กบข...

Post on 22-Jul-2020

13 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

กบข. สมาชิกสัมพันธ์สัญจรประจําปี 2557

125 มิถุนายน 2557

1. เงินออมที่มีใน กบข.

2. เข้าใจหน่วยลงทุน

3. UNDO

4. ออมเพิ่ม

5. ทางเลือกแผนการลงทุน

6. สวัสดิการ

7. สิทธิการรับเงินคืน

8. ออมต่อ

9. ช่องทางติดต่อ กบข.25 มิถุนายน 2557 2

เนื้อหา

325 มิถุนายน 2557

เงินออมที่มีใน กบข.

เงินออมที่มีใน กบข.

25 มิถุนายน 2557 4

จากรัฐบาล

เงินประเดิม เงินชดเชย

(2%)

เงินสมทบ

(3%)

สมาชิกกบข.ออม

เงินสะสมตาม

กฎหมาย (3%)

เงินสะสมเพิ่ม ภาค

สมัครใจ (1-12%)

1. เงินออมจากภาครัฐ

1.1 เงินประเดิม เฉพาะสมาชิกที่บรรจุเข้ารับราชการก่อน 27 มีนาคม 2540 โดยนําส่งเป็นเงินก้อน ครั้งเดียวเท่านั้น เพื่อชดเชยสว่นต่างของเงินบํานาญ1.2 เงินชดเชย นําส่งในอัตรา 2% ของเงินเดือนสมาชิกทุกเดือน เพื่อชดเชยส่วนต่างของเงินบํานาญ1.3 เงินสมทบ นําส่งในอัตรา 3% ของเงินเดือนสมาชิกทุกเดือน เพื่อช่วยเพิม่เงินออมให้กับสมาชิก

25 มิถุนายน 2557 5

จากรัฐบาล

เงินประเดิม เงินชดเชย

(2%)

เงินสมทบ

(3%)

เงินออมที่มีใน กบข.

2. เงินออมจากสมาชิก

2.1 เงินสะสม นําส่งในอัตรา 3% ของเงินเดือน เพื่อออมเงินอย่างสม่ําเสมอและต่อเนื่อง 2.2. เงินสะสมส่วนเพิ่ม (ออมเพิ่ม) นําส่งเงินเพิ่มจากอัตราปกติที่กําหนดไว้ เลือกตั้งแต่ 1-12% เพื่อเร่งการออมให้ถึงเป้าหมายที่ตั้งไว้

25 มิถุนายน 2557 6

สมาชิกกบข.ออม

เงินสะสมตาม

กฎหมาย (3%)

เงินสะสมเพิ่ม ภาค

สมัครใจ (1-12%)

เงินออมที่มีใน กบข.

25 มิถุนายน 2557 7

เส้นทางเงินออมกับ กบข.

จากรัฐบาล

เงินชดเชย

(2%)

เงินสมทบ

(3%)

สมาชิกกบข.ออม

เงินสะสม

(3%)

เงินสะสมเพิ่ม

ภาคสมัครใจ

(1-12%)

1. หน่วยงานนําส่งเงินเข้าบัญชีสมาชิกที ่กบข.

เช่น สมาชิกมีเงินเดือน 10,000 บาท จะมีเงินเข้า กบข. 800 บาท ประกอบด้วย 1. เงินชดเชย 200 บาท 2. เงินสมทบ 300 บาท 3. เงินสะสม 300 บาท

25 มิถุนายน 2557 8

2. แปลงจํานวนเงินออมเป็นหน่วยลงทนุ

800 บาท กบข.41.6509

หน่วยลงทุนบัญชีสมาชิก

NAV = 19.2703 บาท/หน่วย

ณ วันที่ 31 มกราคม 2557

เช่น ณ วันที่ 31 มกราคม 2557 กบข. ประกาศมูลค่าต่อหน่วย หรือ NAV ที่ 19.2073 บาท/

หน่วย กรณีสมาชิกท่านนี้ เมื่อนําส่งเงินเข้ามามา 800 บาท แปลงเป็นหน่วยลงทนุได้

800 บาท ÷ 19.2073 บาท/หน่วย = 41.6509 หน่วยลงทนุ

เส้นทางเงินออมกับ กบข.

25 มิถุนายน 2557 9

เส้นทางเงินออมกับ กบข.

