“เล่าสู่กันฟัง” -...

8
สนุกสอน โครงการว�จัยปฏิบัติการโรงเร �ยนพัฒนาคุณภาพตอเนื่อง (School Quality Improvement Program : sQip) เรียนสุข สะทอนคิดการทำงาน โรงเรียนพัฒนาคุณภาพตอเนื่อง กับครูสุธีระ ประเสริฐสรรพ เปดหองเรียน sQip คิดคนพบจากชุมชน PLC เมื่อคุณครูมุงมั่น นักเรียนยิ่งเปลงประกาย สาเหตุและการเปลี่ยนแปลงสำคัญที่เกิดขึ้น กับนักเรียนในโรงเรียน sQip ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2560 7 ฉบับ เมษายน 2561 เรื่องเดนในฉบับ นายนคร ตังคะพิภพ หัวหน้า Q-Coach โครงการวิจัยปฏิบัติการโรงเรียนพัฒนาคุณภาพต่อเนื่อง “เล่าสู่กันฟัง” ถ้อยแถลงของจดหมายข่าว “เรียนสุข สนุกสอน” ฉบับ นี้ มี 4 เรื่องราว ที่ขอน�ามาบอกกล่าวเล่าสู่กันฟัง ดังนีเรื่องที่ 1 : ดร.บุญรักษ์ ยอดเพชร เลขาธิการคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) ได้อนุมัติการ สนับสนุนงบประมาณ จ�านวน 2,000,000 บาท (สองล้านบาท) ให้กับโรงเรียน sQip ในสังกัด เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายเข้าร่วมแลก เปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมต่างๆ ในโครงการ sQip โรงเรียนละ 9,000 บาท รวมทั้งสนับสนุนงบประมาณจ�านวนหนึ่งให้แกศึกษานิเทศก์ ในเขตพื้นที่การศึกษาที่รับผิดชอบดูแลโรงเรียน ในโครงการ sQip ได้เข้าร่วมกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และให้ค�าแนะน�ากับโรงเรียน sQip ในความรับผิดชอบแต่ละเขตพื้นที่ จึงนับเป็นการเสริมแรงและ สร้างความร่วมมือทุกระดับอย่างน่ายินดียิ่ง เรื่องที่2: คณะกรรมการก�ากับทิศทาง โครงการ sQip น�าโดย คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา พร้อมด้วยทีม ผู้ทรงคุณวุฒิ สสค. , สกว. , ผู้แทน สพฐ. และ Q-Coach หัวหน้าโหนด ได้ลงพื้นที่เยี่ยมชมระบบข้อมูล Q-Info ของ เทศบาลนครภูเก็ต และการด�าเนินงาน Q-Network ของ โรงเรียน sQip จังหวัดภูเก็ต โดยมี คุณสมใจ สุวรรณศุภพนา นายกเทศมนตรีนครภูเก็ตรวมทั้งโรงเรียนในสังกัดเทศบาล ทุกโรงเรียน ให้การต้อนรับและได้แสดงวิสัยทัศน์ ที่เทศบาล นครภูเก็ตให้ความส�าคัญต่อระบบข้อมูลนักเรียนรายบุคคล ทั้งหมดทุกคนของโรงเรียนในสังกัดเพื่อตั้งเป ้าหมายการ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา สามารถมองเห็นเป็นรูปธรรม ซึ่งโครงการ sQip ก็ก�าลังด�าเนินการขยายผลการด�าเนินงาน ระบบ Q-Info ใน 200 โรงเรียน โดยใช้ระบบที่พัฒนาจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร เช่นเดียวกัน จึงนับได้ว่าเป็น ประสบการณ์ที ่ได้รับประโยขน์มาก นอกจากนี้ ยังมีข้อคิดเห็น ค�าแนะน�าและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพิ่มเติมที่น ่าสนใจ จากท่านประธานคณะกรรมการก�ากับทิศฯ และผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ร ่วมคณะเดินทางอีกหลายประเด็น หลังจากนั้น คณะ- กรรมการฯ และผู้ทรงคุณวุฒิ จึงเดินทางต่อไปศึกษาดูงาน

Upload: others

Post on 10-Jun-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: “เล่าสู่กันฟัง” - EEFapps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-30042561...2 | เร ยนส ข สน กสอน การบร หารจ ดการเคร

ดร.คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา ประธานคณะกรรมการกำกับทิศทาง โครงการว�จัยปฏิบัติการโรงเร�ยนพัฒนาคุณภาพ

ติดตอจดหมายขาว “เรียนสุข สนุกสอน” จดหมายขาวเพื่อโรงเรียนพัฒนาคุณภาพตอเนื่อง ไดที่

สำนักงานสงเสริมสังคมแหงการเรียนรูและคุณภาพเยาวชน (สสค.)

เลขที่ 388 อาคารเอส.พี. (อาคารเอ) ชั้น 13 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 02-619-1811

เขาชมฉบับอิเล็กทรอนิกสและติดตามขาวสาร จาก สสค. ไดที่ www.QLF.or.th email: [email protected]

“ดิฉันไมไดคาดหวังใหเกิดผลสัมฤทธิ์

ที่พุงเปาไปที่โรงเรียน และคุณครูเพียงประการเดียว

แตทายที่สุดคาดหวังใหเกิด ‘กรอบวิธีคิดใหมๆ’

ที่ไดจากการเรียนรูรวมจากเครือขาย sQip รุนแรก

อันจะเปนประโยชนในการขยายผลตอเพื่อนครูในรุนตอๆ ไป”

สนุกสอนโครงการว�จัยปฏิบัติการโรงเร�ยนพัฒนาคุณภาพตอเนื่อง (School Quality Improvement Program : sQip)

เรียนสุข

-News

สะทอนคิดการทำงานโรงเรียนพัฒนาคุณภาพตอเนื่อง

กับครูสุธีระ ประเสริฐสรรพ

เปดหองเรียน sQipคิดคนพบจากชุมชน PLC

เมื่อคุณครูมุงมั่น นักเรียนยิ่งเปลงประกาย

สาเหตุและการเปลี่ยนแปลงสำคัญที่เกิดขึ้นกับนักเรียนในโรงเรียน sQip

ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2560

7ฉบับ

เมษายน2561

เรื่องเดนในฉบับ

นายนคร ตังคะพิภพ หัวหน้า Q-Coach โครงการวิจัยปฏิบัติการโรงเรียนพัฒนาคุณภาพต่อเนื่อง

