บทที่ - wordpress.com · 2017-08-26 ·...

Post on 24-Feb-2020

4 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

บทที่ 3

การวางแผนโปรแกรมการสื่อความหมาย By : Savichaya S. Trirat

1

สื่อความสัมพันธ์ระหว่าง

พื้นที่ ผู้รับข้อมูล

เงื่อนไขของการสื่อความหมาย

2

1. ทรัพยากรของพื้นที่ (ทั้งที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้)

2. พื้นที่อนุรักษ ์(ตัวพื้นที่เองและระบบการจัดการ)

1. นักท่องเที่ยว

2. ผู้ใช้พื้นที่ชุมชนท้องถิ่น

• ความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับ • ประวัติความเป็นมา • ทรัพยากรโดดเด่น • นโยบายหรือเป้าหมายในการจัดการพื้นท่ีนั้นๆ • และปัจจัยอื่นๆ เช่น ระดับ ประเภทและจ านวนของผู้เข้าใช้พื้นที ่ก าลังเจ้าหน้าที ่งบประมาณ

3

http://www.pixpros.net/forums/showthread.php?t=40135&page=3

โดยมีสาระประกอบทั้ง 6 เรื่อง

4

1. Information and Orientation - เพื่อเตรียมตัวได้ปลอดภัยและสนุกสนาน

2. Understanding and Appreciation - ก่อให้เกิดความซาบซึ้งถึงคุณค่าและความส าคัญ 5

3. Protection - ค าแนะน าเกี่ยวกับกิจกรรมที่ไม่ท าลายหรือใช้เกินความพอดี

4. Participation and Skill Development - จูงใจให้ท ากิจกรรมอื่นๆ ที่ต้องฝึกฝนหรือใช้เวลามากขึ้น 6

5. Dialogue - สาธารณชน ชาวบ้านและเจ้าหน้าที่ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความต้องการ

6. Education - สร้างความเข้าใจถึงคุณค่าและความโดดเด่นของทรัพยากร 7

กระบวนการสื่อความหมาย • Tilden’s Trips จุดหลักของการน าเที่ยวและกระบวนการที่ก่อให้เกดิความรูส้ึก

เพื่อการ “สื่อความหมาย (interpretive)” ต้องใช้ข้อมูล กล่าวคือ

8

กระตุ้น (provoke)

สัมพันธ์ (relate)

เปิดเผย (reveal)

sex on the Rocks! (เป็นการสื่อความหมายเกี่ยวกับการสืบพันธุ์ของชีวิตตามชายฝั่งทะเลที่ใช้ชีวิตบนโขดหิน)

ใช้ความหลากหลายของเทคนิค (การอุปมาอุปไมยการเปรียบเทียบ/เปรียบเปรย ฯลฯ) จะช่วยให้ผู้มาเยือนมีความชัดเจนกับข้อความที่สื่อ

http://www.t2k.ac.th/noona/image/serrata.jpg

“การเปิดเผยเป็นส่วนที่ส าคัญที่สุดของเรื่องราวหรือการน าเสนอ”

ลักษณะพิเศษหรือจุดเด่นที่ไม่ปกติ อ้างถึงความเป็นเอกภาพของเค้าโครงเรือง

มันคืออะไรกันแน่?

มันเกี่ยวอะไรกับคนฟัง?

มันจะส่งผลกระทบอย่างไรต่อระบบ?

โมเดลของการสื่อความหมาย

• ท าภายใต้วัตถุประสงค์เป้าหมายในการจัดการพื้นที่

• ภายใต้เทคนิคหรือวิธีการที่เหมาะสม

9

การจัดการที่เป็นจริง (Managerial Realities)

ผู้ส่ือความหมาย (Interpreter)

ที่มา : ดัดแปลงจาก Cherem (1977)

ผู้มาเยือน (Visitor)

ผลสะท้อนกลับ (Feedback)

พื้นที่/เนื้อหาสาระที่

ต้องการสื่อ

วัตถุประสงค์/เป้าหมาย

เทคนิคและโปรแกรมการบริการ

ผู้น าเสนอสาระส าคัญ/สิ่งที่ต้องการสื่อในพื้นที่/ทรัพยากร

ประเมินผลและปรบัปรงุแก้ไข

ทั้งผลกระทบและผลสัมฤทธิ์

• การพัฒนาสิ่งอ านวยความสะดวกจะท าเฉพาะในบริเวณที่มีศักยภาพ มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ภายใต้ระดับการพัฒนาที่เหมาะสมของลักษณะทางด้านชีวกายภาพ สังคมวัฒนธรรม และด้านการบริหารจัดการของแหล่งนันทนาการ ซึ่งรูปแบบและวัสดุที่จัดให้มีข้ึน จะต้องไม่สงผลกระทบต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมทั้งในปัจจุบันและอนาคต เพื่อความยั่งยืนของทรัพยากรและการท่องเที่ยวสืบไป