3. ลงทุนตามแผนการลงทนุรายบุคคล

เงินประเดิม

+

เงินชดเชย

เงินสะสม

+

เงินสมทบ

+

เงินออมเพิ่ม

แผนหลัก

สมาชิกเลือกแผนการลงทุนได้

1 แผน จากแผนดังต่อไปนี้

1. แผนหลัก

2. แผนผสมหุ้นทวี

3. แผนตราสารหนี้

4. แผนตลาดเงิน

5. แผนสมดุลตามอายุ

1. จํานวนหน่วยที่จะบันทึกในบัญชีสมาชิกจะไม่เท่ากันในแต่ละ

เดือน ขึ้นกับ NAV ณ วันคํานวณ(วันเงินเข้ากองทุน)

2. มูลค่าเงินออมสมาชิกเปลี่ยนแปลงทุกวัน ตาม NAV ที่มีการ

เปลี่ยนแปลงตามราคาหลักทรัพย์ที่ประเมินตามภาวะเศรษฐกิจ

เช่นเดียวกับแนวคิดราคาทองคํา

25 มิถุนายน 2557 10

เข้าใจหน่วยลงทุน

1125 มิถุนายน 2557

UNDO

UNDO คืออะไร

25 มิถุนายน 2557 12

จากรัฐบาล

เงินประเดิม เงินชดเชย

(2%)

เงินสมทบ

(3%)

สมาชิกกบข.ออม

เงินสะสมตาม

กฎหมาย (3%)

เงินสะสมเพิ่ม ภาค

สมัครใจ (1-12%)

นําออกไปไดเมื่อทําเรื่อง Undo เสร็จเรียบรอย

กลับไปใชสูตรบํานาญ เงินเดือนๆสุดทาย x เวลาราชการ

50

25 มิถุนายน 2557 13

ความคืบหน้าล่าสุด

การแก้ไขพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญข้าราชการ พ.ศ. 2494

ตามที่กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ได้เสนอให้ข้าราชการที่เป็นสมาชิก กบข. กลุ่มที่รับ

ราชการก่อนวันที่ 27 มี.ค. 2540 ลาออกจากสมาชิก กบข. และกลับไปเลือกรับบํานาญแบบเดิม

(พ.ศ. 2494) ได้ มีรายละเอียดดังนี้

1) กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง นําเรื่องดังกล่าวเสนอเข้าครม. และ ครม. เห็นชอบใน

หลักการดังกล่าว และให้กลับไปจัดทําร่างพระราชบัญญัติฯ นําเสนอเข้าสภาอีกครั้ง

2) กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง นําเรื่องดังกล่าวเข้าสภาผู้แทนราษฎร และสภามีมติรับ

ร่างหลักการ (วาระ 1) ในร่างพระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิในบําเหน็จบํานาญข้าราชการ

พ.ศ. 2494 พ.ศ. ... พร้อมได้ตั้งกรรมาธิการ เพื่อพิจารณาร่างฯ ดังกล่าวในการแก้ไขกฎหมาย

ต่อไป

3) เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2556 รัฐบาลประกาศยุบสภา จึงทําให้เรื่องดังกล่าวต้องรอการ

พิจารณาจากรัฐบาลชุดใหม่อีกครั้ง โดยหากรัฐบาลชุดใหม่ไม่นําร่างดังกล่าวเข้ามาพิจารณา

ภายใน 60 วัน ร่างดังกล่าวจะถือว่าตกไป

1425 มิถุนายน 2557

1-9 คืออะไร

1 2 3 4 5 6

7 8

9

มติ ครม. กรณี “Undo”

25 มิถุนายน 2557 15

ครม. มีมติใหแกกฎหมาย กบข. เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2556

สรุปมติ ครม. 1. ให้สมาชิก กบข. ที่เป็นสมาชิกกองทุนก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540 สามารถเลือกกลับใช้สิทธิ์รับ

บํานาญ (Undo)ตาม พรบ.บําเหน็จบํานาญข้าราชการ พ.ศ. 2494

2. จัดสรรเงินงบประมาณเข้าบัญชีเงินสํารองที่ กบข.เพิ่มขึ้น เพื่อรองรับการจ่ายบําเหน็จบํานาญใน

อนาคต

3. ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสําหรับเงินสะสม และผลประโยชน์ที่คืนสมาชิก

4. ให้มีการรับข้าราชการที่ไม่ได้สมัครเป็นสมาชิกเมื่อปี 2540 (Redo)

ผู้มีสิทธิเลือกกลับใช้บํานาญสูตรเดิมข้าราชการที่เป็นสมาชิกกองทุนก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540 ทุกคน ทั้งที่เป็น

1. ข้าราชการปัจจุบัน

2. ข้าราชการบํานาญ

“Undo” แลวจะเปนอยางไร

25 มิถุนายน 2557 16

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อสมาชิก Undo 1. เมื่อเกษียณและเลือกรับบํานาญ ก็ได้รับบํานาญสูตร 2494 คํานวณ ด้วยสูตร

