“ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... ·...

27
“ทิพภาวะ” แหงองคพระมหากษัตริยในกฎมณเฑียรบาล โดย ดร.วรพร ภูพงศพันธุ ***************************** “ทิพภาวะ” แหงองคพระมหากษัตริยในกฎมณเฑียรบาล จะเปนการศึกษาในกฎมณเฑียรบาล ซึ่งกฎ มณเฑียรบาลเปนกฎหมายลักษณะหนึ่งในกฎหมายตราสามดวงที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก โปรดใหชําระเมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๘ กฎหมายตราสามดวงถือวาเปนหลักฐานสําคัญชิ้นหนึ่งที่สามารถนํามาศึกษา ประวัติศาสตรไทยสมัยอยุธยาถึงตนรัตนโกสินทรไดเปนอยางดีเพราะวาเราเอากฎหมายตราสามดวงเปนตัวตั้ง กฎมณเฑียรบาลฉบับแรกสุดเขียนขึ้นเมื่อไรไมทราบแนชัดแตวาการที่กฎมณเฑียรบาลเปนกฎที่วาดวยการ รักษาเรือนหลวงหรือเรือนของพระเจาแผนดิน และนาจะทําใหกฎมณเฑียรบาลอยูคูกับสถาบันกษัตริยมาชา นาน เทาที่ปรากฏหลักฐานจนถึงปจจุบันกฎมณเฑียรบาลฉบับเกาที่สุดที่สืบทอดมาคือกฎมณเฑียรบาลฉบับทีพระบาทสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดใหตราขึ้นเมื่อป พ.ศ. ๒๐๑๑ จริง ๆ เขียนเปนปจุลศักราชแตทาน อ.ดร.ประเสริฐ ณ นคร ชวยแปลงเปน พ.ศ. ให กฎมณเฑียรบาลมีฐานะเปนพระราชกําหนดกฎหมายจึงทําให มีอํานาจบังคับใชในทางปฏิบัติเหมือนกับกฎหมายอื่น ๆ แตวากฎมณเฑียรบาลจะมีความแตกตางจากกฎหมาย อื่นในแงที่วากฎหมายทั่วไปจะเปนบทบัญญัติเพื่อระงับขอพิพาทตาง ๆ ที่เกิดขึ้นระหวางกัน แตวากฎมณเฑียร บาลจะเปนกฎสําหรับรักษาเรือนพระเจาแผนดินและเปนการพรรณนากําหนดพระเกียรติยศพระเจาแผนดิน และพระบรมวงศานุวงศ ขาราชการผูใหญผูนอยที่อยูในตําแหนงราชการและเปนขอบังคับสําหรับราชการทีจะประพฤติใหถูกตอง ตรงนี้จะมีความสําคัญมากกฎมณเฑียรบาลที่จะนํามาพูดอยูในกฎหมายตราสามดวง กฎมณเฑียรบาลเปนเรื่องของการสืบราชสันตติวงศ แตในกฎมณเฑียรบาลที่อยูในกฎหมายตราสามดวงไมมี นัยเลยก็ไดมีการไดคุยกันในทีมงานนักวิจัยกฎหมายเหมือนกันวาจะเปนเรื่องเกี่ยวกับการสืบราชสมบัติหรือไม ทาน อ.ดร.ประเสริฐบอกวาอาจจะเปนไปไดแตมีความเพียงขอเดียวที่จะมีลักษณะใกลเคียงกันก็คือบอกวา “ลูกที่เกิดจากอัครมเหสีมีตําแหนงเปนสมเด็จหนอพระพุทธเจา” คือคนที่จะเปนพระพุทธเจาตอไปในอนาคต เพียงแคประโยคนี้ประโยคเดียวที่เหลือไมใชเลย ที่เหลือจะเปนเรื่องที่ขาราชการพึงปฏิบัติวาจะตองทําอะไร เปนเรื่องของพระราชพิธีตาง ๆ เพราะฉะนั้นกฎมณเฑียรบาลเปนกฏที่ขาราชการทุกคนในราชสํานักจะตอง เรียนรูไววาคุณจะตองทําอะไร อยางไร ตองรูวาถากษัตริยเสด็จไปที่ไหนใครตองตามเสด็จ ตองทําตัวอยางไร จะเปนลักษณะอยางนั้นมากกวา จะตองเรียนรูไวไมงั้นถาเกิดคุณทําผิดจะมีโทษสถานหนักอันนี้คือกฎ มณเฑียรบาลที่มาอยูในกฏหมายตราสามดวงซึ่งตางจากกฎมณเฑียรบาลปจจุบันที่เราอาจจะคุนกันก็เปนฉบับ พ.ศ.๒๔๖๗ ที่รัชกาลที่ ๖ ทานโปรดใหมีการตราขึ้นมาและตองมีการกําหนดวาใครจะสืบทอดราชสมบัติ อยางไร อันนี้คือเปนการอธิบายเรื่องของกฎมณเฑียรบาล แตวาสําหรับวันนี้สิ่งที่เราจะพูดกันคือเรื่องของ “ทิพภาวะ” ทิพภาวะก็คือความเปนภาวะที่เปนทิพย ไมใชคนธรรมดาขององคพระมหากษัตริย การที่จะ เขาไปทิพภาวะขององคพระมหากษัตริยไดจุดเริ่มตนตองเขาใจกอนวาทิพภาวะขององคพระมหากษัตริยคือ อะไร สิทธิธรรมคือสิทธิ์อันชอบธรรมขององคพระมหากษัตริยวาเกิดขึ้นมาไดอยางไร สําหรับสิทธิธรรมของ องคพระมหากษัตริยไมวาจะเปนเรื่องของการตัดสินคดีความ การจัดระเบียนในสังคมลวนมีที่มาทั้งสิ้น ที่มา

Upload: others

Post on 09-Aug-2020

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

“ทิพภาวะ” แหงองคพระมหากษัตริยในกฎมณเฑียรบาล โดย

ดร.วรพร ภูพงศพันธุ *****************************

“ทิพภาวะ” แหงองคพระมหากษัตริยในกฎมณเฑียรบาล จะเปนการศึกษาในกฎมณเฑียรบาล ซ่ึงกฎมณเฑียรบาลเปนกฎหมายลักษณะหนึ่งในกฎหมายตราสามดวงท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกโปรดใหชําระเม่ือ พ.ศ. ๒๓๔๘ กฎหมายตราสามดวงถือวาเปนหลักฐานสําคัญช้ินหนึ่งท่ีสามารถนํามาศึกษาประวัติศาสตรไทยสมัยอยุธยาถึงตนรัตนโกสินทรไดเปนอยางดีเพราะวาเราเอากฎหมายตราสามดวงเปนตัวตั้ง กฎมณเฑียรบาลฉบับแรกสุดเขียนขึ้นเม่ือไรไมทราบแนชัดแตวาการท่ีกฎมณเฑียรบาลเปนกฎท่ีวาดวยการรักษาเรือนหลวงหรือเรือนของพระเจาแผนดิน และนาจะทําใหกฎมณเฑียรบาลอยูคูกับสถาบันกษัตริยมาชานาน เทาท่ีปรากฏหลักฐานจนถึงปจจุบันกฎมณเฑียรบาลฉบับเกาท่ีสุดท่ีสืบทอดมาคือกฎมณเฑียรบาลฉบับท่ีพระบาทสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดใหตราขึ้นเม่ือป พ.ศ. ๒๐๑๑ จริง ๆ เขียนเปนปจุลศักราชแตทาน อ.ดร.ประเสริฐ ณ นคร ชวยแปลงเปน พ.ศ. ให กฎมณเฑียรบาลมีฐานะเปนพระราชกําหนดกฎหมายจึงทําใหมีอํานาจบังคับใชในทางปฏิบัติเหมือนกับกฎหมายอ่ืน ๆ แตวากฎมณเฑียรบาลจะมีความแตกตางจากกฎหมายอ่ืนในแงท่ีวากฎหมายท่ัวไปจะเปนบทบัญญัติเพ่ือระงับขอพิพาทตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นระหวางกัน แตวากฎมณเฑียรบาลจะเปนกฎสําหรับรักษาเรือนพระเจาแผนดินและเปนการพรรณนากําหนดพระเกียรติยศพระเจาแผนดินและพระบรมวงศานุวงศ ขาราชการผูใหญผูนอยท่ีอยูในตําแหนงราชการและเปนขอบังคับสําหรับราชการท่ีจะประพฤติใหถูกตอง ตรงนี้จะมีความสําคัญมากกฎมณเฑียรบาลท่ีจะนํามาพูดอยูในกฎหมายตราสามดวง กฎมณเฑียรบาลเปนเรื่องของการสืบราชสันตติวงศ แตในกฎมณเฑียรบาลท่ีอยูในกฎหมายตราสามดวงไมมีนัยเลยก็ไดมีการไดคุยกันในทีมงานนักวิจัยกฎหมายเหมือนกันวาจะเปนเรื่องเกี่ยวกับการสืบราชสมบัติหรือไม ทาน อ.ดร.ประเสริฐบอกวาอาจจะเปนไปไดแตมีความเพียงขอเดียวท่ีจะมีลักษณะใกลเคียงกันก็คือบอกวา “ลูกท่ีเกิดจากอัครมเหสีมีตําแหนงเปนสมเด็จหนอพระพุทธเจา” คือคนท่ีจะเปนพระพุทธเจาตอไปในอนาคต เพียงแคประโยคนี้ประโยคเดียวท่ีเหลือไมใชเลย ท่ีเหลือจะเปนเรื่องท่ีขาราชการพึงปฏิบัติวาจะตองทําอะไร เปนเรื่องของพระราชพิธีตาง ๆ เพราะฉะนั้นกฎมณเฑียรบาลเปนกฏท่ีขาราชการทุกคนในราชสํานักจะตองเรียนรูไววาคุณจะตองทําอะไร อยางไร ตองรูวาถากษัตริยเสด็จไปท่ีไหนใครตองตามเสด็จ ตองทําตัวอยางไร จะเปนลักษณะอยางนั้นมากกวา จะตองเรียนรูไวไมง้ันถาเกิดคุณทําผิดจะมีโทษสถานหนักอันนี้คือกฎมณเฑียรบาลท่ีมาอยูในกฏหมายตราสามดวงซ่ึงตางจากกฎมณเฑียรบาลปจจุบันท่ีเราอาจจะคุนกันก็เปนฉบับ พ.ศ.๒๔๖๗ ท่ีรัชกาลท่ี ๖ ทานโปรดใหมีการตราขึ้นมาและตองมีการกําหนดวาใครจะสืบทอดราชสมบัติอยางไร อันนี้คือเปนการอธิบายเรื่องของกฎมณเฑียรบาล แตวาสําหรับวันนี้ส่ิงท่ีเราจะพูดกันคือเรื่องของ “ทิพภาวะ” ทิพภาวะก็คือความเปนภาวะท่ีเปนทิพย ไมใชคนธรรมดาขององคพระมหากษัตริย การท่ีจะเขาไปทิพภาวะขององคพระมหากษัตริยไดจุดเริ่มตนตองเขาใจกอนวาทิพภาวะขององคพระมหากษัตริยคืออะไร สิทธิธรรมคือสิทธ์ิอันชอบธรรมขององคพระมหากษัตริยวาเกิดขึ้นมาไดอยางไร สําหรับสิทธิธรรมขององคพระมหากษัตริยไมวาจะเปนเรื่องของการตัดสินคดีความ การจัดระเบียนในสังคมลวนมีท่ีมาท้ังส้ิน ท่ีมา

Page 2: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

หนึ่งของสิทธิธรรมก็คือจะเกี่ยวของกับเรื่องของกําเนิดสถาบันพระมหากษัตริยและสังคมมนุษย เกี่ยวพันกนัอยางไร? เพราะเม่ือเราฟงตรงนี้แลวเราจะเขาใจไดเลยวาเพราะส่ิงท่ีสังคมมนุษยมีปญหาถึงทําใหสถาบันกษัตริยเปนสถาบันท่ีขาดไมได เปนสังคมท่ีจําเปนท่ีสุดในสังคม เรามาดูเรื่องของกําเนิดสถาบันกษัตริยและสังคมมนุษย เนื่องจากวาสถาบันกษัตริยของเราไดรับอิทธิพลอุดมการณทางการเมืองและการปกครองจากฝายศาสนาพราหมณ ฮินดูและพุทธ เพราะฉะนั้นถาเราจะดูเรื่องนี้เราอาจจะตองดูวรรณกรรมนิดหนอย วรรณกรรมท่ีจะพูดถึงเรื่องกําเนิดกษัตริยและสังคมมนุษยเรามาดูช้ินแรกก็เปนวรรณกรรมของทางศาสนาพราหมณ – ฮินดู วรรณกรรมของศาสนาพราหมณท่ีจะเรียกวา “พราหมณะ” เขาจะพูดถึงมนุษยคนแรกท่ีไดรับการแตงตั้งใหเปนกษัตริย บอกวามาจากเกตตุตอนหลังก็เพ้ียนมาเปนปฐพี ชวงท่ีเขาขึ้นมาเปนกษัตริยเปนชวงท่ีโลกมนุษยวุนวายท่ีสุดเนื่องจากวาส้ินสุดยคุกริดายุค ซ่ึงเปนยุคท่ีรุงเรืองท่ีสุด ตามคติพราหมณโลกเราจะแบงออกเปน ๔ ยุค คือ กริดายุค ไตรดายุค ภราบรยุค และกลียุค ถาเราเช่ือตามคติพราหมณตอนนี้เรากําลังอยูในชวงกลียุค แตชวงท่ีเกิดกษัตริยองคแรกขึน้มาจะเปนชวงเพ่ิงส้ินสุดของยุคกริดายุคท่ีถือวาเปนยุคทอง ฉะนั้นกษัตริยองคแรกสุดเกิดขึ้นมาเนื่องจากความ วุนวาย สวนกาพยมหาภารตะเหมือนกันบอกวาเกตตุเปนจักรพรรดิองคแรกของโลกท่ีไดรับการสถาปนาโดยบรรดาปราชญผูมีฤทธ์ิ โดยอาศัยพระราชพิธีราชสูยะหลังจากท่ีเอาชนะศัตรูท้ังหลายไดแลวพระองคก็ขยายอาณาจักรออกไป ในอาณาจักรของพระองคประชาชนดํารงชีวิตอยางอิสระโดยไมตองหวาดกลัวกับโรคภัยไขเจ็บใด ๆ ท้ังส้ิน ทุพภิกขภัยตาง ๆ ก็ไมมี บานเมืองมีความอุดมสมบูรณ ดวยเหตุนี้เทพเจาแมกระท่ังอสูร สัตวตาง ๆ นักปราชญ ประชาชน ก็เลยประกาศใหเปนจักรพรรด ิ ในอีกคติความเช่ือหนึ่งก็ถือวามนูเปนกษัตริยพระองคแรก เรื่องกษัตริยองคแรกจะมีหลายเวอรช่ันมาก อีกความเช่ือหนึ่งก็ถือวามนูเปนกษัตริยพระองคแรกเหตุท่ีตองตั้งกษัตริยขึ้นมาก็เพราะวาเกิดสภาพท่ีเรียกวา “สภาพอนาธิปไตย” หรือเปนลักษณะของสังคมปลาใหญกินปลาเล็ก สภาพการณเชนนี้ก็เลยทําใหคนจํานวนหนึ่งเขาไปหาพระพรหมและขอใหพระพรหมแตงตั้งกษัตรยิโดยคนเหลานี้จะเคารพบูชาผูท่ีรับการแตงตั้งขอใหกษัตริยท่ีแตงตั้งปกครองพวกเขา ทีนี้พอไปขอรองใหเปนกษัตริยมนูปฏิเสธดวยเหตุผลท่ีวาเปนเรื่องท่ียากมากเพราะมนุษยเปนสัตวโลกท่ีไมซ่ือตรง เปนพวกท่ีหลอกลวง แตวาในทายท่ีสุดหลังจากท่ีประชาชนตกลงกนัวาจะใหสวนแบงตาง ๆ แกมนู ไมวาจะเปนสัตวจํานวนครึ่งหนึ่ง ใหขาว ๑๐ สวน และสวนแบง ๔ สวนจากการทํางานกับคนท่ีเปนกษัตริย มนูก็เลยตอบรับและเดินทางไปท่ีตาง ๆ ท่ัวโลกและจัดการใหมนุษยท้ังหลายกลับมาสูความถูกตองเท่ียงธรรมและจัดการลงโทษคนช่ัวรายคนเลวตาง ๆ สวนอีกคัมภีรหนึ่ง คัมภีรพราหมณะเลาถึงกษัตริยบอกวาครั้งหนึ่งเทพกับอสูรทําสงครามกัน ฝายเทพเพล่ียงพลํ้า ฝายเทพก็เลยไปเลือกโสมะ โสมก็คือพระจันทรมาเปนพระราชา เทพจึงเปนฝายชนะ เพราะฉะนั้นจึงถือเปนหลักการวาทุกสังคมจะตองมีพระราชาเปนผูนําในการรบ ก็เปนเรื่องเลากันมา ทีนี้มาดูวาคัมภีรของศาสนาพุทธวากันวาอยางไร เดี๋ยวจะสรุปใหอีกทีวาเรื่องเลาตรงนี้มีนัยท่ีสําคัญอะไร ในคัมภีรพระไตรปฏกของศาสนาพุทธ กําเนิดของเรื่องกษัตริยจะปรากฏอยูในอัคคัญสูตร ความในอัคคัญสูตรกลาวถึงกษัตริยองคแรกของโลกวาคือ “มหาสมมติ” มูลเหตุของการตั้งมหาสมมติเนื่องมาจากความวุนวายตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นมาในโลกเม่ือสัตวท้ังหลายวิวาทดาตีกันเรื่องการลักขโมยขาวสาลี อัคคัญสูตรจะเลาวาเม่ือกอนมนุษยเราจะอ่ิมทิพยและตอมาก็ไดกล่ินงวนดิน หอมก็เลยลงมากินงวนดิน พอไดกินงวนดิน

Page 3: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

จากท่ีอ่ิมทิพยไมตองกินอะไรก็เริ่มมีความหิวและรัศมีกายตาง ๆ ก็หายไป และพอรัศมีกายหายไปก็เริ่มมีผิวพรรณของคนธรรมดาเกิดขึ้น พอมีผิวพรรณของคนธรรมดาเกิดขึ้นก็เริ่มมีการดูถูกผิวพรรณซ่ึงกันและกันวาคนนั้นผิวพรรณดี คนนั้นผิวพรรณไมดี พอคนมีการดูถูกกันไปเรื่อย ๆ งวนดินก็หายไป ทายท่ีสุดก็มีขาวสาลีขึ้นมาแทน ขาวสาลีท่ีเกิดขึ้นโดยไมตองไถ ไมมีรํา ไมมีแกลบ บริสุทธ์ิมีกล่ินหอม เม่ือนํามากินตอนเชา ตอนเย็นก็จะงอกขึ้นมาใหม ฉะนั้นยิ่งกินขาวสาลี ความเปนผูมีผิวพรรณดียิ่งเห็นไดเดนชัดมากขึ้นก็เลยทําใหเกิดเปนเพศชายเพศหญิง พอเปนเพศชายเพศหญิงก็เกิดการเพงดูซ่ึงกันและกัน พอเพงดูซ่ึงกันและกันมากก็เกิดปญหาและก็มีการเสพยสังวาสและมีสัตวบางพวกรับไมไดกับการท่ีจับคูเสพยสังวาสกันก็เลยตองเร่ิมมีการตั้งเปนบานเปนเรือนขึ้นมา พอเริ่มมีการตั้งเปนบานเปนเรือนเปนหมูก็จะมีการคิดวาทําไมตองไปเก็บขาวสาลีตอนเชาและรอใหงอกตอนเย็นและไปเก็บตอนเย็นใหมก็เก็บมาเลยทีเดียวดีกวางายกวา ก็เริ่มมีคนเร่ิมสะสม พอเริ่มสะสมขาวสาลีท่ีเคยงอกขึ้นมาก็ไมงอกแลว ขาวสาลีก็ตองมีรํา มีแกลบ ขาวสาลีไมขึ้นคนก็ยิ่งทะเลาะกันเยอะ มีการตองไปปนสวน พอทะเลาะกันมาก ๆ เขาก็เลยมีการตกลงกันวาเรานาจะมาประชุมพรอมเพรียงกันและก็มีการลงความเห็นวาเราควรจะเขาไปหาสัตวผูหนึ่งท่ีจะวากลาวผูท่ีจะควรวากลาวได ติเตียนผูท่ีควรติเตียนไดและขับไลผูท่ีควรขับไลไดโดยพวกเราจะใหสวนแบงเปนขาวสาลีแกพวกนั้น พอตกลงกันดังนี้ปุบสัตวท้ังหลายก็ประชุมกันและบอกวาเราควรจะเขาไปหาสัตวท่ีมีรูปรางท่ีมีรูปงามกวา นาเล่ือมใสกวาและมีศักดิ์ใหญกวา เพราะวาคนทุกคนพรอมใจกันเขาไปหาและไปเชิญใหเปนหัวหนาของตนเอง เพราะฉะนั้นคําวามหาสมมติหรือมหาชนสมมติขึ้นมาก็เลยเกิดขึ้น ฉะนั้นนี่คือท่ีมาของคําวามหาชนสมมติท่ีเราคุนเคยกัน และความเช่ือท่ีวากษัตริยองคแรกคือมหาชนสมมติอัคคัญสูตรก็เลยไดกลายมาเปนคําอธิบายอยูในพระธรรมศาสตรซ่ึงเปนกฏหมายแมบทของบรรดากฎหมายท้ังปวง พระธรรมศาสตรก็นาสนใจมีปรากฏอยูในกฏหมายตราสามดวงเหมือนกัน แตท่ีนาสนใจคือวาพระธรรมศาสตรท่ีหยิบมาใชอีกทีหนึ่งไดอธิบายวาพระโพธิสัตวก็คือมหาสมมติ แตวาอยางไรก็ดีในพระธรรมศาสตรก็ยังกลาวไวตรงกันวาเหตุท่ีจําเปนตองมีการตั้งมหาสมมติขึ้นมาก็เพราะวาคนทะเลาะวิวาทกันไมมีใครบังคับบัญชาไดก็เลยจําเปนตองไปหาคน ๆ หนึ่งเขามา ฉะนั้นจากท่ีเลามาจะเห็นวากําเนิดกษัตริยพระองคแรกจะมีลักษณะท่ีรวมกัน คลายคลึงกันอยูท้ังท่ีปรากฏในคัมภีรของศาสนาพราหมณ – ฮินดู และก็คัมภีรของศาสนาพุทธ ขณะเดียวกนัเขาจะมีความแตกตางบางอยาง ขอแตกตางท่ีเห็นท่ีมีชัดเจนคือในคัมภีรของพราหมณ – ฮินดูบอกวากษัตริยองคแรกตองเปนนักรบดวยความเช่ือหนึ่งในคัมภีรหนึ่ง แตวาเรื่องเลานี้จะไมปรากฏอยูในพระไตรปฏกหรืออัคคัญสูตรเลยแตวาตรงนี้เรารับรูไดโดยท่ัวไปวาบทบาทการเปนผูนําในการรบเปนบทบาทท่ีปฏิเสธไมไดของกษัตริยเราตองเปนจอมทัพแตเราอาจไมเขียนไว ทีนี้จากสาระท่ีวาดวยกําเนิดของกษัตริยและสังคมมนุษยสามารถนํามาอธิบายและช้ีใหเห็นถึงสิทธิธรรมและความชอบธรรมขององคพระมหากษัตริยในทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกจิและสังคมไดเปนอยางดีในลักษณะไหนบางก็ในลักษณะแรกท่ีวาพระมหากษัตริยมีกําเนิดไมธรรมดา ถาพิจารณาจากกําเนิดกษัตริยองคแรกจากคัมภีรของพราหมณ – ฮินดูและของพุทธ ชาติกําเนิดมีท้ังท่ีเปนเทพ โสม พระอินทร หรืออาจจะเปนคนธรรมดา เชน มนู เปนมหาสมมติ หรอืมีสถานะเปนพระโพธิสัตวในคัมภีรพระธรรมศาสตร แตในกรณีของพระโพธิสัตวถาพิจารณาแลวจะมีสถานะก้ํากึ่งระหวางเทพกับมนุษยอยูระหวางท่ีบําเพ็ญบารมีท่ีจะเปนพระพุทธเจาตอไปในอนาคต ในกรณีท่ีเปนคนธรรมดาเกตตุซ่ึงสถาปนาขึ้นเปนกษัตริยแตวาส่ิงท่ีเขาทําตาง ๆ เชน การปราบส่ิงเลวรายตาง ๆ หรือมนูท่ีเดินทางไปในท่ีตาง ๆ ก็ทําให

