บรรยายครั้งที่ 1 - กราฟ กวิศวกรรม 1 ·...

Post on 29-Jun-2020

2 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

บรรยายครั้งที่ 1 - กราฟกวิศวกรรม 1

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

1

2

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

วัตถุประสงค์

• เพื่อใหผูเรียนมีทักษะในการสื่อสารขอมูลทางเรขาคณิตผานการเขียนแบบ

โดยผูเรียนจะตองสามารถทำความเขาใจแบบทางวิศวกรรม และ สามารถ

เขียนแบบทั้งดวยมือเปลา ดวยเครื่องมือเขียนแบบ และดวยคอมพิวเตอร

3

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เขาเรียน* 10 คะแนน

ปฏิบัติการและการบาน 30 คะแนน

สอบกลางภาค 30 คะแนน

สอบปลายภาค 30 คะแนน

คะแนนเต็ม 100 คะแนน

* ผูเรียนตองเขาเรียนไมต่ำกวา 80% จึงจะมีสิทธิ์สอบ

4

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ระเบียบการเขาเรียน

• แตงกายในชุดนักศึกษาตามระเบียบ มธ.

• เขาเรียนตรงเวลา มิฉะนั้นจะถูกตัดคะแนนดังนี้

• เขาฟงการบรรยายสายเกิน 15 นาที ตัดคะแนนเขาเรียน 50%

• เขาฟงการบรรยายสายเกิน 30 นาที ถือวาขาดเรียน

• เขาทำปฏิบัติการสายเกิน 15 นาที ตัดคะแนนปฏิบัติการ 20%

• ไมกระทำการใดๆอันเปนการรบกวนการเรียนการสอน

5

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เอกสารคำสอน

กราฟิกวิศวกรรม 1(Engineering Graphics 1)

รองศาสตราจารย์พินัย ทองสวัสดิ์วงศ์ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิตพ.ศ. 2551

6

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เอกสารอ้างอิง

• F. E. Giesecke et. al. Engineering Graphics, 7th edition, Prentice Hall, 2000.

• A. W. Boundy. Engineering Drawing, 6th edition, McGraw Hill, 2002.

7

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บันทึกภาพและคำบรรยาย

http://chaosuan.me.engr.tu.ac.th/chaosuan/E-learning.html

รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน กาญจโนมัยภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

8

ครั้งที่ จันทร เนื้อหา

1 17 ส.ค.บทนำ กระดาษและเครื่องมือเขียนแบบ การเขียนเสนและตัวหนังสือ มาตราสวน

2 24 ส.ค. การเขียนรูปรางเรขาคณิต

3 31 ส.ค. การใหขนาด

4 7 ก.ย. ภาพฉาย (orthographics)

5 14 ก.ย.ภาพสามมิติแบบแกนสมมาตร (isometric) และ แบบมุมเฉียง (oblique)

6 21 ก.ย. การเขียนภาพมือเปลา และทักษะการมองภาพ

7 28 ก.ย. การเขียนภาพตัด

4 - 13 ต.ค.4 - 13 ต.ค. สอบกลางภาค (12 ต.ค. มีเรียนตามปกติ)

แผนการสอนภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

9

ครั้งที่ จันทร เนื้อหา

8 12 ต.ค. การเขียนแบบรายละเอียด แบบงาน และ พิกัดเผื่อ

9 19 ต.ค. AutoCAD - intro/draw

10 26 ต.ค. AutoCAD - modify/layer/dimension

11 2 พ.ย. AutoCAD - การเขียนภาพฉาย

12 16 พ.ย. AutoCAD - การเขียนภาพ 3 มิติ

13 23 พ.ย. AutoCAD - การเขียนภาพ 3 มิติ

14 30 พ.ย.AutoCAD - การใชคอมพิวเตอรชวยในการคำนวณหาพื้นที่รูปเรขาคณิต และแนะนำโปรแกรมคอมพิวเตอรอื่นๆ

6 ธ.ค.6 ธ.ค. สอบปลายภาค

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

10

บทนำ (introduction)

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• กราฟก (graphic) หมายถึงการสื่อความคิด โดยการเขียนลายเสน หรือ

รอยจารึกบนพื้นผิว

• การเขียนแบบ (drawing) คือ กราฟกที่แสดงสิ่งที่เปนจริง ดังนั้นแบบ

(drafting) ที่เขียน คือ ภาษากราฟก เพราะใชรูปภาพสื่อความคิด ที่

สามารถทำใหคนตางเชื้อชาติสามารถรูและเขาใจ ดังนั้นแบบที่เขียนจึง

เปน "ภาษาแหงจักรวาล (universal language)