เงินเดือนๆ สุดท้าย x อายุราชการ

50

ต้องไม่เกิน 100% ของเงินเดือนสุดท้าย

2. สมาชิก ไม่ต้องส่งเงินสะสม 3% เข้า กบข. ตามกฎหมาย ท่านที่มีออมเพิ่ม ก็ไม่ต้องออมเพิ่ม

3. กบข. จะจ่ายเงินสะสมของท่าน [สะสมตามกฎหมาย 3% และสะสมเพิ่ม (ถ้ามี)] ที่สะสมมาก่อน

หน้านี้พร้อมผลประโยชน์ที่ กบข. บริหารให้ท่านในลักษณะ “มาก่อน ได้ก่อน” (FIFO)

4. รัฐ ไม่ส่ง เงินสมทบ เงินชดเชย ให้ท่านอีกต่อไป

5. เงินในบัญชีท่านที่เป็นเงินรัฐ 3 ก้อน คือเงินประเดิม เงินสมทบ เงินชดเชยและผลประโยชน์

จะยังถูกนําไปบริหารต่อใน กบข. แต่เปลี่ยนสถานะเป็นเงินสํารองของรัฐบาล

สมาชิกสามารถใชสิทธิ Undo ไดตั้งแตวันทีก่ฎหมายมีผลบังคับ – 30 กันยายน 2557

“Undo” สาหรบขาราชการบํานาญ

25 มิถุนายน 2557 17

ประเด็นพึงทราบ1. ได้รับบํานาญสูตร 2494 ย้อนหลัง นับจากวันที่ออกจากราชการถึงวันที่

30 กันยายน 2557

2. ไม่ต้องคืน “เงินสะสม สะสมเพิ่ม (ถ้ามี)” พร้อมผลประโยชน์ที่รับจาก

กบข. ไปแล้ว

3.ต้องคืน “เงินประเดิม เงินชดเชย และเงินสมทบ” [เพราะเงินเหล่านี้คือเงิน

ชดเชยบํานาญที่ลดลง กรณีกลับไปรับบํานาญสูตร 2494 ถือว่าบํานาญไมไ่ด้ลดลง

จึงต้องนํามาคืน] โดยวิธี “หักกลบลบกัน” กับ “ส่วนต่างบํานาญสูตร

2494 และบํานาญสูตรสมาชิก กบข.”

เมื่อหักกลบลบกันแล้ว เป็นไปได้ 2 กรณี

1. ถ้ามีส่วนต่างสมาชิกต้องคืน ต้องคืนรัฐภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2557

2. ถ้ามีส่วนต่างรัฐต้องคืน รัฐจะคืนให้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงการคลังกําหนด

ออมเพิ่มกับ กบข. คืออะไร

ออมเพิ่ม คือ บริการที่เปิดโอกาส

ใ ห้สมา ชิกสามารถแ จ้ งความ

ประสงค์ออมเ งินกับ กบข . ไ ด้

มากกว่าอัตราการออมปกติ 3% ของเงินเดือนสมาชิก

1925 มิถุนายน 2557

ออมเพิ่ม

ออมเพิ่มกับ กบข. ดีอย่างไร

ข้อดีของการออมเพิ่มกับ กบข.

ผลประโยชน์จากการลงทนุ เช่นเดียวกับเงินออมอื่นๆ ของสมาชิก กบข. สมาชิกจะได้ผลตอบแทนจากการลงทนุตามผลตอบแทนในปีนั้นๆ ทั้งนี้ การคํานวณผลประโยชน์จะเริ่มตั้งแต่วันแรกที่หน่วยงานนําส่งเงินออมเพิม่เข้ามายัง กบข.

สิทธิประโยชน์ทางภาษี ได้รับยกเว้นภาษีในสว่นของเงินสะสมที่นําสง่เข้ามายังกองทุน ได้ไม่เกิน 500,000 บาท เมื่อรวมกับกองทุนเพื่อการเลีย้งชีพ (RMF) ในปีภาษีนั้น

สร้างวินัยในการออม ช่วยสร้างวินัยการออมให้สมาชิก กบข. โดยหักผ่านบัญชี ทําให้สมาชิกมีเงินเก็บออมแน่นอน

ออมเพิ่มกับ กบข. มีหลักเกณฑ์การใช้บริการอย่างไร

หลักเกณฑ์การใช้บริการออมเพิ่มกับ กบข.

