“ เรียนรู้ภาษาเมียนมาเพื่อการ ......

3
Best Practices “ เรียนรู้ภาษาเมียนมาเพื่อการสื่อสาร” หลักสูตรฐานสมรรถนะ Competency – based ความจาเป็นหรือสถานการณ์ หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม ในการสร้างหลักสูตรฐานสมรรถนะ Competency – based เรียนรู้ภาษาเมียนมาเพื่อการสื่อสาร” ประเทศเมียนมากับประเทศไทยเป็นประเทศเพื่อน บ้านที่ใกล้ชิดมีพรมแดนติดกันราว 2,000 กิโลเมตร และมี สภาพพื้นที่ที่สะดวกในการเดินทางไปมาระหว่างกัน นอกจากนียังพบว่ามีแรงงานชาวเมียนมาจานวนมากเข้ามาทางานเป็น ลูกจ้างอยู่ในประเทศไทยในหลายภาค อาทิ ภาคโรงงาน อุตสาหกรรม ภาคธุรกิจการค้า ภาคการเกษตร ตลอดจนถึง งานบ้าน ปรากฏการณ์นี้ดาเนินมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบ ต่อสังคมไทยจนเป็นปัญหายืดเยื้อ เช่น ปัญหาสาธารณสุข อาชญากรรม ความปลอดภัย การค้ามนุษย์ ยาเสพติด และการ แย่งงานเป็นต้น ประเด็นปัญหาเหล่านี้จึงอาจส่งผลถึงความ มั่นคงในประเทศและความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ ดังนั้น การผลิตบุคลากรภาครัฐและเอกชน ให้มีความรูภาษาเมียนมาจึงเป็นความจาเป็นสังคมไทยที่กาลังกลายเป็นพหุสังคมและสังคมระดับภูมิภาคมากกว่าแต่ก่อน และยังช่วยในการพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งความรู้และการเรียนรู้ได้อย่างแท้จริง หลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสร้างประสบการณ์ด้านอาชีพและด้านคุณภาพชีวิต งานฝึกอบรมเป็น งานบริการวิชาการของวิทยาลัยชุมชนระนองรูปแบบหนึ่ง ที่สามารถตอบสนองความต้องการของชุมชน ด้านความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และคุณลักษณะที่กาหนด ( Attribute) ที่จาเป็นต่อการปฏิบัติงานให้ บรรลุได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากพฤติกรรมในการทางานที่แสดงออกมาของแต่ละบุคคล

Upload: others

Post on 08-Feb-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: “ เรียนรู้ภาษาเมียนมาเพื่อการ ... project/t-visit...Best Practices “ เร ยนร ภาษาเม ยนมาเพ

Best Practices

“ เรียนรู้ภาษาเมียนมาเพื่อการสื่อสาร”

หลักสูตรฐานสมรรถนะ Competency – based

ความจ าเป็นหรือสถานการณ์ หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม ในการสร้างหลักสูตรฐานสมรรถนะ

Competency – based “เรียนรู้ภาษาเมียนมาเพื่อการสื่อสาร”

ประเทศเมียนมากับประเทศไทยเป็นประเทศเพ่ือน

บ้านที่ใกล้ชิดมีพรมแดนติดกันราว 2,000 กิโลเมตร และมี

สภาพพ้ืนที่ที่สะดวกในการเดินทางไปมาระหว่างกัน นอกจากนี้

ยังพบว่ามีแรงงานชาวเมียนมาจ านวนมากเข้ามาท างานเป็น

ลูกจ้างอยู่ในประเทศไทยในหลายภาค อาทิ ภาคโรงงาน

อุตสาหกรรม ภาคธุรกิจการค้า ภาคการเกษตร ตลอดจนถึง

งานบ้าน ปรากฏการณ์นี้ด าเนินมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบ

ต่อสังคมไทยจนเป็นปัญหายืดเยื้อ เช่น ปัญหาสาธารณสุข

อาชญากรรม ความปลอดภัย การค้ามนุษย์ ยาเสพติด และการ

แย่งงานเป็นต้น ประเด็นปัญหาเหล่านี้จึงอาจส่งผลถึงความ

มั่นคงในประเทศและความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ ดังนั้น การผลิตบุคลากรภาครัฐและเอกชน ให้มีความรู้

ภาษาเมียนมาจึงเป็นความจ าเป็นสังคมไทยที่ก าลังกลายเป็นพหุสังคมและสังคมระดับภูมิภาคมากกว่าแต่ก่อน

และยังช่วยในการพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งความรู้และการเรียนรู้ได้อย่างแท้จริง

หลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสร้างประสบการณ์ด้านอาชีพและด้านคุณภาพชีวิต งานฝึกอบรมเป็น

งานบริการวิชาการของวิทยาลัยชุมชนระนองรูปแบบหนึ่ง ที่สามารถตอบสนองความต้องการของชุมชน

ด้านความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และคุณลักษณะที่ก าหนด (Attribute) ที่จ าเป็นต่อการปฏิบัติงานให้

บรรลุได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากพฤติกรรมในการท างานที่แสดงออกมาของแต่ละบุคคล

Page 2: “ เรียนรู้ภาษาเมียนมาเพื่อการ ... project/t-visit...Best Practices “ เร ยนร ภาษาเม ยนมาเพ

Best Practices

จากการพัฒนาหลักสูตรตามกระบวนการ ดาคัม (DACUM)