“เล่าสู่กันฟัง” ถ้อยแถลงของจดหมายข่าว“เรียนสุขสนุกสอน”ฉบับ

นี้มี4เรื่องราวที่ขอน�ามาบอกกล่าวเล่าสู่กันฟังดังนี้

เรื่องที่ 1 : ดร.บุญรักษ์ ยอดเพชร เลขาธิการคณะ

กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) ได้อนุมัติการ

สนบัสนนุงบประมาณจ�านวน2,000,000บาท(สองล้านบาท)

ให้กับโรงเรียนsQipในสังกัดเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายเข้าร่วมแลก

เปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมต่างๆ ในโครงการsQip โรงเรียนละ

9,000 บาท รวมทั้งสนับสนุนงบประมาณจ�านวนหนึ่งให้แก่

ศกึษานเิทศก์ในเขตพืน้ทีก่ารศึกษาทีร่บัผดิชอบดูแลโรงเรยีน

ในโครงการ sQip ได้เข้าร่วมกิจกรรมการจัดการเรียนรู ้

แลกเปลี่ยนประสบการณ์และให้ค�าแนะน�ากับโรงเรียนsQip

ในความรบัผดิชอบแต่ละเขตพ้ืนที่จึงนบัเป็นการเสรมิแรงและ

สร้างความร่วมมือทุกระดับอย่างน่ายินดียิ่ง

เรื่องที่2:คณะกรรมการก�ากับทิศทางโครงการsQip

น�าโดยคุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยาพร้อมด้วยทีม

ผู้ทรงคุณวุฒิสสค.,สกว.,ผู้แทนสพฐ.และQ-Coach

หัวหน้าโหนด ได้ลงพื้นที่เยี่ยมชมระบบข้อมูลQ-Info ของ

เทศบาลนครภูเก็ต และการด�าเนินงานQ-Network ของ

โรงเรยีนsQipจงัหวดัภเูกต็โดยม ีคณุสมใจ สวุรรณศภุพนา

นายกเทศมนตรีนครภูเก็ตรวมทั้งโรงเรียนในสังกัดเทศบาล

ทุกโรงเรียนให้การต้อนรับและได้แสดงวิสัยทัศน์ที่เทศบาล

นครภูเก็ตให้ความส�าคัญต่อระบบข้อมูลนักเรียนรายบุคคล

ท้ังหมดทุกคนของโรงเรียนในสังกัดเพื่อตั้งเป้าหมายการ

พฒันาคณุภาพการจดัการศกึษาสามารถมองเหน็เป็นรปูธรรม

ซึ่งโครงการsQipก็ก�าลังด�าเนินการขยายผลการด�าเนินงาน

ระบบQ-Info ใน200 โรงเรียน โดยใช้ระบบที่พัฒนาจาก

คณะวศิวกรรมศาสตร์ม.นเรศวรเช่นเดยีวกนัจงึนบัได้ว่าเป็น

ประสบการณ์ที่ได้รบัประโยขน์มากนอกจากน้ียงัมข้ีอคดิเหน็

ค�าแนะน�าและการแลกเปล่ียนเรียนรู ้เพิ่มเติมท่ีน่าสนใจ

จากท่านประธานคณะกรรมการก�ากับทิศฯและผู้ทรงคุณวุฒิ

ที่ร่วมคณะเดินทางอีกหลายประเด็น หลังจากนั้น คณะ-

กรรมการฯ และผู้ทรงคุณวุฒิ จึงเดินทางต่อไปศึกษาดูงาน

Page 2: “เล่าสู่กันฟัง” - EEFapps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-30042561...2 | เร ยนส ข สน กสอน การบร หารจ ดการเคร

2 | เรียนสุข สนุกสอน

การบริหารจัดการเครือข่าย(Q-Network)ของ8โรงเรียน

ในโครงการ sQip โหนด7 จังหวัดภูเก็ต ณ โรงเรียน

บ้านสะป�า โดยมี ผอ.สพป. ภูเก็ต นายสายัณห์ ไกรนรา

ให้การต้อนรับและร่วมกิจกรรมด้วยความสนใจในอนาคตอาจ

จะขยายระบบQ-Infoไปให้เตม็พืน้ทีโ่รงเรยีนในจงัหวดัภเูกต็

ก็ได้

เรื่องที่ 3 : เชิญชวนติดตามอ่านบทความที่เขียน

เรื่องราวของโครงการsQip ใน น.ส.พ.มติชน สุดสัปดาห์

คอลัมน์ไทยมองไทย: เรียนสุข สนุกสอน กับsQip โดย

คณุสมหมายปารจิฉตัต์นกัหนงัสือพมิพ์อาวโุสทีม่ปีระสบการณ์

มายาวนานซึง่คณุสมหมายได้เขยีนถงึโครงการsQipมาแล้ว

3 ตอน และจะมีอีกต่อๆ ไป เป็นseries สมาชิกสามารถ

ติดตามได้ท่ีFacebookFanpageเรยีนสขุสนกุสอนhttps://

www.facebook.com/sQipth/ ทั้งน้ีในช่วงของการจัด

กจิกรรมเวทีแลกเปลีย่นเรียนรูร้ะดับโหนด(KM-โหนด)สสค.

ได้เรียนเชิญคุณสมหมาย ปาริจฉัตต์ ร่วมลงพื้นที่เวทีKM

ระดับโหนดเพื่อเก็บข้อมูลสาระแนวคิดแนวทางตลอดจน

ผลการด�าเนินงานของโรงเรียนsQipที่ผ่านมาแล้วอีกด้วย

เรื่องที่ 4 : เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM-ระดับโหนด)

ได้เริ่มเวทีแรกแล้วที่ โหนด7ณจ.ภูเก็ตมีข้อสะท้อนคิดที่

เกิดประโยชน์มากมาย ซ่ึงท่าน ผอ.ประภาศรี อุยยามฐิติ

Q-Coach หัวหน้าโหนด7 ผอ.สดศรี ตันสุธัญลักษณ์ ผอ.

