีม่คีาเฉล่ียความสูง สูงที่สุดในแหลงที่มาจาก QLD ซึง่เทากันกับถิ่นกํ าเนิด Oriomo (17548) PNG ซึง่มคีาเฉล่ียความสูงตํ่ าที่สุดภายในแหลงที่มาจาก PNG การทดลองนี้จึงยืนยันไดเหมือนการทดลองที่ออสเตรเลียของ Amold et al. (1994) สํ าหรับประเทศไทย วิฑูรย และคณะ (2538) พบวา ทองที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ ถ่ินกํ าเนิดจาก Jadine river มีการเจริญเติบโตตํ่ าที่สุดของการทดลอง ในขณะที่ DBH มผีลการวิเคราะห ANOVA ไมมีความแตกตางทางสถติใินระดับภูมิภาคนั้น เนื่องจากถิ่นกํ าเนิด Jadine river (16128) QLD นัน้ คาเฉล่ีย DBH สูงที่สุดในการทดลอง (14.7 เซนติเมตร) และมีถ่ินกํ าเนิด Claudie river (17944) QLD เปนถิ่นกํ าเนิดที่มีคาเฉล่ีย DBH ตํ ่าทีสุ่ดในการทดลอง (12.88 เซนติเมตร) ผลดังกลาวสอดคลองกับการทดลองในประเทศมาเลเซีย โดย Awang et al. (1988) คาของ plot mean พบวามีความแปรปรวนคอนขางมาก เนื่องจากตนไมมีลํ าตนแตกงาม ที่ทํ าใหวัด DBH มากกวา 1 คา ถึง 25.2% ของตนไมทั้งหมด

ผลการวิเคราะหความแปรปรวนของลักษณะทางชีพลักษณทั้ง 7 แบบพบวา สวนมากไมมีความแตกตางกันทางสถิติ มีเพียงรูปทรงของลํ าตนที่มีความแตกตางกันทางสถิติ มีเพียงรูปทรงของลํ าตนที่มีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% ในระดับภูมิภาค (regions) ซึง่พบวาคาของคะแนนเฉล่ียของ Stem straightness ของ QLD สูงกวา PNG ผลของการวิเคราะหการเจริบเติบโต และรูปทรงของลํ าตนนี้ สอดคลองกับการทดลองของประเทศออสเตรเลีย (Amold et al., 1994) ซึ่งพบวารูปทรงของลํ าตน ไมมคีวามแตกตางกันทางสถิติ เมื่อพิจารณาลักษณะการแตกงาม จากการใหคะแนน 6 ระดับ จะเห็นไดวา A. crassicarpa ทีป่ลกูในทองที่จังหวัดกาญจนบุรี มีเปอรเซ็นตแตกงามสูงมาก สวนมากจะแตกงามที่ระดบัสูงกวา 1 ใน 4 ของความสูงลํ าตน (class 2) 18.4% รองลงมาคือไมแตกงามเลย (class 6) 17.6%และแตกงามที่ระดับสูงกวา 3 ใน 4 ของความสูงลํ าตน 14% ตามล ําดับ ดังรูปที่ 2 และเมื่อพิจารณาควบคูกับรปูที ่ 1 แลว ทุกถ่ินกํ าเนิดมีแนวโนมลักษณะการแตกงามใกลเคียงกัน หากจะพิจารณาตนไมที่มีรูปทรงเหมาะสมสํ าหรับทํ าสินคา clear bole สูง จะพบวา เมื่อรวมจํ านวนตนไมที่ไมแตกงามเลย (class 6) และตนทีแ่ตกงามในระดับสูงกวา 3 ใน 4 ของความสูงของตนไม (class 5) A. crassicarpa มี clear bole เฉล่ียประมาณ 9.8 เมตร ทุกถ่ินกํ าเนิดมีจํ านวนตนไมที่ไมแตกงามเลย รวมกับที่แตกงาม 3 ใน 4 ของลํ าตนถึง37.3-48.6% และมีความจรงของล ําตนของทอน สวนใหญมีคะแนนตํ่ า รูปทรงของลํ าตนโดยทั่วไปจึงไมสวยงามนัก แตเมื่อพิจารณาลักษณะของกิ่งกานประกอบกันโดยสวนมากแลว A. crassicarpa จะมีก่ิงกานที่มขีนาดไมใหญ และมีจํ านวนกิ่งนอย ซึ่งเปนลักษณะที่ดีของไมชนิดนี้