สมาชิกส่งเงินออมเพิ่มได้ในอัตรา 1 - 12% (ไม่รวมกับสะสมปกติ) โดยรัฐยังคงส่งเงนิสมทบในอัตรา 3% และเงินชดเชย 2% ของเงินเดือนสมาชิกเช่นเดิม

สมาชิกแจ้งเปลี่ยนอัตราการส่งเงินออมส่วนเพิ่มได้ ปีละ 1 ครั้ง

เงินที่ออมเพิ่มสามารถนําไป ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 500,000 บาท

สมาชิกจะได้รับเงินออมเพิ่ม พร้อมผลประโยชน์คืนเมื่อพ้นสมาชิกภาพ

ส่วนราชการต้นสังกัดเป็นผู้เก็บรักษาแบบแจ้งความประสงค์ในการส่งเงินออมส่วนเพิ่มไว้เป็นหลักฐาน โดยไม่ต้องนําส่งให้ กบข.

สนใจออมเพิ่มกับ กบข. แจ้งที่ไหน

ช่องทางแจ้งใช้บริการออมเพิ่ม

หน่วยงานต้นสังกัด

GPF Web Service

2325 มิถุนายน 2557

เปลี่ยนแผนการลงทุน

25/06/57 24

ปัจจุบนัอยูแ่ผนลงทุนอะไร

แผนหลัก

25/06/57 25

แผนหลัก

“ดอกผลพอเพียง บนความเสี่ยงพอเหมาะ”

ลักษณะแผน

- ลงทุนในสินทรัพย์มั่นคงสงูไม่ต่ํากว่า 60%-ผลตอบแทนชนะเงินเฟอ้ในระยะยาวภายใต้กรอบความเสี่ยงที่พอเหมาะ

สําหรับกลุ่มสมาชิก

- รับความเสี่ยงระดับปานกลาง- คาดหวังผลตอบแทนในระยะยาวที่สงูกว่าอัตราเงินเฟ้อ

25/06/57 26

มูลค่าต่อหน่วย (NAV) ตั้งแต่เริ่มตั้งกองทุน - 2556

แผนหลัก

6.8572

19.2927

6.8572

25/06/57 27

ทําไมควรเปลี่ยนแผน

ความเสี่ยง

ความเสี่ยง

อายุ

25/06/57 28

ทางเลือกแผนการลงทุนกับ กบข. คืออะไร

แผนทางเลือกการลงทุนกับ กบข. คือ

แผนบริหารเงินออมของสมาชิกเพิ่มเติมจากแผน

หลัก โดยสมาชิกทุกคนสามารถแจ้งความ

ประสงค์ให้ กบข. นํา เงินสะสม เงินสะสมส่วน

เพิ่ม(ออมเพิ่ม) และเงินสมทบ พร้อม

ผลประโยชน์ของเงินดังกล่าว ไปบริหารตาม

แผนการลงทุนที่สมาชิกเลือกได้

25/06/57 29

แผนทางเลือกแผนการลงทุนกับ กบข.

1 2 3 4

มี 4 แผน ได้แก่

แผนผสมหุ้นทวี

“ต้องการเงินงอกเงย

รับความผันผวนได้”

แผนตราสารหนี้

“โอกาสสร้าง

ผลตอบแทนเล็กน้อย”

แผนตลาดเงิน

“เน้นคุ้มครอง

เงินต้น”

แผนสมดุลตามอายุ

“อายุน้อยเสี่ยงมาก

อายุมากเสี่ยงน้อย”

25/06/57 30

แผนผสมหุ้นทวี

แผนผสมหุ้นทวี

“ต้องการเงินงอกเงย รับความผันผวนได้”

25/06/57 31

แผนผสมหุ้นทวี

1. แผนผสมหุ้นทวี

“เสี่ยงสูงขึ้น เพื่อลุ้นผลตอบแทนด้วยตราสารทุน”

ลักษณะแผน

- ลงทุนในหุ้นมากกว่าแผนหลัก- มีโอกาสให้ผลตอบแทนสูงในระยะยาว - มีความผันผวนของราคาในระยะสั้น

สําหรับกลุ่มสมาชิก

- อายุยังน้อย มีเวลาในการลงทุนอีกยาว - เข้าใจการลงทุน - ยอมรับความเสี่ยงได้ดี

25/06/57 32

แผนตราสารหนี้

แผนตราสารหนี้

“เสี่ยงน้อยๆ ค่อยๆ ออม”

25/06/57 33

แผนตราสารหนี้

2. แผนตราสารหนี้

“เสี่ยงน้อย ๆ ค่อย ๆ ออม”

ลักษณะแผน

- ลงทุนในตราสารหนี้ระยะยาว และระยะสัน้เท่านั้น ไม่ลงทุนในหุ้น - มีความเสีย่งคอ่นข้างต่ํา - ให้ผลตอบแทนน้อยกว่าแผนหลกั