ณชัยเขมนิพัทธ์Q-Coachโหนด7และอาจารย์ศิริกัญญา

วัฒนเชือ้ผูป้ระสานงานโหนด7ได้ร่วมกันสงัเคราะห์ประเดน็

ต่างๆ ท่ีผู้เข้าร่วมเวทีKM ทุกกิจกรรมได้น�าเสนอไว้อย่าง

น่าสนใจซึ่งเวทีKM โหนดอื่นๆสามารถน�าไปประยุกต์การ

บริหารจัดการให้ดียิ่งขึ้นอาทิ

เทคนิคการท�าเป้าหมาย (Q-Goal) โดยเขียนแนวทาง

และตัวบ่งชี้ที่ชัดเจนโดยGoalต้องมาจากผลการสังเคราะห์

ความเห็นที่มาจากผู้มีส่วนร่วม3 กลุ่มคือ กลุ่มผู้บริหารและ

ครูกลุ่มนักเรียนและกลุ่มผู้ปกครองและชุมชนซึ่งQ-Goal

ที่ได้แต่ละวงรอบ จะมีการปรับได้ตลอดตามวงจรคุณภาพ

DALI

Q-Info เป็นระบบที่อ�านวยความสะดวกให้ครูและ

ผู้บริหารโรงเรียนน�าข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ได้จริง

แต่หากสามารถท�าให้สพฐ.ไม่ต้องมีหลายระบบเพื่อโรงเรียน

จะได้ไม่ต้องท�างานซ�้าซ้อนจะดีมาก และข้ันต่อไปจะได้น�า

ข้อมูลที่ได้จากระบบไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น

ประทบัใจเรือ่งเล่าเร้าพลงัของคณุครแูต่ละท่าน มคีวาม

รู้สึกว่ามีความสุขเกิดขึ้น จากการท�าให้เด็กแม้เพียง 1 คน ได้

รบัการมองเหน็จากครแูละจะได้รบัโอกาสชีวติในอนาคตทีด่ขีึน้

จากการใส่ใจของคุณครู ไม่ปล่อยให้เด็กถูกทิ้งให้ผจญต่อ

สถานการณ์เสี่ยงโดยล�าพัง และได้เทคนิคการดูแลนักเรียน

และการแก้ปัญหาของครูในต่างโรงเรียนน�าไปปรับใช้หรือ

เตือนใจขยายผลต่อครูในโรงเรียนเมื่อกลับไปได้

Q-PLC เป็นสิ่งจ�าเป็นมากในการท�างานอย่างมืออาชีพ

และการท�างานอย่างมเีป้าหมายชืน่ชมการพฒันางานQ-PLC

ผอ.ศักดิ์เดช กองสูงเนิน โรงเรียนเทศบาล4(เพาะช�า)

วิทยากรที่มาจากนครราชสีมาท�าให้เห็นความส�าเร็จจากการ

กระท�าที่มีประสบการณ์มาแล้วหลายปี

ข้อมูลที่ได้รับการสะท้อนความคิดเห็น เป็นการจัดให้

ผู้ร่วมประชุมทุกท่านให้ความเห็นไว้ในทุกช่วงเวลา มีค�าถาม

ให้เป็น4 ประเด็น ได้แก่ ประเด็น “ความคิด ความรู้สึก”,

ประเดน็“ความรูใ้หม่ที่ได้รบัเพิม่ขึน้”,ประเดน็“สิง่ทีจ่ะน�าไป

ใช้กับตนเองกลุม่และโรงเรยีน”และประเดน็“อืน่ๆทีอ่ยาก

บอก/ข้อเสนอแนะ” ซึ่งจากผลการสะท้อนความคิดเห็น

เหล่านี้ จะท�าให้การจัดประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM)

แต่ละโหนด ได้รับข้อมูลไปสังเคราะห์น�าไปสู่การพัฒนางาน

โครงการ sQip ได้ตรงประเด็นที่โรงเรียนต้องการมากขึ้น

พบกนัใหม่ในจดหมายข่าวฉบับหน้า จะได้น�าเรือ่งราวดีๆ

มาเล่าสู่กันฟัง ให้รู ้สึกร่วมชื่นชมยินดีกับพัฒนาการของ

โรงเรียนsQipท่ีก้าวรดุหน้าค่อนข้างเรว็มากกว่าท่ีคาดคดิครบั

Page 3: “เล่าสู่กันฟัง” - EEFapps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-30042561...2 | เร ยนส ข สน กสอน การบร หารจ ดการเคร

เรียนสุข สนุกสอน | 3

สะท้อนคิดการทำ งานโรงเรียนพัฒนาคุณภาพต่อเนื่องกับครูสุธีระ ประเสริฐสรรพ์

“……เด็กจะเปิดรับการเรียนรู้ เมื่อห้องเรียนคือพ้ืนที่

ปลอดภยั นีถื่อเป็นหลักใหญ่ของความสมัพนัธ์ของครแูละเดก็

โดยครูจะเป็นผู้เปิดพื้นที่นี้ อย่างไรก็ตามในขณะนี้สิ่งที่ยังเป็น

ปัญหาของการเรียนการสอนคือการใช้ระบบอ�านาจ ซึ่งจะ

ท�าให้เกดิพืน้ทีแ่ห่งความหวาดกลวั เกิดเป็นความห่างเหนิ จาก

ความสัมพนัธ์เป็นความเบือ่หน่าย การต่อต้านในการเรยีน….”

เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ส�านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการ

เรียนรู้และคุณภาพเยาวชน(สสค.) และ ส�านักงานกองทุน

สนับสนุนการวิจัย(สกว.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ

มหาวิทยาลัยนเรศวรจัดประชุมปฏิบัติการเปลี่ยนแปลงที่เกิด

ข้ึนกับโรงเรียนในโครงการวิจัยปฏิบัติการโรงเรียนพัฒนา

คุณภาพต่อเนื่องหรือsQipผู้อ�านวยการครูและนักเรียน

จ�านวน10แห่งจ�านวน50คนเข้าร่วมโดยที่ประชุมยังได้รับ

เกยีรติจากท่ีปรกึษาและคณะกรรมการก�ากับทิศทางโดยหนึง่

ในน้ัน ได้แก่ รศ.ดร.สุธีระ ประเสริฐสรรพ์ อาจารย์คณะ

วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หัวหน้า

โครงการเพาะพันธุ์ปัญญาของสกว.ได้เข้าร่วมประชุมและ

ได้ร่วมแลกเปลี่ยนและสะท้อนประเด็นส�าคัญในการพัฒนา

ห้องเรียนและโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู ้ที่มีความสุข

จึงขอสรุป4ประเด็นส�าคัญเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการท�างาน

ของผู้บริหารและครูต่อไปดังนี้

1) การให้เด็กและเยาวชนเป็นเจ้าของการเรียนรู้แทน

การสอน คือหลักการใหญ่ที่ส�าคัญที่จะท�าให้การพัฒนาการ

นางสาวธันว์ธิดา วงศ์ประสงค์ นักวิชาการสสค.

