saving energy1

Post on 12-Nov-2014

1.013 Views

Category:

Education

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

เรื่อง การประหยัด พลังงานในครัวเรือน ทำอย่างไร?โดย รศ.ดร.วิทยา ยงเจริญ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล

TRANSCRIPT

การประหยัดพลังงานในครัวเรือน

โดย รศ.ดร.วิทยา ยงเจริญ

Geothermal

พลังงานกับสิ่งแวดลอม

พลังงาน

พลังงาน เปนสิ่งที่ใชเพื่อใหเกดิการทํางาน

รูปแบบของพลังงาน (Forms of Energy)

งาน (WORK) = แรง x ระยะทาง = นิวตัน x เมตร

ความรอน (HEAT)

พลังงานภายใน (INTERNAL ENERGY)

หนวยวัดพลังงาน

1 บีทียู = 252 แคลอรี่= 1055 จลู

1 กิโลวัตต-ชั่วโมง = 3.6 เม็กกะจูล

คนยกแกวน้ําที่มีน้ํา 200 ซม3ขึ้นดื่มจากโตะดวยระยะทาง

50 ซมตองทํางาน = 2 นิวตัน x 0.5เมตร = 1 จูล

นิวตนัเมตร (N.m) จูล (Joule,J) กิโลวัตต-ชั่วโมง(kWhr)

แคลอรี่ (Calorie,Cal)

บีทียู (B.T.U.)

กําลังงาน(Power)

เปน การทํางานตอหนวยเวลา

มีหนวย จูลตอวินาทีหรือวัตต(W)

3 นาที

1 นาที

ไดงานเทากัน

1 วตัต = (second) วนิาที 1

จลู(Joule) 1

1 hp = 746 w

กําลังงานต่าํ

กําลังงานสูง

ชนิดเชื้อเพลิง

สัดสวนของธาตุไฮโดรเจนตอธาตุคารบอนของเชื้อเพลิงไม C/H 10

ถานหิน C/H 1

น้ํามัน C/H 2

กาชมีเทน C/H 4

กาชไฮโดรเจน C/H 0

C + O2 = CO2 (คารบอนไดออกชชายด)+ พลงังาน

2H2 + O2 = 2H2O (น้ํา) + พลังงาน

การสันดาป

ความรอนจาํเพาะของเชื้อเพลิง(ใหพลังงานเมือ่สันดาปกับO2)

15.9946.1047.70120.014.40

31.4836.4219.6939.77

ถานไม

กาซหุงตม

กาซธรรมชาติ

กาซไฮโดรเจน

แกลบ

น้ํามันเบนซิน

น้ํามันดีเซล

เอทานอล

น้ํามันเตา

คาความรอนจําเพาะ

MJ/Kg MJ/Lประเภท

มูลคาพลงังานจากเชื้อเพลิง

ถานไม 25 สต./MJ

กาซ แอล พี จี 40 สต./MJ

น้ํามนัเบนซนิ 60 สต./MJ

ไฟฟา 100 สต./MJ

การปลอยกาซคารบอนไดออกไซด,CO2

2.06133282.75CH4กาซมีเทน

3.66100903.69C6H6น้ํามันเบนซิน

4.5480803.67Cถาน

CO2kgCO2/10000kcal

HHVkcal/kg

CO2kgCO2/kgC

Symbolเชื้อเพลิง

การเปลี่ยนรูปพลังงาน

ประสิทธิภาพ = ปนเปลี่ยนรูขาหรือกอพลังงานขาเ

ดออกมาอกหรือที่ไพลังงานขาอ x 100 %

ประสิทธิภาพในการเปลี่ยนรูปพลังงาน

(Energy Conversion Efficiency)

พลังงานไมมีการสูญหายแตสามารถเปลี่ยนจาก

รูปหนึ่งไปยังอีกรูปหนึ่งได

พลังงานไฟฟา แสงสวาง

ประสิทธิภาพการเปลี่ยนรูปพลังงาน

เครื่องกําเนิดไฟฟา 70 – 99% (พลังงานกล → พลังงานไฟฟา ) มอเตอรไฟฟา 50 – 90% (พลังงานไฟฟา → พลังงานกล ) เตาแกส 70--95% (พลังงานเคมี → พลังงานความรอน ) โรงไฟฟาใชเชื้อเพลิ งฟอสซิล 30 – 40% (พลังงานเคมี → ความรอน → กล → ไฟฟา )

