แนวทางการเรียนการสอนnstda.or.th/sciencecamp/th/file/8146707bepn6awcoi.pdf ·...

Post on 05-Feb-2020

10 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

พัฒนาโดยความรวมมอืของ ศ และแลกเปลี่ยนประสบการณกับมูลนิธิ Telekom โดยอิงแผนการศึกษาของรัฐตางๆ ในเยอรมนี 

แนวทางการเรยีนการสอน 

(Co­construction) 

พัฒนาโดยความรวมมอืของ ศ.ดร. วาซิลิออส ฟเธอนาคิด และแลกเปลี่ยนประสบการณกับมูลนิธิ Deutschen 

โดยอิงแผนการศึกษาของรัฐตางๆ ในเยอรมนี 

แนวทางการเรยีนการสอน 

construction) 

Metacognition

กระบวนการเรียนรูรวมกัน Co­ construction 

•  เด็กมีศักยภาพ •  เด็กนาจะสามารถพัฒนาศักยภาพของตน 

ได •  เด็กตองเรียนรูศักยภาพใหม ๆ 

การเรียนรูรวมกันในการทํางานที่จริง เด็กจะ สามารถนําไปเชื่อมโยงความหมายกับโลกของ ตัวเอง เด็กและครูจะรวมกันสรางกระบวนการ เรียนรูรวมกัน ที่เนนการปฏิสัมพันทางสังคม ระหวางบุคคล 

กระบวนการเรียนรูรวมกัน construction 

เด็กนาจะสามารถพัฒนาศักยภาพของตน 

การเรียนรูรวมกันในการทํางานที่จริง เด็กจะ สามารถนําไปเชื่อมโยงความหมายกับโลกของ ตัวเอง เด็กและครูจะรวมกันสรางกระบวนการ เรียนรูรวมกัน ที่เนนการปฏิสัมพันทางสังคม ระหวางบุคคล

เด็กเรียนรูที่จะเรียน Metacognition 

ความรูของผูเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ตัวเองรู สิ่งที่ตวัเองคนพบ และวิธีหาความรูของตนเอง ผูเรียนจะตระหนักถึงความรู การ คนพบ และกลวิธีการเรียนของตัวเอง 

เด็กเรียนรูที่จะเรียน Metacognition 

ความรูของผูเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ตัวเองรู สิ่งที่ตวัเองคนพบ และวิธีหาความรูของตนเอง ผูเรียนจะตระหนักถึงความรู การ คนพบ และกลวิธีการเรียนของตัวเอง

แนวทางการเรยีนการสอน 

รูปแบบการทดลอง 

การทําโครงงาน วิทยาศาสตร 

แนวทางการเรยีนการสอน เด็กเกิดการเรียนรู 

ดวยตนเอง และสามารถคิดได อยางเปนเหตุ 

เปนผล

วิสัยทัศนดานการศึกษา ­  การสรางใหเด็กมีความรับผิดชอบตอตนเอง และมีจริยธรรม ­  เด็กเปรียบเสมือนดั่งผูเรียน ผูทดลอง และผูคนพบประสบการณ ใหม 

­  เด็กคือนักคิด นักสรางจิตนาการ ­  การสรางใหเด็กมีปฏิสัมพันธท่ีดีกับสังคม 

วิสัยทัศนดานการศึกษา การสรางใหเด็กมีความรับผิดชอบตอตนเอง และมีจริยธรรม เด็กเปรียบเสมือนดั่งผูเรียน ผูทดลอง และผูคนพบประสบการณ 

เด็กคือนักคิด นักสรางจิตนาการ การสรางใหเด็กมีปฏิสัมพันธท่ีดีกับสังคม

การสงเสริมและพัฒนา ความสามารถพื้นฐานของเด็ก 

• ความสามารถดานการเรียนรู • ความสามารถดานภาษา • ความสามารถดานสังคม • ความสามารถดานประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว 

การสงเสริมและพัฒนา ความสามารถพื้นฐานของเด็ก 

ความสามารถดานการเรียนรู 

ความสามารถดานประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว

ความสามารถดานการเรียนรู 

เนนการเรียนรู ที่ทําใหเด็ก 

ครูสอนการทดลองวิทย โดยตั้งคําถามใหเด็กคิด 

ตลอดเวลา 

ความสามารถดานการเรียนรู 

รูจักจินตนาการ รูจักจินตนาการ 

เปนการสรางข้ันบันได เพ่ือใหเด็กไขวควาเอา ความรูมาดวยตัวเอง

เด็กไดรูจักคิด เด็กไดรูจักคิด 

คิดหาเหตุผลดวยตนเอง คิดหาเหตุผลดวยตนเอง

ความสามารถดานภาษา สงเสริมใหเด็กพูดแสดงความคิดเห็น บรรยายสิ่งที่สังเกตไดขณะ ทดลองการเรียกช่ืออุปกรณที่ใช  พูดสรุปการทดลองที่เกิดข้ึน 