Page 4: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

มนุษยกลับมาสูความเท่ียงธรรมก็ตองถือวาเขาไมใชคนธรรมดาเชนกัน หรือวาถามองวาคนท่ีสถาปนากัตตุขึ้นมาก็คือบรรดาปราชญ ฉะนั้นก็เห็นไดเลยวาไมใชคนธรรมดาแนนอน ฉะนั้นจากตรงนี้จะเกีย่วพันวากษัตริยองคแรกกําเนิดไมธรรมดา ความเช่ือนั้นก็สงตอมาอีกทีหนึ่ง สวนในอัคคัญสูตรของเราถาเราพิจารณาแคตามตัวอักษรเขาบอกวาก็เปนเพียงสัตวตนหนึ่งในสัตวท้ังหลาย แตเราก็ตองไมลืมวาในรายละเอียดท่ีเขาใหไวสัตวตนนั้นก็คือสัตวท่ีมีรูปงามกวา นาดูกวา นาเล่ือมใสกวา และมีศักดิ์ใหญกวาเพราะฉะนั้นเรื่องราวเกี่ยวกับกําเนิดท่ีสูงสงไมธรรมดาของกษัตริยพระองคแรก เม่ือถูกสงตอหรือนํามาเช่ือมโยงกับกษัตริยท่ีครองราชยอยูในดินแดนตาง ๆ ก็ยอมทําใหสถานภาพของกษัตริยเหลานั้นสูงสงตามไปดวยในฐานะท่ีเปนทายาทของพระมหากษัตริยท่ีทรงบุญฤทธ์ิ สําหรับอยุธยาของเราจะเห็นเรื่องเลาตรงนี้อยูในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับวันวลิตจะมีเรื่องเลาอยู ๓ เรื่อง เรื่องแรกเขาบอกวาเปนตํานานปรัมปราเกี่ยวกับพระมหากษัตริยองคแรกก็คือ “พระธรรมมิกราชเจา” บอกวาพระองคไมเพียงสรางอาณาจักรท่ียิ่งใหญแตยังเปนคนออกกฎหมาย และเปนหลักศาสนาสําหรับใชในดินแดนของพระองคดวย พระองคเปนผูซ่ึงคงไวดวยความยุติธรรม รอบคอบ สามารถยึดดินแดนและเมืองตาง ๆ ไวภายใตพระราชอํานาจ และเปนจักรพรรดิเหนือพระเจาแผนดิน ๑๐๑ พระองค ยิง่ใหญมาก สวนอีกตํานานหนึ่งก็เลาบอกวาผูสรางอาณาจักรสยามคนแรกนี่คือวันวลิตเลาก็คือ “พรหมเทพ” บอกวาเปนผูสรางกฎหมายและสรางศาสนาแตวาเนื่องจากความช่ัวราย ดื้อดึงของมนุษย พรหมเทพก็เลยสละราชอาณาจักรและตําแหนงพระเจาแผนดิน สวนตํานานสุดทายเขาบอกวาพระพุทธเจาเปนคนสรางอาณาจักรสยาม เปนพระเจาแผนดิน เปนผูออกกฎหมาย เปนการตั้งศาสนา เราคิดวานี่เปนเรื่องเลาปรัมปราท่ีมันเปนการรับรูกันอยูในสังคมอยุธยาโดยท่ัวไป วันวลิตเขียนไวเองเขาก็บอกวาเปนเรื่องเลาปรัมปรา แตถาเราคิดวาเรื่องเลานี้เปนการแพรหลายท่ัวไปอยูในสังคมอยุธยา เรื่องเลาตรงนี้ก็นาจะเปนประโยชนสําหรับกษัตริยในแงท่ีสามารถอางไดวาเปนผูสืบทอดเช้ือสายมาจากกษัตริยพระองคแรกซ่ึงไมใชคนธรรมดา ประการท่ี ๒ เกี่ยวกับลักษณะของกษัตริย จะเห็นวาพระมหากษัตริยกอกําเนิดขึ้นมาเนื่องจากสภาวะอันไมสงบของสังคม จะเห็นไดวาไมวาจะเปนเกตตุ มนู มหาสมมติ ลวนไดรับการสถาปนาขึ้นเปนพระมหากษัตริยก็เพราะความวุนวายตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในโลกท้ังส้ิน คือถาจะพูดไปแลวท้ังศาสนาพราหมณ ฮินดู และพุทธ มีความคิดเกี่ยวกับธรรมชาติ ธรรมชาติของมนุษยโดยพ้ืนฐานเปนคนบาป มีกิเลส ตัณหาและมีความโลภอยูในกมลสันดาน ฉะนั้นถาไมมีมาตรการปองกันแลวก็จะเกิดสภาพอนาธิปไตยขึ้นมา ทีนี้มาตรการในการแกไขมีอยู ๒ ดาน ทางดานศีลธรรมและดานทางโลก ทางศีลธรรมคือศาสนา ทางโลกคือรัฐ หรือรัฐบาลผูปกครองท่ีทําหนาท่ีปกครองอยางเด็ดขาดโดยอาศัยกฎหมายและการลงโทษ เพราะฉะนั้นผูปกครองหรือกษัตริยจึงเปนส่ิงสําคัญและจําเปนท่ีสุดของสังคม เพราะฉะนั้นเม่ือความจําเปนดังกลาวทฤษฎีการเมืองการปกครองของอินเดียท่ีเรารับมาถึงมีการเขียนไวอยางชัดเจนเลยวา “แมจะมีกษัตริยท่ีโหดราย เอาแตใจ และไมมีความยุติธรรมปกครอง กระนั้นก็ยังดีกวาไมมีผูปกครอง เพราะการไมมีผูปกครองถือเปนส่ิงท่ีเลวรายกวา” เปนการย้ําใหเห็นถึงความสําคัญของการมีสถาบันกษัตริย การใหความสําคัญกับผูปกครองหรือกษัตริยในฐานะผูปองกันสภาพอนาธิปไตยทําใหความคิดทางการเมืองท่ีสําคัญบางประการเกิดขึ้น ความคิดท่ีสําคัญท่ีสุดก็คือเรื่องของสิทธิและหนาท่ี แตวาเปนการท่ีตั้งขอสังเกตวาเรื่องของสิทธิเปนส่ิงท่ีไมคอยเห็นชัดเจนในสังคมบานเรา แมกระท่ังสังคมอินเดีย เราไมคอยมีการเรียกรองสิทธิอันชอบธรรมของเราวาเรา

Page 5: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

ควรจะไดรับการดูแลอยางไรบาง สิทธิอันนี้อาจจะเห็นชัดเจนของสังคมพวกฝรั่ง แตท่ีบานเราเห็นชัดเจนท่ีสุดคือแนวคิดเรื่องของหนาท่ี เปนการอบรมส่ังสอนมาเลยวาประชาชนมีหนาท่ีพึงมีตอกษัตริยท่ีปกครอง ตองมีหนาท่ีอะไรหลาย ๆ อยาง ตองเช่ือฟง เพราะฉะนั้นแนวคิดตรงนี้ก็มีการตอกย้ํา หนาท่ีก็เลยกลายเปนส่ิงท่ีสําคัญท่ีคนในสังคมเรารับรูมาโดยตลอด ประการท่ี ๓. พระมหากษัตริยไดรับการแตงตั้งขึ้นมาเพ่ือปกปองและดูแลทุกขสุขของประชาชน ขอนี้จะสัมพันธกับขอท่ีแลว คือเม่ือกษัตริยพระองคกําเนิดขึ้นมาเนื่องจากสภาพอนาธิปไตย ฉะนั้นถือเปนหนาท่ีของกษัตริยในการดูแลประชาชนไมใหไดรับความเดือดรอน ตองดูแลใหประชาชนอยูดีกินดีและทําใหบานเมืองอยูในสภาพท่ีอุดมสมบูรณ ฉะนั้นเราจะเห็นไดอยางหนึ่งเม่ือกษัตริยเปนผูท่ีประชาชนพรอมใจกันเลือกขึ้นมาเพ่ือท่ีทําหนาท่ีปกปองดูแลทุกขสุขและระงับจราจลตาง ๆ ฉะนั้นสิทธิธรรมและพระราชอํานาจอํานาจของกษัตริยจึงเกิดขึ้นจากประเด็นตาง ๆ ท่ีพูดมา แตวาอยางไรก็ดีมีขอท่ีนาสังเกตวาการขึ้นมาเปนผูปกครอง ประชาชนจะตองนําผลผลิตมาแลกเปล่ียนกับความคุมครอง เชน มนู ราษฎรตองเอาขาวมาแลก สวนมหาสมมติเองก็ตองเอาขาวสาลีมาให มองในแงหนึ่งคือผูปกครองทําหนาท่ีปกปองประชาชนแลกเปล่ียนกับภาษีหรือคาจางท่ีประชาชนตองจายนั่นเอง ฉะนั้นการสรางกรอบความคิดท่ีใหประชาชนมีหนาท่ีตองจายผลผลิตหรือเสียภาษีอากรประเภทตาง ๆ เพ่ือแลกเปล่ียนกับการปกปองคุมครองก็เลยทําใหสิทธิธรรมทางเศรษฐกิจของกษัตริยเกิดขึ้นตามมาดวย ฉะนั้นจากท่ีกลาวมาจะเห็นไดวาการอธิบายเรื่องกําเนิดกษัตริยองคแรกคือท่ีมาของสิทธิธรรมทางดานตาง ๆ ขององคกษัตริย คําอธิบายชุดเดียวกันนี้มีสวนอยางมากในการทําใหผูคนในสังคมตระหนักถึงความสําคัญขององคพระมหากษัตริยวาพระมหากษัตริยมีความจําเปนซ่ึงสังคมจะขาดไมได ทีนี้เรามาดูส่ิงท่ีตองมาพรอมกับสิทธิธรรม คือเรื่องของหนาท่ี ประการท่ี ๒. พันธะหนาท่ีขององคพระมหากษัตริย กอนท่ีจะพูดถึงพันธะหนาท่ีเริ่มแรกจะขอพูดถึงคัมภีรท่ีเปนของเรารับมาใชเยอะมากๆ คัมภีรหนึ่งจากอินเดียก็คือคัมภีรอรรถศาสตรของโกณทัญญะ จะมีการกลาวถึงองคประกอบของรัฐวามี ๗ อยาง คือ ๑. พระมหากษัตริย ๒.อํามาตย ๓.อาณาเขตของรัฐและประชาชน ๔.เมืองท่ีมีปอมปราการลอมรอบ ๕.ทองพระคลัง ๖.กองทัพ ๗.พันธมิตร องคประกอบท้ัง ๗ นี้ตางมีความสําคัญและตองอาศัยซ่ึงกันและกันเปนองคประกอบท่ีชวยรักษาใหการเมืองอยูในสภาวะท่ีสมดุล แตวาในบรรดาองคประกอบท้ัง ๗ ประการนี้ กษัตริยถือวาเปนองคประกอบท่ีสําคัญท่ีสุดของรัฐ เพราะวากษตัริยอยูเหนือสาระของรัฐเพราะฉะนั้นความหลายตอนในคัมภีรอรรถศาสตรจึงกลาววา “กษัตริยคือรัฐ” หรือใชคําวากษัตริยในความหมายของรัฐ เม่ือกษัตริยมีความหมายเทากับรัฐ หนาท่ีของกษัตริยก็คือหนาท่ีของรัฐ ฉะนั้นสิทธิธรรมตรงนี้ท่ีมาพรอมกับพันธะหนาท่ีจึงตองตามมาดวย พันธะหนาท่ีของกษัตริยจะมีอยู ๓ ประการใหญ ๆ คือ ประการแรกคือพันธะและหนาท่ีเริ่มแรก ถายอนกลับไปพิจารณาเรื่องของการเกิดกษัตริยองคแรกจากคัมภีรศาสนาพราหมณ – ฮินดู และพุทธ จะพบวาหนาท่ีแรกเริ่มของกษัตริยก็คือการปกปองผูทําดี และลงทัณฑผูทําความผิด หรือทําความช่ัวรายและดูแลความยุติธรรมใหเกิดขึ้นในสังคม แตมีขอแมวาถึงแมวาพระองคจะลงทัณฑอะไรตาง ๆ แตวาตองใชอํานาจนั้นอยางเปนธรรม มีการเขียนไวเลยวากษัตริยตองไมมีอคติหรือเอนเอียงเขาขางฝายใดฝายหนึ่ง ตองลงโทษบุคคลท่ีทําผิดทุกคนแมวาคน ๆ นั้นจะเปนญาติของตัวเองก็ตองทํา ถากษัตริยองคใดทําตามเกณฑนี้สังคมก็จะมีความรุงเรือง แตถาทําไมไดก็จะถูกทัณฑนั้นกลับคืนมาสนอง ฉะนั้นจะเห็นไดวาพันธะหนาท่ี

Page 6: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

ในการปกปองและลงทัณฑผูกระทําความผิดจะตองมาพรอมธรรมะเสมอ พูดงาย ๆ คือจะทําอะไรซักอยางหนึ่งธรรมะเปนส่ิงท่ีกํากับโดยตลอด แตลองสังเกตวาพอพูดถึงเรื่องการลงทัณฑและมันจะขัดแยงกับความคิดทางศาสนาพุทธหรือเปลา? เพราะวาในทางศาสนาพุทธในเรื่องของการลงทัณฑเราไมคอยอยากจะพูดถึงเพราะวาเปนเหมือนการทําบาป แตวาถาเกิดเราไปดใูนอัคคัญสูตรการลงทัณฑของมหาสมมติคือการวากลาวติเตียน หรือรุนแรงท่ีสุดก็คือการขับไลและถาดูตรงนี้ดูเหมือนวากษัตริยพุทธในอุดมคติจะเปนการปกครองโดยไมใชการลงทัณฑ แตวาในทางปฏิบัติแลวทําไมได ถือเปนผิดประเพณีท่ีกษัตริยจะตองสรางความยุติธรรมใหเกิดขึ้นแกบานเมืองโดยการลงโทษตอผูกระทําผิดเราอาจจะไมเขียนไวโดยตรงแตวาโดยอีกนัยหนึ่งกษัตริยก็ตองทําแตจะทําผานถาเปนปจจุบันอาจเปนกระบวนการของศาลยุติธรรมท่ีตองในนามของพระเจาอยูหัว การลงทัณฑจะกระทําผานบทลงโทษตัวบทกฎหมาย ในสมัยอยุธยาชาวตางชาตท่ีิเขามาจะกลาวไวสอดคลองกันเลยวาอยุธยามีกฎหมายท่ีดีมาก ๆ และกฎหมายนี้บังคับใชจนถึงตนรัตนโกสินทรดวย แตท่ีทุกคนพูดตรงกันก็คือวาคนท่ีไมดีคือผูบังคับใชกฎหมายซ่ึงมักทําหนาท่ีอยางไมสุจริตและไมเท่ียงธรรม แตวาตรงนี้กส็ะทอนใหเห็นวาอยางนอยกษตัริยก็พยายามทําหนาท่ีในการดูแลคนทําความดี ลงโทษผูทําความผิดโดยการใหตราและตั้งกฎหมายขึ้นมาเพ่ือใหเกิดความยุติธรรมขึ้นในสังคม การทําหนาท่ีปกปองและลงทัณฑแกประชาชนผานกฎหมายของพระมหากษัตริยอยุธยาเราจะเห็นไดจากพระราชกําหนดบทพระอัยการตาง ๆ ท่ีมีอยูเปนจํานวนมากในกฎหมายตราสามดวง ถาจะกลาวกันไปแลวพันธะหนาท่ีในการปกปองและลงทัณฑของผูท่ีทําผิดมีมาอยางสืบเนื่อง ในสมัยรัชกาลท่ี ๑ เม่ือพระองคเห็นวากฎหมายฟนเฟอนจนกระท่ังทําใหเกิดความไมยุติธรรมขึ้นกับประชาชนพระองคก็โปรดเกลาฯ ใหชําระกฎหมายเพ่ือใหเกิดความยุติธรรมขึ้นแกแผนดิน การท่ีตองโปรดใหมีการชําระกฎหมายก็เปนเรื่องของผูหญิงก็เปนกรณีพิพาทระหวางบุญศรีชางเหล็กหลวงกับอําแดงปอม โดยนายบุญศรีไดมาถวายฎีการองทุกขกับพระเจาอยูหัววาอําแดงปอมนอกใจไปทําชูกับชายอ่ืน แตกลับมาฟองหยานายบุญศรท้ัีง ๆ ท่ีนายบุญศรีไมผิด นายบุญศรีก็เลยไมยอมหยาแตวาผูพิพากษาตัดสินใหหยาไดโดยอางกฎหมายบอกวาเปนกรณีหญิงหยาชายหยาได พอตัดสินเชนนี้เสร็จรัชกาลท่ี ๑ บอกวาอยางนี้ไมยุติธรรมก็เลยจึงมีพระบรมราชโองการใหเจาพระยาพระคลังนํากฎหมายท่ีมีอยูมาตรวจสอบดูวาตรงกันไหม ผลปรากฏพบวาความตรงกันเขียนไววา “ชายหาผิดมิได หญิงขอหยาทานวาเปนหญิงหยาชายหยาได” ทานก็บอกวาอยางนี้ไมยุติธรรม ไมไดแลวอยางนี้กฎหมายปลอยไวไมไดก็เลยโปรดใหมีการชําระกฎหมายก็เลยเปนท่ีมาของการชําระกฎหมายและรวบรวมเปนกฎหมายเรียกวา “ประมวลกฎหมายตราสามดวง” ในปจจุบัน อันนี้คือพันธะหนาท่ีเริ่มแรก ทีนี้พันธะหนาท่ีอ่ืน ๆ ก็คือพันธะหนาท่ีทางการปกครอง ถือวาเปนหนาท่ีท่ีสําคัญยิ่งประการหนึ่งของกษัตริย หนาท่ีทางดานนี้จะรวมไปถึงหนาท่ีในการแตงตั้งขุนนาง ขาราชการในตําแหนงตาง ๆ ดวยท้ังฝายทหารและพลเรือนเพ่ือใหบริหารราชการเปนไปไดดวยดี โดยบุคคลท่ีจะไดรับการแตงตั้งตรงนี้จะตองเปนคนท่ีเลือกมาจากคนท่ีมีคุณสมบัติท่ีเหมาะสม ขอกําหนดของคุณสมบัติท่ีเหมาะสมของผูดํารงตําแหนงตาง ๆ จะปรากฏอยูในเอกสารหนึ่งท่ีเรียกวา “ปูมราชธรรม” ท่ีเปนเอกสารท่ี อ.ปรีดี ไปเจอตนฉบับท่ีฝรั่งเศสและเอามา และนอกจากปูมราชธรรมก็จะอยูในคัมภีรราชนิติตาง ๆ อยางเชนยกตัวอยางวาคุณสมบัติท่ีจะกษัตริยจะตองเลือกคนท่ีจะตองขึ้นมาเปนขุนคลังดูแลฝายการเงินเขาบอกวา “ขุนใดแสวงหาสวย ขุนใดชวยสินรอง ขุนใดตรองแสนคา ขุนใดหนาหลังตริ ขุนใดริลุกลาง ขุนใดชํานาญรูจาย ขุนใดบายบใหเคืองใจราษฏร ขุนใดบใหขาดสินรอง ขุนใดบใหหมองใจไท ขุนใดไมควรพัก ขุนใดรูเนตรโวหาร ขุน