เครื่องยนต 20 – 30% (พลังงาน เคมี → ความรอน → กล) หลอดฟลูออเรสเซนท 20% (พลังงานไฟฟา → แสงสวาง) หลอดไฟ 5% (พลังงานไฟฟา → แสงสวาง) โซลาเซลล 2 – 25% (พลังงาน แสง → ไฟฟา)

ประสิทธิภาพการเปลี่ยนรูปพลังงาน(ตอ)

ถานหนิลกิไนท ๐.๘๗ กิ โลกรัม

น้ํามนัเตา ๐.๒๖ ลิตร

กาซธรรมชาติ ๙.๘๔ ลูกบาศกฟุต

น้ํา ๕.๕ ลูกบาศกเมตร

เราตองใชเชื้อเพลิง

การผลิตไฟฟา ๑ กิโลวัตตชั่วโมง หรือ ๑ หนวย

พลังงานไฟฟา 1 กิโลวัตตชั่วโมง

- เปาผมไดนาน 1 ชั่วโมง เมื่อใชเครื่องเปาผมขนาด 1000 วัตต

- ใหลมไดนาน 22.2 ชั่วโมง สําหรับพัดลมขนาด 45 วัตต - ใหแสงสวางไดนาน 10 ชั่วโมง เมื่อใชหลอดไสขนาด 100 วัตต - ใหแสงสวางไดนาน 25 ชั่วโมง เมื่อใชหลอดนีออนขนาด 40 วัตต - ตมน้ําไดนาน 2 ชั่วโมง เมื่อใชกระติกตมน้ํารอนขนาด 500 วัตต - หุงตมไดนาน 50 นาที เมื่อใชเตาขดลวดขนาด 1200 วัตต

พลังงานไฟฟา 1 กิโลวัตตชั่วโมง ใชทําอะไรไดบาง

1 กโิลวัตตชัว่โมง = 40 วัตต x 25 ชั่วโมง/ 1000

ปริมาณ CO2ทีป่ลอยออกในการผลติไฟฟา

การผลิตไฟฟา ๑ กิโลวัตตชั่วโมงจากเชื้อเพลิงชนิดตางๆ

ยังปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกมาสูบรรยากาศดวย

โรงไฟฟาที่ใชถานหินลิกไนทปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ๑.๐๗๕ กโิลกรัม

โรงไฟฟาที่ใชน้ํามันเตาปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ๐.๙๗๒ กโิลกรัม

โรงไฟฟาที่ใชกาซธรรมชาติปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ๐.๕๙๙ กิโลกรัม

โรงไฟฟาที่ใชน้ําจากเขื่อนไมปลอยกาซคารบอนไดออกไซด

แหลงพลงังานในประเทศไทยป พ.ศ. 2544

10042,543รวม

3.31,397พลังงานจากแหลงพลังงานหมนุเวยีนอืน่ๆ

(พลังน้ํา พลังงานแสงอาทิตย และพลังงานลม)

5.52,350คอนเดนเสท

7.33,091น้ํามนัดิบ

13.35,645ถานหนิลกิไนต

30.613,025พลังงานจากมวลชีวภาพ (ฟน แกลบ และ กากออย)

4017,035กาซธรรมชาติ

สัดสวนของพลังงาน

ทีผ่ลติได (%)