Test tube 

ความสามารถดานภาษา สงเสริมใหเด็กพูดแสดงความคิดเห็น บรรยายสิ่งที่สังเกตไดขณะ ทดลองการเรียกช่ืออุปกรณที่ใช  พูดสรุปการทดลองที่เกิดข้ึน 

Get it ready for the filtration 

Flask

ความสามารถดานสังคม 

สงเสริมใหเด็กทํางานรวมกันเปนกลุม  มีการทดลองที่ปลูกฝงใหเด็กมีความ รับผิดชอบตอสังคมแบบงาย ๆ เชน การทดลองเร่ืองการกําจัดของเสียในนํ้า เพื่อเปดโอกาสใหเด็กไดแสดงความคิดเห็นในเร่ืองเหลานี ้

ความสามารถดานสังคม 

สงเสริมใหเด็กทํางานรวมกันเปนกลุม  มีการทดลองที่ปลูกฝงใหเด็กมีความ รับผิดชอบตอสังคมแบบงาย ๆ เชน การทดลองเร่ืองการกําจัดของเสียในนํ้า เพื่อเปดโอกาสใหเด็กไดแสดงความคิดเห็นในเร่ืองเหลานี้

ความสามารถดานประสาทสัมผัส และการเคลื่อนไหว 

ความสามารถดานประสาทสัมผัส และการเคลื่อนไหว 

พัฒนาทักษะการรับรูของ ประสาทสัมผัสตาง ๆ รวมทั้งการเคลื่อนไหว 

รางกายท่ีเหมาะสมตามวัย

เปาหมายของโครงการบานนักวทิยาศาสตรนอย เปาหมายของโครงการบานนักวทิยาศาสตรนอย

การเรียนรูแบบกลุม ­ เด็กเปนผูมีความสามารถ ­ เด็กควรไดมีโอกาสแสดง ความสามารถ ของตนเอง ­ เด็กควรไดเรียนรูและเพิ่มพูน ความสามารถใหม 

การเรียนรูแบบกลุม เปดโอกาสใหเด็กมี ปฏิสัมพันธ และแ แลกเปลี่ยนวามรู ความคิดเห็นซึ่งกัน 

และกัน

การเรียนรูแบบโครงงาน การทดลองวิทยาศาสตรในหัวขอที่กําหนดโดยใชระยะเวลายาวนานตอเน่ือง และ 

สอดแทรกทักษะดานตางๆ ใหเด็กไปพรอมดวยกัน  เชน ­  การพัฒนาสติปญญา ­  การเขาสังคม ­  พัฒนาการดานรางกายตามวัย 

เพื่อใหเด็กไดรับความรูและหลักการใหม ๆ จาก ­  การรวบรวมขอมูล ­  การสังเกต ­  การซักถามระหวางเพื่อนในกลุม ­  การลงมือทุดลอง ­  การจดบันทึกขอมูลดวยการวาดรูป หรือการเขียน 

การเรียนรูแบบโครงงาน การทดลองวิทยาศาสตรในหัวขอที่กําหนดโดยใชระยะเวลายาวนานตอเน่ือง และ 

สอดแทรกทักษะดานตางๆ ใหเด็กไปพรอมดวยกัน  เชน 

เพื่อใหเด็กไดรับความรูและหลักการใหม ๆ จาก 

การจดบันทึกขอมูลดวยการวาดรูป หรือการเขียน

หลักเกณฑทั่วไปของหัวขอโครงงานวิทยาศาสตร •  เปนส่ิงที่อยูรอบตัวเด็ก ซ่ึงเด็กสามารถสังเกตผลเองได •  เกี่ยวของกับประสบการณสวนใหญของเด็กในกลุม •  งายตอการคนควาดวยตัวของเด็กเอง •  เหมาะกับทรพัยากรหรอือุปกรณท่ีมีอยู •  มีกิจกรรมที่หลากหลายมาเกี่ยวของ เชน การทดลอง การ วาดรูป 

หลักเกณฑทั่วไปของหัวขอโครงงานวิทยาศาสตร เปนส่ิงที่อยูรอบตัวเด็ก ซ่ึงเด็กสามารถสังเกตผลเองได เกี่ยวของกับประสบการณสวนใหญของเด็กในกลุม งายตอการคนควาดวยตัวของเด็กเอง เหมาะกับทรพัยากรหรอือุปกรณท่ีมีอยู มีกิจกรรมที่หลากหลายมาเกี่ยวของ เชน การทดลอง การ

