6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล

Post on 15-Aug-2015

24 Views

Category:

Education

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

Business Research Method

100-009

วิธีการวิจัยทางธุรกิจ

[อ.นิธินพ ทองวาสนาสง]

เครื่องมือที่ใชในการวจิัยทางธุรกิจ

หัวขอสําคัญในบท

2

• ความหมายของเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

• เกณฑการแบงขอมูล

• ลักษณะของเครื่องมือการวิจัยท่ีด ี

• ประเภทของเครื่องมือวัด

• ขั้นตอนการสรางแบบสอบถาม

• ปญหาการวิจัย

• หลักการสรางขอคําถาม

• สิ่งท่ีใชวัดตัวแปร หรือเพื่อใหไดผลการวัด คือขอมูล

• สิ่งใดก็ตามท่ีทําใหไดขอมูลตามตัวแปรท่ีกําหนด

Ex. - ขอคําถามกระตุนใหแสดงความคิดเห็น

- การใชภาษาพูดในการสัมภาษณ สอบถาม

- การทดสอบ

เพื่อใหผูตอบใหขอมูลตามความจริง

ความหมายของเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

3

• แบงตามวิธีการเก็บ > ปฐมภูมิ & ทุติยภูมิ

• แบงตามคุณสมบัติ > ปรนัย & อัตนัย

• แบงตามคาการวัด > เชิงปริมาณ & เชิงคุณภาพ

เกณฑการแบงขอมูล

4

A. ความเท่ียงตรง ถูกตอง (Validity)

B. ความเชื่อถือได ความสม่ําเสมอ คงท่ี (Reliability)

C. ความสะดวกในการปฏิบัติ (Practicality)

ถามีครบท้ังสามประการนี้ถือวาเครื่องมือมีประสิทธิภาพ

ลักษณะของเครื่องมือการวิจัยท่ีดี

5

A. ความเที่ยงตรง ถูกตอง (Validity)

ความหมาย – การท่ีวิธีการท่ีใชวัดสามารถวัดคาของลักษณะหรือคุณสมบัติ

ของสิ่งท่ีตองการวัดไดตรงตามท่ีตองการมากท่ีสุด

– สามารถชี้ใหเห็นความแตกตางท่ีแทจริงท่ีเกิดขึ้นระหวางกลุม

ผูใหขอมูล

ลักษณะของเครื่องมือการวิจัยท่ีดี

6

A. ความเที่ยงตรง ถูกตอง (Validity)

ประเภทของความเที่ยงตรง ถูกตอง 1. ความเท่ียงตรงตามเนื้อหา (Content Validity)

2. ความเท่ียงตรงตามโครงสราง (Construct Validity)

3. ความเท่ียงตรงเชิงพยากรณ (Predictive Validity)

4. ความเท่ียงตรงตามสภาพ (Concurrent Validity)

ลักษณะของเครื่องมือการวิจัยท่ีดี

7

A. ความเที่ยงตรง ถูกตอง (Validity)

ประเภทของความเที่ยงตรง ถูกตอง 1. ความเที่ยงตรงตามเน้ือหา (Content Validity) • ความสามารถของเครื่องมือวัดที่จะใหคาครอบคลุมขอบเขตของหัวขอที่ศึกษา

• แบบสอบถามตองประกอบดวยหัวขอที่เปนตัวแทนที่เหมาะสมของประชากรทั้งหมด

ลักษณะของเครื่องมือการวิจัยท่ีดี

8

A. ความเที่ยงตรง ถูกตอง (Validity)

ประเภทของความเที่ยงตรง ถูกตอง 1. ความเที่ยงตรงตามเน้ือหา (Content Validity)