ปริมาณเทียบเทา

น้ํามันดิบพันตัน (kTOE)แหลงพลังงาน

ความตองการใชพลังงานชนิดตางๆป พ.ศ. 2544

10049,542รวมทั้งสิ้น

1.8903แกลบ

41,989กากออย

4.62,286ถาน

6.63,265ฟน

178,443พลังงานหมุนเวียน

3.21,558กาซธรรมชาติ

8.84,377ถานหิน

15.97,864ไฟฟา

55.127,300น้ํามันสําเร็จรูป

8341,099แหลงพลังงานเชิงพาณชิย

รอยละปริมาณเทียบเทาน้ํามันดิบพันตัน

(kTOE)แหลงพลังงาน

ปริมาณการใชไฟฟารายสาขา

106,208

7,298

48,294

25,337

23,330

2546

4.65.5133,102127,237120,637114,326รวม

5.55.512,26311,62511,06510,290เกษตรกรรมและ

อื่นๆ

4.65.859,62256,99553,89450,811อุตสาหกรรม

4.05.132,96231,70230,16428,687ธุรกิจ

5.05.528,25526,91525,51424,538บานและที่อยูอาศัย

2550*2549

อัตราการเปลี่ยนแปลง

(%)2550*254925482547สาขา

หนวย : กิกะวัตต-ชั่วโมง

* คาดคะเนเบื้องตน

22%5%

36%

37%

ภาคคมนาคมขนสง

37%

ภาคอุตสาหกรรม 36%

ภาคธุรกิจและทีอ่ยู

อาศัย 22 %

ภาคการเกษตร 5%

สัดสวนการใชพลังงานในประเทศสัดสวนการใชพลังงานในประเทศ 25502550

3273

23747

23531 ktoe

14004

พลังงาน รวม 64555 ktoe(กิโลตันน้ํามันดิบเทียบเทา)

3%

27%

55%

15%Lighting

Aircondition

Lift

Other

สดัสวนการใชพลังงานไฟฟาในอาคารสดัสวนการใชพลังงานไฟฟาในอาคาร

ดัชนีการใชพลังงาน 161 kWh/m2AC/yr

96,52992,56195,54186,23575,122พลังงานทดแทน**

2550*2549254825472546ชนิด

1,487,1301,330,0361,245,1711,021,953879,229รวม

393,375354,070327,642300,393265,771ไฟฟา

23,83017,34218,05813,4139,223ลิกไนต/ถานหนิ

36,99727,55120,26016,53913,793กาซธรรมชาติ

936,398838,512783,671605,372515,319น้ํามันสําเร็จรูป

หนวย: ลานบาท

* คาดคะเนเบื้องตน**มูลคาประมาณ

มูลคาการใชพลังงานขั้นสุดทาย

21%

13%

61%

5%แสงสวาง

ปรบัอากาศ

ในครวั

อื่นๆ

ตัวอยางสดัสวนการใชพลังงานไฟฟาในบานอยูอาศัยตัวอยางสดัสวนการใชพลังงานไฟฟาในบานอยูอาศัย

123

1440

322

512

คาไฟฟารวม 2397 บาท/เดือน

35%

9%

46%

10% ภาคคมนาคมขนสง

ภาคอุตสาหกรรม

ภาคธุรกิจและทีอ่ยูอาศัย

ภาคการเกษตร

มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมมูลคาผลิตภัณฑมวลรวม GDPGDP 25502550

358405

1782 MBaht1359

GDP รวม 3904 ลานบาทGDP =Gross Domestic Product

ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน 2544 และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ GDP =Gross Domestic Product

-15

-10

-5

0

5

10

15

20

2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544

เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลง

การใชพลังงาน

GDP

อัตราการเพิ่มการใชพลังงานเทยีบกับGDPในประเทศ

gy p

4.10

4.20

4.30

4.40

4.50

4.60

4.70

4.80

3.05 3.10 3.15 3.20 3.25 3.30 3.35 3.40 3.45 3.50 3.55

log (GDP)

log

(Ene

rgy)

Energy-GDP Elasticity

Avg.'85-20011998 1999 2000 20011994 1995 1996 19971990 1991 1992 1993

1.401.07อัตราการเพิ่มการใชพลังงานขั้นตน

ตอ อัตราการเพิ่ม GDP0.97

1985

1.47 1.08 1.511.24 1.34 1.64 1.94 -3.50 0.58 0.970.47

ที่มา : EIA,DOE, BP Statistic Review of World Energy, กฟผ.

Energy Elasticity = Energy Elasticity = ∆∆tt Energy Consumption/ Energy Consumption/ ∆∆tt GDPGDP

Ave. Energy Elasticity

1.4 : 1.0

New Target1 : 1

หรือนอยกวา

Thailand

ดัชนีการใชพลังงาน

ดัชนีการใชพลังงานพลังงานในประเทศตางๆPrimary Energy Consumption and Per Capita Income