11

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การเขียนแบบแยกเปน 2 ลักษณะ โดยมีวัตถุประสงคที่แตกตางกัน

• แบบทางศิลป (artistic drawing) เปนการเขียนภาพจริงตามธรรมชาติ

• แบบทางเทคนิค (technical drawing) เปนการเขียนแบบสำหรับใชใน

งานเทคนิค เพื่อการสรางงานตาง ๆ

12

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

13

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

14

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

15

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

16

กระดาษเขียนแบบ (drawing paper)

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ขนาดของกระดาษเขียนแบบกำหนดโดยองคการมาตรฐานระหวาง

ชาติ (International Standardization Organization, ISO) ใชขนาด

A ซึ่งเหมาะสมกับการยอลงไมโครฟลม 35 มม. เพราะสัดสวนของ

การลดขนาดกระดาษ 1:√2 จะคงที่สำหรับกระดาษทุกขนาด

17

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

18

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

19

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

20

• กระดาษเขียนแบบจะตองมีเสนกรอบ ซึ่งจะมีระยะหางจากขอบ

กระดาษเล็กนอย และจะมีระยะมาตรฐานสำหรับกระดาษทุกขนาด

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

21

• การวางผังกระดาษเขียนแบบ ขึ้นกับขนาดของกระดาษ และ

วัตถุประสงค

• ประกอบดวยกรอบชื่อ (title block) เขตพื้นที่ (reference area)

รายการชิ้นสวนหรือวัสดุ (materials or parts list) ตารางปรับปรุง

(revisions table)

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

22

เขตพื้นที่

กรอบชื่อตารางปรับปรุง

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

23

รายการชิ้นสวนหรือวัสดุ

เขตพื้นที่ตารางปรับปรุง

กรอบชื่อ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

24

A - ชื่อหนวยงาน

B - ชื่องาน

C - หมายเลขแผนแบบ

D - ขอมูลการเตรียมแบบ เชน ลายเซ็นต

ผูเขียน ผูตรวจ ฯลฯ

E - เลขทะเบียนหรือรหัสของผูออกแบบ

F - ขนาดกระดาษ

G - มาตราสวน

H - ขอมูลอื่นๆ

J - กรอบเพิ่มสำหรับขอมูลทั่วไป

เชน การเผื่อ วัสดุ การแตงผิว ฯลฯ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

25

A - ชื่อหนวยงาน

B - ชื่องาน

C - หมายเลขแผนแบบ

D - ขอมูลการเตรียมแบบ เชน ลายเซ็นต

ผูเขียน ผูตรวจ ฯลฯ

E - เลขทะเบียนหรือรหัสของผูออกแบบ

F - ขนาดกระดาษ

G - มาตราสวน

H - ขอมูลอื่นๆ

J - กรอบเพิ่มสำหรับขอมูลทั่วไป

เชน การเผื่อ วัสดุ การแตงผิว ฯลฯ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

26

A - ชื่อหนวยงาน

B - ชื่องาน

C - หมายเลขแผนแบบ

D - ขอมูลการเตรียมแบบ เชน ลายเซ็นต

ผูเขียน ผูตรวจ ฯลฯ

E - เลขทะเบียนหรือรหัสของผูออกแบบ

F - ขนาดกระดาษ

G - มาตราสวน

H - ขอมูลอื่นๆ

J - กรอบเพิ่มสำหรับขอมูลทั่วไป

เชน การเผื่อ วัสดุ การแตงผิว ฯลฯ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

27

• เขตพื้นที่ชวยใหการหาชิ้นสวนที่อางอิงไดสะดวก โดยเฉพาะในกระดาษ

แผนใหญ เขตพื้นที่แนวนอนใชตัวอักษรใหญ เริ่มจาก A อานจากบนลง

ลาง เขตพื้นที่แนวตั้งใชตัวเลข เริ่มจาก 1 อานจากซายไปขวา

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

28

• การพับกระดาษที่ถูกตอง ชวยใหการเก็บเขาแฟมทำไดงายและสะดวก

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

29

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

30

เครื่องมือเขียนแบบ (instrumental drawing)

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เครื่องมือเขียนแบบมีหลายชนิด เพื่ออำนวยความสะดวกในการเขียน

แบบเสนและรูปทรงตางๆ

• ดินสอขนาด 0.5, 0.7 และ 1.0 มม.