เรียนรู้ของเด็กได้ดี โดยครู

สธุรีะได้แนะน�ากระบวนการ

ที่จะท�าให้เด็กเป็นเจ้าของการ

เรยีนรูที้เ่รยีกว่าการบรูณาการสาระ

การเรียนรู้เข้าสู่ประสบการณ์ กล่าวคือ ครูควรกระตุ้นให้

นักเรียนลงมือปฏิบัติก่อนการเรียนทฤษฎี เนื่องจากการ

เรียนรู้ในลักษณะน้ีเป็นส่ิงท่ีสอดคล้องกับวิถีชีวิตเด็กมากกว่า

การให้และการป้อนทฤษฎี ซึ่งเป็นส่ิงท่ีเด็กจะเบื่อหน่ายและ

ไม่สามารถเชื่อมโยงได้การที่เด็กได้ลงมือปฏิบัติเด็กจะตั้งใจ

ฟัง เกิดเป็นความสนุกในการเรียนรู้ การที่จะให้เด็กและ

เยาวชนเป็นเจ้าของการเรียนรู้ได้ นอกจากนี้ครูจ�าเป็นต้องมี

ทักษะและความสามารถในการบูรณาการสาระการเรียนรู้

เข้าสูป่รากฏการณ์ทีเ่หน็จากการปฏิบตัด้ิวยโดยมคีวามเข้าใจ

ในสาระวชิาและอธบิายปรากฏการณ์ทีเ่กดิขึน้ได้และกระตุน้

ให้เด็กถ่ายทอดความรู้ที่เรียนออกมา

2) หัวใจของการเรียนรู้คือการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี

ระหว่างครแูละนกัเรยีนงานวจิยัระดบันานาชาตริะบุปัจจยัที่

มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมากที่สุดคือ

ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูและนักเรียน โดยเฉพาะการที่ครู

เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินตนเอง และ

การสร้างให้ห้องเรียนเป็นพื้นที่ปลอดภัย เด็กจะเปิดรับการ

เรียนรู้อย่างเต็มที่ครูจึงเป็นผู้ที่มีบทบาทที่ส�าคัญมากในการ

สร้างบรรยากาศในห้องเรยีนให้เดก็กล้าคดิ เปลีย่นจากพืน้ท่ี

Page 4: “เล่าสู่กันฟัง” - EEFapps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-30042561...2 | เร ยนส ข สน กสอน การบร หารจ ดการเคร

4 | เรียนสุข สนุกสอน

หวาดกลัวเป็นพื้นที่ปลอดภัย อย่างไรก็ตามในขณะนี้สิ่งที่ยัง

เป็นปัญหาของการเรียนการสอนคือการใช้ระบบอ�านาจซึง่จะ

ท�าให้เกดิพืน้ท่ีแห่งความหวาดกลวัเกิดเป็นความห่างเหนิจาก

ความสมัพนัธ์เป็นความเบือ่หน่ายการต่อต้านในการเรยีนเมือ่

พื้นท่ีปลอดภัยเกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงของเด็กท่ีจะเกิดขึ้น

และเป็นตัวบ่งชี้ได้ดีคือพฤติกรรมเด็กที่กล้าคิดกล้าพูด เป็น

ตัวของตนเองสะท้อนถึงการมีทักษะด้านการสื่อสารซึ่งเป็น

ทักษะในศตวรรษที่21 ซึ่งการท่ีเด็กจะสามารถมีทักษะนี้ได้

บรรยากาศและสภาพแวดล้อมจ�าเป็นต้องเอื้อ นอกจากนี้อีก

วิธกีารเรยีนรูห้นึง่ทีค่รูสธีุระแนะน�าคอืการเปิดโอกาสให้เด็ก

ช่วยเหลือกัน ซึ่งเป็นวิธีการเรียนรู้ที่เด็กจะได้เรียนรู้มากที่สุด

เพราะเด็กได้มีโอกาสดึงความรู้ออกมาใช้และช่วยเหลือเพ่ือน

ตามหลักการของBloom’sTaxanomyและถือเป็นระดับการ

เรียนรู้ที่สูง

3) การเรยีนอย่างมีความสขุจะท�าให้เดก็เกดิการเรยีนรู้

การเรยีนสนกุทีโ่รงเรยีนภายใต้โครงการโรงเรยีนพฒันาคณุภาพ

ต่อเน่ืองได้สะท้อนผลการท�างาน ถือเป็นการตอบสนองขั้น

พืน้ฐานของเดก็เพือ่ยกระดบัให้สงูขึน้วธิทีีด่กีว่าคอืการเรยีน

แล้วมีความสุข หน้าที่ของครูจึงเป็นการกระตุ้นให้เด็กได ้

เรียนรู้ท่ีรู้สึกสนุก อยากเรียน และเมื่อเรียนแล้วมีความสุข

เด็กจะเรียนได้ด้วยตัวเขาเองการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นเรื่อง

ส�าคัญที่เด็กจะสามารถประเมินตนเองได้ตลอดเวลา หรือ

FormativeAssessment วิธีการหน่ึงที่ครูสุธีระได้เสนอแนะ

เพื่อให้เกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในและเกิดการ

เรียนรู้คือการใช้กระบวนการจิตปัญญาโดยเริ่มจากครูเพื่อ

ให้เกิดความสัมพันธ์แบบใหม่ของครูต่อเด็ก

4) กระบวนการให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) เป็น

มาตรการที่ส�าคัญที่จะยกระดับผลการเรียนรู้ของนักเรียน

จากการสะท้อนผลการท�างานของโรงเรยีนทีเ่ข้าร่วมโรงเรยีน

ได้เริ่มกระบวนการการให้ข้อมูลย้อนกลับแล้วแต่ยังอยู่ใน

ระดับกระบวนการ ยังไม่ใช่การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่เด็กซึ่ง

