trainer adobe captivate 7

Post on 03-Nov-2014

1.014 Views

Category:

Education

2 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

เอกสารประกอบการบรรยาย

สร้างสรรค์สื่อการเรียนการสอนมัลติมีเดีย

Adobe Captivate 7

วันที่

xx-xx xxxxxx 255xโดย... กฤษณพงศ์ เลิศบ ารุงชัย

http

s://w

ww.fa

cebo

ok.co

m/P

rogr

amsD

D

http://programsdd.wordpress.com

ส่ิงท่ีเราจะเรยีนรูกั้นตลอดการฝึกอบรม

- ติดตั้งโปรแกรม Adobe Captivate 6 Trial Version- การสร้างโปรเจคแบบต่างๆ โดยเริ่มจาก Blank Ptoject- เข้าใจเรื่องเกี่ยวกับส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม- Master Slide และ Slide ใน Film Strip เข้าใจการตกแต่งสไลด์- เครื่องมือต่างๆ (เท่าที่จ าเป็นต้องใช้)- การเตรียมไฟล์ให้พร้อม และน าไฟล์ต่างๆ เข้ามาใช้งาน- สร้างแบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบ- ใส่เสียงให้กับวัตถุ เสียงดนตรีประกอบ- รวมไฟล์งานไว้ในโปรเจคเดียวกัน- ส่งออกไฟล์เพื่อไปใช้งาน

บทน า

บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ สื่อการสอนที่ใช้เทคโนโลยีท าให้เกิดการมีปฏิสัมพันธ์กันได้ ระหว่างผู้เรียนกับเครือ่งคอมพิวเตอร์

องค์ประกอบตัวอักษร

ภาพนิ่ง

ภาพเคลื่อนไหว

วิดีโอ

เสียง

ความหมายของบทเรียนคอมพิวเตอรช์ว่ยสอน

(อยากใหเ้รยีกวา่บทเรยีนคอมพิวเตอร์เพ่ือการเรยีนรู้ มากกวา่)

สื่อ อาจเป็น วิดีโอ เว็บไซต์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือจะเป็นสื่อมัลติมีเดียที่สามารถเปิดผ่านคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ

บทน า

สื่อรูปแบบตา่งๆ

ขั้นตอนการพัฒนาบทเรยีนคอมพิวเตอรช์ว่ยสอน

1. สร้างแผนภูมิระดมสมอง

2. สร้างแผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์

ช่วงวเิคราะห์เนื้อหา1

ซ้ าซ้อน (ย้ายหมวด) ไม่เกี่ยว (ตัดออก)

ช่วงวเิคราะห์เนื้อหา1

3. สร้างแผนภูมิโครงข่ายเนื้อหา

ขั้นตอนการพัฒนาบทเรยีนคอมพิวเตอรช์ว่ยสอน

1 2 3

4567

8 9 10

11 12 13 14 15

16

17181920

21

22A B I

C

D

E

F

G H

J K L M

N

O

P

Q

R

S

Module 3

Module 4

Module 5

Module 1Module 2Module 6Module 7

ชื่อวิชา

แบบทดสอบ

ช่วงออกแบบหน่วยการเรยีน2ขั้นตอนการพัฒนาบทเรยีนคอมพิวเตอรช์ว่ยสอน

4. ก าหนดกลวิธีในการน าเสนอ และเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของเนื้อหา

ช่วงออกแบบหน่วยการเรยีน2ขั้นตอนการพัฒนาบทเรยีนคอมพิวเตอรช์ว่ยสอน

5. ออกแบบแผนภูมิการน าเสนอในแต่ละหน่วยการเรียน

ช่วงพัฒนาหนว่ยการเรยีน3

6. การเขียนรายละเอียดเนื้อหาลงบนกรอบการสอน

7. การจัดท าล าดับกรอบการสอน

ขั้นตอนการพัฒนาบทเรยีนคอมพิวเตอรช์ว่ยสอน

ช่วงพัฒนาหนว่ยการเรยีน3

8. การตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา

ขั้นตอนการพัฒนาบทเรยีนคอมพิวเตอรช์ว่ยสอน

มีการตรวจสอบ 2 ด้านต่อเนื่องกัน คือ1. การตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา2. การน ากรอบการสอนไปทดลองให้กลุ่มเป้าหมายอ่าน

