… เรื่องemis.nongkhai2.go.th/webarea/web2014/file_load/...ข อส...

Post on 16-Feb-2020

7 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

สื่อประกอบการเรียนการสอน

… เรื่อง …

เสียงและอักษรไทย

เสยีงและอักษรไทย เสียงในภาษาไทยมี ๓ เสียง คือ ...

๑. เสียงแท้

๒. เสียงแปร

๓. เสียงดนตรี

เสียงแท ้

เสียงแท้ ได้แก่ เสียง ………...

มี ……… รูป

……… เสียง

สระ

๒๑

๒๔

สระ ๒๑ รูป ได้แก่ …

๑. วิสรรชนีย์ ๒. ลากข้าง ๓. พินทุ์อิ ๔. ฝนทอง ๕. ฟันหนู ๖. หยาดน ้าค้าง ๗. ไม้หน้า

๘. ไม้มลาย ๙. ไม้โอ ๑๐. ไม้ม้วน ๑๑. ตีนเหยียด ๑๒. ตีนคู ้๑๓. ไม้ไต่คู ้๑๔. ไม้หันอากาศ

๑๕. ตัวรึ ๑๖. ตัวรือ ๑๗. ตัวลึ ๑๘. ตัวลือ ๑๙. ตัวออ ๒๐. ตัววอ ๒๑. ตัวยอ

เสียงแท ้

สระ ๒๔ เสียง ได้แก่

๑. สระเดี่ยว

๒. สระประสม

สระเดี่ยว สระเดี่ยว ๑๘ เสียง คือ

สระเสียงสั น สระเสียงยาว อะ อา อิ อี อึ อือ อ ุ อ ู

สระเดี่ยว

สระเสียงสั น สระเสียงยาว เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ

สระประสม สระประสม มี ๖ เสียง คือ ...

สระประสม ต้นก าเนิดเสียง ตัวอย่าง

อัว อู + อา วัว , กลัว , มั่ว

อัวะ อู + อะ ผัวะ

สระประสม ต้นก าเนิดเสียง ตัวอย่าง

เอีย อี + อา เมีย, เสีย, เพลีย

เอียะ อิ + อะ เกี๊ยะ

สระประสม

สระประสม ต้นก าเนิดเสียง ตัวอย่าง

เอือ อือ + อา เดือน , เพื่อน

เอือะ อึ + อะ

สระประสม

ส่วนสระ อ้า ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ นั้น ปัจจุบันถือว่าเป็นพยางค์ คือ

อ้า - อัม คือ อ + อะ + ม เสียงวรรณยุกต์สามัญ ไอ - อัย คือ อ + อะ + ย เสียงวรรณยุกต์สามัญ ใอ - อัย คือ อ + อะ + ย เสียงวรรณยุกต์สามัญ เอา คือ อ + อะ + ว เสียงวรรณยุกต์สามัญ

สระที่ปัจจุบันถือว่าเป็นพยางค์

ฤ - รึ คอื ร + อึ เสียงวรรณยุกต์ตรี ฤๅ - รือ คือ ร + อือ เสียงวรรณยุกต์สามัญ ฦ - ลึ คอื ล + อึ เสียงวรรณยุกต์ตรี ฦๅ - ลือ คือ ล + อือ เสียงวรรณยุกต์สามัญ

สระที่ปัจจุบันถือว่าเป็นพยางค์

การใช้สระ

เรามีวิธีใช้สระ ๓ วิธี คอื ...

๑. ใช้แบบคงรูป เช่น อย่าบอกเจี๊ยบนะ

๒. ใช้แบบลดรูป เช่น มดคบคนจร

๓. ใช้แบบเปล่ียนรูป เช่น ฉันเกิดจับเท็จ

ข้อสังเกตการใช้รูปสระแทนเสียงสระ ๑. เสียงสระบางเสียงใช้อักษรแทนได้หลายรูป เช่น ก า กัม กรรม หรือ ไส ไสย สัย ใส เป็นต้น

๒. ค าบางค ารูปสระไม่ออกเสียง เช่น ญาติ เหตุ พยาธิ

๓. ค าบางค ามีเสียงสระอะ แต่ไม่ปรากฏรูปวิสรรชนีย์ เช่น สนาม ขนม สกัด อร่อย

๔. รูปสระบางรูปมีเสียงซ้ ากัน เช่น เทิน เทอญ ใย ไย หรือ ใหญ่ หยากไย่

เสียงแปร

เสียงแปร คือ เสียงของพยัญชนะ

มี ………… รูป

………… เสยีง

พยัญชนะ

พยัญชนะไทย มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง ดังนี ...