ส�าคัญมากกว่า ตวัอย่างการท�างานของโรงเรียนในโครงการ

เพาะพนัธ์ุปัญญา สามารถสรุปหลักคิดส�าคัญได้คือ ถามคือ

สอน เขียนคือคิด สะท้อนคิดคือเรียนซึ่งถือเป็นกระบวนการ

ของครทูี่ให้ข้อมลูย้อนกลบัแก่นักเรยีนโดยการต้ังค�าถามหรอื

ปจุฉาวปัิสสนาการถามสามารถสรปุได้2ทศิทางคือการถาม

ทีท่�าให้เดก็กล้าหรอืไม่กล้าตอบโดยธรรมชาตเิดก็จะพยายาม

ปรึกษาครูตลอดเวลาเพื่อให้ครูตอบว่าท�าได้หรือไม่ ท�าอะไร

ต่อและขอข้อเสนอแนะส�าเร็จรูปในการท�างาน

“การท�าโครงการ แทนท่ีครูจะบอก1234 ครูควร

ตั้งค�าถามกลับเช่นหากจะท�าแบบนี้อะไรควรมาก่อนมาหลัง

อะไรท�าแล้วเสียหายท�าไมถึงท�าไม่ได้โดยครเูป็นฝ่ายตัง้ค�าถาม

เพื่อให้เด็กกล้าคิดกล้าท�าเอง นอกจากการท�าให้เด็กกล้าคิด

กล้าท�าแล้วการท�าให้เด็กเก่งเป็นโจทย์ที่ท้าทายซึ่งหมายถึง

การทีค่รสูามารถเอาความรูจ้ากตวัผูเ้รยีนออกมาแล้วท�าความ

เข้าใจกับปรากฏการณ์ใหม่ได้ โดยใช้สาระวิชามาสนับสนุน

หากท�าแบบนี้ได้เดก็จะเข้าใจว่าเรยีนไปท�าไมและเดก็จะเก่งขึน้”

ครูสุธีระได้ให้หลักของการถามของครูคือ การเป็น

Coachซึง่แตกต่างและยากกว่าการเป็นMentorหรอืพีเ่ลีย้ง

ซึ่งมีหน้าที่ให้ค�าแนะน�าช่วยเหลือ แต่การเป็นCoach คือ

การถามโดยครสูธุรีะได้ยกตวัอย่างการพฒันาห้องเรยีนแบบ

ActiveLearning“การให้เด็กน�าเสนอผลงานของตนเองแล้ว

ให้เด็กตั้งค�าถามหรือให้ความเห็นเมื่อเด็กยกมือครูก็จะให้

คะแนนตวัอย่างนีถ้อืว่าไม่ใช่เพราะครจูะต้องเข้าใจถงึคณุภาพ

ในการให้ความเหน็คณุภาพของค�าถามและคณุภาพของการ

ตอบ การให้คะแนนก็แตกต่างกัน ครูให้ข้อมูลย้อนกลับแก ่

ผูเ้รยีนว่าค�าถามแบบไหนทีม่คีณุภาพเมือ่เดก็จะคดิถามอะไร

เดก็จะค�านงึถงึคณุภาพก่อนไม่ใช่ทกุคนยกมอืแล้วได้คะแนน

หมด การค�านึงถึงคุณภาพในการถามจะกระตุ้นให้ท้ังห้อง

สร้างการเรียนรู้ การให้ข้อมูลย้อนกลับจึงเป็นกระบวนการที่

ส�าคัญของครูโดยการจับประเด็นคุณภาพของค�าถามโดยครู

ไม่ให้ค�าตอบ แต่เป็นการดึงสาระออกมา และถือเป็นทักษะ

ที่สุดยอดมากในการตั้งค�าถาม หากท�าได้การเรียนรู้จะสนุก

มากและเกิดการเรียนรู้ที่สูง”

สมาชกิท่ีสนใจสามารถตดิตามสาระและข้อมลูการเรยีนรู้

ดีๆ จากครสุูธรีะและครใูนโครงการเพาะพนัธุปั์ญญาท่ีเน้นการ

สร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ได้ที่https://www.facebook.

com/kruvijai

Page 5: “เล่าสู่กันฟัง” - EEFapps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-30042561...2 | เร ยนส ข สน กสอน การบร หารจ ดการเคร

เรียนสุข สนุกสอน | 5

“เม่ือก่อน เพือ่นคอืสิง่ทีท่�าให้อยากมาโรงเรยีน แต่ตอนนี้

วชิาทีเ่รยีนในแต่ละวัน คณุคร ูและกจิกรรมในโรงเรียน ท�าให้

อยากมาโรงเรียน เพราะสนุกและมีความสุขที่ได้เรียนค่ะ”

นี่คือค�าพูดจากหัวใจของ นางสาวสุนิสา เสรีรัตน์

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6โรงเรียนไทรโยคน้อยวิทยาคม

ดวงตาของเธอนั้นเปล่งประกายฉายแววแห่งความสุขเมื่อ

ยามเล่าให้เราฟัง

แม้หลงับานประตูเก่าๆของห้องเรียนจะไม่ได้เตม็ไปด้วย

สื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย โต๊ะเก้าอี้ สีหม่นๆ ก็ไม่ได้มี

สีสันสวยงาม แต่ภายในห้องที่เราเห็น ชีวิตชีวาของคุณครู

1คนสามารถกุมหัวใจของเด็กๆทั้ง30กว่าคนภายในห้อง

เปิดห้องเรียน sQipคิดค้นพบจากชุมชน PLCเมื่อคุณครูมุ่งมั่น นักเรียนยิ่งเปล่งประกาย

ไว้ได้คุณครูให้เด็กๆแบ่งเป็นทีมแข่งกันตอบค�าถามแสดง

ท่าทางใบ้ค�าอย่างออกรส ต่างฝ่ายต่างยกมือแย่งกันตอบ

ค�าถามเกี่ยวกับค�าศัพท์ภาษาอังกฤษด้วยความกล้าไม่ม ี

เขินอายเสียงหัวเราะสดใสดังขึ้นเป็นระยะ

หากจะบอกว่าห้องเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษา

อังกฤษ ของโรงเรียนไทยโยคน้อยวิทยาคม หนึ่งใน201

โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนพัฒนาคุณภาพต่อเนื่อง

(sQip)คือภาพฝันที่เป็นจริงของห้องเรียนในดวงใจของเด็กๆ

คงจะไม่ผดินกัด้วยระยะเวลาเพยีง1ภาคเรยีนนีเ่ป็นผลลพัธ์

จากความมุ่งมั่นของบุคลากรในสถานศึกษาอันประกอบด้วย

ผู้อ�านวยการและคุณครูที่มีหัวใจเดียวกัน พูดคุยและวางแผน

แก้ปัญหาร่วมกนัทัง้ยงัมกีารนเิทศตดิตามกระบวนการด�าเนนิ

ทีมสื่อสาร สสค.