ช่วงพัฒนาหนว่ยการเรยีน3

9. การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

ขั้นตอนการพัฒนาบทเรยีนคอมพิวเตอรช์ว่ยสอน

1. สร้างแบบทดสอบตามหลักการเขียนแบบทดสอบ

2. น าไปทดลองกับกลุ่มผู้เรียนที่มีความรู้ หรือเคยเรียนเนื้อหานั้นมาแล้ว จ านวน 30 - 100 คน

3. น าแบบทดสอบมาหาค่าความยากง่าย ค่าอ านาจจ าแนก และค่าความเชื่อมั่น

ช่วงพัฒนาเนือ้หาลงคอมพิวเตอร์4ขั้นตอนการพัฒนาบทเรยีนคอมพิวเตอรช์ว่ยสอน

10. การเลือกโปรแกรมที่ใช้น าเสนอบทเรียนสู่โปรแกรม

โปรแกรมที่ใช้น าเสนอบทเรียน

โปรแกรมที่ใช้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท

โปรแกรมที่ใช้ผลิตด้านสื่อประกอบ

ช่วงพัฒนาเนือ้หาลงคอมพิวเตอร์4ขั้นตอนการพัฒนาบทเรยีนคอมพิวเตอรช์ว่ยสอน

11. การพัฒนาและจัดเตรียมสื่อที่จะใช้ประกอบบทเรียน

12. การน าเสนอกรอบการสอนลงโปรแกรม

Cpตัวอักษร

ภาพนิ่ง

ภาพเคลื่อนไหว

วิดีโอ

เสียง

ขั้นตอนการพัฒนาบทเรยีนคอมพิวเตอรช์ว่ยสอน

ช่วงการประเมนิผล5 13. การตรวจสอบคุณภาพมัลติมีเดียของบทเรียน

บทเรียน

14. การทดลองกระบวนการทดสอบหาประสิทธิภาพ

15. การทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนและประสิทธิผลทางการเรียน

16. จัดท าคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์

แนวคิดในการออกแบบหน้าจอ

บทเรียนคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้เรื่อง ..........................................

คลิกเข้าสูบ่ทเรยีน

เลย์เอาทแ์บบที่1>> หน้าเริ่มต้น

แนวคิดในการออกแบบหน้าจอ

เลย์เอาทแ์บบที่1 เลือกเนื้อหาที่ต้องการเรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4

ออกจากบทเรียน

>> หน้าเมนูหลัก

แนวคิดในการออกแบบหน้าจอ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ..........................

>> หน้าเมนูย่อย หัวข้อย่อย 1

หัวข้อย่อย 2

หัวข้อย่อย 3

กลับเมนูหลัก

เลย์เอาทแ์บบที่1

แนวคิดในการออกแบบหน้าจอ

หน่วยการเรียนรู้ที่ …. เรื่อง ..........................

ส่วนของเนื้อหา

>> หน้าเนื้อหา

เลย์เอาทแ์บบที่1หัวข้อย่อยที่ 1

<< < >

แนวคิดในการออกแบบหน้าจอ

บทเรียนคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้เรื่อง ..........................................

คลิกเข้าสูบ่ทเรยีน

เลย์เอาทแ์บบที่2>> หน้าเริ่มต้น

แนวคิดในการออกแบบหน้าจอ

เลย์เอาทแ์บบที่2 เลือกเนื้อหาที่ต้องการเรียน

แบบทดสอบก่อนเรียน

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

เข้าสู่เนื้อหา

แบบทดสอบหลังเรียน

ออกจากบทเรียน

>> หน้าเมนูหลัก

ชื่อเรือ่ง

>> หน้าเมนูรอง

เลย์เอาทแ์บบที่2 เลือกเนื้อหาที่ต้องการเรียน

หน่วยท่ี

1หน่วยท่ี

2หน่วยท่ี

3หน่วยท่ี

4

ชื่อเรือ่ง

>> หน้าเมนูย่อย

เลย์เอาทแ์บบที่2 หน่วยการเรียนรู้ที่ …. เรื่อง ..........................

หัวข้อย่อย

1หัวข้อย่อย

2หัวข้อย่อย

3

แนวคิดในการออกแบบหน้าจอ

หน่วยการเรียนรู้ที่ …. เรื่อง ..........................

ส่วนของเนื้อหา

>> หน้าเนื้อหา

เลย์เอาทแ์บบที่2หัวข้อย่อยที่ 1

<< < >

แนวคิดในการออกแบบหน้าจอ

บทเรียนคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้เรื่อง ..........................................