0.00

2.00

4.00

6.00

8.00

10.00

12.00

0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0

GDP per Capita

Ener

gy C

onsu

mpt

ion/

Popu

latio

n

ThailandChina

USA

India

Russia

Japan

Switzerland

Norwa

S-Korea

Taiwan

Singapore

Canada

ผลิตภัณฑมวลรวมตอคนผลิตภัณฑมวลรวมตอคน

พลังงานตอคน

Japan

Thai

คาดการณคาดการณการมูลคาการใชพลังงาน

573777

1,529

2,145

1,090

0

500

1,000

1,500

2,000

2,500

2540 2545 2550 2555 2560

คาดการณมูลคาการใชพลังงานคาดการณมูลคาการใชพลังงานของประเทศในอนาคตของประเทศในอนาคต

หนวย : พันลานบาท

(ขอสมมติฐานอัตราสวนการเพิ่มของการใชพลังงานตอ GDP: 1.4:1 Est. GDP เตบิโต 5%ตอป)

เชื้อเพลิง ปริมานสํารอง ปริมานผลิตตอป สํารอง/ผลิต

น้ํามัน 0.5 Bbbl 0.04 Bbbl 12.5

กาซธรรมชาติ 12.7 TCF 0.65 TCF 19.5

Bbbl = Billion barrelTCF = Trillion Cubic Foot1 trillion = 1000 billion = 1000000 million

พลังงานสํารองในประเทศไทย

การนําเขาพลงังาน

100330,64613.344,989รวม

1.23,931-66.8388น้ํามนัสําเร็จรูป

1.44,655-2.8246ไฟฟา

2.37,47618.23,111ถานหิน

929,8603005,644กาซธรรมชาติ

86.1284,6675.535,592น้ํามนัดิบ

สัดสวนของ

พลังงาน

ที่นําเขา (%)

มูลคา

(ลานบาท)

การเปลี่ยนแปลง

ของปริมาณจากป

2543 (%)

ปริมาณเทียบเทา

น้ํามันดิบพันตัน

(KTOE)

แหลงพลังงาน

ตาราง การนําเขาพลังงานของประเทศไทย ป พ.ศ. 2544

ประชากรโลกป 2004

อันดบั1.จีน 1300 ลานคน

อันดบั 2.อนิเดีย 1087 ลานคน

อันดบั 3.สหรฐัอเมริกา 294 ลานคน

รวม 10 ประเทศสูงสุด 3780 ลานคน

รวมทุกประเทศ 6000 ลานคน

ประชากรเพิ่มขึ้นตอป 0.8 %

แตละคนใชพลังงานเปน 3 เทาของที่มีในธรรมชาติ

ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

เรื่อง ปญหาภาวะโลกรอนกับการประหยดัพลังงาน1. ภาวะโลกรอนเกิดขึ้นจากสาเหตุใด

2. กาซเรือนกระจกและภาวะเรือนกระจก

3. ทางเลือกในการแกปญหาภาวะโลกรอน

4. แนวทางการแกปญหาของประเทศไทย

พลังงานแสงอาทติย

ภาวะโลกรอนจากการใชพลังงานทีป่ลอยภาวะโลกรอนจากการใชพลังงานทีป่ลอย CO2CO2

กาชเรือนกระจก

ประกอบดวย

1. กาซคารบอนไดออกไซด (CO2)

2. กาซมีเทน (CH4)

3. กาซไนตรัสออกไซด (N2O)