Page 6: “เล่าสู่กันฟัง” - EEFapps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-30042561...2 | เร ยนส ข สน กสอน การบร หารจ ดการเคร

6 | เรียนสุข สนุกสอน

งานแก้ปัญหาและสะท้อนผลลัพธ์ร่วมกันอย่างสม�่าเสมอ

จนก่อเกิดเป็นรูปธรรมความส�าเร็จจากกระบวนการสร้าง

ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพหรือPLC

“เด็กในชนบทจะแอนตี้ภาษาอังกฤษ ไม่รู้ประโยชน ์

จะโดดเรยีนไม่ท�างานภาษาองักฤษเข้าถึงยากคร้ังแรกทีเ่จอ

เดก็ชัว่โมงแรกเด็กม.6ยงัเขยีนช่ือภาษาองักฤษไม่ได้เลยค่ะ

ขนาดชื่อของเขา เด็กยังไม่รู้เลยว่า ตัวอักษรตัวนี้

แทนอะไรในภาษาไทย เราจะท�ายังไงดี

ต้องหากิจกรรมอะไรก็ได้ที่จะมาแก้

ปัญหาตรงน้ี” นางณิชนันทน์ ศรี

วลีรัตน์ หนึ่งในอาจารย์PLCกลุ่ม

สาระภาษาต่างประเทศกล่าว

ไม่ง่ายเลยทีจ่ะเปล่ียนความคดิ

เด็กๆ แต่คุณครูก็ไม่ยอมแพ้ด้วย

ความเชื่อมั่นอย่างแรงกล้าว่า เด็กทุก

คนมีศักยภาพ สามารถพัฒนาให้เก่งและ

เป็นคนดีได้จึงน�ามาสูก่ารปรับเปลีย่นวธีิการสอนเพือ่ให้เดก็ๆ

เรียนอย่างมีความสุข และครูก็สนุกในการสอนไปด้วย จึงได้

ข้อสรุปว่าการเรียนผ่านการเล่น ยังคงเป็นกลยุทธ์ดึงดูดใจ

นักเรียนที่ดีที่สุด

อาจารย์ณิชนันทน์เล่าว่า“ในการสอนจะใช้เกมส์เรียก

ว่าminiwhiteboardโดยหาอปุกรณ์ง่ายๆใช้กระดาษreuse

แทนกระดาน น�ามาใส่แฟ้ม มีปากกาไวท์บอร์ด และใช้ทิชชู่

แทนแปรงลบกระดาน เด็กยุคนี้ชอบสิ่งท้าทาย สนุกสนาน

เร้าใจจึงกระตุ้นด้วยการแบ่งเป็นทีมช่วยกันคิดช่วยกันตอบ

ค�าถามเกี่ยวกับค�าศัพท์หมวดหมู่ต่างๆครบเครื่องทั้งพูดอ่าน

เขียนนักเรียนจะได้ฝึกการะดมความคิด รู้จักท�างานเป็นทีม

เพือ่นช่วยเพือ่นเรือ่งแพ้ชนะนัน้ไม่ส�าคญัแต่เป็นแรงผลกัดนั

ให้อยากเรียนรู้

ภายหลังจากเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนด้วย

กระบวนการPLCเพยีงหน่ึงภาคเรียนก็พบว่านกัเรียนมคีวาม

สามารถจดจ�าค�าศัพท์ภาษาอังกฤษได้มากขึ้นมีเจตคติที่ดีต่อ

การเรยีนภาษาองักฤษและมคีวามสขุในการเรยีนไม่เกดิความ

เบื่อหน่ายและกดดันเหมือนที่ผ่านมาบรรยากาศในการเรียน

สนุกสนานขึ้น

และนี่คือเสียงจากนักเรียนที่ยืนยันผลส�าเร็จที่เกิดขึ้น

“ถงึครจูะยงัสวยและสาวแต่เมือ่ก่อนช่องว่างระหว่างครู

นกัเรยีนยงัมอียูเ่ยอะค่ะวธิกีารสอนไม่ได้ท�าให้ใกล้ชิดขนาดนี้

รู้สึกเกร็งไม่สนิทพอครูสอนแบบใหม่รู้สึกสนุกสนิทขึ้นคุย

ได้มากขึ้น เวลาเจอหน้าคุณครูก็ไม่เครียดไม่อึดอัด ไม่ใช่

เฉพาะอังกฤษนะคะรู้สึกอย่างนี้ทุกวิชาในโรงเรียนเมื่อก่อน

เวลาเราสงสัยอะไรก็ไม่ถามครู ไม่ค่อยคุยกับครู คุยแค่ใน

ห้องเรยีนแต่พอตอนนี้อะไรก็ตามที่เราสงสัยไม่ใช่แค่เพื่อน

ท่ีเราจะถาม คุณครูจะคลายข้อสงสัยจริงๆ

เจอท่ีไหนกท็กัทายได้พดูคยุหนรููส้กึว่า

ไม่ได้เรยีนแค่ในโรงเรยีนแต่เรยีนได้

ทุกๆที่ค่ะ” นางสาวสุนิสา เสรีรัตน์

นักเรียนชั้ นมัธยมศึกษาป ีที่ 6

โรงเรียนไทรโยคน้อยวิทยาคม เล่า

ด้วยน�้าเสียงที่เต็มไปด้วยชีวิตชีวา

ต้องยอมรับว่า ยิ่งคุณครูเชื่อมั่นใน

นกัเรยีนของตนเองมากเท่าไหร่เดก็ๆทกุคนยิง่ส่องประกาย

ศกัยภาพออกมาได้มากมายเท่านัน้นบัเป็นแรงผลกัดนัทีส่ร้าง

ผลกระทบท่ียิง่ใหญ่เพราะผลลัพธ์ไม่ใช่แค่เกรดท่ีเพิม่ขึน้หาก

แต่เป็นการวางรากฐานชีวิตที่เข้มแข็ง เก่งและดีให้กับเด็กๆ

และทัง้หมดนีส้ะท้อนออกมาอย่างชดัเจนในแววตาและถ้อยค�า

ของเด็กๆของห้องเรียนภาษาอังกฤษโรงเรียนไทรโยคน้อย

วิทยาคม

“จากจติวญิญาณของความเป็นครูครกัูบเดก็ต้องมคีวาม

รักและความอาทร เป้าหมายต้องท�าให้เด็กได้ความรู้ แต่เรา

จะสอนอย่างไรสอดแทรกความรกัความเข้าใจเอือ้อาทรถ้า

เขาไม่ได้อย่ากดดันครูต้องหาแนวทางเปิดโลกทัศน์ให้เขา

เปิดใจเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง”คุณครูณิชนันทน์กล่าว