คลิกเข้าสูบ่ทเรยีน

เลย์เอาทแ์บบที่3>> หน้าเริ่มต้น

แนวคิดในการออกแบบหน้าจอ

คลิกเข้าสูบ่ทเรยีน

เลย์เอาทแ์บบที่3>> หน้าเมนูหลัก

หน้าแรก แบบทดสอบ วัตถุประสงค์ เข้าสู่เนื้อหา ออก

หน่วยท่ี

1หน่วยท่ี

2หน่วยท่ี

3หน่วยท่ี

4

>> หน้าเมนูย่อย

เลย์เอาทแ์บบที่3หัวข้อย่อย

1หัวข้อย่อย

2หัวข้อย่อย

3

หน้าแรก แบบทดสอบ วัตถุประสงค์ เข้าสู่เนื้อหา ออก

หน่วยการเรียนรู้ที่ .... เรื่อง ........................................

แนวคิดในการออกแบบหน้าจอ

>> หน้าเมนูย่อย

เลย์เอาทแ์บบที่3ส่วนของเนื้อหา

หน้าแรก แบบทดสอบ วัตถุประสงค์ เข้าสู่เนื้อหา ออก

หน่วยการเรียนรู้ที่ .... เรื่อง ........................................

แนวคิดในการออกแบบหน้าจอ

< >

แนวคิดในการออกแบบหน้าจอ

บทเรียนคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้เรื่อง ..........................................

คลิกเข้าสูบ่ทเรยีน

เลย์เอาทแ์บบที่4>> หน้าเริ่มต้น

แนวคิดในการออกแบบหน้าจอ

คลิกเข้าสูบ่ทเรยีน

เลย์เอาทแ์บบที่4>> หน้าเมนูหลัก

แบบทดสอบก่อนเรียน

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

เข้าสู่เนื้อหา

แบบทดสอบหลังเรียน

ออกจากบทเรียน

หน้าแรก

< >

หน่วยท่ี

1หน่วยท่ี

2

หน่วยท่ี

3หน่วยท่ี

4

เลือกเนื้อหาที่ต้องการเรียน

แนวคิดในการออกแบบหน้าจอ

เลย์เอาทแ์บบที่4>> หน้าเมนูย่อย

แบบทดสอบก่อนเรียน

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

เข้าสู่เนื้อหา

แบบทดสอบหลังเรียน

ออกจากบทเรียน

หน้าแรก

>

หัวข้อย่อย

1หัวข้อย่อย

2หัวข้อย่อย

3

หน่วยการเรียนรู้ที่ .... เรื่อง .........................

<

ส่วนของเนื้อหา

แนวคิดในการออกแบบหน้าจอ

เลย์เอาทแ์บบที่4>> หน้าเนื้อหา

แบบทดสอบก่อนเรียน

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

เข้าสู่เนื้อหา

แบบทดสอบหลังเรียน

ออกจากบทเรียน

หน้าแรก

>

หน่วยการเรียนรู้ที่ .... เรื่อง .........................

<

ก าหนดขนาดหน้าจอ

เราควรศึกษาหน้าจอแต่ละอุปกรณ์ก่อน ว่าเราจะน าไปใช้กับอุปกรณ์ใดเป็นหลัก เพื่อให้ได้การแสดงผลที่สมบูรณ์

>> จอ Monitor PC>> จอ Notebook>> จอ Tablet>> จอ Smartphone

อุปกรณ์ปจัจบุนั

1366 x 768

1600 x 9001920 x 1080

800 x 1280768 x 1024

480 x 800

ก าหนดขนาดหน้าจอ

ถ้าต้องการใช้กับทั้งหน้าจอ PC และ Notebook ก็ให้ยึด Notebook เป็นหลัก แล้วเปิดโปรเจคโดยยึดจอเล็กเป็นหลัก

เราจะรู้ได้อย่างไรว่าขนาดหน้าจอเรามันมีขนาดเท่าไหร่ ?