4. สาร Chloroflurocarbons, CFCs

เปนกาซเรือนกระจกที่สําคัญและมีสัดสวนสูงสุดในบรรยากาศโลก ซึ่ง

แหลงที่มาสวนใหญมาจากการเผาไหมเชื้อเพลิงฟอสซิล รองลงมา ไดแก

การตัดไมทําลายปา ถางปา และเผาปาซึ่งเปนแหลงดูดซับกาซ

คารบอนไดออกไซดที่สําคัญ

กาซมีเทน CH4

เปนกาซเรือนกระจกที่มีสัดสวนในบรรยากาศโลกสูงเปนอันดับสอง แตมี

ศักยภาพในการกอใหเกิดสภาวะโลกรอน GWP ประมาณ 21 เทา ของกาซ

คารบอนไดออกไซด โดยแหลงปลอยกาซมีเทนหลัก ไดแก ภาคเกษตรกรรม เชน การ

ทํานาขาว มูลสัตว รองลงมาไดแก การทําเหมืองถานหิน การขุดเจาะกาซธรรมชาติ และ

การบําบัดกากของเสีย/ขยะมูลฝอย เปนตน

กาซคารบอนไดออกไซด CO2

การปลอยกาซ CO2ของเชื้อเพลิง

201.81ไฟฟา

219.12ชานออย

114.58แกลบขาว

110.44ถานไม

110.07ไม

56.1NG

63.07LPG

71.64น้ํามันเตา

70.26น้ํามันดิบ

74.07น้ํามันดีเซล

CO2 ,g/MJเชื้อเพลิง

การสันดาปของเชื้อเพลิง

C + O2 = CO2+ พลังงาน

2H2 + O2 = 2H2O + พลังงาน

สัดสวนของประเทศทีป่ลอยสัดสวนของประเทศทีป่ลอย COCO22

Thai

กาซ

เรือน

กระจก

CO2

CH4

N2O

Combined GHG GWP Effect

Global Warming Potentials in CO2Equivalents over 100 Year Time Horizon of Terrestrial Emissions and Fossil Fuels of Russia (1988–1992)

Global Warming Potentials in Tg (CO2 equivalents) 1990

20491971002850TOTAL-294123460-877Natural Ecosystems-2506299-411Agriculture

2593124432138Industry

TOTALN2OCH4CO2Sector

Nature neutralizing ~20% of industrial emissions 13

ศักยภาพการเกิดภาวะโลกรอน

34,90023,90016,300SF6

<2%2006502,100HFC-32

9,80011,7009,100HFC-23

~6.5%170310280N2O

~10.5%6.52156CH4

>80%111CO2

500 years100 years20 yearsAmount (%)

Global Warming Potential for various time horizonsGas

Some examples of Global Warming Potential;GWP referenced to CO2

IPCC และ www.ieagreen.org.uk ที่มา

flower

สภาวะแวดลอม

ใชพลังงานมากขึ้น สภาวะแวดลอมเลวลง

โลกรอนขึน้เกิดภัยธรรมชาติที่รายแรง

เกิดน้ําทวมน้ําแลง

เกดิแผนดนิไหว

เกิดสึนามิ

เกิดหมิะตกหนกั

ผลจากภาวะโลกรอน

1. สงผลใหประชากรบางพื้นที่ไรที่อยูอาศัยเนื่องจากระดับน้ําทะเลสูง

มากจนทําให พื้นที่หลายแหงจมหายไป

2. สงผลตอความถี่และความรนุแรงพายุโดยเฉพาะบริเวณชายฝง

และปญหาน้ําทวม

3. สงผลใหฤดูกาลเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากอุณหภูมิ ณ ผิวโลกที่สูงขึ้น

4. สงผลใหสิ่งมีชีวิตบางชนิดที่ไมสามารถปรับตัวอาจสูญพันธุได

5. สงผลใหเกิดปญหาแหงแลงอยางรุนแรงในบางประเทศ

6. สงผลใหเกิดการระบาด เชน โรคมาเลเรีย ไขเหลือง ไขเลือดออก เปนตน

คลื่นซึนามิที่เกาะพีพี

น้ําทะเลลดลงอยางรวดเร็ว

บานเรือนพังทลาย

Before Indonesia Tsunami

After Indonesia Tsunami

โดยสรุป

พลังงานเปนสิ่งจําเปนในการทาํงานและการดํารงชีวิต

มีการใชพลังงานเพิ่มขึ้นทกุวัน

พลังงานสํารองลดลงและจะหมดไปในเวลาไมนาน

คุณภาพสิ่งแวดลอมเลวลง

ราคาพลังงานแพงขึ้น

อนาคตจะเปนอยางไร ?