ซึ่งได้พัฒนาสื่อต าราเรียนชื่อหนังสือ Myanmar Language

Learning : ภาษาเมียนมาเพื่อการเรียนรู้ จนสามารถขอเลข

มาตรฐานสากล ISBN 978-616-395-083-3 จากหอสมุดแห่งชาติ

งานหลักสูตรพัฒนาทักษะฯได้ส่งต าราเรียนเข้าร่วมโครงการส่งเสริม

การสอนภาษาพม่าส าหรับสถานศึกษาของไทย กิจกรรมที่ 3 การ

ประกวดคัดสรรรูปแบบที่ดีในการสอนภาษาพม่าในฐานะภาษา

ต่างประเทศ ของสถานพัฒนาการเรียนรู้ภาษาเมียนมาร์ คณะ

มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยสื่อต าราเรียนที่ส่งประกวด

ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 1 จากการประกวดครั้งนี้

และสามารถวัดหรือสังเกตให้เห็นได้ หลักสูตรฐานสมรรถนะ Competency – based “ ภาษาเมียนมาเพ่ือการ

สื่อสาร”จ านวน 60 ชั่วโมง เรียนรู้โดยเริ่มต้นจาก พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ การประสมอักษร ผสมค า

หลักการออกสียงที่ถูกต้อง โครงสร้างประโยค เช่น ประโยคบอกเล่ า ประโยคปฏิเสธ ประโยคค าถาม และ

ประโยคขอร้อง ฝึกการสร้างประโยคและสนทนา ด้วยภาษาเมียนมา ส าเนียงย่างกุ้งเป็นแบบอย่างในการออก

เสียง เนื่องจากเป็นส าเนียงที่แพร่หลายและถือว่าเป็นภาษากลางของสหภาพเมียนมา มีการเทียบเสียงแบบ

Phonetic

ผู้จบหลักสูตรจะต้องมีคุณลักษณะ - สร้างประโยคเพ่ือใช้ในการสนทนา

- สนทนาโต้ตอบได้

- ออกเสียงสนทนาได้ถูกต้อง

- น าไปปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

อดีต – ปัจจุบัน

วิทยาลัยชุมชนระนองได้ผลิตบุคลากร ภาครัฐ เอกชน ปี 2547 – 2558

ผลงานเด่น

0

50

100

150

200

250

300

350

ปี 47 ปี 48 ปี 49 ปี 50 ปี 51 ปี 52 ปี 53 ปี 54 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58

ผู้ เข้ารับการอบรม ผู้ส าเร็จตามหลกัสตูร

Page 3: “ เรียนรู้ภาษาเมียนมาเพื่อการ ... project/t-visit...Best Practices “ เร ยนร ภาษาเม ยนมาเพ

Best Practices

“การเรียนรู้ สู่การพัฒนาตน

ต่อยอดการเรียนสู่การพัฒนาองค์กร”

ด้วยสายงานการปฏิบัติงานที่ต้องเกี่ยวข้องกับแรงงานต่างด้าว ประกอบกับมี

ความต้องการที่จะพัฒนาตนเองด้านทักษะภาษาเมียนมาเพื่อน ามาใช้ในการ

ปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้น เมื่อได้ศึกษาจนมีทักษะที่ช านาญสามารถที่จะน าไป

ถ่ายทอดให้กับองค์กรจนเกิดเป็นนวัตกรรมใหม่ในการปฏิบัติงานจนได้รับรางวัล

ประกวดเพชรศุลกากร รางวัลที่ 1 (นวัตกรรมสร้างสรรค์ ส่งเสริมในการ

ปฏิบัติงานภาษาเมียนมาเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน) และปัจจุบันได้เป็นอาจารย์

สอนภาษาพม่าเบื้องต้นของวิทยาลัยชุมชนระนอง ด้วย

“การสื่อสารที่เข้าใจ ลดช่องว่าง

ให้ความรู้สึกเหมือนเป็นเพ่ือน ญาติ พ่ีน้อง”

หน่วยงานของหัวหน้า ศตม.11.5 ระนอง เกี่ยวข้องกับแรงงานต่างชาติชาวพม่า

เพราะว่าชาวพม่าที่เข้ามาท างานประกอบอาชีพในบ้านเรา ส่วนใหญ่จะมี

โรคติดต่อมาด้วย นั้นคือ “โรคมาลาเรีย” ท าให้เกิดการระบาดของโรคนี้มาก

ขึ้น เหตุผลหนึ่งที่ส าคัญคือ การสื่อสารที่ไม่เข้าใจระหว่างผู้ป่วยชาวต่างชาติ

และเจ้าหน้าที่ ท าให้เกิดโครงการนะแหม่ โดยการจัดให้เจ้าหน้าที่ของ ศตม.

11.5 ได้เข้าฝึกอบรมทักษะภาษาเมียนมาจากวิทยาลัยชุมชนระนอง ท าให้การ

สื่อสารระหว่างเจ้าหน้าท่ีและผู้ป่วยชาวต่างชาติเข้าใจมากขึ้น ลดช่องว่าง ให้

ความรู้สึกเหมือนเป็นเพื่อน ญาติ พี่น้อง เกิดความไว้วางใจช่วยลดปริมาณการ

ระบาดและควบคุมโรคได้มากขึ้น และจากความส าเร็จของการปฏิบัติงานที่ดี

ขึ้นท าให้ ศตม.1 สุราษฏร์ธานี ระนอง ได้รับรางวัลอันที่ที่3 ส านักงานดีเด่น

ระดับประเทศ”

ภาษาเมียนมา

เพ่ือใช้ในการ

ปฏิบัติงาน นายรัชเอก รวิรัชพร

หัวหน้าศูนย์ควบคุมโรคติดต่อ

น าโดยแมลงท่ี 11.5 ระนอง

นายสิทธิพันธ์ ฉายศิริวัฒนา

ภาษาเมียนมา

เพ่ือใช้ในการ

ประกอบธุรกิจ