การสรางแบบสอบถามใหมีความเที่ยงตรงตามเน้ือหา

• หาคํานิยาม / ความหมายที่ชัดเจนของหัวขอ

• สรางคําถามที่จะนํามาเปล่ียนเปนมาตราวัด

• เลือกมาตราวัด

ลักษณะของเครื่องมือการวิจัยท่ีดี

9

A. ความเที่ยงตรง ถูกตอง (Validity)

ประเภทของความเที่ยงตรง ถูกตอง 2. ความเท่ียงตรงตามโครงสราง (Construct Validity)

การวัดหรือศึกษาถึงการเกิดลักษณะที่จับตองไมได เชน การวัด

ความรูสึก ขอคิดเห็นสวนบุคคล ตองหาแนวทางเพ่ือใหเกิดความ

เที่ยงตรง / ใกลเคียงกับความรูสึกของผูใหขอมูล

ลักษณะของเครื่องมือการวิจัยท่ีดี

10

A. ความเที่ยงตรง ถูกตอง (Validity)

ประเภทของความเที่ยงตรง ถูกตอง 3. ความเท่ียงตรงเชิงพยากรณ (Predictive Validity) • สามารถนําผลท่ีไดไปใชทํานายหรือพยากรณ เหตุการณในอนาคตไดถูกตองมากท่ีสุด Ex: การสํารวจคะแนนนิยมตอผูสมัครในการเลือกต้ังผูวาฯ กทม. โดยการสอบถามสอบถามจากบุคคลผูมี

สิทธิเลือกต้ังกอนถึงเวลาเลือกต้ังจริง หากสามารถพยากรณคะแนนนิยมตอผูสมัครแตละคนใน

อนาคตไดอยางถูกตอง แสดงวาเคร่ืองมือมี Predictive Validity

ลักษณะของเครื่องมือการวิจัยท่ีดี

11

A. ความเที่ยงตรง ถูกตอง (Validity)

ประเภทของความเที่ยงตรง ถูกตอง 4. ความเท่ียงตรงตามสภาพ (Concurrent Validity)

• สามารถสรุปผลไดตรงกับความเปนจริงในปจจุบัน Ex: การสังเกตคาใชจายของแตละครอบครัวเปนกลุมตัวอยาง ทําใหนักวิจัยสามารถจัดกลุมครอบครัวตาม

กลุมรายไดในปจจุบันไดอยางถูกตอง

ลักษณะของเครื่องมือการวิจัยท่ีดี

12

• ความหมาย

– ผลที่ไดจากการวัดมีความสม่ําเสมอ คงที่ ไมวาจะวัดกี่ครั้งก็ตาม ผลที่ได

จะตรงกัน

– ความสม่ําเสมอ / คงที่ในคําตอบ

(ทดสอบเคร่ืองมือกอน)

B.ความเช่ือถือได ความสม่ําเสมอคงที่ (Reliability)

ลักษณะของเครื่องมือการวิจัยท่ีดี

13

• การประหยัด : การวัดคาขอมูลไมสิ้นเปลืองงบประมาณท้ังเงิน เวลา และกําลังคน

• ความสะดวก : งายตอการจัดการท่ีจะใหไดขอมูลมา

• การตีความไดงาย : เครื่องมือวัดควรใหคาท่ีแปลความหายไดงาย สามารถบอกถึง

ความแตกตางของคาท่ีไดระหวางกลุม

C. ความสะดวกในการปฏิบัติ (Practicality)

ลักษณะของเครื่องมือการวิจัยท่ีดี

14

1. แบบทดสอบ (Test)

2. การสัมภาษณ (Interview)

3. การสังเกต (Observation)

4. แบบสอบถาม (Questionnaire)

ประเภทของเครื่องมือวัด

15

1. แบบทดสอบ (Test) เปนเคร่ืองมือที่ใชวัดพฤติกรรมประเภทความรู ระบุไดวาคําตอบนั้นผิดหรือถูก แบงเปน