๑. ก ๒. ข ฃ ค ฅ ฆ ๓. ง หง ๔. จ จร ๕. ฉ ช ฌ ๖. ซ ส ศ ษ สร ศร ซร ทร ๗. ญ ย อย หย หญ ๘. ฎ ด ๙. ฏ ต ๑๐. ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ

๑๑. ณ น หน ๑๒. บ ๑๓. ป ๑๔. ผ พ ภ ๑๕. ฝ ฟ ๑๖. ม หม ๑๗. ร หร ๑๘. ล ฬ หล ๑๙. ว หว ๒๐. ห ฮ ๒๑. อ

ไตรยางศ์ พยัญชนะแบ่งเป็น ๓ พวก เรียกว่า

๑. อักษรสูง

๒. อักษรกลาง

๓. อักษรต่้า

ประโยชน ์ของไตรยางศ์

ใช้ในการผันวรรณยุกต์

อักษรสูง

อักษรสูง มี ๑๑ ตัว คือ ...

ข ฃ ฉ ถ ฐ ผ ฝ ศ ษ ส ห หลักการท่องจ า ฉันขอฝากฃวดใส่ถุงผ้าให้เศรษฐี

อักษรกลาง

อักษรกลาง มี ๙ ตัว ดังนี …

ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ

หลักการท่องจ า ไก่จิกเด็กตาย (ฎฏ) บนปากโอ่ง

อักษรต่้า อักษรต่้า มี ๒๔ ตัว ดังนี ...

ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น ย ร ล ว พ ม ฟ ภ ฬ ฮ หลักการท่องจ า คอฅนฆ่างูชูโซ่เฌอหญิงโฑเฒ่าเณรท าธนู ย่ารู้แล้วว่าพม่าฟันส าเภาเฬาแฮ

อักษรเดี่ยวและอักษรคู่

อักษรเดี่ยว

อักษรคู่

อักษรเด่ียว อักษรเดี่ยว คือ อักษรต่ าที่ไม่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มี ๑๐ ตัว ดังน้ี ...

ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล หลักการท่องจ า งูใหญ่นอนอยู่ ณ ริมวัดโมฬีโลก

อักษรคู่ อักษรคู่ คือ อักษรต่ าท่ีมี เสียงคู่กับอักษรสูง มี ๑๔ ตัว ดังน้ี ...

ค ฅ ฆ ช ซ ฌ ฑ ฒ ท ธ พ ภ ฟ ฮ

พยางค์เปิดและพยางค์ปิด

พยางค์เปิด คือ พยางค์ท่ีไม่มีตัวสะกด เช่น เห่เรือ เปล หรือ ฯลฯ

พยางค์ปิด คือ พยางค์ท่ีมีตัวสะกด เช่น ใครห้ามท าไม

มาตราในภาษาไทย

มาตราในภาษาไทย มี ๙ มาตรา คือ

* แม่ ก.กา * มาตราตัวสะกด อีก ๘ มาตรา

มาตราในภาษาไทย

๑. แม่ ก. กา คือ ค าที่ประสมด้วยสระไม่มีตัวสะกด เช่น ปรีะกา ปลากระด่ี เป็นต้น ๒. แม่กก - ก ข ค ฆ ๓. แม่กด - ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส ๔. แม่กบ - บ ป พ ฟ ภ ๕. แม่กน - น ณ ร ล ฬ ญ

มาตราในภาษาไทย

๖. แม่กง - ง ๗. แม่กม - ม ๘. แม่เกย - ย ๙. แม่เกอว - ว

พยัญชนะที่ไม่ใช้เป็นตัวสะกดบ้าง

ฉ ฌ ผ ฝ ห อ

ค้าครุ - ค้าลห ุ

ในค้าประพันธ์ สระอ้า เป็นได้ทั ง ครุ และ ลหุ

ค าลหุ (อุ ) คือ ค าท่ีประสมสระเสียงสั้น ไม่มีตัวสะกด เช่น เกาะ โต๊ะ เฉพาะในค าประพันธ์ ค า บ,บ่ จัดเป็นลห ุ

ค าครุ ( อั ) คือ ค าท่ีประสมสระเสียงยาวและมีตัวสะกด ได้ทุกแม่ทั้ง ๘ มาตรา รวมทั้งค าท่ีประสมสระ อ า ไอ ใอ เอา ด้วย เช่น มันมากับความมืด โชคดีผีสับร่าง