Page 7: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

ใดชํานาญดังนี้ ๑๔ ส่ิงบอกช้ีขอตั้งขุนคลัง” แลวจะมีคุณสมบัติเขียนไวอยางนี้ท้ังหมดเลยวาคนท่ีจะทําหนาท่ีไมวาจะเปนขุนคลังหรือจะเปนฝายกลาโหมหรือฝายนิติธรรมอะไรก็แลวแตจะตองมีคุณสมบัติอะไรเขียนไวหมดเลย ฉะนั้นคุณสมบัติตรงนี้ถามองกลับไปก็ไมไดลาสมัย ก็ยังใชไดหรือถามาดูในคัมภีรราชนิติก็เขียนไวเหมือนกันบอกวาพระราชาพึงตั้งคนท่ีมีคุณลักษณะตอไปนี้เปนผูพิพากษาคือ ๑.มีตระกูลดี ๒.มีความประพฤติดี ๓.มีคุณธรรมประจําใจ ๔.มีความแมนยําในตัวบทกฎหมาย ๕.มีสติปญญาหลักแหลม และ๖.มีวิจารณญาณในการตัดสินคดี จะเปนขอกําหนดตาง ๆ ถือวาเปนส่ิงหนึ่งท่ีกษัตริยจะตองเรียนรูและทําหนาท่ีใหถูกตองครบถวนดวย หนาท่ีอ่ืน ๆ ประการตอไปคือหนาท่ีดูแลการกินอยูและดูแลปากทองของประชาชน อันนี้ก็คือสัมพันธกับหนาท่ีของกษัตริยเริ่มแรกเหมือนกัน สําหรับกษัตริยไทยขอกําหนดตรงนี้เราอาจจะเห็นไดชัดเจนลองยอนกลับไปคิดถึงทศพิธราชธรรมในสวนท่ีวาดวยทาน และความไมเบียดเบียนหรืออยูในจักรวรรดิวัตรท่ีเปนธรรมท่ีเนนการสงเคราะหบุคคลประเภทตาง ๆ การทําหนาท่ีดูแลปากทองประชาชนตรงนี้หมายรวมไปถึงวาการตองประกอบพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญในเดือน ๖ ซ่ึงเปนขวัญและกําลังใจใหกับชาวไรชาวนาดวย กษัตริยก็ตองเปนคนรับผิดชอบกับความอุดมสมบูรณ น้ํานอยเกินไป ฝนตกหนักเกินไปน้ําทวม ตองโทษพระมหากษัตริยนี่คือความเช่ือของคนในสมัยโบราณ ทีนี้หนาท่ีประการท่ี ๓. คือหนาท่ีในการอบรมส่ังสอนหลักธรรมทางศาสนาใหกับประชาชน การทําหนาท่ีนี้คอนขางจะอุดมคตมิาก ๆ เลยแตวาการทําหนาท่ีนี้ของกษัตริยเราตั้งแตสมัยอยุธยาถึงสมัยรัชกาลท่ี ๑ เอาแควากฎมณเฑียรบาลในสมัยรัชกาลท่ี ๑ หมายถึงมีการชําระในสมัยรัชกาลท่ี ๑ ถึงตรงนี้จะมีอยู ๒ ลักษณะ ถาท่ีเราเห็นอยูก็คือการทําหนาท่ีในการสนับสนุนใหแปลหรือแตงวรรณกรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนา เชน มหาชาติคําหลวง หรือไตรภูมิโลกนิติกถา ซ่ึงการใหความสนับสนุนดังกลาวถือเปนการทําหนาท่ีส่ังสอนธรรมทางออมเพ่ือใหประชาชนพนจากวัฏสงสาร ลักษณะท่ี ๒. คือการออกกฎหมายคุมครองศาสนสถาน พระภิกษุสามเณร เชน หามเผาทําลายพระอุโบสถ หามฆาสามเณร หามเผาลอกทองทําลายพระพุทธรูป ผูใดลวงละเมิดกฎหมายจะตองถูกลงโทษอยางรุนแรง จริง ๆ แลวกฎหมายในสมัยอยุธยาโทษตายไมไดมีเยอะเหมือนท่ีเราคิด เราอาจจะฟงฝรั่งมามากท่ีบอกกฎหมายเรามันโหดเห้ียม เอาเขาจริง ๆ คนท่ีจะส่ังประหารชีวิตมีไดคนเดยีวคือกษัตริยเทานั้น คุณจะตัดสินคดีท่ีไหนก็แลวแตสุดทายถาตองใหฆาใครสักคนตองใหกษัตริยเปนคนตัดสินใจ นักโทษท่ีจะลงโทษไดถึงตายจริง ๆ จะมีไมกี่อยาง คือ ๑.คิดแยงชิงพระราชบัลลังก ทํารายกษัตริย อันนี้แนนอน และโทษประการตอไปคือการทํารายศาสนา พวกลอกทอง เผาพระพุทธรูปอันนี้จะเปนโทษสถานหนักจริง ๆ ท่ีเห็นอยู หรือไมง้ันก็ออกกฏหมายใหประชาชนยึดม่ันอยูในศีลธรรม เชน ในสมัยรัชกาลท่ี ๑ ในป ค.ศ.๑๗๘๒ จะมีการกําหนดใหคนทุกช้ันตองตั้งอยูในกุศลธรรม ๑๐ ประการ และมีการกําหนดวาขาทูลละอองของพระองคจะตองสังวรในศีล ๕ ศีล ๘ ทุกคน และมีการออกกฎหมายวาหามลวงละเมิดไปมีการประพฤติผิดทางกามกับเมียของพวกขุนนางหรือประชาชนท่ัวไป อันนี้หนาท่ีท่ีเกี่ยวของประการท่ี ๓ หนาท่ีกับกฎมณเฑียรบาลโดยตรง กฎมณเฑียรบาลไดกําหนดสิทธ์ิของกาลเวลาท่ีพระเจาแผนดินจะตองประพฤติปฏิบัติในรอบวันไวในส่ิงท่ีเรียกวา “พระราชานุกิจ” หรือ “พระราชนุกิจ” ท่ีอยูในตนฉบับเอกสาร ตนเคาของพระราชนุกิจนาจะมาจากคัมภีรพวกอินเดีย อรรถศาสตรท้ังหลายและอันนี้จะนํามาปรับใหเขากับสภาพสังคมอีกทีหนึ่ง คัมภีรอรรถศาสตรกลาวถึงการปฏิบัติของกษัตริยไววาถาเม่ือใดก็ตามกษัตริยขันแข็งในราชกิจราษฎรของพระองคก็จะมีความขันแข็งในการงานดวย ถา

Page 8: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

กษัตริยทรงเกียจครานในการปฏิบัติราชกิจพระองคก็จะเสียทีแกศัตรู ดังนั้นกษัตริยจึงควรขะมักเขมนในการประกอบราชกิจอยางสมํ่าเสมอ และจากนั้นก็จะมีการกําหนดละเอียดยิบเลยในคัมภีรอรรถศาสตรวาแบงพระราชพิธีตั้งแตชวงกลางวัน กลางคืน ช่ัวโมงแรกกอนพระอาทิตยขึ้นตองรับรายงานเรื่องรายได รายจาย หลังพระอาทิตยขึ้นแลวตองรับฟงฎีกา อันนี้จะเปนท่ีในของอินเดีย แตท่ีเรารับมาและปรากฏอยูในกฎมณเฑียรบาลของเรากําหนดไวละเอียดมากเอาคราว ๆ เชน รุงแลวนาฬิกาหนึ่งใหเสด็จออกพระท่ีนั่งมงคลเบิกวังและสนมเขาเฝา สองนาฬิกาก็ใหเสวยน้ํายาคู หรือวาถาตอนค่ําแลวทุมหนึ่งก็ตองพิพากษาการศึก สองทุมพิพากษาการเมือง สามทุมพิพากษาคดีโบราณ ส่ีทุมเริ่มพระกระยาเสวย หาทุมเบิกโขนราชบัณฑิตสนทนาธรรม หกทุมเบิกเสภาดนตรี เจ็ดทุมเบิกนิยายถึงแปดทุม เกาทุมเขาบรรทม คือละเอียดยิบ ๆ มากเลยวาจะตองทําอะไร ฉะนั้นราชกิจจะปรากฏแบงเปนกลางวันและกลางคืน และในวันหนึ่งราชกิจจะบอกท้ังหมดวามีท้ังเวลาสวนพระองคคือเสวยพระกระยาหาร บรรทม เบิกเสภาดนตรี เบิกนิยายก็คงมีคนอานใหฟง และมีเอกสารของฝรั่งเขียนไวช้ินหนึ่งบอกวาเวลาท่ีกษัตริยบรรทมตอนกลางคืนหรือตอนกลางวัน ตอนกลางวันจะยิ่งเห็นชัดวาตองเริ่มจากเขาไปอานหนังสือใหทานฟง พอเห็นทานเคล้ิม ๆ ก็ตองคอยอานเสียงคอยลง ๆ ใหทานหลับไป พอจวนเวลาท่ีจวนจะตองตื่นก็เขาไปนั่งอานใหม อานคอย ๆ แลวคอยดังขึ้น ๆ ทานจะตื่นขึ้นมาเอง ไมรูฝรั่งไปเอาขอมูลมาจากไหนแตเขาก็เขียนไวชัดเจน และมีเวลาปฏิบัติราชกิจ เชน ตองเสด็จออกใหขุนนางนอยใหญเขาเฝาถวายรายงานเกี่ยวกบัขอคดี การศึก การเมืองตาง ๆ รวมท้ังมีการแบงกําหนดไวชัดเจนเลยวาถาเปนฝายในจะตองปฏิบัติราชกิจในชวงไหน เวลาไหนตองปฏิบัติราชกิจทางศาสนา ตรงนี้คิดวาคงเปนขอกําหนดคราว ๆ วาในชวงวันหนึ่งกษัตริยควรจะทําอะไรบาง แตไมไดหมายความวาจะตองปฏิบัติตามพระราชกิจตรงนี้โดยเครงครัด คือถาทําตามนี้แลวกษัตริยเราแทบจะไมตองพักผอนเลยถานับเวลาทําตามนี้จริง ๆ เวลานอน ๔ - ๕ ช่ัวโมงตอวันซ่ึงถือวานอยมาก ๆ แตวาส่ิงหนึ่งท่ีจําเปนแน ๆ ก็คือวากษัตริยเรามักจะตื่นในเวลาท่ีเราหลับ เพราะถือเปนหนาท่ีของกษัตริยท่ีจะตองตื่นอยูเสมอในเวลาท่ีคนในบานเมืองหลับไหลเพ่ือท่ีเม่ือมีอะไรขึ้นมาจะไดดูแลกิจการของบานเมือง นี่ถือเปนส่ิงท่ีเปนหนาท่ีของกษัตริยจริง ๆ ทีนี้ราชกิจเปนอะไรท่ีนาสนใจ นาสนใจตรงท่ีวาชาวตางชาติเขาสนใจมากเลย จดละเอียดยิบเลยเขามาทุกคนพยายามจดท้ังหมดเหมือนอยากรูวากษัตริยอยุธยาทําอะไรบาง วาในวันหนึ่ง ๆ บางคนก็จดละเอียดโดยเฉพาะในสมัยพระนารายณวาทําอะไรบาง แตวาฉลาดนิดหนึ่งคือขอมูลไมคอยตรงกันเทาไหรหรอกไมรูวาเขาไปเอาขอมูลมาจากไหน อยางวันวลิตในสมัยพระเจาปราสาททองเขาก็บอกวาพระเจาปราสาททองเสด็จออกขุนนางวันละ ๓ ครั้ง สวนลาลูแบรซ่ึงเขามาในสมัยหลังหนอยหนึ่งคือสมัยสมเด็จพระนารายณก็บอกวาทรงมีการประชุมราชมนตรีวันละ ๒ ครั้ง สิบโมงเชาครั้งหนึ่ง กับสิบโมงเย็นคือประมาณส่ีทุมอีกครั้งหนึ่ง สวนแชรแวสคนนี้ยิ่งสนใจมาเลยอธิบายพระราชนุกิจไวอยางละเอียดเลยวาสมเด็จพระนารายณตื่นบรรทม ๗ โมงเชา เสร็จแลวสวดมนต หลังจากเสวยพระกระยาหารแลว ๘ โมงเชาก็เสด็จเขาสูท่ีประชุม คณะท่ีปรึกษาราชการแผนดิน ประทับอยูตรงนั้นเท่ียงวัน พอเสร็จจากท่ีประชุมท่ีปรึกษาราชการแผนดินก็จะมีรับส่ังใหตุลาการศาลหลวงผูนอยเขาเฝาและซักถามคดีตาง ๆ จนกระท่ังเวลาเท่ียงลวงมาแลวก็จะเสวยพระกระยาหาร จากนั้นก็จะบรรทมถึงส่ีโมงเย็น จากส่ีโมงเย็นถึงแปดโมงเย็นหรือสองทุมก็จะเปนเวลาพักผอนตามพระราชอัธยาศัย บางครั้งก็เสด็จลงพระราชอุทยาน บางครั้งก็เสดจ็ไปเยี่ยมพระสนมฝายใน แปดโมงเย็นก็จะเปนเวลาเสด็จเขาสูท่ีประชุมท่ีปรึกษาราชการแผนดินอีกวาระหนึ่ง และบอกวาตามปกติแลวการประชุมในตอนค่ําจะสงวนไว

Page 9: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

สําหรับวินิจฉัยเรื่องสําคัญ ๆ ซ่ึงมีการกราบทูลไวแลวเม่ือตอนเชาเพ่ือใหโอกาสกับท่ีปรึกษาราชการแผนดินกลับไปคดิตริตรองดูอยางรอบคอบในชวงกลางวันและพอชวงตอนเย็นก็คอยกลับมากราบบังคมทูลวาเรื่องตาง ๆ เหลานี้ควรจัดการอยางไร นอกจากวาเปนเรื่องเรงดวนจริง ๆ ถึงจะเอาเรื่องเขามาในตอนหัวค่ํา การประชุมตรงนี้จะกินเวลาไปถึงเท่ียงคืน จากนั้นก็เสด็จเพ่ือเสวยพระกระยาหาร ถายังไมไดเสวยเม่ือเลิกประชุมก็กินขาวเย็นตอนเท่ียงคืนหรือไมง้ันก็เขาท่ีบรรทม นี่เขาจะจดไวละเอียดยิบมาก ๆ และเรื่องพระราชนุกิจไมใชมีเฉพาะอยูในกฎมณเฑียรบาลในสมัยอยุธยา พระราชนุกิจมีมาอยางสืบเนื่องเทาท่ีปรากฏหลักฐานในหนังสือพระราชานุกิจหรือพระราชนุกิจมีมาถึงสมัยรัชกาลท่ี ๘ ของกรุงรัตนโกสินทร และคนท่ีบันทึกพระราชนุกิจของรัชกาลท่ี ๘ ก็คือในหลวงของเรานี่เองเปนคนเขียนวารัชกาลท่ี ๘ ทรงทําอะไรบาง หนังสือตรงนี้ถาทานสนใจมีพิมพอยูแลวในหนังสือช่ือวา “รวมเรื่องราชาภิเษก ธรรมเนียมราชตระกูลในกรุงสยาม” พระราชานุชิตอธิบายไวเปนหนังสือท่ีในหลวงเราทรงโปรดใหพิมพในงานพระราชกุศล ๑๐๐ วันของรัชกาลท่ี ๘ โดยท่ีพระราชนุกิจของรัชกาลท่ี ๑ - รัชกาลท่ี ๕ สมเด็จกรมพระยาดํารงเปนคนเรียบเรียง ของรัชกาลท่ี ๖ พระยานุพันธเทวาเปนคนเรียบเรียง สวนของรัชกาลท่ี ๗ ก็เปนหมอมเจาอมรพัตรกฤดากร พอถึงรัชกาลท่ี ๘ ก็ในหลวงเราเปนผูเรียบเรียง เลมนี้นาสนใจทุกทานนาจะไปหยิบมาอานดู พระนามพระมหากษัตริยท่ีปรากฏในกฎมณเฑียรบาล “สมเด็จพระเจารามาธิบดีบรมไตรโลกนาถมหามงกุฏ สุริยวงศองคพุทธางกูร บรมบพิตรพุทธเจาอยูหัวทรงทศพิธราชธรรม” อันนี้เปนพระนามของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระนามตรงนี้เปนส่ิงท่ีชวยสะทอนใหเห็นความเช่ือ ความคิดเกี่ยวกับสถานภาพขององคพระมหากษัตริยไดเปนอยางดีเลย ถึงแมวาพระนามตรงนี้จะเปนเพียงตัวอยางพระนามเดียวของกษัตริยพระองคเดียวแตก็ถือวาเปนตัวแทนของความคิดเกี่ยวกับสถานภาพท่ีเปนทิพยของพระมหากษัตริยหรือสภาวะทิพภาวะขององคพระมหากษัตริย เราจะเห็นไดวากษัตริยอยุธยาอยางสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงประกาศตนเองวาทรงเปนพระพุทธเจา ทรงเปนองคพุทธางกูรบรมพิตรพุทธเจาอยูหัวและทรงเปนเทพมนุษย เทพมนุษยก็คือมนุษยท่ีมีทิพภาวะอันนี้เปนศัพทของเราจริง ๆ ถาโดยท่ัวไปเราจะคุนคําวาสมมตเิทพ สมมติเทวดา แตถาในกฎมณเฑียรบาลของเราเองถาเราเช่ือวาตรงนี้ไมไดผานการปรุงแตงหรือชําระขึ้นมามันเปนเอกสารท่ีเขียนในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ คําวาเทพมนุษยใชแทนคําวาสมมติเทพหรือสมมติเทวดา ทีนี้อยางคําวาสมมติเทวดาปรากฏนาสนใจอยูในไตรภูมิพระรวง และพระราชกําหนดเกาจะพูดถึงกษัตริยท่ีเปนสมมติเทวดาบอกวา “อนึ่งแผนดินเปนใหญแกสมเด็จพระบรมมหากษัตริยดวยเหตุวาพระมหากษัตริยเจานั้นเปนสมมติเทวดา จะใหผูใหญเปนผูนอย ผูนอยเปนผูใหญก็ไดท้ังส้ิน” จากขอประกาศตรงนี้ก็เห็นวากษัตริยเราไมใชคนธรรมดาแลวแตเปนถึงสมมติเทวดา ทีนี้จากฐานะตรงนี้เราเห็นฐานะองคกษัตริยจะมาพูดทีละอยางวากษัตริยทรงประกาศตัวเองวาทรงเปนพระพุทธเจาประการแรกเปนอยางไร พระพุทธเจาในท่ีนี้เปนอยางไรหมายถึงพระโพธิสัตวหรือวาผูท่ีจะเปนพระพุทธเจาตอไปในอนาคต การพยายามเช่ือมโยงพระโพธิสัตวกับพระมหากษัตริยเปนส่ิงท่ีมีมานานแลวอยางนอยพูดถึงไตรภูมิพระรวงเปนวรรณกรรมทางศาสนาท่ีเกาแกของเราตั้งแตสมัยสุโขทัยก็พยายามยกใหพระโพธิสัตวเปนมหาสมมติเปนความพยายามเช่ือมโยงเปนกษัตริยองคแรก พระธรรมศาสตรก็กลาวไปในทํานองเดียวกัน คติท่ีถือวาพระโพธิสัตวเปนพระเจาสมมติเทวราชสืบทอดมาจนกระท่ังถึงสมัยรัตนโกสินทร อันนี้ปรากฏอยูในไตรภูมิโลกวินิจฉัยท่ีรัชกาลท่ี ๑ โปรดใหแตงขึ้น หรือถามาดูในคัมภีรบางอยางท่ีทาน