Page 7: “เล่าสู่กันฟัง” - EEFapps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-30042561...2 | เร ยนส ข สน กสอน การบร หารจ ดการเคร

ผศ.ดร.ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง ทีมวิจัย sQip คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เรียนสุข สนุกสอน | 7

เนือ่งจากการด�าเนินงานโครงการวิจัยปฏิบติัการโรงเรยีน

พัฒนาคุณภาพต่อเน่ือง(SchoolQualityImprovement

Program:sQip)โดยส�านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้

และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ได้ด�าเนินการในช่วงภาค

การศกึษาต้นปีการศกึษาพ.ศ.2560ทีผ่่านมาเป็นระยะเวลา

1 ภาคการศึกษา ด้วยการสนับสนุนการด�าเนินงานโดย

ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.)โดยมีโรงเรียนใน

พื้นที่ 14 จังหวัดร่วมโครงการจ�านวน200 โรงเรียน

เป้าประสงค์ของโครงการคือ เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนมี

ขีดความสามารถในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยตนเอง

ปัจจุบันโครงการวิจัยปฏิบัติการโรงเรียนพัฒนาคุณภาพ

ต่อเนื่องได้ด�าเนินการในระยะที่2 ในภาคการศึกษาปลาย

ปีการศึกษาพ.ศ.2560หนึ่งในการด�าเนินการของโครงการ

sQipได้แก่ระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ

การศึกษา (Q-Info) ซึ่งก�าลังมุ่งพัฒนากรอบตัวบ่งชี้ ใน

การติดตามความก้าวหน้าของโรงเรียนรวมถึงติดตามการ

ด�าเนินงานของโครงการในระยะที่2 ในข้ันตอนน้ีจึงมีการ

จัดประชุมปฏิบัติการเมื่อวันที่16-17 กุมภาพันธ์2561 ณ

อาคารเอสพี โดยมีการเชิญที่ปรึกษาโครงการ นักวิชาการที่

เกี่ยวข้องกับโครงการ หัวหน้าโค้ช ผู้บริหารสถานศึกษา ครู

และนักเรียนจาก10โรงเรียนรวมจ�านวนผู้ร่วมประชุมกว่า

80 คน เพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับรูปธรรมการเปล่ียน

แปลงท่ีเกดิข้ึนกบันกัเรยีนในช่วงระยะเวลาตัง้แต่เร่ิมโครงการ

ถึงปัจจุบัน ท้ังนี้เพื่อสังเคราะห์ลักษณะการเปลี่ยนแปลงให้

สาเหตุและการเปลี่ยนแปลงสำ คัญที่เกิดขึ้นกับนักเรียนในโรงเรียน sQipภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2560

ประจักษ์ทีเ่กิดขึน้รวมถึงวิเคราะหห์าสาเหตุการเปลี่ยนแปลง

ท่ีเกิดขึ้นจากการด�าเนินโครงการดังกล่าว น�าไปสู่การพัฒนา

เป็นสารสนเทศและการได้มาซึ่งตัวบ่งชี้เพื่อเป็นกรอบใน

การศึกษาโครงการในระยะที่2ต่อไป

ผลการสังเคราะห์เนื้อหาจากการประชุมเกี่ยวกับ

การเปลี่ยนแปลงท่ีส�าคัญที่เกิดกับนักเรียน พบว่ามีความ

สอดคล้องระหว่างกลุ่มผู้บริหาร ครู และนักเรียน ประกอบ

ด้วย พฤติกรรมด้านการเรียน ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับ

นกัเรยีนความสมัพนัธ์ระหว่างนกัเรยีนกบันกัเรยีนและเจตคติ

ต่อโรงเรียน โดยพฤติกรรมย่อยแต่ละด้านมีรายละเอียดดัง

ต่อไปน้ี พฤติกรรมด้านการเรียน ได้แก่ การที่นักเรียน

อยากมาโรงเรียนเข้าเรียนไม่มาสายหรือขาดเรียนมีความ

รับผิดชอบในการส่งงานและท�าการบ้าน มีส่วนร่วมในการ

เรียนท้ังการกล้าแสดงออก การตั้งค�าถาม การแสดงความ

คดิเหน็การตอบค�าถามและการแสวงหาความรูน้อกห้องเรยีน

นักเรียนมีความสนใจในการเรียน มีผลการเรียนที่เพ่ิมขึ้น

รวมถึงมีเป้าหมายในการเรียนท่ีชัดเจน ส่วนความสัมพันธ์

ระหว่างครูกับนักเรียนได้แก่การมีความศรัทธาในครูมีครู

ในดวงใจ การไว้ใจกล้าปรึกษาปัญหาอื่นนอกเหนือจากการ

เรียนกับครู อยากทักทายเข้าพบครู รู้สึกได้รับการเอาใจใส่

จากครู และช่องว่างระหว่างครูและนักเรียนลดลง ส�าหรับ

ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับนักเรียน ได้แก่ ความ

สนิทสนมระหว่างเพื่อนในห้องเรียน มีกิจกรรมในชั้นเรียน

ระหว่างกันมากขึ้น พูดคุยซักถามบทเรียน เพื่อนสอนเพื่อน

“มอง sQip จากมุมวิจัย”

Page 8: “เล่าสู่กันฟัง” - EEFapps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-30042561...2 | เร ยนส ข สน กสอน การบร หารจ ดการเคร

ติดต่อจดหมายข่าว “เรียนสุข สนุกสอน” โครงการวิจัยปฏิบัติการโรงเรียนพัฒนาคุณภาพต่อเนื่อง ได้ที่ส�านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)เลขที่ 388 อาคารเอส.พี. (อาคารเอ) ชั้น 13 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 02-619-1811เข้าชมฉบับอิเล็กทรอนิกส์และติดตามข่าวสาร จาก สสค. ได้ที่ www.QLF.or.th email: [email protected]

