division euglenophyta -...

Post on 29-Aug-2019

2 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

9/6/2016

1

Division Euglenophytaเป็นเซลล์มีหนวดที มีสีเขียว หรือไม่มีสีปกติ

จะมีหนวด 2 หรือหลายเส้นทางดา้นหน้า (anterior) และมกัจะมีสติกมา (stigma) สาหร่ายดิวิชันนี แต่เดิมรวมอยู่ในดิวิชัน Chlorophyta เนื องจากมีคลอโรฟิลล ์เอ และบี อาหารสะสมจะอยูใ่นรูปของparamylon

โครงสร้างของเซลล์ 1. Cell wall ยกูลีนอยดเ์ป็นพวกที ไม่มีผนงัเซลลที์ แทจ้ริง ส่วนที หุ้มเซลลน์อกสุดคือ plasmalemma ถา้เขา้ไปเป็นชั นของโปรตีน เรียก pellicle มีลกัษณะเป็นแถบเกยซ้อนกันอยู่ ขอบของ pellicle ที เกยซ้อนกันหรือประสานกนัอยูอ่าจมองเห็นแถบตามความยาวของเซลล์

pellicle

เพลลิเคิลอาจมีรูปร่างคงที เพลลิเคิลมี 3 แบบ คือ1. fixed shaped มีรูปร่างคงที แน่นอน ไดแ้ก่ สกลุ Phacus2. flexible รูปร่างเปลี ยนแปลงไดง่้าย ไดแ้ก่ Euglena gracilis3. slightly flexible รูปร่างเปลี ยนแปลงไดเ้ลก็นอ้ย ไดแ้ก่ Euglena trisrlcata

Phacus

Euglena gracilis

9/6/2016

2

2. Flagellum ยกูลีนอยดมี์หนวด 2 เส้นหรือหลายเส้น เส้นหนึ งจะยาวอีกเส้นหนึ งจะสั น 3. Contractile vacuole อยูท่างดา้นหนา้ของเซลล ์ทาํหนา้ที ปรับสมดุลยข์องนํ าภายในเซลลที์ มีอยูม่ากเกินไป

4. chloroplast and pigment รูปร่างของคลอโรพลาสต์แตกต่างกนัในแต่ละสกลุและชนิดของยกูลีนอยด ์ส่วนมากมีลกัษณะกลมแบน (discoid) บางชนิดเป็นแถวยาว (ribbon–like) และเป็นแฉกรูปดาว คลอโรพลาสต์ของยกูลีนอยดมี์สีเขียวสด ประกอบดว้ยคลอโรฟิลล ์เอ และบี เกือบทั งหมดมีแคโรทีนอยดเ์พียงเลก็นอ้ยในรูปของ β-carotene และ xanthophyll

5. Storage products อยูใ่นรูปของแป้งพาราไมลอน จะมีขนาดรูปร่างและจาํนวนแตกต่างกนัในแต่ละชนิด อาจอยูภ่ายในหรือภายนอกคลอโรพลาสต ์ซึ งใชเ้ป็นลกัษณะในการจาํแนกชนิดไดโ้ดยเฉพาะสกุล Euglena

6. Nucleus อยูบ่ริเวณกลางเซลลห์รือค่อนไปทางส่วนทา้ย มีขนาดใหญ่เห็นไดช้ดัเจน ปกติจะมีเพียง 1 nucleus

พาราไมลอน

7. Eyespot หรือ stigma เป็นอวยัวะรับแสงอยูท่างส่วนหนา้ของเซลล ์มีลกัษณะโคง้เหมือนเสี ยวพระจนัทร์ ภายในมีสารสีแดงปนสม้ ซึ งเป็นพวก astaxanthin และ/หรือ echinenone รวมกบัรงควตัถุจาํพวกแคโรทีนอยดอื์ นๆ อายสปอตของยกูลีนอยดอ์ยู่ในไซโตพลาสซึม มิไดอ้ยูใ่นคลอโรพลาสตเ์หมือนสาหร่ายอื นๆ ทาํหนา้ที รับแสงและควบคุมการเคลื อนที ของเซลลไ์ปยงัทิสทางที ตอ้งการ

9/6/2016

3

แหล่งที พบ ยกูลีนอยดมี์การกระจายกวา้งขวางมาก พบทั งในนํ าจืดนํ ากร่อย และนํ าเคม็ หรือตามที ชื นแฉะ โดยเฉพาะแหล่งนํ าจืดที มีพวกสารอินทรียอ์ุดมสมบูรณ์จะพบมาก บางครั งจะเกิดการบลูม จนทาํใหแ้หล่งนํ ามีสีเขียว หรือแดง หรือนํ าตาลปนเหลือง มี granule euglenarhodon เป็นสารพวก tetraketo-β carotene มีสีแดง

Euglena sanguinea

การสืบพนัธุ ์การสืบพนัธุ ์ของยกูลีนอยดส่์วนใหญ ่เป็นการ

สืบพนัธุ ์แบบไม่อาศยัเพศโดยการแบ่งเซลล ์สาํหรับการสืบพนัธุ ์แบบอาศยัเพศนั น เคยมีรายงานพบวา่การแบ่งนิวเคลียสแบบไมโอซิส (meiosis) ใน Phacus

การจัดจําแนก จะจดัอยูใ่น 3 orders ไดแ้ก่ Eutreptiales, Euglenales และ HeteronematalesOrder 1.Eutreptiales Order 2. HeteronematalesOrder 3. Euglenales สาหร่ายอนัดบันี เป็นพวกเซลล์

เดี ยวที มีหนวด 2 เส้น เส้นสั นฝังอยูใ่นร่อง อีกเส้นหนึ งยาว จึงเห็นเพียงเส้นเดียวเท่านั น มีอยู ่1 family ไดแ้ก่ Euglenaceae สกลุที น่าสนใจไดแ้ก่

Euglena เป็นเซลลเ์ดี ยว มีหนวด 2 เส้น แต่โผล่ออกมาจากร่องใหเ้ห็นเพียงเส้นเดียว เซลลมี์ลกัษณะเป็นแถบบิดพาดบนเซลล ์อาจมีหรือไม่มีไพรีนอยด ์ส่วนใหญ ่พบในแหล่งนํ าจืด

9/6/2016

4

Trachelomonas เซลลเ์ดี ยวที มีเปลือกหรือ loricaหุม้อยุภ่ายนอกเปลือกที หุม้นี มีคอสั นๆ สาํหรับใหห้นวดโผล่ออกมา และในบางชนิดอาจมีปุ่ มหรือลวดลายเกิดขึ นที ผวินอกของเปลือก เปลือกที หุม้นี เป็นพวกเพกตินที มีเกลือของเหลก็และ/หรือแมงกานีสเป็นองคป์ระกอบอยู่ดว้ย ทาํใหมี้สีนํ าตาลหรือเหลือง

Phacus เซลลเ์ดี ยวที วา่นํ าเป็นอิสระ เซลลมี์แถบของเพลลิเคิลพาดจากส่วนหนา้มายงัส่วนทา้ยของเซลล์หลายแถบ คลอโรพลาสตก์ลมแบบมีขนาดเลก็ และไม่มีไพรีนอยด ์หนวดมี 2 เส้น แต่โผล่ออกมาเพียงเส้นเดียวเซลลรู์ปร่างคงที ไม่เปลี ยนรูปเหมือน

9/6/2016

5

top related