Page 10: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

อาจจะไมคอยคุนช่ือพวกนี้เปนตําราโลกทีปศาล ท่ีวาดวยเรื่องของโลกวามีแบงเปนสวรรค บาดาล และจะมีคนอยูตรงไหนแบบไหน ในโลกทีปศาลยิ่งกวานั้นอีกบอกวามหาสมมติเปนตนวงศศากยะหรือเปนวงศของพระพุทธเจาเลยทีเดียว อันนี้จะปรากฏเปนถอยความท่ีเขียนบอกวา “พระชินเจา” ก็คือพระพุทธเจาเรา “พระชินเจาของชาวเราทรงเปนพระโอรสของพระเจาสุทโธธนะและพระนางมายา พระมหามุนีเสด็จอุบัติในวงศของพระมหาสมมติราช อันมิไดเจือปนเลยเปนเครือญาติแหงกษัตริยท้ังปวง” ฉะนั้นจะเห็นไดเลยวาการนําเรื่องราวมหาสมมติมาผูกติดกับพระโพธิสัตวเปนส่ิงท่ีมีความพยายามทํามาตั้งแตสมัยสุโขทัยสืบเนื่องมาโดยตลอดเลยและก็พยายามเติมแตงใหเปนยิ่งกวานั้นก็คือวาพระโพธิสัตวเปนตนวงศของพระพุทธเจาเลยทีเดียว ถือวาเปนความพยายามท่ีจะยกยองพระมหากษัตริยองคแรกของมนุษยใหขึ้นมามีความสําคัญเทาเทียมกับพระพุทธเจาเราทีเดียว ทีนี้ถาจะกลาวกันไปแลวพระนามและสรอยพระนามของกษัตริยนับตั้งแตสมัยอยุธยาแสดงใหเห็นถึงคติความเช่ือวาพระมหากษัตริยคือพระพุทธเจาในหลาย ๆ ท่ีอยางนอยยอนกลับไปพระนามพระบรมไตรโลกนาถก็แปลวาทรงเปนท่ีพ่ึงของโลกสามอันยิ่งใหญก็คือมนุษยโลก เทวโลกและพรหมโลก หรือตีความอีกทีหนึ่งก็มีความหมายวาพระองคคือพระพุทธเจานั่นเอง หรือพระนามกษัตริยบางพระองคท่ีเราคุนเคยก็คือ “สมเด็จพระบรมราชาหนอพุทธางกูร” กษัตริยอยุธยาพระองคหนึ่งก็มีความหมายวาพระองคคือหนอแหงพระพุทธเจาหรือผูท่ีจะเปนพระพุทธเจาตอไปในอนาคต หรือวาสรอยพระนามท่ีปรากฏในพระนามของสมเด็จพระมหาธรรมราชา เชน พระสรรเพชญ พระศรีสรรเพชญ ตรงนี้ก็มีความหมายเกี่ยวของกับพระพุทธเจาท้ังส้ินนี่เปนความพยายามของเรา สรอยพระนามตรงนี้คําวาองคพุทธางกูรก็มีความหมายวาพระองคคือหนอแหงพระพุทธเจาหรือผูท่ีจะเปนพระพุทธเจาตอไปในภายภาคหนา เพราะฉะนั้นการท่ีกษัตริยทรงประกาศตนเองวาเปนพระพุทธเจาทําใหพระราชโอรสของพระองคท่ีเกิดดวยอัครมเหสีจึงไดรับการเรียกขานวาสมเด็จหนอพุทธเจา หนอสมเด็จพระพุทธเจา ปรากฏอยูในกฎมณเฑียรบาลเรียกกันท่ีเดียวในเอกสารคือในกฎมณเฑียรบาลคือความหมายวาผูท่ีจะเปนพระพุทธเจาหรือกษัตริยในอนาคตนั่นเอง นอกจากนี้สรอยพระนามท่ีวาบรมพิตรพระพุทธเจาอยูหัวท่ีปรากฏอยูในบานแผนกตรงนี้ หรือทําเนียบพระมหากษัตริยท่ีปรากฏอยูในสาระของกฎมณเฑียรบาลท่ีเรียกวาสมเด็จพระพุทธเจาอยูหัว พระเจาอยูหัว ทุกวันนี้เราก็เรยีกพระเจาอยูหัวหรือพระผูเปนเจาก็เปนการแสดงใหเห็นวาเรายกยองวากษัตริยเปนพระพุทธเจา หรือในกฎมณเฑียรบาลบางตอน ตอนท่ีเชิญกษัตริยเสด็จออกงานสนามใหญซ่ึงเปนการตรวจพลครั้งสําคัญซ่ึงกระทําในเดือน ๕ เชิญพวกเจาเมืองประเทศราช ขุนนางท้ังหลายเขามาทําพิธีถือน้ําพระพิพัฒนสัตยา ถือโอกาสท่ีจะมีการจัดงานสนามใหญ มีการเอาชางมาออกมาอยางมากมายเพ่ือเปนการแสดงใหเห็นวากษัตริยเรามีความพรอมขนาดไหน มีความยิ่งใหญขนาดไหน จึงเปนการปรามไมใหบรรดาพวกขุนนางหรือเจาเมืองประเทศราชท้ังหลายกอการกบฏเวลาเชิญเสด็จเขาใชคําวาเชิญเสด็จพระพุทธเจา ฉะนั้นคําตรงนี้เปนการแสดงใหเห็นถึงการยกยองวาพระมหากษัตริยเราเปนเทพเจา เชนเดียวกับขอกําหนดอ่ืน ๆ ท่ีปรากฏอยูในกฎมณเฑียรบาลและใชมาจนถึงปจจุบันก็เชนคําขานรับพระเจาอยูหัว คํากราบบังคมทูลท่ีตองใชคําวา “พุทธเจาคะ ขาพระพุทธเจาขอกราบทูล” ตรงนี้ก็แสดงใหเห็นวากษัตริยเปนพระพุทธเจา แตท่ีนาสนใจก็คือบอกวาในพงศาวดารของวันวลิตเขาเขียนไวเลยวาถาจะมีการเอยนามพระเจาแผนดินตองใชคําเรียกไมดอยไปกวาพระพุทธเจานี่คือวันวลิตบอกเลยคนสยามเรียกแบบนี้ และท่ีสนใจอีกกรณีหนึ่งอันนี้ปรากฏท่ีเดียวใน

Page 11: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐเปนปกติเวลากษัตริยตายเราใชคําวาส้ินพระชนม สวรรคต แตวาในพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐใชคําวา “นฤพาน” หรือก็คือนิพพานใชคํานี้เลย อันนี้พบท่ีเดียวนฤพานหมายถึงทรงดับกิเลสและกองทุกขไปเลย ฉะนั้นอยางนอยส่ิงตรงนี้ก็เปนส่ิงท่ีชวยยืนยันวากษัตริยเราเปรียบเสมือนพระพุทธเจานี่คือส่ิงท่ีเห็นไดชัดเจนท่ีสุด และพอพูดถึงตรงนี้กจ็ะเกี่ยวเนื่องไปอีก พอพูดถึงกษัตริยก็จะโยงถึงความเช่ือเรื่องจักรพรรดิราช จุดเริ่มตนมาจากความเช่ือของฮินดู คําวาจักรพรรดิราชตามรูปศัพทหมายถึงผูปกครองท่ีกงลอของรถศึกหมุนไปทุกท่ีโดยปราศจากอุปสรรคใด ๆ ท้ังส้ิน หรือหมายถึงกษัตริยองคนั้นเปนพระราชาของโลก สวนในพระพุทธศาสนาเราฝรั่งท่ีเขาศึกษาเรื่องนี้โดยตรงเขาจะบอกเลยวาไมนาเช่ือวาทางพระพุทธศาสนาจะนําเรื่อง concept เรื่องจักรพรรดิราชมาใชมากกวาฝายฮินดูอีกและใชเยอะมากเลย และใหขอสังเกตดวยวาไปอานพระสูตรบางอยางในพระไตรปฎกเขาจะกลาวถึงพระพุทธเจาและพระเจาจักรพรรดิควบคูกันไปจนกระท่ังดูเหมือนวาโลกเราจะตองมีจักรพรรดิท้ังทางโลกและทางธรรม แตทีนี้พอลองมาสังเกตคุณลักษณะของพระพุทธเจาและพระเจาจักรพรรดิในกัปสูตรจะมีลักษณะคลายคลึงกันโดยในจักรสูตรกลาวถึงคุณลักษณะ ๕ ประการของพระเจาจักรพรรดิในโลก คือ ทรงเปนผูรูผล ทรงรูเหตุ รูประมาณ รูจักบริษัท สวนธรรม ๕ ประการของพระสัมมาสัมพุทธเจาก็คือทรงรูจักผล รูจักเหตุ รูจักประมาณ ทรงรูจักกาลและทรงรูจักบริษัทเหมือนกันเกือบทุกอยางเลย สวนในลักษณะมหาบุรุษท่ีประกอบมหาพุทธลักษณะ ๓๒ ประการก็จะกลาวไววามีคติอยู ๒ อยาง ก็คือวาถาครองเรือนจะไดเปนพระเจาจักรพรรดิผูทรงธรรม ถาเสด็จออกบวชก็จะเปนบรรพชิตก็จะไดเปนพระอรหันตหรือเปนของพระสัมมาสัมพุทธเจา เพราะฉะนั้นตรงนี้ก็เหมือนวาพระพุทธเจาหรือพระโพธิสัตวเหมือนเปนคน ๆ เดียวกัน แลวท่ีนาสนใจคุณสมบัติเขาจะบอกวาพระเจาจักรพรรดิในโลกนี้เคยมีมาแลวคนหนึ่งเขาเขียนไวในจักรวรรดิสูตรบอกวาช่ือวาพระเจาทัณหเนมิตร บอกวาพระองคทรงเปนผูทรงธรรม ทรงเปนพระราชาโดยธรรม เปนใหญในแผนดินนี้ มหาสมุทรส่ีเปนขอบเขต ทรงชนะแลวมีราชอาณาจักรม่ันคง สมบูรณดวยแกว ๗ ประการ คือ จักรแกว ชางแกว มาแกว แกวมณี นางแกว คฤหบดีแกว และปรินายกแกว และบอกวาพระเจาทัณหเนมิตรมีพระราชโอรสมากกวาพันคนซ่ึงลวนกลาหาญมีรูปทรงสมเปนวีรกษัตริยสามารถย่ํายีขาศึกได พระองคชนะโดยธรรมสมํ่าเสมอมิตองใชศาสตรา มีสาครเปนขอบเขต เอาแคนี้คิดวาในโลกใบนี้ใครจะเปนไปได ฉะนั้นก็เลยเปนเหมือนในตํานานมากกวาฉะนั้นตัวเองก็เลยสันนิษฐานวาถาพูดอยางนี้พระเจาจักรพรรดิราชก็คือพระพุทธเจาองคเดียวกันนั่นเอง แตวาไมวาจะเปนพระเจาจักรพรรดิราชจะเปนพระพุทธเจาหรอืไมแตส่ิงท่ีนาสนใจก็คือวากษัตริยในโลกของความเปนจริงจะพยายามอางตัวเองวาเปนพระเจาจักรพรรดิเนื่องจากวาจักรพรรดิคือผูท่ีมีบารมีสูงสงสามารถเขาครอบครองแผนดินไดท่ัวคือมีคุณธรรมสูงเกินกวาพระราชาท้ังปวง ในสมัยสุโขทัยความคิดเรื่องจักรพรรดิราชไดถูกนํามาปรับใชโดยในไตรภูมิพระรวงกลาวไวชัดเจนเลยวา “ถาตราบใดบมีพระพุทธเจาแลพระปญเจกโพธิเจาแลวไซรจึงมีพระยามหาจักรพรรดิราชแทน” นั่นแปลวาถาตราบใดไมมีพระพุทธเจาจึงมีพระเจาจักรพรรดิราช อันนี้จะเปนลักษณะความคิดความเช่ือฉะนั้นแสดงวาตองเกิดกันคนละกัป ทีนี้ในไตรภูมิพระรวงก็ใหขอสังเกตท่ีนาสนใจอยางหนึ่งบอกวามีจักรพรรดิอีกประเภทหนึ่งท่ีเรียกวา “จุลจักรพรรด”ิ ไมใชจักรพรรดิเต็ม ๆ แตเปนแคจุลจักรพรรดิคือจักรพรรดิเล็ก ๆ และยกตัวอยางดวยวาจุลจักรพรรดิองคนั้นช่ือวา “พระเจาอโศกมหาราช” ท่ีเราคุนเคยวาเปนพระเจาอโศกมหาราชแตเรามาดูเรื่องราว

Page 12: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

เกี่ยวกับพระเจาอโศกมหาราชเราก็จะเห็นวาฐานะของพระองคก็จะไมเหมือนคนธรรมดา บอกวาพระองคมีนางสนม ๑๖,๐๐๐ คน ทุกวันก็มีเทพยดาหิมพานตนําน้ําจาสระอโนดาดมาใหอาบ ฉะนั้นก็เปนวาการเปนพระเจาจักรพรรดิท่ีมีตัวตนจริงในประวัติศาสตรก็เปนแคเรื่องแตงขึ้นมาแตในเม่ืออยากใหมีความเปนจริงก็ใสซะหนอยวาเปนจุลจักรพรรดิเปนจักรพรรดินอย ๆ แตวาในเม่ือจักรพรรดิเปนอะไรท่ีอยูในใจเขาก็เลยมีวิธีการอธิบายวาจักรพรรดิไมไดมีจักรพรรดิราชอยางเดียวจักรพรรดิถาจะมีการจําแนกท่ีปรากฏอยูในคัมภีรบานเรา เชน โลกทีปศาล เขาจะบอกเลยวาจักรพรรดิแบงออกเปน ๓ ประเภท คือ ประเภทแรกจักรพรรดิเฉพาะประเทศ คือเปนใหญในแวนแควนแดนดินตนเอง ใหญขึ้นมาเปนจักรพรรดิเฉพาะทวีปเดียวคือชมพูทวีป และท่ีใหญท่ีสุดคือจักรพรรดิท่ัวแผนดิน คือครอบครองท้ังหมดเปนราชาท้ังปวง อันนี้เราก็เลยรับมาปรับใช ฉะนั้นการเปนจักรพรรดิก็เลยเปนอุดมคติมาก ๆ เลยแตทีนี้ถาเราบอกวากษัตริยของเราเปนพระจักรพรรดิ เรามีวิธีการประกาศตัวเองอยางไร ประการแรกท่ีงายท่ีสุดก็คือการท่ีถือธรรมะตามแบบพระเจาจักรพรรดิซ่ึงประกอบไปดวยจักรวรรดิวัตร จักรวรรดิวัตรก็คือจักรพรรดิ หรือการมีทศพิธราชธรรม และอีกประการหนึ่งในการประกาศตนเองเปนจักรพรรดิท่ีไมยากเย็นก็คือการกลาวอางวาเราไดครอบครองรัตนท้ัง ๗ ประการ หรือครอบครองหนึ่งในรัตน ๗ ประการ ซ่ึงตรงนี้การท่ีเราประกาศคือการไดครอบครองชางแกวหรือชางเผือกเพราะเปนหนึ่งในรัตน ๗ ประการ ฉะนั้นเราไมตองแปลกใจวาทําไมกษัตริยอยุธยารวมท้ังกษัตริยพมาจึงใหความสําคัญกับเรื่องชางมาก ๆ เพราะวาเปนหนึ่งในรัตน ๗ ประการและหมายความวาถาเราไดครอบครองเราก็จะเปนพระเจาจกัรพรรดิราช แตตอนท่ีเขียนเรื่องนี้ก็ไดไปเจอเอกสารช้ินหนึ่ง คุณชายศุภวัฒนทานเปนตําราท่ีไมไดคิดวาจะเกี่ยวกับงานของตนเอง ซ่ึงไดอานแลวนาสนใจมากเปนตําราท่ีเขียนในสมัยรัชกาลท่ี ๑ เขาบอกวายังมีคติท่ีพระมหาจักรพรรดิอีกประการหนึ่งท่ีสัมพันธกับการไดครอบครองชางเผือกหรือชางลักษณะดีโดยบอกวากษัตริยท่ีไดครอบครองชางเผือก ชางดีอ่ืน ๆ อันนี้จะไดพระนามวาเปน “พระบรมมหาจักรพรรดิราชเจา” ถาไมมีชางมีแตเมืองขึ้นอันนี้ใหเลือกวาพระมหากษัตริยธิราชเจา แตถามีเมืองขึ้นดวยอันนี้เรียกวาพระมหากษตัริยธรรมดา ฉะนั้นจากตรงนี้ถาเรามองไปเลยเม่ือกอนท่ีเราอาจจะมองแบบคนรุนใหมนิดหนึ่งก็จะขํา ๆ วาอะไรกันหนักกันหนาพระเจาบุเรงนองกับพระเจามหาจักรพรรดิกําลังแยงกันชางเผือก แคชางเผือกก็เปนประเด็นในการทําสงครามเชียวเหรอ แตถาเราเช่ือหรือคิดวาวิธีคิดแบบนี้เปนความเช่ือท่ีอยูในสังคมตรงนั้นการไดครอบครองชางเผือกหมายถึงการเปนเหมือนสัญลักษณสําคัญไปหัวเราะเยาะไมไดเลยความคิดตรงนี้ และยิ่งมาดูตําราชางเขียนไวเลยวาคุณตองครอบครองชางเผือกเทานัน้ถึงจะเรียกวาคุณเปนจักรพรรดิราชได ถาเกิดมีเมืองขึ้นก็เรียกอีกอยางหนึ่ง ถาไมมีเมืองขึ้นก็เปนกษัตริยธรรมดา อันนี้จะเปนวิธีการอยางหนึ่ง วิธีการอีกประการหนึ่งในการประกาศเปนจักรพรรดิราชก็คือการกลาวอางวาเราเปนคนท่ีมีบุญบารมีเหนือกษัตริยพระองคอ่ืน ๆ ดุจดังพระเจาจักรพรรดิ อันนี้เราจะเห็นในกฎมณเฑียรบาลเหมือนกัน เชน ท่ีปรากฏอยูในบานแผนกบอกตอนท่ีสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเสด็จออกใหบุคคลตาง ๆ เขาเฝาบอกวาหนึ่งในกลุมคนท่ีเขาเฝาก็คือพระยาเอกสัตราชหรือก็คือเจาเมืองประเทศราช ๑๐๑ หัวเมือง คงเปนราคาคุยเพราะวาเปนเรื่องของการเกินจริงจะมีเจาเมืองประเทศราช ๑๐๑ หัวเมืองอะไรมาเขาเฝาเราแตวิธีการตรงนี้มันก็เปนการสะทอนใหเห็นวิธีคิดของคนในยุคนั้นท่ีมองวาหรือตองการจะประกาศวากษัตริยของตัวเองคือคนท่ีมีบุญบารมีสูงสงมากเลย จนกระท่ังทําใหกษัตริย ๑๐๑ หัวเมืองมาเปนขึ้น การอางถึงประเทศราช ๑๐๑ หัวเมืองอันนี้นาสนใจเพราะวาในพระธรรมศาสตรท่ีอยูในกฎหมายตราสามดวงบอกวาเม่ือกลาวถึง

Page 13: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

พระเจาสมมติราชกษัตริยองคแรก เลาบอกวาลูกหลานของพระเจาสมมติราชซ่ึงไดเสวยราชยในชมพูทวีปสืบตอกันมานั้นมี ๑๐๑ พระองค ฉะนั้นแนวคิดกษัตริย ๑๐๑ พระองคท่ีปรากฏในกฎมณเฑียรบาลคือแนวคิดเดียวกับท่ีปรากฏในพระธรรมศาสตรนั่นยอมหมายความวาพระมหากษัตริยอยุธยาหรือวาท่ีปรากฏในกฎมณเฑียรบาลคือพระบรมไตรโลกนาถทรงประกาศตัวเองวาเปนพระเจาจักรพรรดิท่ีมีอํานาจครอบครองชมพูทวีปเพราะพระองคมีอํานาจเหนือกษัตริย ๑๐๑ พระองคท่ีปกครองชมพูทวีปอันนีเ้ปนวิธีการกลาวอาง นอกจากการเปรียบเทียบตรงนี้ท่ีเห็นไดชัดเจนงายท่ีสุดคือการดูจากพระนามกษัตริย เชน “สมเด็จพระมหาจักรพรรด”ิ แตในรายช่ือกษัตริยอยุธยาท้ังหมดกษัตริยท่ีช่ือพระมหาจักรพรรดิเราก็มีแคองคเดียวจริง ๆ ในยุคนั้นเราก็เลยเขาใจวาทําไมถึงไดเจอชางเผือก ๖ - ๗ ชางหรืออะไรอยางนี้ ความจริงถาเปนรัชกาลปจจุบันในหลวงเราก็ไดเพราะวาเจอเยอะมาก ขอมูลเม่ือวานท่ีเช็คอินเตอรเน็ตก็มี ๑๐ ชาง ดูประการตอไปคือพระมหากษัตริยทรงเปนเทพมนุษยดังท่ีกลาวไปแลววาคําท่ีใชเรียกสภาวะอันเปนทิพยของพระมหากษัตริยท่ีรูจักกันดีท่ีสุดก็คือสมมติเทพ สมมติเทวดา แตวาความหมายท้ัง ๒ - ๓ คํานี้มีความหมายเหมือนกันคือเทวดาตามหลักในคัมภีรบานเราเทวดาจะแบงออกเปน ๓ ประเภท ประเภทแรกคือสมมติเทวดาคือพระมหากษัตริยท่ีรูบาป รูบุญ รูธรรมปกครองโดยใชทศพิธราชธรรมคือสมมติเทวดา และบางคัมภีรจะบอกวาคนท่ีเปนสมมติเทวดาไมใชเพียงแตกษัตริยเทานั้นแตเปนพระมเหสีและพระโอรสก็ถือวาเปนสมมติเทวดาดวย ทีนี้เทวดาประเภทท่ี ๒ เรียกวาอุปเทวดา ก็คือเทวดาพรหมท้ังหมดท่ีเกิดในเทวโลก พระพรหมโลกและเทวดาประเภทท่ี ๓ ก็เรยีกวาวิสุทธ์ิเทวดาก็คือพระพุทธเจาหรือพระปจเจกพุทธเจาฉะนั้นเราก็ถือวากษัตริยเปนสวนหนึ่งของเทวดา ทีนี้สถานะการเปนเทพหรือเปนการเปนเทวดาของพระมหากษัตริยจะไดรับการเสริมและเติมแตงใหอลังการมากขึ้นก็โดยอาศัยคติความเช่ือทางศาสนาพราหมณและฮินดูเขามาชวย ในคัมภีรมนูธรรมศาสตรบอกวาพระเจาสรางกษัตริยขึ้นมาโดยเลือกสรรจากสวนตาง ๆ ท่ีเปนอมตะ พระวายุ พระยม พระอาทิตย พระอัคนี พระวรุณ พระจันทร และพระกุเวร คือพูดงาย ๆ วาเปนเทพท้ัง ๘ ถือวาท้ัง ๘ องคเปนโลกบาลหรือผูดูแลรักษาโลกทิศท้ัง ๘ ฉะนั้นจึงเช่ือวากษัตริยถูกสรางจากสวนตาง ๆ ของบรรดาเทพเจาท้ัง ๘ ก็เลยทําใหพระองคไดรับถายทอดอํานาจและความศักดิ์สิทธ์ิของเทพเจาเหลานั้นมาสูพระองคเองดวย ฉะนั้นจึงมีอํานาจสูงสงท่ีไมมีผูใดเทียบเทียมไดแมแตมนูเองเขาก็กลาววา “แมแตกษัตริยแมยังทรงเยาววัยอยูใคร ๆ ก็ไมควรดูหม่ินวาเปนมนุษยธรรมดาเพราะนั่นคือเทพยิ่งใหญท่ีปรากฏในรางมนุษย” เขาพูดไวขนาดนี ้ ทีนี้นอกจากคติความเช่ือท่ีวากษัตริยถูกสรางมาจากเทพท้ัง ๘ แลวในเวลาตอมาเม่ือศาสนาพราหมณ – ฮินดูมีบทบาทมากขึ้น ความคิดเรื่องอวตารหรือวากษัตริยเปนองคอวตารของพระวิษณุ พระศิวะก็เขามามีสวนในความเช่ือของสถาบันกษัตริยในดินแดนแถบบานเรามาก ๆ เลย อยุธยาเราก็รับคตินี้มาจากเขมรและมาปรับอีกทีหนึ่ง ซ่ึงคติท่ีรับมานี้ไมขัดแยงเลยมันสอดคลองกับความเช่ือท่ีวากษัตริยเราไมใชคนธรรมดาอยูแลวก็เลยรับมาสวมตอกันไดโดยชัดเจน ทีนี้การประกาศทิพภาวะตามคติฮินดูพบไดจากพระนามและสรอยพระนามของกษัตริยอยุธยาดวย เชนกันประกาศวาเปนรามาธิบดีก็คือการเปนพระรามผูเปนใหญซ่ึงเปนปางท่ี ๗ ของพระวิษณุหรือพระนารายณ นอกจากนี้กษัตริยอยุธยาบางองค เชน “พระเอกาทศรถ” สรอยพระนามตอทายคืออิศวร “เอกาทศรถอิศวร” ก็แสดงวาพระองคประกาศตนเองเปนพระศิวะหรือพระอิศวรดวย แตบางพระองคยิ่งกวานั้น “พระราเมศวร” แปลวาเปนท้ังพระรามและพระอิศวรในองคเดียวกัน เรารับมาหมดเลย ฉะนั้นไมตองแปลกใจกษัตริยเรามีความเปนเทพแบบฮินดูปนอยูดวย ทุกวันนี้เวลาเราเรียกกษัตริยเราเวลา