• ยางลบ

• ไมที, ไมบรรทัด

• วงเวียน

• ฉากสามเหลี่ยม 45 และ 60 องศา

• แผนเพลทเขียนวงกลม

31

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

32

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ไมทีและการติดกระดาษเขียนแบบ

33

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ฉากสามเหลี่ยม

34

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ฉากสามเหลี่ยมแบบปรับมุมได

35

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การทดสอบมุมฉากของฉากสามเหลี่ยม

36

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การจับดินสอเพื่อลากเสน

37

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การจับดินสอเพื่อลากเสนตั้งฉาก

38

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การใชไมทีกับฉากสามเหลี่ยมเขียนเสนที่มีมุมบวก

39

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การใชไมทีกับฉากสามเหลี่ยมเขียนเสนที่มีมุมลบ

40

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การเขียนเสนขนานหลายเสน ทำมุม 15 องศากับแนวระดับ

41

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การเขียนเสนตั้งฉาก โดยเสนหนึ่งทำมุม 15 องศากับแนวระดับ

42

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การเขียนเสนตั้งฉากกับเสนที่กำหนดให

43

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การเขียนเสนขนานกับเสนที่กำหนดให

44

เสน (lines)

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เสนเปนสวนสำคัญที่สุดในการเขียนแบบ รูปราง และรายละเอียดของ

ชิ้นงานจะแสดงโดยเสนแบบตางๆ ซึ่งจะนำไปสูการสรางชิ้นงานจริง

• เสนแตละแบบจะตองเขียนดวยความหนาและความเขมที่เหมาะสม

เพื่อจะเนนความหมายของภาพ และสามารถเขาใจไดงาย

• เสนแสดงสวนที่มองเห็นและขอบจะเปนเสนเต็มหนาและเขม ในขณะที่

เสนกำกับและเสนขนาดจะเปนเสนเต็มบางเขมนอยกวา

45

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

46

ชนิดของเสนในการเขียนแบบ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

47

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

48

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

49

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

50

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

51

ความหนาของเสนในการเขียนแบบ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

52

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

53

ตัวอยางของเสนในการเขียนแบบ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

54

การเขียนตัวหนังสือ (lettering)

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

55

อักษรไทย

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

56

อักษรอังกฤษ - ตัวใหญ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

N A

4

57

สนับสนุนภาพเคลื่อนไหวโดย ผศ.ดร.จิรพงศ กสิวิทยอำนวย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

0S 3

58

สนับสนุนภาพเคลื่อนไหวโดย ผศ.ดร.จิรพงศ กสิวิทยอำนวย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

59

อักษรอังกฤษ - ตัวเล็ก

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

c o a

สนับสนุนภาพเคลื่อนไหวโดย ผศ.ดร.จิรพงศ กสิวิทยอำนวย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 60

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

61

อักษรอังกฤษ - ตัวใหญเอียง

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

62

อักษรอังกฤษ - ตัวเล็กเอียง

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

63

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

64

มาตราสวน (scale)

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ในการเขียนแบบนั้น ชิ้นงานที่เขียนอาจมีขนาดใหญหรือเล็กแตกตางกัน

ไป ผูเขียนแบบจะตองพิจารณาเลือกที่จะวาดภาพยอสวนหรือขยายให

เหมาะสม การยอ หรือขยายภาพจะบอกเปนมาตราสวน

65

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

1:1 ขนาดจริง

1:10 ยอ

100:1 ขยาย

66

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ขนาดในแบบ ขนาดจริง

67

• ในการเขียนภาพขนาดเทาชิ้นงาน มาตราสวนจะเทากับ 1:1

• มาตราสวนในการเขียนภาพยอขนาด เชน 1:5 หมายถึง ขนาดภาพที่

เขียนจะเทากับ 1/5 ของชิ้นงานจริง

• มาตราสวนในการขยายขนาด เชน 10:1 หมายถึง ขนาดภาพที่เขียนจะ

เทากับ 10 เทาของชิ้นงานจริง

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

68

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

69

• เพื่อความสะดวกในการเขียนแบบ อาจจะใชไมบรรทัดที่แสดง

ระยะตามมาตราสวน

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ปฏิบัติการครั้งที่ 1

70

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

71

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

72

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

73

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

74

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

75

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

76

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

77

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

78

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

จบการบรรยายครั้งที่ 1

79

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

top related