10

http://www.siamfreestyle.com/traveltip/uploads/f06acb066a71d01cfd6ad06fc928cedf.JPEG http://farm3.static.flickr.com/2107/2051622701_b37c54479c_o.jpg

http://upic.me/i/te/img_4157.jpg

11

http://www.siamfreestyle.com/images/content_images/attraction_images/kan/kan_att30001002.jpg

12

บทบาทส าคัญการสื่อความหมาย • ผู้มาเยือน

• เกิดความระมัดระวัง ความพึงพอใจ และความเข้าใจต่อพื้นที่ท่ีเข้าไปสัมผัส ช่วย

เพิ่มประสบการณ์ และก่อให้เกิดควานเพลิดเพลิน

• ทรัพยากร • เกิดผลกระทบลดลง

• หน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลพื้นที่ • ประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนได้เข้าใจเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของการบริการ

จัดการของหน่วยงาน

13

ttp://janjow.exteen.com/20071122/entry-1

ทรัพยากร/พื้นที่นันทนาการ (Resource & Recreation

Area)

เค้าโครงการสื่อความหมาย (Theme)

นักสื่อความหมาย (Interpreter)

ถ่ายทอดเป็นค าบรรยาย (Text)

ใช้บุคคล (Personal)

ถ่ายทอดเป็นข้อความประกอบภาพ (Text with graphic)

ไม่ใช้บุคคล (Non-personal)

เข้าใจ (Understanding)

ชื่นชม (Appreciation)

ตระหนัก (Awareness)

รักษา (Protection)

ประสบการณ์ที่ได้รับในพื้นที่ (On Site Experience)

ผู้ชมที่อิสระ/ไม่บังคับ

(Non Captive Audience)

ผู้มาเยือน/นักท่องเที่ยว

(Visitor)

เป็นส่วนประกอบหลักในการก าหนดเค้าโครงเรื่อง (theme) ของการสื่อความหมาย

o ความสัมพันธ์จากบทบาท มีดังนี้

ที่มา : ดัดแปลงจาก สุรเชษฎ์ (2542)

14

โปรแกรมสื่อความหมายธรรมชาติและวัฒนธรรม

15

• องค์ประกอบโปรแกรมสือ่ความหมายธรรมชาติและวัฒนธรรม 16

การจัดท าโปรแกรมส่ือความหมายประสบความส าเร็จ

การจัดท าโปรแกรมสื่อความหมายไม่ประสบความส าเร็จ

ผู้ช านาญการสื่อความหมายธรรมชาติและวัฒนธรรม

ปรับปรุง

-นโยบาย - การบริหารงาน - งบประมาณ - บุคลากร

องค์กร

-ตัดสินใจเลือกเรื่อง (theme) หรือสิ่งท่ีต้องการสื่อ (subject matter) โดยพิจารณาความสอดคล้องกับประสบการณ์/ความสนใจของนักท่องเที่ยว -ก าหนดวัตถุประสงค์ของโปรแกรมการสื่อความหมาย โดยก าหนดให้ชัดเจน/สามารถประเมินผลได้ -จัดท ารายละเอียดของการสื่อความหมายทั้งหมด

จัดท าโปรแกรมการส่ือความหมายธรรมชาติและวัฒนธรรม

ที่เหมาะส าหรับการถ่ายทอดความหมายเก่ียวกับส่ิงน้ัน โดยพิจารณาวัตถุประสงค์/ตัวกลางหรือสื่อ/สภาพแวดล้อม

เลือกวิธีการ/เทคนิค

กิริยา, ค าพูด, ค าวิพากษ์วิจารณ ์

นักท่องเที่ยว : ปฏิกิริยาของนักท่องเที่ยว

ทางบวก ทางลบ

ด าเนินการส่ือความหมายธรรมชาติและวฒันธรรม

โอกาสในการจัดท าโปรแกรมสื่อความหมาย 1. สามารถท าได้ทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่

• “On-Site Interpretation” • ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ วนอุทยานและพื้นที่ธรรมชาติอื่นๆ • ในพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ พิพิธภัณฑสถาน ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ

ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว • พื้นที่อื่นๆ ที่ไม่จ าเป็นต้องเกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

เเละสิ่งแวดล้อม เช่น พื้นที่ปลูกสร้าง สวนป่า ค่ายเยาวชน เขื่อนระบายน้ า เขื่อนผลิตพลังงานไฟฟ้า งานสาธารณูปโภค โรงงานอุตสาหกรรม

• สามารถจัดท าได้ในที่ที่ห่างไกลออกไป เช่น ตามโรงเรียน ชมรม สโมสร • “Off-Site Interpretation” การสื่อความหมายนอกสถานที่หรือ เช่น การใช้

วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ และนิตยสาร ส าหรับองค์กรต่างๆ ที่สนใจงานสื่อความหมายธรรมชาติของพื้นที่แต่ละกลุ่มของตนเองไม่มีโอกาสได้เข้าไปสัมผัส 17

2. ปัจจัยส าคัญที่จะต้องศึกษานักท่องเที่ยวที่ไปพักผ่อนในพื้นที่นันทนาการแห่งใดแห่งหนึ่งมีลักษณะแตกต่างกันไปซึ่งเป็นสิ่งท้าทายความสามารถของนักสื่อความหมาย ได้แก่ (Field and Wager, 1972 ใน สุรชัย ท้วมสมบูรณ,์ 2533: 7-8) • อายุ • การศึกษา • อาชีพ • วัฒนธรรมและประสบการณ์ • ตลอดจนอิทธิพลต่อโปรแกรม เช่น

• จ านวนนักท่องเที่ยวในกลุ่ม • จ านวนครั้งที่เคยมาเยือน และ • ระยะเวลาของการมาพักแรมในพื้นที่ ต่างก็มีอิทธิพลต่อไปแบบและวัฏจักรของเรื่องราวที่เสนอ

• ไม่เพียงแต่ความสนุกสนานเพลิดเพลิน แต่ยังต้องการความเป็นกันเอง (Informality) และสมาคมกับนักท่องเที่ยวอื่นๆ (Social Interaction) ด้วย

18

ตวัช้ีถงึระดบัและ

เน้ือหาที่จะสือ่

3. “แหล่งที่มาของนักท่องเที่ยว” พื้นที่บางแห่งอาจดึงดูดนักท่องเที่ยวที่อยู่ในท้องถิ่นและนักท่องเที่ยวที่มาจากที่ไกลๆ ด้วย นักท่องเที่ยวท้องถิ่นมักจะมีทัศนคติต่อพื้นที่ว่า “รู้หมดแล้ว” และไม่ค่อยเข้าร่วมกิจกรรมการสื่อความหมายธรรมชาติ ยกเว้นในกรณีที่มีเพื่อนต่างถิ่นร่วมเดินทางไปด้วย

4. ในทางกลับกัน คนที่ต้องใช้จ่ายทั้งเงินและเวลาเป็นจ านวนมากเพื่อเดินทางมา จึงพยายามกอบโกยผลประโยชน์จากการมาเยือนพื้นที่ และมักจะเข้าร่วมในกิจกรรมเสมอ

19

นโยบายเกี่ยวกับการสื่อความหมายธรรมชาติ • นโยบายการสื่อความหมายธรรมชาติของ National Park of Canada ปี 1964

• ใหค้วามเข้าใจ สอนให้รู้ถึงการใช้ และเพลิดเพลินกับอุทยานแหง่ชาติ

• การบริการและนักสื่อความหมายที่มีคุณสมบัติดีเป็นสิ่งส าคัญที่จะสนับสนุนให้สาธารณชนได้เข้าใจ พึงพอใจและเพลิดเพลิน

• การให้การศึกษาโดยใชต้ัวกลาง เช่น การใช้สิ่งพิมพ์ ภาพถ่าย สิ่งก่อสร้างพิเศษ ฯลฯ

• การจัดท าพิพิธภัณฑ์หรอืนิทรรศการ ควรเน้นเสนอเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ธรรมชาติที่ผูกพนัโดยตรงกับอุทยานแห่งชาติ 20

• นโยบายการสื่อความหมายธรรมชาติของ Washington State Parks and Recreation Commission • เป้าหมายเพื่อแสวงหา สงวนไว้ สื่อความหมายและก าหนดพื้นที่ภายในมลรัฐที่มีลักษณะของ • ประวัติศาสตร ์ • ธรณีวิทยา • มานุษยวิทยา • นิเวศวิทยา