Page 12: ผลการทดลองถิ่นกําเนิดไม Acacia crassicarpafrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t12r42.pdf · รายงานวนวัฒนวิจัย

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2542 Silvicultural Research Report 1999

159

การปรับปรุงพันธุไม A. crassicarpa จึงควรเพิ่มจํ านวนแหลง (Provenances) และมีจํ านวนสายพันธุ (Families) มากขึน้ โดยเฉพาะแหลงที่มาจาก PNG และ Irian Jaya จากประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งผลการทดลองทองที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ พบวาเจริญเติบโตดีเชนเดียวกับ PNG แตเนื่องจากการทดลองนี้ พบวาแหลงจาก Jadine river, QLD เปนแหลงที่มีการเจริญเติบโตตํ่ าที่สุดของการทดลอง จึงนาจะเปนผลที่สอดคลองกันกับการทดลองของ Williams และ Luangviriyasaeng (1989) พบวาไมชนิดนี้มี Interaction ระหวางสายพันธุกับสภาพทองที่ปลูก

ผลจากการศกึษาลักษณะทางชีพลักษณะ คือ รูปทรงของลํ าตนและลักษณการแตกงามนั้น ทํ าใหรูวาแหลง QLD มลัีกษณะความตรงของลํ าตนดีกวา PNG แต PNG มกีารเจริญเติบโตดีกวา QLD การปรับปรงุสายพนัธุ จึงจํ าเปนตองรวมลักษณะดังกลาวของทั้ง 2 แหลงเขาดวยกัน หลังจากทดสอบสายพันธุที่ดีไดแลว อาจทํ าการผสมขามแหลง (hybridisation inter provenances) ทัง้นีไ้ดมีการศึกษาของ Awang et al. (1998) พบวาไม A. crassicarpa มผีลสํ าเร็จในการตอนกิ่งสูงถึง 73% โดยที่ถ่ินกํ าเนิด Limal-malan (17561) PNG มเีปอรเซ็นตการแตกรากสูงที่สุด ผลสํ าเร็จนี้จะสามารถนํ ามาใชในงานดานการผสมเกสรขามสายพันธุ (controlled crossing) ไดเปนอยางดี (Jiwarawat et al., 1996)

เอกสารอางอิง

พนดิา รุงรัตนกุล, สุชาติ นิ่มพลิา และ รัตนะ ไทยงาม. 2543. ผลการศึกษาการปกคลุมวัชพืชหญาคาของไมอคาเซยี 5 ชนิด และยูคาลปิตัส คามาลดูเลนซิสทีม่ีระยะปลูกตางๆ กัน, น. 110-122. ใน รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป พ.ศ.2542. สวนวนวฒันวิจัย, สํ านักวิชาการปาไม, กรมปาไม. กรุงเทพฯ.

วฑูิรย เหลืองวิริยะแสง, บพิตร เกียรติวุฒินนท, พิเศรษฐ ลือชานิมิตจิต และ พนิดา จวิรวัฒนใ 2538. ผลเบือ้งตนของการทดลองถิ่นกํ าเนิดไม A. crassicarpa ทีส่ถานีทดลองปลูกพรรณไมทรายทอง จังหวัดประจวบคีรีขันธ, น. 202-214. ใน รวมผลงานวนวัฒนวิจัย เลมที่ 2 (2538). สวนวนวัฒนวิจัย,สํ านักวิชาการปาไม, กรมปาไม. กรุงเทพฯ.

สิริลักษณ ภาคอรรถ, มาลี ภานุนํ าภา, วิจิตร อองสมหวัง, ลักษมี เสชนะ และ วินัย ปญญาธญัญะ. 2538.การศกึษาคุณภาพและประสิทธิภาพการใชงานของถานไม Acacia จํ านวน 17 ชนิด, น. 55-65. ในรายงานการประชุมวิชาการปาไม ประจํ าป 2537. การปลูกปาเพ่ือพัฒนาสิ่งแวดลอม ระหวางวันที่21-25 พฤศจิกายน 2537. ณ โรงแรมวังใต อํ าเภอเมือง จังหวัดสรุาษฏรธานี.