หลักเกณฑทั่วไปของหัวขอโครงงานวิทยาศาสตร •  เปดโอกาสใหผูปกครองเขารวมกิจกรรมดวย •  เหมาะสมกับสภาพวัฒนธรรมของทองถิน่นัน้ๆ •  อยูในความสนใจของเด็กสวนใหญในกลุม •  มีอยูในหลักสูตรการเรยีนการสอน •  เหมาะสมกับวัยของเดก็ •  ไมซับซอนหรืองายจนเกินไป 

หลักเกณฑทั่วไปของหัวขอโครงงานวิทยาศาสตร เปดโอกาสใหผูปกครองเขารวมกิจกรรมดวย เหมาะสมกับสภาพวัฒนธรรมของทองถิน่นัน้ๆ อยูในความสนใจของเด็กสวนใหญในกลุม มีอยูในหลักสูตรการเรยีนการสอน 

ไมซับซอนหรืองายจนเกินไป

การประเมินการคิดของเด็ก ฝกฝนใหเด็กมีทักษะและเทคนิค ในการเรียน และสามารถ ประมวลความคิดเพือ่ทาํความ เขาใจในความรูที่ไดเรียนนั้น ใหถองแท แลวนํามา ประยุกตใชในชีวติประจําวัน 

การประเมินการคิดของเด็ก ฝกฝนใหเด็กมีทักษะและเทคนิค ในการเรียน และสามารถ ประมวลความคิดเพือ่ทาํความ เขาใจในความรูที่ไดเรียนนั้น ใหถองแท แลวนํามา ประยุกตใชในชีวติประจําวัน

บทบาทของครู ­  ใหความสําคัญของกระบวนการหรือขั้นตอนที่ใช 

สอน ควบคูไปกับเน้ือหาที่จะสอน ­  เชื่อมโยงเร่ืองที่จะสอนใหสัมพันธกับสิ่งแวดลอม 

รอบตัว เพื่อใหเด็กมีกระบวนการคิดที่ซับซอนขึ้น และนําความรูมาประยุกตใชไดจริงใน ชีวิตประจําวัน 

­  บันทึกความรูที่ไดเรียนดวยวิธีตางๆ เชน การวาด รูป หรือการเขียนบรรยาย จะชวยใหกระบวนการ เรียนรูมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 

การประเมินการคิดของเด็ก บทบาทของคร ู

ใหความสําคัญของกระบวนการหรือขั้นตอนที่ใช สอน ควบคูไปกับเน้ือหาที่จะสอน เชื่อมโยงเร่ืองที่จะสอนใหสัมพันธกับสิ่งแวดลอม รอบตัว เพื่อใหเด็กมีกระบวนการคิดที่ซับซอนขึ้น และนําความรูมาประยุกตใชไดจริงใน ชีวิตประจําวัน บันทึกความรูที่ไดเรียนดวยวิธีตางๆ เชน การวาด รูป หรือการเขียนบรรยาย จะชวยใหกระบวนการ เรียนรูมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 

การประเมินการคิดของเด็ก

สรุปแนวทาง 1.  เด็กและครูชวยกันสรางกระบวนการเรียนรูรวมกัน ­  ครูจะรวมหาไอเดียและกระบวนการพรอมกับเด็ก ­  เด็กเรียนรูรวมกันและแลกเปล่ียนความคิด ­  การทดลองไมไดจํากัดเปนเพียง “การทําตาม 2.  เด็กรูตัววาพวกเขากําลังเรียน เรียนเรื่องอะไร  และเรียนอยางไร 

(metacognition) ­  ครูและเด็กไมไดศึกษาแตเน้ือหาและกิจกรรม แตศึกษากระบวนการเรียนรูดวย ­  ปรากฏการณที่มีมาจากโลกของเด็ก และนําไปสอดใสในความเชื่อมโยงที่ 

ซับซอน ­  การบันทึกกิจกรรมจะชวยสงเสริมกระบวนการเรียนรูของเด็ก 

สรุปแนวทาง เด็กและครูชวยกันสรางกระบวนการเรียนรูรวมกัน (co­construction) 

ครูจะรวมหาไอเดียและกระบวนการพรอมกับเด็ก เด็กเรียนรูรวมกันและแลกเปล่ียนความคิด 

การทําตาม”  การทดลอง เด็กรูตัววาพวกเขากําลังเรียน เรียนเรื่องอะไร  และเรียนอยางไร 

ครูและเด็กไมไดศึกษาแตเน้ือหาและกิจกรรม แตศึกษากระบวนการเรียนรูดวย ปรากฏการณที่มีมาจากโลกของเด็ก และนําไปสอดใสในความเชื่อมโยงที่ 

การบันทึกกิจกรรมจะชวยสงเสริมกระบวนการเรียนรูของเด็ก

top related