• กิจกรรมส าคัญเพื่อเป็นประสบการณ์การเรียนรู้ เพิ่มความเข้าใจและเพลิดเพลิน จะเน้น • การพัฒนาศูนย์สื่อความหมายธรรมชาติ • นิทรรศการ • การเดินเท้าเพื่อศึกษาธรรมชาติ

21

อุปสรรคของการสื่อความหมายธรรมชาติ

นโยบายและขาดการสนับสนุนจากผู้บริหารองค์กร

ขาดงบประมาณส าหรับด าเนินการ

เจ้าหน้าที่ขาดความสนใจ

ขาดผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติ

22

การส่ือความหมายควรก าหนดให้เป็นองค์ประกอบส าคัญอย่างหนึ่งใน

กระบวนการวางแผน

ควรได้รับการบอกกล่าวเพื่อให้เข้าใจถึงขอบเขตและศักยภาพของงานสื่อความหมาย

การวางแผนการสื่อความหมาย • การวางแผนสื่อความหมาย (interpretative planning) เป็นกิจกรรมการสื่อความหมายทรัพยากรในพื้นที่อย่างเป็นระบบเพื่อให้การสื่อความหมายบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ เกิดประโยชน์ในการบริหารจัดการพื้นที่ได้อย่างเป็นรูปธรรม

23

เนื้อหาสาระของทรัพยากร

วัสด ุวิธีการ

การออกแบบโปรแกรม

สร้างความเชื่อมโยงและสอดคล้องกลมกลืน

• แนวคิดการวางแผนระบบสื่อความหมาย (Concept in interpretative System Planning) โดยวัตถุประสงค์ก็เพื่อ

24

ภายใต้กรอบแนวคิดของการพัฒนาอย่างยั่งยืน (sustainable development)

1) ก าหนดรูปแบบของการสื่อความหมายอย่างเป็นระบบ

2) ตอบสนองวัตถุประสงค์ของการสื่อความหมายในพื้นที่

3) เป็นแนวทางในการด าเนินงานและเป็นเครื่องมือในการ

บริหารจัดการพื้นที่

โมเดลการวางแผนระบบสื่อความหมาย

(An Interpretive system planning Model) (ดารณี ด่านวันดี, 2549: 4-5) 25

What

Why

Who

How/When/Where (เรื่องราว พัฒนารูปแบบ)

Implementation & Operation

Evaluation •ทรัพยากร/แหล่งนันทนาการ •การก าหนดเป้าหมายให้ครอบคลุมเนื้อหาที่ต้องการ

ท าไม ต้องมีการสื่อความหมายในพื้นที่แห่งนี้ ซึ่งจะเชื่อมโยงไปสู่ Who

ใคร คือกลุ่มเป้าหมายในการสื่อ

ขึ้นอยู่กับปัจจัยและข้อจ ากัดของแต่ละพื้นที่เป็นประเดน็หลัก

การน าไปปฏิบัติ/ด าเนินการ ด้องก าหนดงบประมาณ ค่าใช้จ่ายในการด าเนินงาน พร้อมระบุหน่วยงานที่รับผิดชอบ

การประเมินผล ติดตามประเมินผลสื่อแต่ละประเภท หรือประเด็นในเชิงพื้นที่ เพื่อจะสรุปผลของแผนว่าสามารถสนองต่อวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้มาก-น้อยเพียงใด

ใคร คือกลุ่มเป้าหมายในการสื่อ

26

การวิเคราะห์ข้อมูลต้องอาศัย

• ลักษณะสังคมประชากร

• กิจกรรมการใช้ประโยชน์

• ความต้องการ

เพื่อก าหนด

• รูปแบบและวิธีการ

• สิ่งอ านวยความสะดวก

• องค์ประกอบของระบบส่ือความหมายที่จ าเป็น

How/When/Where : อย่างไร/เมื่อไหร/่ที่ไหน

• ขึ้นอยู่กับปัจจัยและข้อจ ากัดของแต่ละพื้นที่เป็นประเด็นหลักหรือการล าดับความส าคัญก่อน-หลังของกิจกรรมให้ชัดเจน

27

วัตถุประสงค์

เฉพาะเรื่อง หัวข้อย่อย/สาระส าคัญ

เทคนิค

รายละเอียดของสิ่งอ านวยความสะดวก

ช่วงเวลาที่เหมาะสม

โปรแกรมการสื่อความหมาย/แผนการบริการ

แบบเก็บข้อมูล (Check list)