Amold, R.J., C.E. Harwood and M.W. Hains. 1994. Growth, Genetic parameters and selectiongain from Acacia crassicarpa in Northern Territory, Australia. In Proceedings of the IUFROAsia-Pacific Symposium on Forest Genetic Improvement, 19-22 October 1994. Beijing.

Page 13: ผลการทดลองถิ่นกําเนิดไม Acacia crassicarpafrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t12r42.pdf · รายงานวนวัฒนวิจัย

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2542 Silvicultural Research Report 1999

160

Awang, K., S. Jamahari, A.A. Zulkifli and nor Aini Abd Shukor. 1998. Growth marcottability andphotosynthetic rate of Acacia crassicarpa provenances at Serdang, Malaysia, pp. 299-304. InTurnbull, J.W., H.R. Crompton and K. Pinyopusarerk (ed). Recent Developemnts in AcaciaPlanting. ACIAR Proceedings No. 82. Australian Centre for International AgricultureResearch< Canberra.

Jiwarawat, P., V. Luangviriyasaeng and K.C. Woo. 1996. Hybrid seeds of Acacia auriculiformis,pp. 234-237. In Dieters, M.T., A.C. Matherson, D.C. Nikles, C.E. Harwood and S.M.Walker (ed). Tree Improvement for Sustainable Tropical Forestry. Proceedings, QFRI-IUFRO Conference. Caloundra, Queensland, Australia. 27 Oct – 1 Nov 1996. QueenslandForest Research Institute, Gympie.

Nhan, H.D. and N.Q. Duc. 1998. Acacia species and provenance trials in central northern Vietnam,pp. 143-147. In Turnbull, J.W., H.R. Crompton and K. Pinyopusarerk (ed). RecentDevelopments in Acacia Planting. ACIAR Proceedings No. 2. Australia Centre forInternational Agriculture Research, Canberra.

Shukor, Nor Aini Ab., A.N. Nang and K. Awang. 1998. Selected wood properties of Acaciaauriculiformis and A. crassicarpa provenances in Malaysia, pp. 155-160. In Turnbull, J.W.,H.R. Crompton and K. Pinyopusarerk (ed). Recent Developemnts in Acacia Planting. ACIARProceedings No. 82. Australian Centre for International Agriculture Research< Canberra.

Williams, E.R. and V. Luangviriyasaeng. 1989. Statistical analysis of tree species trial and seedlot:Site interaction in Thailand, pp. 145-152. In Boland, D.J. (ed). Tree for Tropics: GrowingAustralia Multipurpose Tree and Shrubs in Developing Countries< ACIAR Monograph No.10. Canberra.

Page 14: ผลการทดลองถิ่นกําเนิดไม Acacia crassicarpafrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t12r42.pdf · รายงานวนวัฒนวิจัย

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2542 Silvicultural Research Report 1999

161

ภาคผนวกAssessment Procedures for Acacias

Stem form1. Axis persistence: 6 classes

1. Double or multiple stems from ground level2. Axis loses persistence in the first (lowest) quarter of the tree3. Axis loses persistence in the second quarter of the tree4. Axis loses persistence in the third quarter of the tree5. Axis loses persistence in the fourth quarter of the tree6. Completely persistence

2. Stem straightness: 4 class1. Very crooked, >2 serious bends2. Slightly crooked, >2 small bend or <2 serious bend3. Almost straight, 1-2 small bends4. Completely straight

Branch characteristics3. Existence of upright branches in the first quarter

1. Multiple upright branches2. Single, Diameter > ½ of main stem3. Single, Diameter < ½ of main stem4. None

4. Forking (Not scored if axis persistence is 6)1. Repeated2. Single

5. Thickness (exclude upright branches)1. Very heavy, >2 branches with diameter > 1⁄3 of main stem2. Heavy, >2 branches with diameter > 1⁄3 of main stem3. Light, 1 branches with diameter > 1⁄3 of main stem4. Very light, branches diameter generally < 1⁄3 of main stem

Other trails6. Fruiting

1. Yes2. No

7. Health1. Evidence of stem or foliar damage by insects or diseases2. Free form insects and diseases