Page 14: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

เขียนเปนภาษาอังกฤษเราเขียนวา “รามา” ก็คือเรื่องของพระรามท่ีเรารับมานั่นเอง ทีนี้กษัตริยบางองคอยางพระบรมไตรโลกนาถหากทานไดมีโอกาสอานโคลงญวนพาย ยิ่งกวานั้นอีกบอกวาพระบรมไตรโลกนาถมีเทพถึง ๑๑ พระองคมารวมกัน คือนอกจากเทพโลกบาล ๘ แลวทานยังรวมพระพรหม พระนารายณ พระอิศวรไปดวย รวมไปอยูในตัวคนเดียวกันหมดเลย มีเทพ ๑๑ องคอยูดวยกัน ก็เลยคิดวากษัตริยเราทานฉลาดในการท่ีจะดึงอะไรบางอยางเขามาเสริม มาใชไดอยางกลมกลืนมาก ๆ เลย แตอยากจะพูดนิดหนึ่งบอกวาถึงแมวาตามคติพราหมณ – ฮินดู พระพรหม พระอิศวรหรือพระนารายณ จะเปนใหญกวาเทพองคอ่ืน ๆ แตในสังคมพุทธของเราเทพท่ีมีบทบาทเดนยิ่งกวาเทพ ๓ พระองคก็คือพระอินทร ใหขอสังเกตเลยวาในโองการแชงน้ําบอกวาพระอินทรอยูท่ีเขาไกรลาศโดยบอกวาเขาไกรลาศเปนเพียงเขาบริวารของเขาพระสุเมรุซ่ึงเปนท่ีสถิตของพระอินทร เราใหความสําคัญกับพระอินทรมากเพราะวาพระอินทรคือเทพท่ีชวยใหพระพุทธเจาตรัสรูสําเร็จ ฉะนั้นเราจึงมีกษัตริยบางพระองคพระนามวา “สมเด็จพระอินทราชา” ความเช่ือวากษัตริยเปนพระอินทรเห็นไดชัดเจนจากการประกอบพิธี คือพิธีอินธาภิเษก ประกาศตนเองเปนพระอินทร รดน้ําเปนพระอินทร หรือดูจากนามพระท่ีนั่งหรือพระราชมณเฑียรในสมัยอยุธยาจะมีปรากฏพระราชมณเฑียรบางแหงท่ีมีปรากฏพระนามวาจักรวรรดิไพชยนตมหาปราสาท ซ่ึงก็มีนัยวากษัตริยประกาศพระองคเองวาพระราชมณเฑียร เพราะไพชยนตเปนปราสาทท่ีประทับของพระอินทรซ่ึงตั้งอยูเหนือเขาพระสุเมรุ นี่คือวิธีคิดของเราเลย และการคิดตั้งนามพระท่ีนั่งใหสัมพันธกับพระอินทรสืบทอดมาถึงสมัยรัชกาลท่ี ๑ ในสวนของกฎมณเฑียรบาลเปนกฎสําหรับรักษาเรือนหลวงก็คือเปนกฎท่ีรักษาบานของพระเจาแผนดินท่ีวาคนจะตองปฏิบัติอยางไร ทําตัวอยางไรถึงจะถูกตองดีงาม สวนสุดทายของวันนี้เราจะมาดูเร่ืองของส่ิงท่ีสะทอนทิพภาวะขององคพระมหากษัตริยวามีอะไรบาง ประเด็นแรกเลยคือเรื่องของพิธีกรรม พิธีกรรมเปนท่ีมาของสิทธิธรรมทําใหสิทธิธรรมของกษัตริยมีความหนักแนนม่ันคงมากขึ้น ทีนี้พิธีกรรมท่ีปรากฏอยูในกฎมณเฑียรบาลมีหลายพิธีมาก ๆ เลยมีท่ีเรียกวา “พระราชพิธี ๑๒ เดือน” ดวยวาในแตละเดือนจะตองทําอะไร แตบางเดือนก็ของสารภาพวาไมรูเลยวาคืออะไร ถึงแมวาจะมีทีมท่ีชวยกันชําระ มีทานอาจารยผูใหญชวยกันอานอยางนอยพิธีทูลน้ําลางพระบาทท่ีจะบรรยายตอไปก็ไมมีใครอธิบายไดชัดเจนวาคืออะไรแตวาพิธีนี้ก็นาสนใจ ทีนี้ท่ีจะยกตัวอยางมาจะเอาเปนพิธีกรรมท่ีมีการสงเสริมสถานะของการเปนเทพมนุษยหรือสมมติเทพขององคพระมหากษัตริย ขอเลือกมาเพียงแค ๔ พิธี ท่ีเราอาจจะคุนเคยกัน พิธีแรกคือ “พิธีบรมราชาภิเษก” ตรงนี้ถือวาเปนพิธีใหญท่ีมีความสําคัญยิ่งเลยในการแสดงออกซ่ึงสิทธิอันชอบธรรมในการขึ้นเปนพระมหากษัตริยหรือเปนพิธีสถาปนาขึ้นเปนพระมหากษัตริยโดยสมบูรณแบบ พิธีบรมราชาภิเษกเรารับแบบอยางมาจากอินเดีย เปนพิธีท่ีเลียนแบบพิธีท่ีทําใหกับพระอินทรเพราะฉะนั้นจึงเทากับวาพิธีนี้ชวยยกฐานะและทําใหสถานภาพของกษัตริยบนโลกสูงสงประดุจดังพระอินทร พิธีบรมราชาภิเษกของไทยถึงแมวาจะมีพิธีพุทธหากเราลองไปอานในรายละเอียดจะมีพิธีพุทธและคติความเช่ือดั้งเดิมมาผสมดวย แตพิธีพราหมณเปนส่ิงท่ีสําคัญท่ีสุด รัชกาลท่ี ๖ ถึงขั้นมีพระราชาธิบายบอกวาการราชาภิเษกถาจะทําโดยไมมีพิธีสงฆเลยก็นับวาสําเร็จกิจไดแตถาไมมีพิธีพราหมณจะสําเร็จกิจไมไดเปนอันขาด บางพิธีเราอาจจะมีการสวดมนต สวดอะไรก็แลวแตแตวาตรงนี้ถาไมมีไดไหมก็ได และพราหมณท่ีจะประกอบพิธีตองเปนพราหมณท่ีมีสกุลดวย รัชกาลท่ี ๕ ไดอธิบายถึงความสําคัญของพราหมณและการบรมราชาภิเษกไววา “การบรมราชาภิเษกทําไดแตพราหมณพวกเดียว ถาผูอ่ืนทําเปนการจัญไรท้ังผูทําและผูรับ”

Page 15: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

นี่คือคําพูดรัชกาลท่ี ๕ เลย “…และพราหมณตองเปนผูอุมพระเจาแผนดินขึ้นบนภัทรบิฐ” เปนพระท่ีนั่งองคหนึ่ง “…พระเจาแผนดินจะเสด็จขึ้นเองไมได เม่ือนั้นพราหมณก็จะถวายพระสุพรรณบัฏจารกึพระนามพระเจาแผนดิน ถวายพระมหามงกุฏ เครื่องราชกกุธภัณฑและพระแสงศาสตราวุธ พระเจาแผนดินจึงรับมาและพราหมณตองกราบทูลถวายแผนดิน เชิญขึ้นเปนพระเจาแผนดินและเปนผูประกาศเกียรติยศพระเจาแผนดินดวยการรับพระบรมราชโองการเปนปฐม ถาพราหมณยังไมไดรบัพระราชโองการคนอ่ืนดวนรับถือวาเปนจัญไร” นี่คือรัชกาลท่ี ๕ อธิบายถึงพิธีตรงนี้ความสําคัญของพราหมณ พราหมณมีความสําคัญมาก ความสําคัญของพิธีบรมราชาภิเษกคือทําใหพระมหากษัตริยท่ีขึ้นครองราชยตอจากกษัตริยพระองคกอนมีอํานาจในฐานะผูปกครองเต็มท่ีโดยสมบูรณแบบ เพราะตราบใดยังไมทําพิธีนี้กษัตริยท่ีขึ้นมาตรงนั้นเปนไดแตเพียงผูสําเร็จราชการแผนดิน เครื่องยศบางอยางก็ตองลด เชน พระเศวตฉัตรมีไดแค ๗ ช้ันถายังไมไดทําพิธีบรมราชาภิเษก คําส่ังของกษัตริยองคใหมหากยังไมทําพิธีก็ยังไมถือวาเปนโองการ โองการหมายถึงคําศักดิ์สิทธ์ิ หมายถึงอักษรโอม คือพระผูเปนเจาท้ัง ๓ คือพระพรหม พระวิษณุและพระศิวะ เม่ือประกอบพิธีแลวจึงเปนกษัตริยเต็มพระองค เปนสมมติเทพอยางแทจริง คําส่ังก็จะถือเปนพระราชโองการท่ีมีความศักดิ์สิทธ์ิเปรียบประดุจคําส่ังของพระเปนเจาท่ีผูใดจะขัดไมได เพราะฉะนั้นความในกฎมณเฑียรบาลจึงมีการบอกวาถาใครขัดดําเนินพระราชโองการโทษฆาเสียเปนขั้นตอนไป ทีนี้ขั้นตอนในการประกอบพระราชพิธีเปนการสะทอนใหเห็นความพยายามท่ีจะยกพระมหากษัตริยใหขึ้นมีสถานะอันสูงสง ลองมาดูเปนขั้นตอนเล็ก ๆ ไปก็คือ เชน ขั้นตอนของการตักน้ํา พิธีเสกน้ําอภิเษก แหลงน้ําท่ีจะนํามาใชก็ตองเปนแหลงน้ําศักดิ์สิทธ์ิ คือถาเปนตํานานของพราหมณน้ําก็ตองมาจากแมน้ํา ๕ สายในชมพูทวีป คือ คงคา ยมุนา มหิ อิสรวดี อสรภ.ู. เรียกวาปญจมหานที แตวาพอมาในบานเราเขาก็จะเอามาจากน้ําท่ีอาจจะมีช่ือสระซํ้ากับแมน้ําท้ัง ๕ ในอินเดียบาง เชน สระแกว สระเกศ สระคงคา สระยมุนาในแขวงเมืองสุพรรณบุรี นอกจากนี้ก็อาจจะเอาแหลงน้ําในท่ีตาง ๆ เชน แมน้ําบางปะกง ก็จะตองมีท่ีตักโดยเฉพาะ เชนท่ีบึงพระอาจารย หรือแมน้ําปาสักอันนี้ก็ตองตักท่ี ต.ทาลาด แขวงเมืองสระบุรี ก็จะมีท่ีบอก รวมถึงแมน้ําเพชรบุรีดวยก็ตองตักท่ีทาชัยแขวงเมืองเพชรบุรี ฉะนั้นน้ําท่ีใชประกอบในพิธีสรงมูรธาภิเษกจึงไมใชน้ําธรรมดาหรือไมใชจะมาจากท่ีใดก็ไดตองมีแหลงท่ีมาโดยเฉพาะ สวนการประกอบพิธีบรมราชาภิเษกท่ีประกอบไปดวยพิธีสงฆ หลังจากท่ีสรงมูรธาภิเษกแลวกษัตริยก็จะเสด็จประทับบนพระแทนอัฐทิศท่ีมี ๘ ทิศ รับน้ําอภิเษกจากนั้นก็ประทับพระท่ีนั่งภัทรบิฐและก็รับการถวายสิรริาชสมบัติและเครื่องราชกกุธภัณฑ การประทับบนพระแทนอัฐทิศทานอาจจะลองนึกถึงท่ีนั่งท่ีมี ๘ ทิศท่ีทําดวยไมมะเดื่อ มีความสําคัญมีนัยโดยตลอดคือพระแทนมี ๘ เหล่ียมหรือ ๘ ทิศ ก็มีนัยวาในการนั่งหันหนาไปในแตละทิศมีความหมายวากษัตริยทําหนาท่ีปกปองทิศทุกทิศในราชอาณาจักรมีความหมายตรงนี้ หรืออีกนัยหนึ่งก็อาจจะหมายถึงอํานาจของพระมหากษัตริยแผไปทุกทิศทุกทางก็ได เม่ือทําพิธีท่ีพระแทนอัฐทิศเรียบรอยแลวก็จะเปนการถวายพระสุพรรณบัฏ ถวายพระมหาสังวาลย ถวายพระเศวตฉัตร ถวายพระมหามงกุฏ พระขรรคชัยศรี พระแสงดาบ พระแสงตรีศูร อะไรอีกเยอะแยะมากมาย หลังจากนั้นก็จะมีการพราหมณก็จะถวายพระพรหรือวาถวายชัยก็แลวแต จากนัน้ก็จะมีรับส่ังกับพระมหาราชครูผูใหญวา “พรรณพฤกษและส่ิงของท้ังปวงซ่ึงมีในแผนดินท่ัวขอบเขตแดนพระนครซ่ึงหาเจาของหวงแหนไมไดนั้นตามแตสมณะชีพราหมณและอาณาประชาราษฎรจะปรารถนาเถิด” พอประกาศตรงนี้เสร็จพระมหาราชครูผูใหญก็จะรับพระราชโองการ ทานเห็นไหมวาพระปฐมบรมราชโองการในยุคนั้นไมเหมือน

Page 16: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

ปจจุบัน ในหลวงปจจุบันเราก็คือทานส้ัน ๆ วา “เราจะครองแผนดินโดยธรรม” แตสมัยกอนนัยของการเปนพระเจาแผนดินจะตางออกไป ทุกวันนี้เรามีลักษณะของการเปนสังคมประชาธิปไตยเราจะมาบอกวาพรรณพฤกษตรงนี้จะมายกใหก็อาจจะถูกคนแอนตี้ก็ได ฉะนั้นสมัยกอน concept เรื่องของการเปนพระเจาแผนดิน เจาของแผนดินยังมีอยูอยางชัดเจนก็เลยเปนการประกาศวาพรรณพฤกษตาง ๆ แตตองหากไมมีผูใดหวงแหนนะถึงทํามาหากินไดเปนลักษณะท่ีแตกตางออกไปจากปจจุบัน ส่ิงของท่ีถวายท่ีพูดมามาเปนสังวาลยมีความหมายของการเปนพระราชาธิบดีท้ังหมดเลย หรือวามีนัยตามแบบเทพเจาตามแบบศาสนาพราหมณ เชน พระสังวาลย พราหมณในอินเดียถือวาเปนเครื่องทรงอันหมายเฉพาะถึงพระนเรศวร เชนเดียวกับพระแสงตรีศูรก็จะเปนอาวุธของพระอิศวร พระแสงดาบก็เปนอาวุธของพระนารายณ เพราะฉะนั้นเราจะเห็นวาของท่ีถวายแตละอยางมีความหมายท้ังส้ิน ไมใชวาเปนอะไรก็ได หลังจากทําพิธีเสร็จสรรพแลวก็จะมีการเสด็จออกมหาสมาคม ในการการเสด็จออกมหาสมาคมพระบรมวงศานุวงศ ขาทูลละอองธุลีพระบาท คือสมัยกอนอยางนอยในสมัยกอนรัตนโกสินทรเราจะไมเรียกขุนนาง ขาราชการ คํา ๆ นี้จะไมเคยใชเลย เราใชคํา ๆ เดียว คือคําวา “ขาทูลละอองธุลีพระบาท” แทนคําวาขุนนาง ขาราชการปรากฏชัดเจน ตอนเสด็จออกมหาสมาคมขาทูลละอองธุลีพระบาทท้ังฝายทหารและพลเรือนจะเขาเฝาพรอมกัน พอเขาเฝาเสร็จในการนี้สมุหนายก สมุหกลาโหม เสนาบดีจตุสดมภท้ัง ๔ หัวหนาขาทูลละอองธุลีพระบาทฝายในจะเขาเฝากลาวถวายราชมณเฑียร ถวายหัวเมือง ถวายกําลังคนและทรัพยตาง ๆ ของแผนดิน ความสําคัญของตรงนี้คือเปนการถวายกําลังคน กําลังทรัพยซ่ึงถือเปนรากฐานพระราชอํานาจใหแกกษัตริย การถวายตรงนี้เปนเพียงแคเชิงสัญลักษณแตมันก็เปนความสําคัญและก็เปนการสะทอนใหเห็นวาพระมหากษัตริยองคกอนสวรรคตงานตาง ๆ ตองยุติเอาไวช่ัวคราว ไมไดหมายความวากษัตริยองคใหมขึ้นมาแลวก็ไมใชพระองคเดิม พอกษัตริยไดรับการสถาปนาก็แลวแตวากษัตริยพระองคใหมจะวาอยางไรเขาถึงจะวาตอกันไปเปนลําดับฉะนั้นมีนัยตรงนี้ดวย หรือการเสด็จพระราชดําเนินเลียบพระนคร คือการดําเนินในปจจุบันก็อาจจะเลียบพระบรมมหาราชวัง อันนี้มีความหมายมีนัยสําคัญเพราะวามีเรื่องหนึ่งท่ีถือวาพระบรมมหาราชวังคือแกนกลางของเขาพระสุเมรุคือแกนกลางของจักรวาลฉะนั้นถาเสด็จเลียบกําแพงพระนครหรือกําแพงวังก็หมายถึงไดครอบครองจักรวรรดิท้ังจักรวรรดิแลวเปนนัยท่ีสําคัญ หรือถามองในเรื่องจักรพรรดิราชก็เปรียบเสมือนวาพระเจาจักรพรรดิราชไดอาศัยจักรแกวหมุนเดินทางไปรอบโลกหรือรอบจักรวรรดินั่นเอง ทีนี้ในขบวนเสด็จส่ิงท่ีนาสนใจคือลวดลายฐานพระราชยานส่ิงท่ีประดับฐานท่ีประทับ เครื่องสูงท่ีเขากระบวนแห โขนเรือตาง ๆ ยิ่งเปนการแสดงใหเห็นถึงความเปนสมมติเทพของพระมหากษัตริยไดเปนอยางดี เชน ลวดลายฐานพระราชยานจะมีท้ังลายเทพพนมและครุฑพนม ลวดลายตรงนี้มีความหมายแสดงวาพระราชยานคือโลกสวรรคหรือเขาพระสุเมรุของพระอินทร หรือถาเรามองวากษัตริยเปนเทพเจาตามแบบฮินดูก็คือราชยานก็คือเขาไกรลาศของพระศิวะ รอบ ๆ สวรรคก็จะมีเทวดา ครุฑซ่ึงเปนเทพบริวารรวมช่ืนชมบารมีของพระมหากษัตริยท่ีประทับอยูบนพระราชยานนั้น หรือถาเราใหความสําคัญกับครุฑพระมหากษัตริยท่ีประทับอยูบนพระราชยานก็คือพระนารายณเพราะวาพระนารายณทรงครุฑ สวนเครื่องสูงตาง ๆ ไมวาจะเปนบังสูง บังแทรก เครื่องประโคมตาง ๆ ก็เปนการจําลองริ้วขบวนขององคเทวะมาใชกับพระมหากษัตริยท้ังส้ิน สวนโขนเรือในริว้ขบวนพระยุหยาตราทางชลมารคซ่ึงเปนรูปอมนุษยเปนเทพบริวาร หรือเปนพาหนะของเทพเจาในศาสนาพราหมณ เชน หงสก็เปนพาหนะของพระพรหม หรือพระอนันตนาคราชซ่ึงเปนหัวเรือก็เปนท่ีประทับของพระนารายณนี่จะมี