คอมพิวเตอร์

คลิกขวาท่ี Desktop แล้วเลือกScreen resolution แต่ไม่ต้องปรับค่าอะไร ให้ดูเฉยๆ

40 px

ก าหนดขนาดหน้าจอ

ก่อนเปิดโปรเจค เช็คความละเอียดจอแล้ว ลบทาสกบ์าร์ออก 40 พิกเซล ลบไตเติ้ลบาร์ออก 25 พิกเซล จะเห็นพ้ืนที่ท่ีแสดงบทเรียนแบบไม่ลน้จอ จากรูปถ้าเปิดไฟล์ที่ 1280 x 720

บทเรียนจะล้นจอ ต้องไม่เกิน 1366 x 703 แต่มันไม่สวย ก็เลือกตามความเหมาะสมโดยดูความสูงของจอเป็นหลัก ยกเว้นตั้งใจเป็น Full Screen ก็สูงถึง 768 ได้ เช่น 1024 x 768

ดูเรื่องความละเอียดทั้งจอไม่พอ ต้องคิดด้วยว่าจริงๆ เหลือพื้นที่แบบบทเรียนไม่ล้นจอเท่าไหร่

คอมพิวเตอร์โดยมาก Notebookจะเป็น 1366 x 768

1366 px

768 px 768 – 40 – 25 = 703 px

25 px

48 px

ก าหนดขนาดหน้าจอ

ถ้าเราต้องการใชก้ับแท็บเล็ต ให้ดูว่ามีความละเอียดเท่าไรโดยดูที่ตัวสเปคของเครื่อวโดยมากจะมีขนาด 1280 x 800 ซึ่งต้องลบทาสกบ์าร์ออก 48 px จะได้พื้นท่ีจริง ยกเว้นรุ่นที่

ไม่มีทาสกบ์าร์ ให้ใช้ขนาดปกติไม่ต้องหักลบใดๆ ได้เลย

ดูเรื่องความละเอียดทั้งจอไม่พอ ต้องคิดด้วยว่าจริงๆ เหลือพื้นที่แบบบทเรียนไม่ล้นจอเท่าไหร่

แท็บเลต็แอนดรอยด์

โดยมาก Tabletจะเป็น 1280 x 800

1280 px

800 px 800 - 48= 752 px

96 px

ก าหนดขนาดหน้าจอ

ถ้าเราต้องการใช้กับ iPad ซึ่งมีขนาดหน้าจอ 1024 x 768 สิ่งที่ต้องค านึงก็คือ iPad เล่น .swf ไม่ได้ ดังนั้นต้อง Publish ชิ้นงานเป็น HTML5 แล้วเปิดชิ้นงานผ่าน Safari หรือ

Browser อื่นๆ จึงต้องลบความสูงของพ้ืนท่ี Address ของ Browser 96 พิกเซล

ดูเรื่องความละเอียดทั้งจอไม่พอ ต้องคิดด้วยว่าจริงๆ เหลือพื้นที่แบบบทเรียนไม่ล้นจอเท่าไหร่

iPad

iPadจะเป็น 1024 x 768

1024 px

768 px768 – 96 = 672 px

ก าหนดขนาดหน้าจอ

Smart Phone ไม่เป็นท่ีนิยมในการท าบทเรียนคอมพิวเตอร์ เนื่องจากหน้าจอเล็ก บรรจุเนื้อหาได้ไม่มาก

และหน้าจอมีหลายขนาดมากเกินไป ถึงแม้ว่าตอน Publish จะเปิดเต็มจออยู่เสมอ แต่การแสดงผล อาจจะมีผิดเพี้ยนไปบ้าง และตัวอักษรจะเล็กแทบมองไมเ่ห็น ถ้าจะ

ออกแบบหน้าจอเพื่อ Smart Phone ต้องคิดให้ดีๆ

ดูเรื่องความละเอียดทั้งจอไม่พอ ต้องคิดด้วยว่าจริงๆ เหลือพื้นที่แบบบทเรียนไม่ล้นจอเท่าไหร่

Smartphone

ก าหนดขนาดหน้าจอ

ต้องค านึงว่าสร้างชิ้นงานเสร็จแล้ว ใช้กับอุปกรณ์เลย หรือว่าน ามันไปต่อยอด

น าไปใชก้บัระบบ LMS

กรณีน าชิ้นงานจาก Captivate ไปต่อยอดในระบบ LMS การออกแบบหน้าจอไม่ควรใหญ่จนเกินไป ควรดูว่าเท่าไหร่จึงจะเหมาะสม อย่างเช่น Moodle จะมี Panel ด้านซ้ายหรือ

ขวา ท าให้พ้ืนที่ในการแสดงผลแคบลง อาจเลือกขนาดชิ้นงานเป็น 800 x 600 จะปลอดภัยที่สุด ซึ่งตอน publish จะต้องส่งในรูปแบบ .zip โดยใช้มาตรฐาน SCORM