สําหรับกลุ่มสมาชิก

- รับความเสี่ยงได้น้อย - คาดหวงัผลตอบแทนในระยะยาวทีส่งูกว่าดอกเบี้ยเงินฝาก

25/06/57 34

แผนตลาดเงิน

แผนตลาดเงิน

“ดอกผลเรื่องรอง คุ้มครองเงินต้น”

25/06/57 35

แผนตลาดเงิน

35

3. แผนตลาดเงิน

“ดอกผลเรื่องรอง คุ้มครองเงินต้น”

ลักษณะแผน

- ลงทุนในตราสารหนี้ระยะสัน้เทา่นั้น ไม่ลงทุนในหุ้น - มุ่งเน้นรักษาความปลอดภัยของเงินต้น- มีความเสี่ยงต่ําที่สุด - ผลตอบแทนก็น้อยกว่าทกุแผน - มีโอกาสที่ผลตอบแทนจะต่ํากว่าอัตราเงินเฟ้อ- ให้ผลตอบแทนน้อยกว่าแผนหลัก

สําหรับกลุ่มสมาชิก

- ใกล้เกษยีณอายุราชการ - ต้องการรักษาเงินออมที่มีอยู่ไม่ให้ลดต่ําลง

25/06/57 36

สิ่งที่ควรทําก่อนเลือกแผนการลงทุน

ทําแบบประเมินการยอมรับความเสี่ยง

ติดตามข้อมูลการลงทุนอย่างต่อเนื่อง

25/06/57 37

สิ่งที่ควรทําก่อนเลือกแผนการลงทุน

1. ทําแบบประเมินการยอมรับความเสี่ยง ที่ www.gpf.or.th

25/06/57 38

สิ่งที่ควรทําก่อนเลือกแผนการลงทุน

2. ติดตามข้อมูลการลงทนุอย่างต่อเนื่อง

25/06/57 39

แผนสมดุลตามอายุ

แผนสมดุลตามอายุ

“อายุน้อยเสี่ยงมาก อายุมากเสี่ยงน้อย”

25/06/57 40

แผนสมดุลตามอายุ

แผนการลงทุนแบบเดิม แผนสมดุลตามอายุ

ตลาดเงินตราสารหนี้แผนหลักผสมหุ้นทวี

25/06/57 41

แผนสมดุลตามอายุ4. แผนสมดุลตามอายุ

“อายุน้อยเสี่ยงมาก อายุมากเสี่ยงน้อย”

ลักษณะแผน

- ปรับความเสี่ยงของแผนใหส้มาชิกอัตโนมัติ - เลือกเปลี่ยนแผนนี้เพียงครั้งเดียว- จัดการรองรับสมาชิกที่เกษียณอายแุตกต่างกันได้ทุกลักษณะ- สร้างผลตอบแทนที่ดีในระยะยาว

สําหรับกลุ่มสมาชิก

- ไม่มีเวลาติดตามข้อมูลการลงทุน - ไม่แน่ใจว่าจะเปลีย่นแผนการลงทุนได้ตามภาวะเศรษฐกิจ

25/06/57 42

เปลี่ยนแผนการลงทุนมีหลักเกณฑ์การใช้บริการอย่างไร

หลักเกณฑ์การเปลี่ยนแผนการลงทุน

หากไม่ประสงค์เปลี่ยนแผนการลงทุน กบข. จะดูแลเงินของ

สมาชิกในแผนหลัก

ประเภทเงินออมที่สามารถเปลี่ยนแผนการลงทุนได้คือ เงินสะสม

เงินสมทบ เงินออมเพิ่ม(ถ้ามี)

เลือกได้ครั้งละ 1 แผน เท่านั้น

สามารถเปลี่ยนแผนได้ปีละ 2 ครั้งในรอบปีปฏิทิน (เดือนใดก็ได้)

เมื่อ กบข. ได้รับเอกสารและตรวจสอบแล้ว จะดําเนินการเปลี่ยน

แผนให้ในวันที่ 25 ของเดือนถัดไป

25 มิถุนายน 2557 43

สนใจเปลี่ยนแผนการลงทุนกับ กบข. แจ้งที่ไหน

ช่องทางแจ้งใช้บริการเปลี่ยนแผน

การลงทุน

ผ่านทางไปรษณีย์ มายัง กบข. โดยตรง

GPF Web Service

เกษียณแบบไหน ที่ท่านอยากเป็น

4425 มิถุนายน 2557

วันนี้ท่านใช้จ่ายเดือนละเท่าไร

4525 มิถุนายน 2557

ท่านเคยซื้อหนังสือพิมพ์อ่านฉบับละกี่บาท ?