ช่วยกันเรียนจนเกิดความสามัคคีและการทะเลาะวิวาทลดลง

นอกจากนี้เจตคติต่อโรงเรียนหรือความรู้สึกต่อโรงเรียนเป็น

ไปในทิศทางบวก เช่น รู้สึกผูกพันกับการเรียนและโรงเรียน

มีความสุข สนุกกับการเรียนรู ้ ไม่เครียดในการมาเรียน

ซึ่งตัวแปรดังกล่าวมีความสอดคล้องกับตัวบ่งช้ีที่เก็บข้อมูล

จากแบบสอบถามของโครงการTIMSSและPISA2015ที่

เกี่ยวข้องกับตัวแปรบรรยากาศของโรงเรียน ความปลอดภัย

ในโรงเรียน การจัดการเรียนการสอน ความสัมพันธ์กับครู

ความสัมพันธ์กับครูในการเรียน การใฝ่เรียนรู้ (Student

engagement)และเจตคติของนักเรียนเป็นต้น

เ ม่ือวิเคราะห์ถึงสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของ

นักเรียน พบว่ามีความสอดคล้องระหว่างกลุ่มผู้บริหาร และ

ครูประกอบด้วยปัจจัยเนื่องมาจากผู้บริหารครูผู้ปกครอง

และตวันกัเรยีนโดยพฤตกิรรมย่อยแต่ละปัจจยัมรีายละเอยีด

ดังต่อไปนี้ปัจจัยจากผู้บริหาร ได้แก่ การมีวิสัยทัศน์ในการ

ปรับเปลี่ยนการด�าเนินงานของโรงเรียน เพื่อมุ่งเป้าหมายใน

การพัฒนานักเรียนการเป็นแบบอย่างที่ดีในการท�างานการ

มีสัมพันธภาพที่ดีกับครูในโรงเรียน ความเชื่อมั่นในศักยภาพ

ครู การเปิดโอกาสให้ครูท�างานอย่างเป็นอิสระ ด้วยการลด

การใช้อ�านาจในการบริหาร การกระตุ้นให้เกิดกระบวนการ

ท�างานร่วมกนัระหว่างครูการรับฟังความคิดเหน็ในการด�าเนนิ

งานในโรงเรียนจากครูการเปิดโอกาสให้ผูป้กครองมส่ีวนร่วม

ในการก�าหนดการด�าเนินงานของโรงเรียน และการอ�านวย

ความสะดวกสื่ออุปกรณ์และงบประมาณต่างๆ ปัจจัยจาก

ครู ได้แก่ ความเชื่อมั่นในศักยภาพของตนเองในการจัดการ

เรียนการสอน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การมีปฏิสัมพันธ์กับ

เพือ่นครใูนประเด็นเก่ียวกับการพฒันานกัเรยีนหรอืการจดัการ

เรียนการสอนจนกระทั่งเกิดการปรับเปลี่ยนเอาใจใส่ในการ

เรยีนการสอนแบบactivelearningการท�ากิจกรรมกลุม่เน้น

การลงมือปฏิบัติ การบูรณาการ การใช้กิจกรรมและส่ือ

การเรียนสอนที่หลากหลายกระตุ้นเปิดโอกาสให้นักเรียนมี

ส่วนร่วมในการเรียนการให้ข้อมูลป้อนกลับการติดตามการ

เรยีนรูข้องผูเ้รยีนและการลดการใช้อ�านาจในการเรยีน ปัจจยั

จากผู้ปกครอง ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการก�าหนดและการ

ตดิตามการด�าเนนิงานของสถานศกึษาการตดิตามและเอาใจ

ใส่การเรียนของบุตรหลานการมีปฏิสัมพันธ์กับโรงเรียนและ

ช่องทางการส่ือสารกับครูและผู้บริหารโรงเรียนมากขึ้น การ

ให้การสนับสนุนในการเป็นวิทยากรภูมิปัญญาชาวบ้านและ

งบประมาณ รวมถึงมีความเชื่อมั่นในการท�างานของครูและ

ผู้บริหารโรงเรียนมากขึ้น สุดท้ายปัจจัยจากตัวผู้เรียน ได้แก่

การที่นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งการ

ก�าหนดเป้าในการเรียน มีการลงมือท�ากิจกรรมการเรียนรู้

และทราบผลของการวดัประเมนิผลท�ากจิกรรมร่วมกนัในการ

ช่วยเหลือกันในการท�าการบ้านหรืองานในห้องเรียนมากขึ้น

จนกระทัง่ท�าให้มคีวามเชือ่มัน่ว่าตนเองมศีกัยภาพในการเรยีน

ของตนเองเพิ่มขึ้น

กล่าวโดยสรุป สาเหตุการเปล่ียนแปลงของพฤติกรรม

การเรยีนของนกัเรยีนเกดิจากการสอนทีห่ลากหลายเน้นการ

มส่ีวนร่วมของผูเ้รยีนเชือ่มัน่ในศกัยภาพของนกัเรยีนสามารถ

เปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมรับผิดชอบการเรียนของตนเอง

ผูบ้รหิารเปิดโอกาสรบัฟังและเชือ่มัน่ในศกัยภาพครูดงึให้ครู

ร่วมคิดในการท�างานของโรงเรียน มีอิสระในการท�างาน

ลดทอนวัฒนธรรมอ�านาจท้ังในระดับโรงเรียนและชั้นเรียน

การมีสัมพันธภาพของนักเรียน ครู และผู้บริหารท่ีดีข้ึนจาก

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้พูดคุยรับฟังและเคารพในความคิด

ของแต่ละฝ่าย โรงเรียนจึงน่าอยู่มากขึ้น ดังค�ากล่าวปิด

การประชุมของรศ.ดร.สุธีระประเสริฐสรรพ์ที่ว่า“เมื่อผู้สูง

ก้มลงมา ผู้ต�่าจึงกล้ายืนขึ้น” และ “การหาเหตุให้เจอ เพื่อ

สร้างเหตใุห้เกดิขึน้”ผลการประชมุครัง้นีจ้งึน�าไปสูส่ารสนเทศ

ทีเ่ป็นส่วนหนึง่ในการพฒันาตวับ่งชีต้ดิตามการด�าเนนิงานของ

โรงเรียนและโครงการวิจัยปฏิบัติการโรงเรียนพัฒนาคุณภาพ

ต่อเนื่องต่อไป