โปรแกรม

ท าไม (Why?) วัตถุประสงค์ของโปรแกรมหรือบริการ

อะไร (What?) ทรัพยากรที่ต้องการสื่อความหมาย

ใคร (Who?) ใครคือกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มอาย/ุอาชีพ/ศาสนา

เหตุผลที่พวกเขาต้องการเข้าร่วมโปรแกรม

อย่างไร/เมื่อไหร่/ที่ไหน (How/When/where) โปรแกรมที่จะสื่อ

อย่างไร : ใช้คน สื่อ/อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบ

ไม่ใช้คน

วันที่ เวลา ที่ต้ังโปรแกรม

เนื้อหาสาระที่จะน าเสนอ

1) ข้อมูลทั่วไป

2) ประโยชน์/คุณค่าต่อชุมชนและประเทศชาติ

3) ผลกระทบ(เชิงลบ)ต่อชุมชนและประเทศชาติ 28

SEX ON THE ROCK!

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเข้าใจความส าคัญของสิ่งมีชีวิตต่อระบบนิเวศ

ทรัพยากร ปู VS ป่าชายเลน

กลุ่มวัยรุ่น ช่วงอายุ 17-21 ปี

สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม

ลานกิจกรรมชั้น 4 Central Airport Plaza เชียงใหม่ 2 ก.พ. 58 9.00-16.00 น.

ละครบทบาทสมมุติเล่าเรื่อง

ประวัติความเป็นมา, ลักษณะส าคัญของป่าชายเลน, สิ่งมีชีวิตในอ่าว, ปูและความส าคัญของปูต่อระบบนิเวศ, สถิติที่เกี่ยวข้อง, ปัญหาที่ผ่านมา, ฯลฯ

ต่อเศรษฐกิจ, ต่อสังคมและวัฒนธรรม, ต่อสิ่งแวดล้อม

ต่อเศรษฐกิจ, ต่อสังคมและวัฒนธรรม, ต่อสิ่งแวดล้อม

นิทรรศการจ าลอง

ฉากการแสดง, ต้นโกงกางจ าลอง, หมวกรูปปูจ าลอง, ชุดแสดง, เครื่องเสียง, จอภาพ LCD projector

โปรแกรมการสื่อความหมาย/แผนการบริการ (ต่อ)

แบบเก็บข้อมูล (Check list)

การด าเนินการ/การปฏิบัติ (Implementation/Operation) วางแผนการท างานอย่างไร

29

หน้าที่งาน ภาระงาน ผู้รับผิดชอบ

แผนกข้อมูลและการน าเสนอ •ค้นคว้าขอ้มูล •ร่างบทพูดเพื่อการน าเสนอ

1..... 2....

แผนกออกแบบและสถานท่ี •ออกแบบการใช้พื้นท่ี •จัดเตรียมสถานท่ีและอปุกรณ์

1..... 2....

แผนกนันทนาการ •ออกแบบกิจกรรม •เตรียมอุปกรณ์ส าหรับกิจกรรม

1..... 2....

แผนกงบประมาณและประสานงาน

•ดูแลบริหารงบประมาณ •ประสานงานกับแผนกต่างๆและภายนอก

1..... 2....

วิธีการด าเนินงาน W1 W2 W3 W4 W5 W6 W7 W8 W9 ผู้รับผิดชอบ

1. ประชุมแผนงาน ทุกแผนก

2. ค้นคว้าขอ้มูล แผนกข้อมูล

3. จัดหาอุปกรณ์ แผนกออกแบบและ

นันทนาการ

4. ประชุมสรุปงานแต่ละแผนก ทุกแผนก

5. .....

โปรแกรมการสื่อความหมาย/แผนการบริการ (ต่อ)

แบบเก็บข้อมูล (Check list)

การประเมินผล (Evaluation) จะประเมินคนฟังอย่างไร (บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่)

30

1) ประเมินความเข้าใจด้วยค าถาม - สิ่งมีชีวิตในป่าชายเลนมีอะไรบ้าง - ปูมีความส าคัญอย่างไรต่อป่าชายเลน

2) เกมส์ต่อภาพ (วงจรชีวิตปู) อุปกรณ:์ - รูปวงจรชีวิตของปู(สี) ติดลงบนฟิวเจอร์บอร์ด - ฟิวเจอร์บอร์ดแผ่นใหญ ่ วิธีการเล่น: - จับคู่ 2 คน แข่งขันกันติดภาพวงจรชีวิตป ู - ผู้ชนะได้รางวัลปากการูปปู

วาดภาพประกอบ

วาดภาพประกอบ

top related