SCORM กับ Adobe Captivate

SCORM คืออะไร

SCORM เป็นมาตรฐานที่พัฒนาขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาความไม่เข้ากันของระบบ E-Learning ใน Adobe Captivate สามารถส่งออกโดยใช้มาตรฐาน

SCORM ได้ อธิบายแบบเข้าใจง่ายๆ ว่า ถ้าไม่ส่งออกแบบ SCORM ตัวบทเรียนจะไม่สามารถเก็บข้อมูลผู้เรียนได้

SCORM กับ Adobe Captivate

SCORM คืออะไร

หรือส่งออกเป็น SCORM แต่ไม่น าไปใช้กับระบบ LMS ก็จะไม่มีการบันทึกข้อมูลของผู้เรียนดังนั้น ถ้าไม่ได้น าไปใช้กับระบบ LMS ก็ไม่ต้องไปใช้

SCORM

SCORM กับ Adobe Captivate

SCORM คืออะไร

สิ่งที่จะท าให้บทเรียนที่สร้างขึ้นด้วย Adobe Captivate เก็บข้อมูลผู้เรียนได้ โดยไม่ง้อ SCORM จะต้องใช้ Widget Google LMS ซึ่งต้องซื้อผ่านเว็บไซต์

เท่านั้นในราคา 80$

ส่ิงท่ีต้องเตรยีมพรอ้ม

คอมพิวเตอร ์/ ฮาร์ดแวร์

เครื่องดีมีชัยไปกว่าครึ่ง ดังนั้นควรใช้เครื่องที่ไม่เก่ามากนัก

• ติดตั้ง Windows 7 / Windows 8 (64-bit)• ความละเอียดจอ 1366 x 768, 1600 x 900 ขึ้นไป• แรม 4 GB• เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้• ส าคัญต้องเตรียมเนื้อหา องค์ประกอบให้พร้อม อย่าท าไปหาไป

ส่ิงท่ีต้องเตรยีมพรอ้ม

ซอฟตแ์วร์

อย่าเรียนรู้แค่ Adobe Captivate อย่างเดียว ควรมีพ้ืนฐานโปรแกรมอื่นๆ ด้วย

• พ้ืนฐานโปรแกรม Adobe Photoshop• พื้นฐานโปรแกรม Adobe Premiere• พื้นฐานโปรแกรม Word• ฯลฯ

ยิ่งมีทักษะการใช้โปรแกรมที่หลากหลาย จะได้วัตถุดิบที่สร้างขึ้นได้เอง และไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์

ส่ิงท่ีต้องเตรยีมพรอ้ม

ซอฟตแ์วร์

อย่าเรียนรู้แค่ Adobe Captivate อย่างเดียว ควรมีพ้ืนฐานโปรแกรมอื่นๆ ด้วย ถ้าไม่มีพื้นฐานก็ควรศึกษาไว้เล็กๆ น้อยๆ สามารถน าวัตถุดิบเช่น ภาพ

เสียง วิดีโอจากแหล่งต่างๆ มาใช้ได้ แต่อย่าลืมอ้างอิง

ส่ิงท่ีต้องเตรยีมพรอ้ม

ซอฟตแ์วร์

อย่าเรียนรู้แค่ Adobe Captivate อย่างเดียว ควรมีพ้ืนฐานโปรแกรมอื่นๆ ด้วย

Adobe Captivate เปรียบเสมือนหม้อ ที่น าวัตถุดิบจาก Ps Ai Fl Pr Au Ae มาปรุงรสชาติเพื่อให้เกิดการกลมกล่อม

ส่ิงท่ีต้องเตรยีมพรอ้ม

ซอฟตแ์วร์

อย่าเรียนรู้แค่ Adobe Captivate อย่างเดียว ควรมีพ้ืนฐานโปรแกรมอื่นๆ ด้วย

จะน่าใช้น่าสนใจหรือไม่ ถ้าใช้วัตถุดิบลงตัว ทั้งปริมาณละสีสัน ก็จะออกมาเป็นผลงานที่ดี

หนังสืออ่านเพ่ิมเติม

ลุย !!

ฝึกปฏิบัติ

ฝึกปฏิบัติ

https://www.facebook.com/ProgramsDD

http://programsdd.wordpress.com

ติดตามผลงานและสอบถามเพ่ิมเติม

top related