Page 17: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

ความหมายท้ังหมด โขนเรือท่ีเราเห็นในขบวนแหท่ีเปนรูปโขนเรือลิง หนุมาน สุครีพ พาลี ก็มีท่ีมาจากเรื่องรามเกียรติ์ซ่ึงเปนทหารเอกของพระรามซ่ึงถือวาเปนอวตาลปางหนึ่งของพระนารายณฉะนั้นในริ้วขบวนตรงนี้จึงเปนริ้วขบวนซ่ึงหอมลอมพระมหากษัตริยท่ีเปนสมมติเทพท้ังหมด ซ่ึงลักษณะตรงนี้จะไปปรากฏอีกทีท่ีจะพูดถึงเรือ่งของงานพระเมรุมาศและพอวันท่ี ๑๔ - ๑๖ พ.ย. ซ่ึงมีงานพระเมรุของพระพ่ีนางฯ เราสังเกตก็จะเห็นวามีลักษณะอยางนี้คลาย ๆ กันและอาจจะเขาใจนัยหรือความหมายมากขึ้น อันนี้คือพิธีบรมราชาภิเษก พิธีตอไปคือ “พิธีอินทราภิเษก” พิธีนี้ไมปรากฏอยูในเอกสารอ่ืน ๆ ท่ีใดท้ังส้ิน มีอยูท่ีเดียวก็คือในกฎมณเฑียรบาลเทานั้น และถาอยากจะเห็นวาพิธีนี้ทําอยางไรจะมีเปนภาพเปนฉากลายรดน้ําเขียนและรูสึกวาจะเก็บไวท่ีพิพิธภัณฑท่ีวัดพระแกวมีท่ีเดียวมีรูปเดียวจริง ๆ พิธีอินทราภิเษกเปนพิธีท่ีเอา concept มาจากศาสนาพราหมณ พิธีนี้ท่ีนาสนใจจะมีลองไดไปอานเอกสารภาษาอังกฤษอยูเลมหนึ่งเขาบอกวาตอนท่ีมีการทําพิธีตรงนี้กษัตริยจะตองมีการตั้งอธิษฐานตัวเองวาจะทําความดีความงามอะไรและจะมีอะไรท่ีนาสนใจอยางหนึ่งตรงท่ีเอกสารช้ินนี้มักจะพูดบอกวาเรื่องของความเปนกษัตริยจะมีอยู ๕๐ generration เทานั้นและก็จะเริ่มเส่ือมเหมือนวาความเปนเทพคอย ๆ คลายลงไปหรืออยางไรก็แลวแตก็เปนการเขียนไวในเอกสารของฝรั่งซ่ึงแปลมาจากอินเดียอีกทีหนึ่ง พิธีอินทราภิเษกเปนพิธีในโอกาสพิเศษเทานั้น มีการอธิบายไวเลยวาพิธีอินทราภิเษกเปนพิธีเสริมฐานะของพระมหากษัตริยทํานองวาเปนพระราชาธิราช ไมมีหลักฐานยืนยันวาพิธีนี้ทําทุกรัชกาลหรือไมแตในพระราชพงศาวดารกรุงเกาฉบับหลวงประเสริฐกลาวถึงการประกอบพิธีอินทราภิเษกของกษัตริยพระองคหนึ่ง คือ “สมเด็จพระมหาจักรพรรด”ิ ทีนี้เราพิจารณาวาพระมหาจักรพรรดิเสด็จขึน้ครองราชยในป พ.ศ. ๒๐๙๑ แตประกอบพิธีอินทราภิเษก ในป พ.ศ. ๒๑๐๐ ฉะนั้นจะเห็นไดวาหางกันถึง ๙ ป ฉะนั้นแสดงวาการประกอบพิธีอินทราภิเษกเปนการประกอบพิธีครั้งท่ี ๒ และคงทําเพ่ือเพ่ิมพูนบารมีทําเปนพิเศษ นอกจากสมเด็จวาพระมหาจักรพรรดิแลวในพระราชพงศาวดารไมมีพูดถึงวากษัตริยองคไหนทําพิธีนี้อีกเลยแตวามาอานเจอในเอกสารท่ีเปนคําฉันทสรรเสริญพระเกียรติพระพุทธเจาหลวงปราสาททอง สมเด็จพระเจาปราสาททองตอนท่ีทําพิธีลบศักราชก็บอกวาประกอบพิธีนี้ดวย สวนในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๒ ในพงศาวดารบอกวาในป พ.ศ. ๒๐๓๙ โปรดใหมีการเลนการดึกดําบรรพซ่ึงเราก็นึกไมออกวาการดึกดําบรรพคืออะไรแตวาพอมาอานรายละเอียดของการการประกอบพิธีอินทราภิเษกท่ีปรากฏในกฎมณเฑียรบาลจะพบวามีการกลาวถึงการชักนาคดึกดําบรรพดวย ฉะนั้นก็เลยสันนิษฐานวาเปนไปไดเหมือนกันวาพระรามาธิบดีท่ี ๒ คงประกอบพิธีอินทราภิเษกดวย ฉะนั้นอยางนอยกษัตริยอยุธยา ๓๓ - ๓๔ พระองคทําพิธีนี้แค ๓ พระองคเทานั้นเองฉะนั้นถือวาเปนพิธีท่ีสําคัญและดูจากรายละเอียดท่ีปรากฏในกฎมณเฑียรบาลเปนพิธีท่ีใชเวลากันเปนเดือน ๆ ใชเวลาในการเตรียมงาน การมีงานและใชผูคนมาเลนการดึกดําบรรพเปนพลวานร และเอาผูคนเขามาถวายของ ถวายเมืองอะไรเยอะแยะมากมายก็แสดงวาพิธีนี้ถากษัตริยพระองคไหนจะทําไดก็ตองมีบุญบารมีพิเศษจริง ๆ รวมท้ังตองมีสถานะทางการเงินท่ีม่ันคงในระดับหนึ่งทีเดียวถึงจะทําไดเพราะวาอยางในเอกสารพูดถึงการกอนเตรียมงาน อยางวันท่ี ๒๑ ก็จะมีการโปรยเงินโปรยทองมีการจัดการมหรสพเยอะแยะมากมายเลยซ่ึงไมไดเอารายละเอียดมาใหดูเพราะวาเปนเอกสารท่ีอานคอนขางยากนิดหนึ่งแตวาก็มีนัยวาพิธีนี้เกี่ยวของกับเรื่องของการเปนพระอินทรท่ีเราพูดกันมาเม่ือก้ีนี้ ทีนี้งานท่ี ๓ ก็คือ “งานพระเมรุมาศ” เปนพิธีท่ีพระราชพิธีไมไดกลาวไวในกฎมณเฑียรบาลก็พยามยามนั่งคิดเหมือนกันวาทําไมเพราะวาเปนพิธีอวมงคลก็เลยไมนาเอามารวมไวแตวาพระราชพิธีนี้ก็แสดงให

Page 18: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

เห็นถึงภาวะของสมมติเทพของกษัตริยไดเปนอยางดีเพราะเปนงานของสมมติเทพจึงมีความอลังการ มีขั้นตอนท่ีละเอียดใชเวลาในการเตรียมงานมากกวาคนธรรมดาหลายเทา คือตอนท่ีฝรั่งเขามานั้น อยางแชรแวสเขามานั้นเขาบอกวา “แคงานศพของคนธรรมดาคนสยามก็ใหความสําคัญกันมากเลย อยางงานศพของพวกผูดีมีเงินก็ทํากันอยางหรูหราและส้ินเปลืองคาใชจายมาก” และเขาก็มากลาวถึงพิธีงานพระศพของสมเด็จพระบรมราชินีนาถบอกวา “การใชจายลนเหลือฟุมเฟอยและมีความมโหฬารพันลึกจนไมมีการจะพรรณนาไดหมดส้ิน เคยมีผูกลาวขวัญถึงความยิ่งใหญของงานมหกรรมเทากับเม่ือครั้งนั้นมาแตกอนเลย” ฉะนั้นแสดงวางานพระเมรุเปนงานท่ีใหญจริง ๆ ใชเวลาในการเตรียมตัว โดยท่ัวไปแลวถาพระมหากษัตริยท่ีครองราชยอยูสวรรคตกษัตริยพระองคใหมท่ีขึ้นมาจะเปนคนจัดงานพระเมรุใหแตท้ังนี้ไมใชวากษัตริยทุกพระองคในสมัยอยุธยาจะมีงานพระเมรุท่ีใหญโตได ในกรณีท่ีมีการแยงชิงราชบัลลังกก็อาจจะมีการถูกสําเร็จโทษดวยทอนจันทนและฝงไปก็ไมมีการจัดงานพระเมรุให ฉะนั้นก็เลยไมใชวากษัตริยทุกองคจะไดรับโอกาสท่ีมีการจดังานพระเมรุและการจัดงานพระเมรุถือวาเปนงานใหญ มีปรากฏอยูในเอกสารของอยุธยาช้ินหนึ่งกค็ือ “คําใหการขุนหลวงวัดประดูทรงธรรม” เขาจะมีการกําหนดแบบอยางของงานพระเมรุอยางละเอียดเลยวาถาเปนงานพระเมรุเอก โท ตรี ทําอยางไร ก็แสดงวาเปนงานท่ีมีความสําคัญ ทีนี้พอเม่ือพระมหากษัตรยสวรรคตแลวขั้นตอนแรกคือการสรงน้ําพระศพดวยน้ําหอม เครื่องหอม กระแจะจันทน จากนั้นก็มีการแตงพระศพดวยการใหทรงสนับเพลา และทรงเครื่องตนฉลองพระองคอยางใหญ และมีพวกสรอยสังวาลยประดับเพชร ประดับพระกร และใสประดับเพชรใสแหวนท้ัง ๑๐ นิ้วพระหัตถและ ๑๐ นิ้วพระบาทใสหมดเลยท้ังนิ้วมือและนิ้วเทา ฉะนั้นจะเห็นวาเอาแคขั้นตอนแรกเม่ือกษัตริยส้ินพระชนมพระบรมศพของพระองคก็จะไดรับการสรงดวยน้ําหอม ของหอมซ่ึงเปนของท่ีมีราคาแพงมาก ในสมัยอยุธยาน้ําหอมพวกน้ํากุหลาบ น้ําจันทนเทศตองส่ังมาจากตางประเทศเทานั้น อยางน้ํากุหลาบตองนําเขาจากเปอรเชียตองส่ังเขามา ชุดท่ีใสก็ตองเปนชุดเครื่องทรงแบบกษัตริยเทานัน้ เม่ือสรงน้ําแลวก็จะใสพระโกศซ่ึงตองประดับตกแตงอยางงดงามและพระโกศอาจจะมีลายเทพพนม พรหมพักตรหรือวามีฐานท่ีเปนรูปครุฑ รูปสิงหซ่ึงเปนสัตวท่ีอยูเชิงเขาพระสุเมรุหรือปาหิมพานต เปนการแสดงใหเห็นวากษัตริยหรือผูท่ีอยูในพระโกศตรงนั้นไมใชคนธรรมดาแตเปนบุคคลท่ีมีทิพภาวะหรือกลาวอีกนัยหนึ่งเปนเทพเทวดานั่นเอง นอกจากนี้คนท่ีอยูในพระโกศลักษณะการลงในพระโกศจะลงแบบนั่งเพราะพระโกศจะมีลักษณะยอดพุงขึ้นขางบนเปนการช้ีทางสูสวรรคและเปนการแสดงใหเห็นความแตกตางกันอยางมากเลยกับคนธรรมดาท่ีลงโลงแบบนอนและโลงศพท่ีเปนแนวนอนตองมีความแตกตาง นอกจากนี้อยางในขั้นตอนอันนี้ไมไดพูดถึงท่ีวา อ.ปรีดีคงจะมีโอกาสไดมาเลาใหฟงวาในการตอนท่ีศพเริ่มมีการเนาเปอยแลวจะตองมีการรูดเอาเนื้อออกใหเหลือแตกระดูกและก็เอาเนื้อไปคั่วกับของหอม ไมหอมอยางไรเพ่ือท่ีจะไมใหเหลือตกลงไปถึงพ้ืนดินไดเลย น้ําเหลืองอะไรจะตองมีการเอาของหอมมาเคี่ยวหมด อันนี้ อ.ปรีดีคงจะมีโอกาสไดมาเลาใหฟงเพราะเปนพิธีในสมัยกอนแตในปจจุบันไมไดทําแบบนี้แลว สวนในขั้นตอนของการสวดพระบรมศพกินเวลานานแนนอนนานเปนเดือน ๆ สวดไปเรื่อย ๆ ระหวางรอสรางพระเมรุเพราะการสรางก็ตองเริ่มสรางหนาแลงเพราะหากหนาฝนงานพระเมรุก็จะมีปญหาการทําของการสรางเปนงานไม สวนพระสงฆท่ีมาสวดก็ตองมีสมณศักดิ์สูง ฉะนั้นจํานวนพระสงฆท่ีเขามาสวดท่ีมีจํานวนมากส่ิงตรงนี้ก็แสดงถึงสถานะอันสูงสงของกษัตริย นอกจากนี้ก็ยังมีการตั้งตนกัลปพฤกษ การแจกทานซ่ึงเปนการชวยย้ําใหเห็นถึงความม่ังคั่งและเปนการแสดงใหเห็นถึง

Page 19: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

ความเมตตาของพระมหากษัตริยท่ีอยูในรูปของการบําเพ็ญทานไดเปนอยางดี สวนการใหมีงานมหรศพการละเลนตาง ๆ ในงานบําเพ็ญพระราชกุศลทางศาสนาก็ถือวางานพระบรมศพไมใชเปนส่ิงนาโศกเศรา ไมใชงานท่ีนาเศราเพราะคําวาสวรรคตหมายถึงวาทานเสด็จกลับสูสรวงสวรรคจึงเปนโอกาสอันควรแกการสมโภชมากกวา ฉะนั้นงานมหรสพจึงเปนการแสดงอาลัยถึง ระลึกถึง เปนการแสดงใหเห็นถึงแกนแทความเช่ือตามของการละสังขารตามความเช่ือของพระพุทธศาสนาดวย ขณะเดียวกันก็เปนเหมือนการใหความสุขแกคนท่ีเดินทางไกลมารวมงานเปนการแสดงใหเห็นวาแมกษัตริยจะสวรรคตไปแลวแตดวยพระบารมีก็ยังพระราชทานความสุขแกขาแผนดินได คุณมาไกลขนาดไหนคุณก็ยังมีมหรสพและมหรสพท่ีเลนก็จะเปนมหรสพพวกหกสูง ไตลวด หกคะเมนซ่ึงเปนมหรสพท่ีหาโอกาสดูจากท่ีอ่ืนไมไดเหมือนกันถือเปนโอกาสของการรื่นเริ่งอยางหนึ่งเหมือนกันในงานพระเมรุ สวนลักษณะของพระเมรุมาศหรือพระเมรุก็จะเปนการจําลองเขาพระสุเมรุช่ือก็บอกแลววาเขาพระสุเมรุซ่ึงเปนศูนยกลางของจักรวาลลงมาท้ังในแงของความสูงของพระเมรุ เคยมีเอกสารเขียนไวเหมือนกันวาพระเมรุท่ีสูงท่ีสุดเทาท่ีเคยสรางมาก็สูงเทียบในปจจุบันก็ประมาณตึก ๔ ช้ัน คือสูงมากและบอกวาเพ่ือใหมีความสูงใหญเอกสารของฝรั่งบอกเลยวาเพ่ือใหมีความสูงขึ้นไปใหมากยิ่งขึ้นจะมีการถมดินพูนดินขึ้นมากอสรางพระเมรุใหเหมือนกับเปนเขาพระสุเมรุจริง ๆ และจากนั้นจะมีการจําลองบริเวณเขาพระสุเมรุวาเปนเขาสัตตบริภัณฑหรือเปนดินแดนของพวกเทพ อสูร ครุฑ นาค มีปาหิมพานตจะอยูรายรอบเขาพระสุเมรุ หรือแมกระท่ังแนวทิศท้ังส่ีก็จะเปรียบเสมือนทวีปท้ัง ๔ ท่ีอยูรอบเขาพระสุเมรุ ฉะนั้นพอทานมีโอกาสไดเห็นงานพระเมรุในเดือนพฤศจิการยนทานอาจจะนึกออก มีเมรุ ๔ ทิศหมายถึงแทนทวีปท้ัง ๔ และเขามีการบอกวาตองตั้งรูปสัตวเปนการบงบอกวาตรงนี้เปนเขาพระสุเมรุจริง ๆ เปนเครื่องบงบอก และนอกจากนี้การจําลองเขาพระสุเมรุเปนส่ิงท่ีย้ําความหมายเกีย่วกับเขาพระสุเมรุเปนศูนยกลางของจักรวาล ฉะนั้นคนท่ีประทับทอดรางอยูบนเขาพระสุเมรุคือพระเมรุก็คือพระอินทรหรือพระอิศวรก็แลวแตตามความเช่ือของศาสนาถาเราคิดวากษัตริยเราเปนพระอิศวรบนนั้นก็คือพระอิศวร ถาเช่ือวาเปนพระอินทรคนท่ีอยูบนนั้นก็คือพระอินทร นอกจากนี้ในริ้วขบวนแหพวกราชรถก็จะเปนการสรางเลียนแบบเขาพระสุเมรุท้ังส้ิน และราชรถท่ีจําลองท่ีมาใชลากพระบรมศพลงมาราชรถก็เปนการจําลองแบบเขาพระสุเมรุมาใชเหมือนกัน ทุกอยางจะเกี่ยวของเขาพระสุเมรุหมดอันนี้เราจะเห็นคือเรื่องของความยิ่งใหญของงานพระเมรแุละทีนี้เรื่องของการถวายพระเพลิง ถึงแมวาเราจะใชการเผาศพเหมือนกับคนท่ัว ๆ ไปแตวิธีการอยางในสมัยอยุธยาก็จะใชการถวายพระเพลิงดวยไฟฟาก็คือการใชไฟท่ีฉายมาจากแสงพระอาทิตยเพ่ือเปนการจุดไฟ ทอนไมก็ไมใชทอนไมธรรมดาแตวาจะตองเปนทอนกฤษณาหรือวาทอนไมจันทนและเอามาปดทองและประพรมเครื่องหอมถวายท้ังหมดจากนั้นก็จะมีการเอาพวกน้ําหอม น้ํากุหลาบสาดใสเขาไปเพ่ือใหกล่ินหอมตลบฟุงท่ัวพระเมรุเพ่ือเปนการกลบกล่ิน นี่คือเรื่องของในการจัดบริเวณพิธีเผา สวนการเก็บพระอัฐิก็มีการจัดริ้วขบวนแหเหมือนกัน โกฐท่ีใสอัฐิก็เปนการจําลองแบบเขาพระสุเมรุขนาดเล็ก ๆ ฉะนั้นท้ังหมดนี้เปนการแสดงใหเห็นทิพภาวะขององคกษัตริยท้ังส้ิน อันท่ีจริงแลวงานพระเมรุไมไดเพียงแตแสดงถึงทิพภาวะของกษัตริยท่ีสวรรคตไปแลวแตวายังสะทอนใหเห็นถึงทิพภาวะของกษัตริยองคใหมท่ีจัดงานพระเมรุถวายดวย เพราะวากษัตริยองคใหมจะตองมีสถานะสูงสงเทาเทียมกันจึงจะมีอํานาจในการบัญชาการใหมีการจัดเตรียมงาน รวมถึงวาตองมีสถานะเทากันจึงจะเปนคนท่ีจุดไฟถวายพระเพลิงพระบรมศพได ในขณะเดียวกันการจัดงานพระเมรุก็เปนการประกาศถึงความม่ันคงทางบานเมืองภายใตการผลัดแผนดินของ