4625 มิถุนายน 2557

พ.ศ. ราคา

ราคา นสพ. ไทยรัฐ ตั้งแต่ พ.ศ. 2505 - ปัจจุบัน

2505

2516

2522

2523

2531

2539

2557

1 บาท

1.50 บาท

2 บาท

3 บาท

5 บาท

8 บาท

10 บาท

แล้วตอนเกษียณ ต้องมีเงินเท่าไร ?

ที่มา : เว็บไซต์ กบข. www.gpf.or.th4725 มิถุนายน 2557

เงินเฟ้อ ภัยเงียบที่น่ากลัว

4825 มิถุนายน 2557

เงินเฟ้อปีละ 3%

ปี 2557 ปี 2577

45 บาท 81 บาท

15,000 บาท 31,407 บาท

ผลตอบแทนแบบไหน ที่จะสู้เงินเฟ้อได้

4925 มิถุนายน 2557

-80.00%-60.00%-40.00%-20.00%

0.00%20.00%40.00%60.00%80.00%

100.00%120.00%140.00%

2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556

ผลตอบแทน

น้ํามัน ทองคํา หุ้นไทย พันธบัตรไทย เงินฝาก หุ้นโลก

ภาพรวมเงินออม

5025 มิถุนายน 2557

หน่วยงาน

เงินชดเชย + สมทบ + สะสม

นําส่งเงินเข้ากองทุนแต่ละเดือน

ส่งเงิน

สะสม

คืนเงินกลับเข้าบัญชี

หน่วยลงทุนและมูลค่าต่อหน่วย

กบข.

สมาชิก กบข.

เข้าใจ NAV กับสิ่งใกล้ตัว

25 มิถุนายน 2557 51

จํานวนหน่วยลงทุน

มูลค่าต่อหน่วย

ทองคํา

ราคาทองคํา

5225 มิถุนายน 2557

เป็นสมาชิกแลว้

ใช้บริการใดได้บ้าง

วางเงินออมให้ถูกที่ ด้วยบริการแผนทางเลือกการลงทุน

5325 มิถุนายน 2557

แผนผสมหุ้นทวี

แผนตราสารหนี้แผนตลาดเงิน

แผนหลัก

new

ทําไมต้องเปลี่ยนแผนทางเลือกการลงทุน

5425 มิถุนายน 2557

หากต้องการความสะดวก และไม่มีเวลา

ในการศึกษาข้อมูลเมื่อต้องการเปลี่ยนแผน

ในแต่ละช่วงวัย “แผนสมดุลตามอายุ”

คือทางออก

อายุน้อยเสี่ยงมาก อายุมากเสี่ยงน้อย

แผนลงทุนเดียวไปตลอด

DO

ความเสี่ยง

อายุ

DON’T

วางเงินออมให้ถูกที่ ด้วยบริการแผนทางเลือกการลงทุน

5525 มิถุนายน 2557

VDO แผนทางเลือกการลงทุน

ข้อควรรู้ของแผนทางเลือกการลงทุน

5625 มิถุนายน 2557

เงื่อนไขการเปลี่ยนแผนการลงทุน

• เงินออมที่สามารถเปลี่ยนแผนการลงทุนได้คือ เงินสะสม เงินสมทบ เงินออมเพิ่ม (ถ้ามี)

ทั้งเงินต้นและผลประโยชน์

• เลือกได้ครั้งละ 1 แผน เท่านั้น

• เปลี่ยนแผนได้ปีละ 2 ครั้งในรอบปีปฏิทิน (เดือนใดก็ได้)

• เมื่อ กบข. ได้รับเอกสารและตรวจสอบแล้ว จะดําเนินการเปลี่ยนแผนให้ในวันที่ 25

ของเดือนถัดไป

ช่องทางการเปลี่ยนแผนการลงทุน

• ผ่านทางไปรษณีย์ มายัง กบข. โดยตรง

• ผ่าน GPF Web Service

ออมให้ไว ออมให้นาน

5725 มิถุนายน 2557

ออมเพิ่ม

ถ้าไม่ออมวันนี้....อนาคตทําอย่างไร

5825 มิถุนายน 2557

เป้าหมาย : 4,000,000 บาท

3 ปัจจัย เร่งเงินออม คือ เงินต้น เวลา และผลตอบแทน ยิ่งมากยิ่งดี !!!!!