ขาดแคลนเชื้อเพลิง ไฟฟา

เชื้อเพลิงมีราคาแพง

สิ่งแวดลอมเสีย

ยังคงใชพลังงานอยางฟุมเฟอย

การลดกาซเรอืนกระจก

ทางเลือกที่สําคัญ 4 สาขาหลัก คือ สาขาพลังงาน สาขาปาไม

สาขาการเกษตร และสาขาของเสีย

แตเนือ่งจากกาซคารบอนไดออกไซดซึ่งเปนกาซเรือนกระจก

ตัวสําคัญและสามารถลดไดโดย

การประหยัดพลังงาน

การเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน

การใชเชื้อเพลิงทดแทนประเภทคารบอนต่าํหรือไมมี

คารบอน

ความรวมมือของนานาชาติ

อนุสัญญา UNFCCC

วัตถุประสงคเพื่อรักษาระดับความเขมขนของกาซเรือนกระจกให

อยูในระดับที่ปลอดภัย เพื่อใหธรรมชาติสามารถปรับตัวได และ

ไมสงผลกระทบตอความมั่นคงทางอาหารและการพัฒนา

เศรษฐกิจที่ยั่งยืน

ประเทศที่ลงนามในอนุสัญญาฯ เรียกวา ประเทศภาคีอนุสัญญาฯ

แบงไดเปน 2 กลุม คือ กลุมประเทศอุตสาหกรรมพัฒนาแลว และ

กลุมประเทศกําลังพัฒนา

โดยในอนุสัญญาฯ ระบุวาประเทศพัฒนาแลวจะตองลดปริมาณ

การปลอยกาซเรือนกระจกใหอยูในระดับไมเกินปริมาณการ

ปลอยในป พ.ศ. 2533

พิธีสารเกียวโตสาระสําคัญของพิธีสารเกียวโต

1. กําหนดใหประเทศพัฒนาแลวลดการปลอยกาซเรือนกระจกโดยรวมไม

นอยกวารอยละ 5.2 ของการปลอยในป พ.ศ.2533 ภายในชวงป พ.ศ. 2551-

2555 ซึ่งแตละประเทศมีเปาหมายการลดการปลอยที่แตกตางกันไป

2. กระตุนใหรัฐบาลของแตละประเทศรวมมือและทํางานรวมกัน โดยการ

ใหความชวยเหลือ แลกเปลี่ยนความรูเทคโนโลยี

3.Clean Development Mechanism (CDM) หรือ กลไกการพัฒนาที่สะอาด

เปนการดําเนินโครงการรวมระหวางประเทศพัฒนาแลวกับประเทศกําลังพัฒนา

เพื่อลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกตามปริมาณที่ประเทศพัฒนาแลว

จําเปนตองลด และชวยใหประเทศกําลังพัฒนาบรรลุการพัฒนาที่ยั่งยืน

บทบาทของประเทศไทย

ประเทศไทยกับพธิสีารเกียวโต

ประเทศไทยใหสัตยาบันตอพิธีสารเกียวโต ในวันที่ 27 สิงหาคม 2545

ภารกิจสําคัญของประเทศไทย

คือ การดําเนินงานตามพันธกรณีของอนุสัญญาฯ โดยเฉพาะการจัดทํา

รายงานแหงชาติ

การใชเชื้อเพลิงทดแทน

1.การใชเชื้อเพลิงที่มีคารบอนต่ําทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล

จะชวยลดการปลอยออกของกาซคารบอนไดออกไซด เชน

การเปลี่ยนเชื้อเพลิงจากถานหินมาเปนกาซธรรมชาติ

2.พลังงานหมุนเวียน ที่ใชกันแพรหลายไดแก พลังงานน้ํา

พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย และพลังงานชีวมวล

3. พลังงานนิวเคลียร

กระบวนทํางานเพื่อการประหยัดพลังงาน

เครื่องจักร การเปลี่ยนไปใชเครื่องจักรประสิทธิภาพสูง

คน การสรางพฤติกรรมการประหยัดพลังงาน

การบริหารการใชพลังงาน

พลังงาน ลดพลังงานไฟฟา

ใชพลังงานทดแทน แสงอาทิตย ลม ไบโอแมส

หลักการทํางานของเซลลแสงอาทิตยหลักการทํางานของเซลลแสงอาทิตย

การใชพลังงานแสงอาทิตยในโรงเรียนสังกัดกทม.

แผงรับแสงอาทิตยแบบแผนเรียบ

ขนาด 28 ตารางเมตร และถังเก็บ

น้ํารอนขนาด 2000 ลิตรราคา

500000 บาท

ประสิทธิภาพของระบบ 50 %

อุณหภูมิน้ํารอน 64 oC

ความเขมแสงอาทิตย 915 W/m2

พลังงานความรอนที่ได 70 kWh/day

(2.5 kWh/m2)

ลดปริมาณกาซ CO2ได 8,712 kg/yr

Solar PV in Thailand

Super Market and Store Factory

กําลงัผลติตดิตัง้ = 27 kWp

แผงเซลลแสงอาทติยชนดิฟลม

บางอะมอรฟสซลิคิอน

ขนาดแผงละ 65 Watt Peak

จํานวน 428 แผง

Inverter 2.8 kW x 8 ชดุ

Inverter 5.0 kW x 1 ชดุ

อาคารสํานักงานใหญอาคารสํานักงานใหญ กฟผกฟผ..