ค้าเป็น - ค้าตาย

ค าตาย ๑. ค าท่ีประสมสระเสียงสั้นในมาตราแม่ ก. กา ๒. ค าท่ีมีตัวสะกดในแม่ กก กด กบ เช่น นกจิกผักกาด พบเกาะประหลาด

ค าเป็น ๑. ค าท่ีประสมด้วยสระเสียงยาว รวม อ า ไอ ใอ เอา ๒. ประสมตัวสะกดแม่ กง กน กม เกย เกอว เช่น พลพายกรายทอง ร้องโห่เห่โอ้เห่มา

ค้าเป็น - ค้าตาย - ค้าครุ - ค้าลหุ

ค าครุ ค าลหุ ค าเป็น ค าตาย ให้ พิจารณาตัวสะกดก่อนจึงจะพิจารณาสระ

๑. ถ้ามีตัวสะกดเป็นค าครุ ทั้งหมด ถ้าไม่มีตัวสะกด สระเสียงยาวเป็นครุ เสียงสั้นเป็นลห ุ๒. ถ้ามีตัวสะกด แม่ กก กด กบ เป็นค าตาย นอกนั้นเป็นค าเป็น ถ้าไม่มีตัวสะกด ให้พิจารณาสระเสียงยาวเป็นค าเป็น สระส้ันเป็นค าตาย

อักษรน้า

อักษรน า คือ พยัญชนะ ๒ ตัวท่ีใช้สระเดียว โดยพยางค์หน้าออกเสียงอะ และเสียงพยัญชนะ ตัวหลังตามตัวหน้า

๑. พยางค์หน้าออกเสียงอะ โดยไม่ต้องประวิสรรชนีย์ เช่น สนาม สมัคร ผนัก ๒. อ. น า ย. มี ๔ ค า คือ อย่า อยู่ อย่าง อยาก ๓. ห. เป็นอักษรน า เช่น หญิง ใหญ่ หยิบ หรูหรา หมาก ไหว้

อักษรควบ

คอื… ร,ล,ว ออกเสียงควบกล้ ากับพยัญชนะตัวหน้า

ร – ก ข ค ด ต ท บ ป พ ฟ ล - ก ข ค บ ป พ ฟ ผ ว – ก ข ค

หมายเหตุ ค าควบกล้ า ดร บร ฟร บล ฟล มีใช้ในภาษาต่างประเทศเท่านั้น เช่น ดราฟ บราซิล ฟรี บลู ฟลาย

อักษรควบไม่แท้

จ - จริง ซร - ไซร้ ศร - ศรี เศร้า สร - สร้าง แสร้ง เสริม ทร – ทราย เทริด ทราม

ข้อสังเกตเรื่องพยัญชนะ

๑. การท่ีรูปพยัญชนะ มีมากกว่าเสียง คือ มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง นั้นท าให้เกิดปัญหาในการเขียนพยัญชนะท่ีเสียงซ้ ากัน ยุ่งยากในการเขียนตัวสะกดการันต์ แต่มีประโยชน์ในด้านส่ือสาร รู้ความหมายของค าใช้ในการเขียนค าพ้องเสียง แต่ความหมายต่างกัน เช่น กาญจน์, กานต์, กานท์, การ, กาล เป็นต้น ซึ่งเราจะรู้ความหมายของค าเม่ือฟังเสียงนั้นต้องอาศัยบริบทของค านั้นช่วย

ข้อสังเกตเรื่องพยัญชนะ

๒. มีพยัญชนะบางรูปไม่ออกเสียง ๑) พวกตัวการันต์ คือ พยัญชนะท่ีมีเครื่องหมายทัณฑฆาตก ากับมีไว้เพื่อรักษารูปเดิมของศัพท์เพื่อให้รู้ว่ามาจากภาษาใด เช่น สงฆ์ ฟิล์ม กาญจน์ ๒) ร หรือ ห ท่ีน าหน้าพยัญชนะสะกดในค าบางค า เช่น สามารถ พรหม ๓) พยัญชนะซึ่งตามหลังพยัญชนะสะกดในค าบางค า เช่น พุทธ เนตร

๒. มีพยัญชนะบางรูปไม่ออกเสียง (ต่อ) ๔) ร ซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของอักษรควบไม่แท้ เช่น จริง สร้าง ศรี โทรม ๕) ห หรือ อ ซึ่งน าอักษรต่ าเดี่ยว เช่น หลากหลาย อย่า อยู่ ๖) ค าบางค ามีเสียงพยัญชนะ แต่ไม่ปรากฏรูปพยัญชนะ เช่น อ า - ด า มีเสียง ม สะกด ไอ - ไป มีเสียง ย สะกด ใอ - ใคร มีเสียง ย สะกด เอา - เรา มีเสียง ว สะกด