เงินเดือน : 15,000 บาท

ข้อควรรู้ของออมเพิ่ม

5925 มิถุนายน 2557

เงื่อนไขการออมเพิ่ม

• ออมเพิ่มได้ในอัตรา 1-12% (ไม่รวมกับสะสมปกติ)

• เปลี่ยนได้ ปีละ 1 ครั้ง

• ออมเพิ่ม รัฐไม่ได้สมทบเพิ่ม

• จะได้รับคืนเมื่อพ้นสมาชิกภาพ

• เงินที่ออมเพิ่มนําไป ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 500,000 บาท

ช่องทางการออมเพิ่ม

• ผ่านหน่วยงานต้นสังกัด

• ผ่าน GPF Web Service

6025 มิถุนายน 2557

สวัสดิการ

สวัสดิการ

6125 มิถุนายน 2557

www.gpf.or.th

ลดรายจ่าย

เพิ่มรายได้

สร้างความสุข

ภาพรวมช่องทางการใช้บริการ

6225 มิถุนายน 2557

หน่วยงาน

ออมเพิ่ม

กบข.

สมาชิก กบข.

ออมเพิ่ม/เปลี่ยนแผนการลงทุน

สวัสดิการ พันธมิตรสวัสดิการ

6325 มิถุนายน 2557

เกษียณแล้วทําไงต่อ

6425 มิถุนายน 2557

สิทธิการรับเงินคืน

สิทธิรับบําเหน็จหรือรับบํานาญจากกรมบัญชีกลาง

25 มิถุนายน 2557 65

เหตุออกจากราชการเวลาราชการ

(เวลารวมวันทวีคูณ) สิทธิรับบําเหน็จบํานาญ

ลาออก/ให้ออก/ปลดออก

ไม่ถึง 10 ปี

10 ปีขึ้นไป แต่ไม่ถึง 25 ปี

25 ปีขึ้นไป

ไม่มี

บําเหน็จเท่านั้น

บําเหน็จ/บํานาญ

เกษียณ/สูงอายุ/ทุพพลภาพ/ทดแทน

ไม่ถึง 1 ปี

1 ปีขึ้นไป แต่ไม่ถึง 10 ปี

10 ปีขึ้นไป

ไม่มี

บําเหน็จเท่านั้น

บําเหน็จ/บํานาญ

เสียชีวิต (ปกติ)ไม่ถึง 1 ปี

1 ปีขึ้นไป

ไม่มี

บําเหน็จตกทอดเท่านั้น

สิทธิรับเงินจาก กบข.

6625 มิถุนายน 2557

2.

1.

“บําเหน็จ”

หรือ

“บํานาญ”

ได้รับกลับคืนทุกกรณีเฉพาะผู้รับ

บํานาญเท่านั้น

ได้ยอดเงินเท่าไร

6725 มิถุนายน 2557

ยอดเงินที่ได้รับ = จํานวนหน่วยลงทุน x NAV (ณ วันที่ กบข. ได้รับเอกสารถูกต้องครบถ้วนและการตรวจสอบยอดเงินถูกต้อง)

ใครจะเป็นคนได้เงินจาก กบข.

25 มิถุนายน 2557 68

1. กรณีสมาชิกมีชีวิตอยู่

2. กรณีสมาชิกเสียชีวิต

สมาชิกเท่านั้น

ทายาท

ช่องทางการรับเงินคืน

6925 มิถุนายน 2557

1. เช็ค

2. ธนาณัติ

3. โอนเข้าบัญชีrecommend

สิทธิประโยชน์ทางภาษี

7025 มิถุนายน 2557

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในส่วนของเงินได้ทีร่ับจาก กบข.

ในปีภาษีที่ได้รับเงินดังกล่าว ในกรณีสิ้นสุดสมาชิกภาพด้วยเหตุเกษียณ

สูงอายุ ทดแทน ทุพพลภาพ เสียชีวิต หรือลาออกจากราชการ

ตามโครงการที่จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี หากเป็นเหตุอื่นๆ

ได้รับการยกเว้นเฉพาะเงินต้นของเงินสะสม เท่านั้น

ยกเว้น

7125 มิถุนายน 2557

ออมต่อ

หยุดทํางาน..อย่าหยุดทําเงิน

7225 มิถุนายน 2557

เงินเฟ้อลดค่าเงินออมไปทุกปี

20 ปี

เงินบําเหน็จ/บํานาญ

จากกรมบัญชีกลาง เงินก้อนจาก กบข.

ผลประโยชน์ = ?เงินต้น = ?

ทําอย่างไรให้เงินมีถึงวันสุดท้าย?