ขนาดกําลงัผลิตตดิตั้ง 504 กิโลวัตต ขนาดกําลงัผลิตตดิตั้งขนาดกําลงัผลิตตดิตั้ง 504504 กิโลวัตตกิโลวัตต

โรงไฟฟาเซลลแสงอาทติยผาบองโรงไฟฟาเซลลแสงอาทติยผาบอง

Wind Turbine in Thailand

Super Market and Store

การผลิตไฟฟาจากพลังงานลม

เยอรมันนี 22300 MW

สหรัฐอเมริกา 19549 MW

สเปน 15515 MW

อินเดยี 8696 MW

รวมทั้งหมดทั่วโลก 100000 MW

ขัอ1.ถาม/ตอบชิงรางวัล

ถาม พลังงานไฟฟา 1 หนวยตองใชกาซธรรมชาตเิทาใด?

0.3 กิโลกรัม 0.6 กิโลกรัม 0.9 กิโลกรัม 0.9 กิโลกรัม

ตอบ ตองใชกาซธรรมชาติ 0.3 กิโลกรัม

ขัอ 2.ถาม/ตอบชิงรางวัล

ถาม เชื้อเพลิงชนิดใด ? เมื่อเผาไหมแลวใหพลังงาน

เทากนัแตปลอยกาซคารบอนไดออกไซดมากที่สุด

ถาน น้ํามนัเบนซนิ กาซธรรมชาติ

ตอบ ถาน

ขัอ 3.ถาม/ตอบชิงรางวัล

ถาม พลังงานประเภทใด ? ราคาแพงที่สุด

น้ํามนัเบ็นซนิ กาซ LPG ไฟฟา

ตอบ พลังงานไฟฟา

ขัอ 4.ถาม/ตอบชิงรางวัล

ถาม เปดหลอดไฟฟาแสงสวางขนาดกําลังงาน 15 วัตตเปน

เวลานาน 10 ชั่วโมงจะสิ้นเปลืองพลังงานเทาใด?

ตอบ จะสิ้นเปลืองพลังงาน =15x10/1000 =0.15

กิโลวัตต.ชั่วโมง = 0.15x3.6=0.54 เมกกะจูล

การผลิตไฟฟาจากพลังงานลม

เยอรมันนี 22300 MW

สหรัฐอเมริกา 19549 MW

สเปน 15515 MW

อินเดยี 8696 MW

รวมทั้งหมดทั่วโลก 100000 MW

ถาม/ตอบชิงรางวัล

ถาม เปดหลอดไฟฟาแสงสวางขนาด 15 วัตตเปน

เวลานาน 10 ชั่วโมงจะสิ้นเปลืองพลังงานเทาใด?

จบการบรรยาย

กฎกระทรวง2551

ประสิทธิภาพอุปกรณขัน้ต่ํา

เตาอบไมโครเวฟ 65 %

เตาอบปริมาตร,V<35ลิตร 30 %

เครื่องซักผาฝาหนา Whr ตอรอบการซัก < 190

เครื่องทําน้ํารอนไฟฟา 81 %

กฎกระทรวง2551

ประสิทธิภาพอุปกรณขัน้ต่ํา

เครื่องปรับอากาศ ขนาด ไมเกิน 12000 W EER => 2.82

หมอหุงขาวไฟฟา 87-95 %

ตูเย็น 1 ประตู ปริมาตร,V<100ลิตร kWh/yr <278+0.74V

กระติกน้ํารอนไฟฟา 93-98 %

เครื่องทําน้ํารอนไฟฟา 81 %

เครื่องวัดกําลังไฟฟา

1 เฟส 2 สาย 50 ไซเคิล

แบบตอตรง

หนวย วัตต

Load

A

V

L

N

220 V

มิเตอรไฟฟากระแสสลับ

วัตต

กิโลวัตต-ชั่วโมง หลอดไฟ

กระพริบ

สายไฟจายใหอุปกรณ

top related