Page 20: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

กษัตริยพระองคใหม ยิ่งงานใหญโตเทาไรก็เปนการแสดงถึงพระบรมเดชานุภาพของกษัตริยมากขึ้นเทานั้นวามีกําลัง มีอํานาจ ความม่ังคั่ง ท้ังนี้เพราะวาการจัดงานพระเมรุตองใชราชทรัพยจํานวนมาก ตองใชเวลานาน ตองมีการเกณฑไม เกณฑคนจากหัวเมืองมารวม รวมท้ังก็มีพระราชโองการใหเจาเมืองประเทศราชท้ังหลายมารวมงานพระเมรุ เพราะฉะนั้นนอกจากวาในการใหเจาประเทศราชมาถวายความเคารพพระบรมศพแลวก็จะมีนัยทางการเมืองดวยวาถาเจาประเทศราชคนไหนไมมาแสดงวาเจาประเทศราชคนนั้นอาจจะมีวิธีคิดท่ีกอการกบฏไดจะไดเตรียมตัว หรือถาเขาเขามาเห็นงานยิ่งใหญก็จะไดเห็นพระบรมเดชานุภาพของพระมหากษัตริยองคใหมวามีความสําคัญเทาเทียมกับกษัตริยพระองคเกา ฉะนั้นคุณก็ไมควรท่ีจะคิดกอการกบฏหรือวาคิดท่ีจะแข็งขอแข็งเมืองขึ้นมา ฉะนั้นการจัดงานนอกจากจะเปนการแสดงอะไรบางอยางแลวยังมีนัยทางการเมืองแฝงอยูดวย นี่คือส่ิงท่ีแฝงอยู พิธีตอไป “พิธีทูลน้ําลางพระบาท” เปนพิธีท่ีปรากฏอยูในกฎมณเฑียรบาล เปนพระราชพิธีในเดือน ๗ พิธีก็จะเขียนส้ัน ๆ บอกวา “เดือน ๗ ลูกขุนทูลน้ําลางพระบาทในรัตนหาสนสิงหเบญจา ฝายขวาสมุหประธาน ๑๐,๐๐๐ หัวเมืองท้ังส่ีขึ้นไปถวายน้ํา ครั้นเสร็จทูลน้ําลางพระบาทเอากระออมน้ําทูลศรีษะ ผาโพกกระออมน้ําเอาศรีษะรับ” อานกันแทบตายสรุปแลวพิธีนี้ทําอะไรก็ไมรูแตจับไดอยางหนึ่งวาตองขึ้นไปทูลน้ําถวายพระมหากษัตริยเสร็จแลวก็พูดถึงกระออมน้ํา และเอากระออมน้ํามาตั้งบนหัวดวยก็หมายถึงทูลน้ําแลวก็เอาน้ําใสบนกระออมมาตั้งบนหัวหรือเปลาหรือวากระออมน้ําเปลา ๆ และพอยื่นหมาก ๓ คําใหเอาศรีษะรับมันมีความหมายวาอะไร? ก็เลยงง ๆ กันวาพิธีนี้คือพิธีอะไร รัชกาลท่ี ๕ บอกวาพิธีนี้พอถึงสมัยพระองคก็ไมรูแลววาเปนพิธีอะไรไมทราบแนชัดแตสันนิษฐานวาเปนพิธีถวายน้ําสรงพระมหากษัตริยเพราะวาในการพิธีบรมราชาภิเษกเจานาย ขาราชการไมไดมีโอกาสถวายน้ําแตวาส่ิงท่ีนาสนใจก็คือวิธีการท่ีเอาศรีษะรับน้าํท่ีกษัตริยยื่นใหเหมือนเอาศรีษะรับตัวเองก็เลยคิดวาเหมือนคําอธิบายบางอยางเปนกิริยาอาการบางอยางท่ีแสดงอาการนบนอมอยางสูงสุดก็คือเหมือนคําวา “รับดวยเกลา” อะไรบางอยางตรงนี้ ฉะนั้นวิธีตรงนี้อาจจะเปนการแสดงนัยท่ีสําคัญเอาจากแคช่ือพิธีคือทูลน้ําถวายทานไดคือทําไดลางพระบาทเทานั้นไมมีสิทธ์ิมากกวานั้น อยางคําวา “ขาทูลละอองธุลีพระบาท” อาจารยทานหนึ่งซ่ึงเปนผูเช่ียวชาญดานภาษาสันสกฤตและไปเรียนจบมาจากอินเดียทานบอกวาจริง ๆ แลวแคพูดคําวาธุลีท่ีอยูใตพระบาทก็สูงเกินพอท่ีสามัญชนพึงจะกระทําไดแลวไมควรบังอาจเอ้ือมไปมากกวานั้น นี่คือพิธีท่ีปรากฏอยูในกฎมณเฑียรบาล นอกจากนี้ก็อาจจะมีพิธีบางอยาง เชน สตรีท่ีตั้งครรภจะทําอยางไร ตองเกณฑผูคนมาตัดไมทําอูอยางไร ตองเกณฑพวกเมียท้ังหลายมาตมน้ํารอนน้ําชาเปนพิธีท่ีมีเนื้อหาท่ีนาสนใจ และมีอีกพิธีหนึ่งท่ีไมไดใสไวในท่ีนี่แตปรากฏในกฎมณเฑียรบาลเพียงท่ีเดียว คือเปนพิธีแหแมอยูหัวไปรอบเมือง คนท่ีมารวมแหก็คือพระมเหสีลงมาท้ังหมดและเมียขุนนางช้ันผูใหญตองรวมแห แหเสร็จก็ตองสงเสด็จกษัตริยไปประทับกับแมอยูหัวและเชาขึ้นมาก็มีพิธีกรรมอีกทีหนึ่ง ทุกคนก็ไมเขาใจวาแมอยูหัวพระท่ีคืออะไร จะเปนคนหรือเปลา แตเปนคนทําไมตองมีพิธีแหท่ีใหญโตขนาดนี?้ ก็เลยมีทานผูใหญในทีมวิจัยบอกวาพิธีนี้อาจจะเปนพิธีท่ีสืบเนื่องจากโบราณ คือพิธีท่ีกษัติรยเขมรตองเขาไปประทับอยูกับนางนาคโสมาซ่ึงถือวาเปนความเช่ือของทองถ่ินของเขมรท่ีเปนเหมือนภูติเปนส่ิงศักดิสิ์ทธ์ิประจําถ่ินเปนนางนาคตองเขาไปนอนดวย อาจจะไปนอนกับรูปหรืออะไรก็แลวแตแตท่ีปรากฏในกฎมณเฑียรบาลนาจะเปนพิธีท่ีเกาแกท่ีสุดซ่ึงสะทอนใหเห็นถึงการสืบเนื่องรับวิธีคิดตรงนี้มาจากเขมรท่ีเปนการไปนอนกับรูปท้ังท่ีเปนผูหญิงก็

Page 21: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

เกี่ยวเนื่องกับความอุดมสมบูรณของบานเมือง อันนี้คือพิธีท่ีปรากฏอยูในกฎมณเฑียรบาลซ่ึงสะทอนใหเห็นอะไรบางอยางท่ีเกี่ยวกับทิพภาวะของพระมหากษัตริย

ความสําคัญและความศักดิ์สิทธ์ิของพระราชวังหลวง ขอใหทานตั้งขอสังเกตวาใน

สมัยอยุธยาเวลาเราเรียกวังเราจะเรียกวา “พระราชวังหลวง” เราจะไมเรียกวา “พระบรมมหาราชวัง” พระบรมมหาราชวังเราจะมาเรียกจริง ๆ สมัยรัตนโกสินทรฉะนั้นแลวเราใชคําวาพระราชวังหลวง ความสําคัญและความ

ศักดิ์สิทธ์ิของพระบรมมหาราชวังจะเกี่ยวพันเกี่ยวกับคติความเช่ือ ๒ เรื่องท่ีสัมพันธกัน คือเรื่องแรกความเช่ือวากษัตริยคือสมมติเทพ สมมติเทวดา เม่ือกษัตริยคือเทวดาพระราชวังหลวงท่ีเปนท่ีประทับของพระองคจึงไมใชสถานท่ีธรรมดาแตวาเปนทิพยวิมานหรือเปนปราสาทซ่ึงเปนท่ีประทับของเทพอันมีความศักดิ์สิทธ์ิท่ีไมพึงละเมิดโดยเด็ดขาด โดยพ้ืนฐานสังคมแบบพุทธการท่ีกษัตริยมักสวมบทบาทและประกาศพระองคเปนพระอินทร เม่ือกษัตริยคือพระอินทร ราชธานีของพระองคก็เปรียบไดกับนครสุทัตซ่ึงตั้งอยูบนสวรรคช้ันดาวดึงส สวนพระราชวังหลวงซ่ึงเหมือนราชธานีก็เปรียบไดกับปราสาทเวชยานของพระอินทรท่ีตั้งอยูในนครสุทัต การจําลองนครสุทัตของพระอินทรลงมาถือเปนการประกาศสถานะการเปนทิพภาวะของพระมหากษัตริยไดอยางชัดเจนท่ีสุด ถาจะกลาวไปแลวการย้ําสถานภาพอันสูงสงยิ่งกวาคนธรรมดาจะเห็นไดจากคตินิยมการสรางมหาปราสาทไวในพระราชวังหลวงและขอใหทุกคนตั้งขอสังเกตไวดวยวามหาปราสาทหรือปราสาทจะสรางไดเฉพาะวงัหลวงเทานั้น วังหนาและวังหลังไมมีสิทธ์ิสรางท้ังส้ิน คุณจะสรางพระท่ีนั่ง ตําหนักก็สรางไปแตพระมหาปราสาทมีไดท่ีเดียวคือวังหลวงเทานั้น ฉะนั้นตัวเองก็เลยคิดวาเปนการตั้งขอสังเกตเหมือนกันวาในสมัยอยุธยาเวลามีการแยงชิงราชสมบัติมักจะเขามาแยงกันท่ีตัวพระนครหลวง ทําไมเราไมเคยมีสักครั้งหนึ่งเลยวาจะเห็นแข็งเมืองแควนนครราชสีมาก็เลยมีกรณีวาแข็งเมืองนครราชสีมาหรือนครศรีธรรมราชทําไมถึงไมคิดท่ีจะประกาศตรงนั้นเพ่ือเปนพระนครหลวง หรือวากษัตริยท่ีอยูลพบุรีทําไมถึงไมแข็งเมืองแลวประกาศตัวเองเลยวาตรงนัน้เปนพระนครหลวงก็เลยสันนิษฐานวาสวนหนึ่งมาจากความสําคัญของตัวเกาะพระนครท่ีวาสัมพันธกับเรื่องของเศรษฐกิจการคาท่ีเปนเมืองทาท่ีสําคัญ และอีกสวนหนึ่งท่ีคิดนาจะมาจากกรณีนี้ดวยหรือเปลาวามหาปราสาทพวกนี้สวนใหญจะสรางอยูท่ีแควังหลวงเทานั้น และการไดครอบครองปราสาทก็เปนการบงบอกนัยวาคุณคือเทพเจาแลวฉะนั้นก็เลยเปนไปไดหรือเปลาวาการมาแยงชิงตรงนี้ถึงอยูแคตรงนี้ไมเคยไปท่ีอ่ืนเลยนี่คือการสันนิษฐานของตัวเอง เม่ือพระราชวังหลวงคือสถานท่ีท่ีศักดิ์สิทธ์ิจะเปนสถานท่ีประทับของเทพเจาท้ังหลาย ฉะนั้นใครก็ตามท่ีเขาใกลสถานท่ีแหงนี้จะตองแสดงความเคารพ ขี่มามาก็ตองลงจากมา เดินกางรมมาถึงตรงไหนก็แลวแตก็ตองหุบรม รวมท้ังตองแตงตัวใหเรียบรอยดวย ถาผูใดละเมิดจะตองถูกลงโทษ กฎมณเฑียรบาลจะเขียนไวอยางชัดเจนวาถาผูใดนุงผาแดง ผาชมพูไป หมผานอกเส้ือ หมผาบาเดียวหรือวานุงผาเหน็บหนามีชายเดินเขามาตรงนี้ถาจับไดก็ใหเอาดอกไมคลุกฝุนและโพกหัวไปเลยลงโทษ และใหขอสังเกตดวยวาลาลูแบรหรือแชรแวสฝรั่งท่ีเขามาเขาจะบอกวาชาวสยามจะไมยางเขาสูในวงัหรือออกมาโดยไมหมอบลงกราบเสียกอน และจะไมผานปราสาทเลยเปนอันขาด บางครั้งกระแสน้ําพัดผาน

Page 22: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

ไปและบังคับใหเขาพาเรือผานไปแลวเขาจะตองถูกระดมยิงดวยเม็ดถ่ัวอยางหนึ่งเปนหาฝนโดยท่ีเจาพนักงานพระมหากษัตริยจะใหไมซางเปา แมกระท่ังคณะราชฑูตพอยางเหยียบขึ้นบนบกก็ตองลดสัปทนของตนเองลงเม่ือเขาสูขั้นแรกของปราสาท ฉะนั้นเราไมตองแปลกใจวาเวลาเราเขาไปเท่ียวท่ีพระบรมมหาราชวังจึงตองแตงตัวเรียบรอย ผูหญิงหามใสเส้ือสายเดี่ยว เส้ือกลามไมมีแขน หามนุงกระโปรงส้ัน อยางเคยไปกับ อ.ปรีดีพานักศึกษาไปนักศึกษานุงส้ันผาหลังเขาไลออกมาเลยวาใหไปหาซ้ือผาถุงหรือวาซ้ือกระโปรงท่ีบางลําพูมาเปล่ียนไมใหเขาโดยเด็ดขาดเพราะถือวาเปนสถานท่ีศักดิ์สิทธ์ิ นอกจากเรื่องของการแตงตัวไมเรียบรอยยังมีขอหามอ่ืน ๆ ท่ีนาสนใจ เชน การขามพระท่ีนั่ง เลนวาวขามพระท่ีนั่งไปตกในวังอันนี้ถูกลงโทษอยางหนัก หรือวาการไปทะเลาะดาเถียงกันในวังอันนี้ตองถูกลงโทษแลวแตดูวาคน ๆ นั้นจะมีศักดินามากนอยขนาดไหน สวนใหญจะมีโทษโดยการเฆ่ียนดวยหวาย ๕๐ ที ถาตบตีกันก็เฆ่ียนดวยหวาย ๑๐๐ ทีแลวแตวาจะทําอะไร รวมท้ังท่ีนาสนใจอีกกรณีหนึ่ง เชนพวกเดินไปกระโดดถีบประตูวังถูกตัดขาโดยสถานเดียวหามทําโดยเด็ดขาด ท่ีนาสนใจอีกกรณีหนึ่งก็คือบอกวาเปนความเช่ือวา “หามวิวาทตบตีกันหรือฟนแทงกันใหโลหิตตกในพระราชวังก็ดีแลหญิงสาวขาไทผูใดคลอดลูก แทงลูกในพระราชวังก็ดี ทานใหมันพลีวังทานเพราะถือวาเปนจัญไรอยางแรง” หามมิใหเลือดตกในวังโดยเด็ดขาดถามีกรณีเกิดขึ้นจะตองมีการตั้งพิธีบัตรพลีทําเปนพิธีอยางใหญโต นิมนตพระมาสวดพุทธมนต ๓ วันเลยตองทําพิธีการอยางใหญโตมาก อันนี้ก็ไมเขาใจเหมือนกันหรืออาจจะถือเรื่องโลหิตก็ไมแนชัดเหมือนกันแตถือเปนสถานท่ีศักดิ์สิทธ์ิ ฉะนั้นจากตรงนี้แสดงใหเห็นวาตั้งแตวังไมใชตัวพระมหากษัตริยแควังคุณก็ไมมีสิทธ์ิลวงละเมิดตองพูดถึงวาคุณจะมององคพระมหากษัตริยหามโดยเด็ดขาดในสมัยนั้นฝรั่งทุกคนพูดถึงเหมือนกันหมดเลยวาถากษัตริยเสด็จโดยเรืออยูบนบานช้ัน ๒ ก็ตองลงมาอยูขางลาง ยิ่งฝายในยิง่หามมองโดยเด็ดขาดจะตองกมหนาเอาไวหามแอบมองโดยเด็ดขาด ฉะนั้นก็อยางท่ีเคยเลาใหฟงวาเขามองแลวก็จะเปนคนธรรมดาเหมือนเราก็เหมือนท่ีเอกสารของพวกฝรั่งฮอลันดาเคยเขียนไวท่ีเคยเลาใหทานฟงเขาบอกวาหามมองกษัตริยเพราะเขาไดมีโอกาสไดไปรักษาจําไมไดวาเปนพระบรมโกศหรือพระเจาทายสระก็บอกวา “หนาตาเหมือนคนธรรมดาเลย ไมไดวิเศษวิโสอะไรแถมปวยเปนโรคคอหอยพอกอีกตางหาก” ก็คงเปนเพราะกรณีอยางนี้เขาไมอยากใหเห็นวาเปนคนธรรมดาเหมือนเราและเราไปเคารพนบนอบก็เลยเปนเรื่องของการหามมองหามอะไรท้ังส้ิน

เครื่องราชกกุธภัณฑและเครื่องราชูปโภค เครื่องราชกกุธภัณฑหมายถึงเครื่องหมายของความเปนพระราชาธิบดี ในความหมายกวางก็คือส่ิงใดก็ตามถาใชเปนเครื่องประกอบอิสริยยศของพระมหากษัตริยถือวาเปนเครื่องราชกกุธภัณฑท้ังส้ิน แตวาท่ีสําคัญท่ีสุดของเครื่องราชกกุธภณัฑซ่ึงมีหลายอยางท่ีสําคัญท่ีสุดจะมีอยู ๕ อยางท่ีเราเรียกวา “เครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ” เพราะฉะนั้นดวยความหมายตรงนี้เครื่องราชกกุธภัณฑจึงถือวาเปนส่ิงเฉพาะองคพระมหากษัตริยเทานั้น บุคคลอ่ืนไมมีสิทธ์ิใชและไมมีสิทธ์ิเปนเจาของ คติเรื่องการใชเครื่องราชกกุธภัณฑประกอบในงานพิธีบรมราชาภิเษกประกอบพระราชอิสริยยศของกษัตริยอันนี้เปนส่ิงท่ีมีมาชานานแลว มีเขียนไวในพระสูตรตาง ๆ ในพระไตรปฎกเหมือนกันอยางบอกวาตอนท่ีพระพุทธเจาประสูติก็จะมีฉัตร

Page 23: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

และมีเครื่องราชกกุธภัณฑท่ีมีพูดถึงมาปรากฏใหเห็นก็เปนความพยายามท่ีจะเช่ือมโยงตรงนี้เรื่องกษัตริยกับพระพุทธเจาเหมือนกัน เครื่องราชกกุธภัณฑตามตําราวามี ๕ อยางแตวาจะเปนอะไรบางไมตรงกันทุกตําราบางทีทานอานจะงงมากเลยอยางในพระสูตรอาจจะบอกวามีฉัตร พระขรรค กรอบพระพักตร พัดใบตาล พัดวาลวิชนี สวนในตําราปญจราชาภิเษกเขาบอกวา “เครื่องสําหรับราชาภิเษกของพระมหากษัตริยจะมีพระมหามงกุฏ พระภูษาผารัตกําพล พระแสงขรรค พระเศวตฉัตร เกือกทองประดับแกวฉลองพระบาท” พวกนี้ในคําใหการชาวกรุงเกาก็บอกเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑจะประกอบดวยพระมหาพิชัยมงกุฏ พระแสงขรรค ธารพระกร วาลวิชนีและฉลองพระบาท ก็จะไมตรงกัน ถาในปจจุบันก็ดังท่ีเห็นในภาพก็จะประกอบไปดวยพระมหาพิชัยมงกุฏ พระแสงขรรคชัยศรี ธารพระกร วาลวิชนีก็คือพัดแสท่ีทําดวยขนจามรีและฉลองพระบาท อยากใหทานตั้งขอสังเกตวาเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑในสมัยปจจุบันไมมีฉัตรรวมอยูดวยแตวาเศวตฉัตรก็ยังถือวาเปนเครื่องสูงท่ีสําคัญ แตวาในสมัยโบราณถือกันวานพปฏลมหาเศวตฉัตรถือวาสําคัญท่ีสุดในบรรดาเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑเปนความหมายเทากับพระมหากษัตริยเลยทีเดียว มีคนเขียนไวบันทึกของฝรั่งบอกวาเขากลาวถึงฉัตรบอกวา “ฉัตรจะติดตามองคพระมหากษัตริยท่ัวทุกหนทุกแหงนับถือกันในพระราชอาณาจักรวาเปนสัญลักษณแหงองคพระมหากษัตริย” แตพอถึงในสมัยรัชกาลท่ี ๔ ทานรับคติจากราชสํานักยุโรปท่ีถือวาพระมหากษัตริยจะดํารงสภาวะอันสูงสุดไดก็โดยตอเม่ือไดสวมมงกุฏทานเอาคตินี้มาใชก็เลยทําใหพระมหาพิชัยมงกุฏกลายเปนเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑท่ีมีความสําคัญอยางยิ่งและถือวาขณะท่ีทรงสวมพระมหาพิชัยมงกุฏเปนระยะเวลาท่ีสําคัญท่ีสุดแหงการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกอันนี้คือเราปรับมารับฝรั่งมา ฝรั่งมีพระสันตปาปาท่ีจะมอบมงกุฏให รัชกาลท่ี ๔ ทานก็ไปรับมาเพียงแตวาของเขาสันตปาปาอาจจะสวมใหหรืออะไรก็แลวแตของเราทานจะตองรับมาและก็ใสเองและมีเอกสารพูดเหมือนกันวาคนท่ีจะมีสวนในการหยิบมงกุฏไดหรือดูแลเรื่องเครื่องแตงกายของกษัตริยไดมีตําแหนงท่ีเรียกวา “พระอุทัยธรรม” และคนท่ีดํารงตําแหนงพระอุทัยธรรมระบุไวชัดเจนวาตองเปนเจานายเขมรเทานั้นก็เลยคิดวาเปนความเกี่ยวเนื่องท่ีเรารับ concept มาจากเขมรเรื่องของความเปนลัทธิเทวราชาอะไรพวกนี้เขามาคือรับมาเต็ม ๆ ปรากฏไวชัดเจนและเปนบุคคลท่ีมีศักดินาถือวาสูงคือ ๕,๐๐๐ อันนี้คือเรื่องของพระมหามงกุฏและพระเศวตฉัตรและจะมีความเช่ืออยูอยางหนึ่งวาในพระเศวตฉัตรหรือเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑเหมือนจะมีส่ิงศักดิ์สิทธ์ิอยูพอถึงวันสําคัญอยางวันฉัตรมงคลก็คือจะตองมีพิธีเชิญและก็เชิญพระฉัตรออกมาและมีพิธีสมโภชเพราะเช่ือวามีส่ิงศักดิ์สิทธ์ิสถิตอยูตรงฉัตรนั้น ก็เปนท่ีมาของวันฉัตรมงคลของเราก็คือเปนความเช่ือตรงนี้ แตถึงแมวาจะมีเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑตรงนี้แตวาไมวาจะประกอบไปดวยอะไรบางแตส่ิงท่ีสําคัญท่ีสุดก็คือส่ิงเหลาน้ีลวนแตมีความหมายอันเปนมงคลท้ังส้ิน ฉะนั้นก็เปนการแสดงใหเห็นความเช่ือท่ีวากษัตริยเปนสมมติเทพหรือเปนเครื่องหมายของความเปนราชาธิบดีแตวาถึงแมวาเครื่องราชกกุธภัณฑจะหมายถึงเครื่องหมายความเปนราชาธิบดีแตถามวาถาเราไมมีการถวายเครื่องราชกกุธภัณฑจะทําใหกษัตริยองคนั้นสูญเสียสิทธิแหงราชบัลลังกหรือไมหรือมีสิทธ์ิไดครอบครองราชบัลลังกหรือเปลา มีขอมูลกลาวไววาในตําราราชาภิเษกในสมัยอยุธยาบอกวาตอนท่ีสมเด็จพระเจาบรมโกศทําพิธีปราบดาภิเษกไมไดมีการถวายเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ หรือในสมัยสมเด็จพระเจาตากสินขึ้นมาเปนกษัตริยบานเมืองวุนวายขนาดนี้อยางมากทานก็ประกอบพิธีราชาภิเษกเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑคงสูญหายไปดวยฉะนั้นคงไมไดมีการถวายและคงทําขึ้นใหมไมทัน แมแตรัชกาลท่ี ๑ ของเราเองเม่ือตอนทําพิธีปราบดาภิเษกในป พ.ศ. ๒๓๒๕ ก็คงไมมีการถวายเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ

Page 24: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

เพราะวามีหลักฐานวามีการท่ีรัชกาลท่ี ๑ มีคําส่ังใหสรางเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑหรือเครื่องราชกกุธภัณฑพรอมกับเครื่องราชูปโภคอ่ืน ๆ ขึ้นใหมในชวงป ๒๓๒๕ และสรางตอเนื่องมาจนกระท่ังมาทําสําเร็จและมีการนําขึ้นถวายในพิธีบรมราชาภิเษกในป ๒๓๒๘ ครั้งแรกเปนปราบดาภิเษก ครั้งท่ี ๒ มาเปนบรมราชาภิเษก ถามวาปราบดาภิเษก บรมราชาภิเษกตางกันไหม? บางทีเราชอบคิดวาการปราบดาภิเษกก็คือการท่ีแยงชิงราชสมบัติมาแตในความเปนจริงแลวไมใชก็คือเปนพิธีการราชาภิเษกรูปแบบหนึ่งแตอาจจะอาศัยเรื่องของความสามารถในการรบหรืออะไรก็แลวแตขึ้นมาเปนกษัตริย ไมไดมีความหมายโดยนัยวากษัตริยองคนี้ชิงราชสมบัติไมใชอยางนั้น ขอความท่ีอธิบายเรื่องนี้จะปรากฏอยางชัดเจนในพิธีอธิบายเรื่องของตําราปญจราชาภิเษกในสมัยอยุธยาเขียนไวชัดเจนวามีกี่ประเภท มีอะไรบาง สวนเครื่องราชูปโภคหมายถึงเครื่องใชสอยของพระราชา จะมีอยูหลากหลายมากหรือเปนหมวดเครื่องใชสวนพระองคบุคคลอ่ืนไมมีสิทธ์ิใช แชรแวสซ่ึงเปนคนชอบสังเกตทุกเรื่องเขาก็บอกวาของทุกส่ิงท่ีเปนเครื่องราชูปโภคถือวาเปนส่ิงศักดิ์สิทธ์ิท้ังนัน้และคนสยามจะสักการะบูชาเครื่องราชูปโภคถึงขนาดซอนเรนไวไมใหเปนท่ีเปดเผยแกสายตาประชาชนแมเม่ือใครประสบพบเห็นเขาจะช้ีชวนกันใหดูก็ไมได ถาช้ีชวนใหดูมีโทษตัดนิ้วสถานเดียวคือก็ไมรูเพราะเอกสารเราไมมีพูดถึงไวแตฝรั่งชางสังเกตเขาจะเขียนไวเปนเสนหวาใหรูวาเขาคิดอะไร คนสมัยนั้นเขาเห็นอะไรบางเขาจะบอกวาช้ีใหดูยังไมไดเลย หามถือวาเปนของศักดิ์สิทธ์ิ ทีนี้เครื่องราชูปโภคในกฎมณเฑียรบาลกําหนดไวชัดเจนวามีอะไรบางอยางเชน พระมหาพิชัยมงกุฏ กุณฑล พาหุรัด สรอยมหาสังวาลย สนับเพลารองพระบาท จะระบุไววามีอะไรบางมีกําไลรัดตนแขน มีพวกสายคาดเอว มีกางเกง

อันนี้เปนการมีชางเผือกคูบารมีของในหลวงเราก็มีอยู ๑๐ ชาง ก็ไปเอามารูปหนึ่งชางเผือกถือเปนส่ิงคูบารมีของ

พระมหากษัตริยอยางท่ีเคยพูดมาในชวงตนแลววาในสมัยของกษัตริยพระองคใดถามีชางเผือกมากถือวากษัตริยองคนั้นมีบุญ

บารมีมาก ๆ คติความเช่ือและการใหความสําคัญกับชางตรงนี้พบท้ังในความเช่ือของในศาสนาพราหมณ ฮินดูและในศาสนาพุทธ ในความเช่ือของในศาสนาพราหมณ ฮินดูชางเปน

พาหนะของพระอินทรซ่ึงเปนเทพเจาแหงฝนเพราะฉะนั้นเม่ือชางเปนพาหนะของเทพแหงฝนชางจึงเปนสัญลักษณของเมฆฝนในคติของพราหมณ ฮินดู และทางศาสนาพุทธชางจะมีความสําคัญหลายประการมากเลยประการแรกคือชางเปนพาหนะของพระอินทรซ่ึงเปนเทพผูค้ําจุนศาสนาเพราะฉะนั้นเม่ือกษัตริยถูกเปรียบวาเปนพระอินทร ชางก็เปรียบเสมือนพาหนะ ประการท่ี ๒ มาจากอินเดียคือชางจะมีความเกี่ยวของกับฝนหรือความอุดมสมบูรณ ตัวอยางท่ีดีท่ีสุดของความเช่ือในเรื่องนี้พบในเรื่องพระเวสสันดรชาดก การท่ีพระเวสสันดรบริจาคชางปจจัยนาคท่ีมีลักษณะพิเศษท่ีวาเม่ืออยูดินแดนแควนใดก็ทําใหสถานท่ีแหงนั้นมีฝนตกบริบูรณใหแกพราหมณจากเมืองกลิงคราฎทําใหพระองคถูกขับออกจากเมืองเพราะใหชางซ่ึงมีลักษณะพิเศษซ่ึงเปนสัญลักษณแหงความอุดมสมบูรณ ประการท่ี ๓ ชางจะมีความเกี่ยวพันเกี่ยวกับพระพุทธเจาอยูหลายอยางแตท่ีสําคัญท่ีสุดก็คือวาจะเปนความเช่ือวากอนท่ีพระนางสิริมหามายาจะทรงครรภไดทรงสุบินวาพระเศวตกุญชรความหมายคือชางเผือกขาวผอนไดมาทําประทักษิณเวียนขวาแสดงความเคารพพระนาง ๓ รอบและก็เขาสูพระครรภพระนาง พระเศวตกุญชรก็คือพระโพธิสัตวท่ีมา

Page 25: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

ปฏิสนธิเปนเจาชายสิทธัตถะและไดตรัสรูเปนพระพุทธเจาฉะนั้นชางก็สัมพันธกับพระพุทธเจาตรงนี้ดวย และประการสุดทายคือชางเปนหนึ่งในรัตนเจ็ดประการของพระเจาจักรพรรดิ เพราะฉะนั้นจะเห็นไดวาความเช่ือตาง ๆ เหลานี้ทําใหชางโดยเฉพาะชางเผือกเปนสัตวท่ีมีความสําคัญในเชิงสัญลักษณของกษัตริยผูมีบุญและเกี่ยวของกับความอุดมสมบูรณของบานเมืองและเกี่ยวของกับพระพุทธเจา และเปนท่ีนาสังเกตมาก ๆ วาชาวตางชาติท่ีมาในอยุธยาลวนแตกลาวถึงความสําคญัของชางเผือก ทุกคนท่ีเขามาไมมีคนไหนเลยท่ีไมมีการพูดถึงชางเผือกรวมถึงพูดถึงการวาไดมีโอกาสไดทําการลอมชาง จับชางเพราะเราใหความสําคัญกับชางท่ีเปนสัตวพาหนะในการรบแตตองไมลืมวาขณะเดียวกันชางถือวาเปนสัตวท่ีเปนสินคาออกท่ีมีความสําคัญมาก ๆ โดยเฉพาะสงชางไปขายท่ีอินเดีย อยางสมัยพระเพทราชาสงไปทีหนึ่ง ๔๐ ชาง ก็เลยเคยถามอาจารยท่ีคนควาเรื่องนี้เหมือนกันวาอินเดียเอาชางไปทําอะไรเหรอเพราะท่ีอินเดียก็มีชาง? อาจารยเขาบอกวาแนนอนคงเอาไปใชเปนสัตวพาหนะไปฝกดวยเพราะชางไทยคอนขางจะวานอนสอนงายกวา ขณะเดียวกันในอินเดียยุคนั้นดวยความท่ีบานเมืองเขาเปนมหาราชาเปนแควนเยอะแยะชางก็จําเปนถือวาเปนสัตวท่ีสรางรายไดอยางหนึ่งใหกับกษัตริยอยุธยามาก ๆ เลยทีเดียว ทีนี้ชาวตางชาติท่ีเขามาทุกคนจะพูดเหมือนกันวาชางเผือกในจินตนาการของเขาจะตองตัวขาวโพลน ไปเห็นก็คิดวาก็ไมตางกับชางท่ัวไปคืออาจจะไมเขาใจวาการเปนชางเผือกจะมีลักษณะอยางไร มีสีผิวสีตาอยางไรเพราะวาเรื่องของชางจะมีเรื่องเลาอยูในพระราชพงศาวดารเหมือนกันวามีอยูครั้งหนึ่งฟงไมไดแนชัดวาเปนกษัตริยพระองคไหนเสด็จไปคลองชางและไดชางท่ีมีส่ิงท่ีเรียกวาทุกขลักษณะ คือเดินขาพิการและงวงหรืองาก็หัก ๆ เดินติดเขามาในโขลงดวยและตอนหลังก็มีการตอนออกไปเขาก็บันทึกไวในพงศาวดารและหลังจากนั้นไมนานกษัตริยองคนี้ก็สวรรคต ฉะนั้นก็มาคิดวาทําไมตองบันทึกเพราะนั่นคือความเช่ือวาชางเปนสัตวท่ีมีความสําคัญและชางจะแบงไปเลยวาเปนอิศวรพงศหรือวิษณุพงศจะมีการแยกแยะจะมีตําราวาดวยการกลอมชาง การไดชางมาจะตองทําอะไร คนคลองชางไดจะมีความสําคัญมาก ๆ จะไดเงินไดอะไรมากมายแตถาบอกวาเจอชางเผือกแตไปหาแลวไมเจอคนพวกนี้จะตองถูกลงโทษใสกรังคลองคอเดินเขาปาหา ๓ ปจนกวาจะเจอชางท่ีบอกวาคุณหาไดหรือไปพบเห็นมาจะมีการลงโทษตรงนี้ และในกฎมณเฑียรบาลจะอุทิศท่ีเยอะมาก ความสําคัญของชางคือถากษัตริยเสด็จออกไปฝกชางคนท่ีตามเสด็จจะตองรู ตองคอยดูวาจะตองทําอยางไรหากไปชนกับชางอีกตัวหนึ่งท่ีมีภาษีดีกวาชางท่ีกษัตริยทรงคุณจะตองทูลเตือนกษัตริยวาไมควรจะไปตอกับชางตัวนี้เพราะมีสิทธ์ิท่ีจะเพล่ียงพลํ้าได ถาหามแลวกษัตริยไมฟงคุณทําไดสถานเดียวนอนกล้ิงไประหวางชางและใหชางเหยียบตายหรือเอางาแทงใหตายถึงจะรอดพน คือถาเกิดปลอยใหกษัตริยไปชนก็โทษตายสถานเดียว ฉะนั้นถึงบอกวากฎมณเฑียรบาลคุณตองเรียนรูเพ่ือท่ีวาจะไดทําในส่ิงท่ีถูกตองวาถาไปคลองชางคุณตามไปคุณตองทําตัวอยางไรวาตองบอกกษัตริยอยางไร ตองทําอะไรนี่คือเรือ่งของชาง ทีนี้กลับมาถึงจะมีขอกําหนดบอกวามีคนท่ีมีหนาท่ีดูแลชางโดยเฉพาะบอกวาถาชางตน มาตนเปนไขแลวไมอยูดูแล ไมขึ้นกราบบังคมทูลถาชางเปนอะไรไปโทษตายสถานเดียวเพราะวาชางลมเชือกหนึ่งมีความหมายท่ีเปนเกี่ยวของกับจิตใจมาก ๆ ถาชางลมเหมือนกับเปนการบอกวาแผนดินนั้นอาจจะอยูไดอีกไมนานเพราะฉะนั้นถาเขาเห็นวาชางสําคัญใกล ๆ จะลมเขาจะไมปลอยใหลมในเมือง ก็ใชวิธีตอนออกไปในปาและก็ปลอยใหเดินเขาปาไปและไปลมท่ีไหนก็แลวแตหามลมอยูในเมืองโดยเด็ดขาดนี่คือเรื่องของความเช่ือเรื่องของชาง ฝรั่งเขาบอกวาเวลาชางของพระมหากษัตริยปวยขุนนางช้ันผูใหญตองมีหนาท่ีลงไปดูแลดวยวา

Page 26: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

ชางกินขาวหรือเปลา กินหญาไหมตองลงไปดูแลและจะมีการบอกไวชัดเจนเลยวาพระเจาแผนดินสยามจะตองมีชางเผือก ๑ เชือกอยูในพระราชวังเสมอ ก็เหมือนกับท่ีในหลวงเราเสด็จไปอยูท่ีไหนอยางท่ีหัวหินก็ตองมีชางเผือกอยูตรงนั้นดวยเพราะถือวาเปนสัตวคูบุญบารมีฉะนั้นอยูท่ีไหนก็แลวแตจะตองมีชางเผือกประกบไปดวย ๑ ชางเสมอ และชาวตางชาติพูดถึงชางเยอะมากเดอร ชัวร ซีถึงกับบอกวาเขาก็ไมเขาใจเหมือนกันรายงานของเขาพูดถึงเรื่องชางหมดเลยแตก็เหมือนกับท่ีบางทานไดฟงอ.ภูริพงศท่ีไดพูดท่ีราชภัฏเม่ือประมาณวันท่ี ๗ ท่ีผานมาท่ีบอกวาชาวตางชาติจะชอบพูดถึงเรื่องการเอาชางมาสูกับเสือ เชน เอาชางมาและปลอยเสือท่ีหิวโซมาและมาสูกันและดูวาใครจะชนะระหวางชางกับเสือเขาบอกวาฝรั่งเขียนเหมือนประหนึ่งวาบานเรามีประเพณีการใหชางสูกับเสือแตวาในความเปนจริงแลว อ.ภูริพงศบอกวาเปนประเพณีของทางพวกอินเดีย พวกเปอรเชียท่ีเขานิยมแบบนี้แลวเราความเปนชาติท่ีทําการคามาแตโบราณรูวานี่คือความนิยมของเขาก็เลยจัดการแสดงแบบนี้ใหดูโดยเฉพาะแตไมใชวาในวิถีประจําวันเราจะมีวิธีการแสดงเรื่องชางสูเสือใหดูเพราะวาอยางนอย concept หรือคติบานเราเรื่องอยางนี้เปนการทารุณสัตวฉะนั้นเราจะไมทํา ฉะนั้นถาเรามีโอกาสอานเอกสารพวกนี้ไมวาจะเปนลาลูแบร แชรแวสหรือวาบันทึกกษัตริยสุไลมานก็จะไดเขาใจวาเราไมไดมีแตเราทําเพ่ือเปนการตอนรับราชฑูตเฉย ๆ เรื่องของส่ิงท่ีเปนทิพภาวะแสดงคือ “ธงพระครุฑพาห” ธงประจําพระองค ถือวาเปนสัญลักษณประจําพระองคพระมหากษัตริยอยางหนึ่ง การใชธงเปนสัญลักษณประจําพระองคพระมหากษัตริยมีมานานแคไหนแลวเราไมมีหลักฐานชัดเจนแตวาถาเราพิจารณาจากเอกสารหรือขอความท่ีปรากฏอยูในเอกสารของชาวตางชาติท่ีเขามาไมวาจะเปนฟรานฟรีสในสมัยสมเด็จพระเจาทรงธรรมหรือสมเด็จพระเจาปราสาททองเขาจะบอกวาเวลากษัตริยเสด็จทางชลมารคหรือสถลมารคก็แลวแตจะมีธงนําขบวนกอนเสมอ การเลือกใชธงพระครุฑพาหเปนสัญลักษณประจําพระองคพระมหากษัตรยิมีนัยสําคัญเกี่ยวกับความเช่ือวาครุฑเปนพาหนะประจําองคพระนารายณ เพราะฉะนั้นธงสัญลักษณประจําพระองคท่ีเปนรูปครุฑจึงเปนการบงบอกใหทราบวากษัตริยพระองคนั้นคือองคอวตารของพระนารายณนั่นเอง มีบันทึกท่ีปรากฏอยูในสาสนสมเด็จ กรมพระยานริศรานุวัติวงศและสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงอธิบายการใชธงพระครุฑพาหและอีกธงหนึ่งท่ีเรียกวาธงกระบ่ีธุช บอกวาธงพระครุฑพาหเปนธงหลวงเพราะมีคติถือวาพระนารายณทรงครุฑตราวังหลวง สวนธงกระบ่ีธุชเปนธงรูปลิงอันนี้จะเปนธงนําขบวนวังหนาเพราะวาตราวังหนาจะเปนรูปพระลักษณทรงหนุมานฉะนั้นธงท่ีใชเราอาจจะมีโอกาสสังเกตแตเนื่องจากปจจุบันเราก็ไมไดมีวังหนาแลวฉะนั้นธงรูปพระลักษณทรงหนุมานก็คงสูญหายไปก็เหมือนธงพระครุฑพาหจะเปนธงเหมือนสามเหล่ียมเหมือนเวลาท่ีเราดูในหลวงเสด็จราชดําเนินจะเปนรูปครุฑเปนสัญลักษณของพระมหากษัตรยิเหมือนกัน เนื่องจากธงพระครุฑพาหเปนสัญลักษณอยางหนึ่งขององคพระมหากษัตริยกฎมณเฑียรบาลก็เลยมีการกําหนดโทษผูท่ีถือพระอภิรมยหมายถึงเครื่องสูงหลาย ๆ ชนิดรวม ๆ กันเปนเครื่องแสดงพระอิสริยยศและ

Page 27: “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริ ... · 2011-02-13 · “ทิพภาวะ” แห งองค พระมหากษัตริย

หนึ่งในเครื่องสูงตรงนั้นก็คือธงพระครุฑพาหมีการกําหนดเลยวาถาคนท่ีถือพระอภิรมยหรือธงทําใหคันหักหรือทําใหคันหลุดออกมามีโทษถึงตาย ยิ่งถาธงตรงนั้นใชอยูในงานพระราชพิธีท่ีมีแขกเมืองเสด็จมาดวยแลววาถาทําธงหลุดจากมือหรือทําธงหักอันนี้ฆาท้ังโคตรไมใหเหลือไวเลยเพราะวาเปนการเสียหนาอยางแรงและเปนการเหมือนทําใหสัญลักษณะประจําองคพระมหากษัตริยหลุดรวงลงมาสูพ้ืน อยาลืมวากษัตริยเราคือสมมติเทพ ตรงนี้ท่ีพูดมาท้ังหมดเรื่องของทิพภาวะขององคพระมหากษัตริยในกฎมณเฑียรบาลทานก็จะเห็นวาทิพภาวะขององคพระมหากษัตริยมีปจจัยท่ีแสดงหลายอยางแตวากอนท่ีจะเขาใจปจจัยตรงนีเ้ราก็จะพยายามบอกวากษัตริยเราท้ังสถานะการเปนเทพเจา พุทธเจา พระอินทรหรืออะไรก็แลวแตมีหลายอยาง การเปนเทพตรงนี้มาจากเรื่องสิทธิธรรม สิทธิธรรมมาจากไหน? ก็ตองมองยอนกลับไปถึงเรื่องกําเนิดโลกมนุษยหรือวากําเนิดสังคมมนุษยและการกําเนิดกษัตริยพระองคแรกและอาจทําใหเราเขาใจไดวาทําไมสถาบันกษัตริยจึงมีความสําคัญท่ีสุดสําหรับสังคมไทยและเปนสถาบันท่ีมีความสําคัญท่ีสุดท่ีอาจจะพูดใหฝรั่งตาน้ําขาวเขาใจวาทําไมถึงยกยองในหลวงอาจจะพูดลําบากเพราะเปนเรื่องท่ีสืบเนื่องฝงอยูในจิตใจของเรามาโดยตลอดวากษัตริยคือส่ิงจําเปนและสําคัญท่ีสุดขาดไมได เขาถึงบอกมีปรากฏในราชนิติบอกวา “มีกษัตริยท่ีเลวรายก็ยังดีกวาไมมีกษัตริยเลย” เขาก็เลยมีขอเขียนไวอยางนี้

-------------------------------------------------