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู

แบบทดสอบวัดความถนัด

แบบวัดบุคลิกภาพ

ประเภทของเครื่องมือวัด

16

2. การสัมภาษณ (Interview) ประเภทของการสัมภาษณ

แบบมีโครงสราง (Structured Interview) : สัมภาษณทุกคนเหมือนกัน

แบบไมมีโครงสราง (Unstructured Interview) : ไมกําหนดขอคําถาม

ตายตัว มีความยืดหยุน

ประเภทของเครื่องมือวัด

17

3. การสังเกต (Observation) ประเภทของการสังเกต

แบบมีสวนรวม ( Participant Observation) : ผูสังเกตเขาไปเปนสวนหนึ่ง

ของเหตุการณ หรืออาจรวมกิจกรรมดวยกัน

แบบไมมีสวนรวม (Non-Participant Observation) : ผูสังเกตเปน

บุคคลภายนอก

ประเภทของเครื่องมือวัด

18

4. แบบสอบถาม (Questionnaire)

โครงสรางของแบบสอบถาม

- คําชี้แจง: ช้ีแจงเก่ียวกับวัตถุประสงคและการนําไปใชประโยชน

ของขอมูล วิธีการตอบ

- ขอคําถามเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม

- ขอคําถามเกี่ยวกับตัวแปรที่ศึกษา

ประเภทของเครื่องมือวัด

19

4. แบบสอบถาม (Questionnaire)

ลักษณะของขอคําถาม

ชนิดปลายเปด (Open-ended form Question) : ไมกําหนด

คําตอบไว เปดโอกาสใหตอบอิสระ

ชนิดปลายปด (Closed form Question) : มีคําตอบใหเลือก ซ่ึง

ผูวิจัยกําหนดขึ้น

ประเภทของเครื่องมือวัด

20

ตัวอยางแบบสอบถามปลายเปด • คุณมีอายุ ………..ป

• คุณมีรายได………………………………….บาท/เดอืน

ประเภทของเครื่องมือวัด

21

ตัวอยางแบบสอบถามปลายปด • คุณเคยคิดจะซื้อโทรศัพทมือถือจอสีหรือไม

.....เคย .....ไมเคย

• คุณชอบอานหนังสือพิมพฉบับใดมากที่สุด ( เลือกเพียงหนึ่งขอ )

.....ไทยรัฐ .....เดลินิวส .....กรุงเทพธุรกิจ

.....The Nation …..ฐานเศรษฐกิจ .....อื่นๆ

ประเภทของเครื่องมือวัด

22

• ศึกษาประเด็นหรือตัวแปรที่ตองการวัด

• กําหนดชนิดของขอคําถามใหเหมาะสมกับตัวแปร

• แบงตัวแปรที่ตองการวัดออกเปนตัวแปรยอยๆ

• สรางขอคําถามตามโครงสรางที่จําแนกตัวแปร

• จัดพิมพและตรวจสอบขอคําถาม

• แกไขปรับปรุงขอคําถาม

ขั้นตอนการสรางแบบสอบถาม

23

ขอมูลสวนบุคคล ความคิดเห็น ขอเสนอแนะ

- เพศ

- อายุ

- การศึกษา

- อาชีพ

- รายได

- ผลิตภัณฑ

- ราคา

- ชองทางจัดจําหนาย

- การสงเสริมการขาย

- ผลิตภัณฑ

- ราคา

- ชองทางจัดจําหนาย

- การสงเสริมการขาย

ปญหาการวิจัย

24

ขอมูลสวนบุคคล

• คําถามไมสั้นไมยาวจนเกินไป

• ภาษาท่ีใชเขาใจงาย เหมาะกับกลุมตัวอยาง

• หลีกเลี่ยงคําถามปฏิเสธ หากใชตองทําตัวเนน

• คําถาม 1 ขอ ถามเพียงเร่ืองเดียว

• ตัวเลือกในคําถามควรมีใหเหมาะสม

หลักการสรางขอคําถาม

25

Q&A อาจารย นิธินพ ทองวาสนาสง

E-mail: Nitinop.inova@gmail.com

Tel: 085-352-1050

top related