ข้อสังเกตเรื่องพยัญชนะ

เสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย ม ี

เสียงดนตร ี

…….. รูป

.……. เสียง

๔ ๕

วรรณยุกต ์

เสียงวรรณยุกต์ รูปวรรณยุกต์

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

-

ว ่

ว ้

ข๊

ข๋

สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการผันวรรณยุกต์ คือ

๑. ไตรยางศ์ ๒. ค าเป็น - ค าตาย

อักษรกลาง

เสียง ค า

ค้าเป็น

ค้าตาย

สามัญ เอก โท ตรี จัตวา

ปา ป่า ป้า ป๊า ป๋า

ปาด ป้าด ป๊าด ป๋าด

อักษรสูง

เสียง ค า

ค้าเป็น

ค้าตาย

สามัญ เอก โท ตรี จัตวา

- ข่า ข้า - ขา

- ขาด ข้าด - -

อักษรต่้า เสียง

ค า

ค้าเป็น

ค้าตาย เสียงยาว

สามัญ เอก โท ตรี จัตวา

คา - ค่า ค้า -

- - คาด ค้าด ค๋าด

ค้าตาย เสียงสั น

- - ค่ะ คะ ค๋ะ

ข้อสังเกตการใช้วรรณยุกต์

๑. อักษรกลางค าเป็นเท่านั้นท่ีผันได้ครบห้าเสียง

๒. อักษรกลางและอักษรสูงผันรูปวรรณยุกต์ใด จะเป็นเสียงนั้น เช่น กล้า จ๋า ข้า ป๊า

๓. อักษรต่ า ผันรูปวรรณยุกต์เอกจะมีเสียงโท เช่น ค่ า น่า แต่ถ้าผันรูปวรรณยุกต์โทจะมีเสียงตรี เช่น น้า ใช้

ข้อสังเกตการใช้วรรณยุกต์

๔. อักษรคู่ผันครบห้าเสียงได้โดยใช้เสียงคู่กันช่วย เช่น คา ข่า ค่า(ข้า) ค้า ขา

๕. อักษรเดี่ยวผันครบห้าเสียงได้โดยใช้ ห น า เช่น งา หง่า ง่า ง้า หงา

๖. อักษรต่ าไม่มีการผันวรรณยุกต์ด้วยรูปตรี ( ) ถ้ามี แสดงได้ว่าค านั้นเขียนผิด

ข้อสังเกตการใช้วรรณยุกต์ ๗. ค าท่ีไม่มีรูปวรรณยุกต์ก ากับเป็นค าพื้นเสียงมีเสียงวรรณยุกต์ ดังนี้ - อักษรกลาง ค าเป็น พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ - อักษรต่ า ค าเป็น พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ - อักษรกลาง ค าตาย พื้นเสียงเป็นเสียงเอก - อักษรสูง ค าตาย พื้นเสียงเป็นเสียงเอก - อักษรสูง ค าเป็น พื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา - อักษรต่ า ค าตายสั้น พื้นเสียงเป็นเสียงตรี - อักษรต่ า ค าตายยาว พื้นเสียงเป็นเสียงโท

การพิจารณา ส่วนประกอบของพยางค ์

ให้พิจารณาโครงสร้างของพยางค์ดังนี …

๓ ส่วน ประกอบด้วย …

สระ + พยัญชนะ + วรรณยุกต์

เช่น … ม้า ดุ และ เตะ หมู

๔ ส่วน

ประกอบด้วย …

สระ + พยัญชนะ + วรรณยุกต์ + ตัวสะกด

เช่น … ใคร เอา ต้ม ย า ไก่ บ้าง

๔ ส่วนพิเศษ

ประกอบด้วย …

สระ + พยัญชนะ + วรรณยุกต์ + ตัวการันต์

เช่น … เล่ห์ โชว ์

๕ ส่วน

ประกอบด้วย …

สระ + พยัญชนะ + วรรณยุกต์ + ตัวสะกด + ตัวการันต์

เช่น …พยางค์ เสาร์ เยาว์ อนงค์

การพิจารณาส่วนประกอบของพยางค์นั้น

ให้พิจารณาว่าเป็นสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์

รวมทั้งตัวสะกดชนิดเดียวกันหรือไม่

และมีวรรณยุกต์เสียงเดียวกันหรือไม ่

top related