ออมต่อ

7325 มิถุนายน 2557

“ออมต่อ” คือ บริการบริหารเงินสมาชิกโดยการนําไปลงทุนต่อเนื่องในแผน

สุดท้ายก่อนพ้นสมาชิกภาพ

รูปแบบที่ 1:ออมตอเต็มจํานวน

รูปแบบที่ 2:รับกอนสวนหนึ่ง ที่เหลือออมตอ

รูปแบบที่ 3:ขอรับเปนงวดๆ ที่เหลือออมตอ

รูปแบบที่ 4:รับกอนสวนหนึ่ง ที่เหลือรับเปน

งวดๆ

ข้อควรรู้ของออมต่อ

7425 มิถุนายน 2557

เงื่อนไขการออมต่อ

• ต้องมีเงินในบัญชีไม่ต่ํากว่า 35,000 บาท ณ วันที่ยื่นคําขอ

• การขอทยอยรับเงิน รับเป็นงวดๆ ละเท่าๆ กัน ไม่ต่ํากว่า 3,000 (งวด 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือนหรือ 1 ปีก็ได้)

• โอนเงินเข้าบัญชีธนาคารเท่านั้น ในวันทําการสุดท้ายของเดือนและจะหักค่าธรรมเนียมการโอนจากสมาชิก

• เปลี่ยนแปลงการขอรับเงินคืนได้ปีละ 2 ครั้ง ตามปีปฏิทิน โดยใช้ แบบ กบข.บต.002/1/2555

• กรณีสมาชิกเสียชีวิต กบข. จะจ่ายเงินคืนแก่ผู้จัดการมรดกเท่านั้น

• เงินที่ให้ กบข. บริหารต่อจะนําไปลงทุนในแผนการลงทุนที่เลือกไว้ก่อนออกจากราชการ

• ผลประโยชน์ที่จะได้รับจากการบริหารต่อสามารถผันแปรไปตามผลการดําเนินงานของ กบข. และสภาวะเศรษฐกิจ

ช่องทางการออมต่อ

• ผ่านหน่วยงานต้นสังกัด

• ผ่าน GPF Web Service เฉพาะเมื่อต้องการเปลี่ยนรูปแบบออมต่อ

ภาพรวมช่องทางการขอรับเงินคืน

7525 มิถุนายน 2557

เอกสารตามที่ กบข. กําหนด

แจ้งความประสงค์/ออมต่อ

กบข.

สมาชิก กบข.

จ่ายเงินคืนตามรูปแบบที่แจ้ง

เปลี่ยนรูปแบบออมต่อ

หน่วยงาน

ความประสงค์/บริหารออมต่อ

7625 มิถุนายน 2557

GPF Web Service

7725 มิถุนายน 2557

แจ้ง กบข. ด้วยตนเองสะดวก รวดเร็ว

บริการ GPF Web Service

7825 มิถุนายน 2557

เมื่อสมาชิกเขา้มาที่หน้าเว็บ GPF Web Service ให้ใส่รหัสประจําตัว (รหัสประจําตัวประชาชน

13 หลัก) และรหัสผ่านที่ได้รับจาก กบข. หากไม่ทราบ หรือลืมรหัสผ่าน คลิกที่ปุ่ม “ลืมรหัสผ่าน”

เพื่อทําการขอรหัสผ่านใหม่ด้วยตนเอง

คลิกที่ปุ่ม เพื่อขอกําหนด

รหัสผ่านใหม่ด้วยตนเอง

บริการ GPF Web Service

7925 มิถุนายน 2557

ให้สมาชิกกรอกรหัสประจําตัวประชาชนของสมาชิก ดังรูป

กรอกรหัสประจําตัวประชาชน

บริการ GPF Web Service

8025 มิถุนายน 2557

กรณี จําข้อมูล E-mail ที่ให้ไว้กับทาง กบข. ได้ ขอกําหนดรหัสผ่านใหม่ผ่านทาง E-mail

เลือกหัวข้อ E-mail

บริการ GPF Web Service

8125 มิถุนายน 2557

กําหนดรหัสผ่านใหม่ เมื่อทําขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งสําเร็จ

บริการ GPF Web Service

กรณีที่สมาชิกยังไม่เคยยืนยันข้อมูล ระบบจะขึ้นข้อความเพื่อให้สมาชิกตรวจสอบ และยืนยันข้อมูล

ก่อนทํารายการ

แก้ไขข้อมูลส่วนบุคคล

เปลี่ยนแผนการลงทุนเปลี่ยนแผนการลงทุน

ออมเพิ่ม

ช่องทางการติดต่อ กบข.

8325 มิถุนายน 2557

Call center 1179 กด 6www.gpf.or.th

E-mail: member@gpf.or.th

top related