แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ...

37
การจัดทาแผนที่แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 หลักกำรและเหตุผล สถานบันการศึกษาเป็นแหล่งที่มีความสาคัญช่วยให้ผู้เข้าสู่ระบบการศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและแสวงหา ความรู้จากโลกและชีวิต สามารถทาประโยชน์ให้กับสังคมไปพร้อมๆ กัน คุณภาพของบัณฑิตขึ้นอยู่กับกระบวนการ หล่อหลอมของสถาบันที่ต้องทาหน้าที่ด้านการสอน การวิจัย การบริการวิชาการและชุมชนและการทานุ ศิลปวัฒนธรรม เพื่อให้ผู้ที่ศึกษาได้รับการพัฒนาจนเป็นบุคคลที่มีศักยภาพที่ออกไปประกอบอาชีพและดารงชีวิตใน สังคมได้อย่างมีความสุข (เบญจนาฎ ดวงจิโน และคณะ, 2547) การศึกษาทางภูมิศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการถ่ายทอดจากอาจารย์ องค์ความรู้ในศาสตร์ เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมธรรมชาติกับสังคมที่ปรากฏในพื้นที่ส่วนต่างๆ ของโลก สามารถ แบ่งเป็นหลายแขนงวิชา เช่น ภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์มนุษย์ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ภูมิศาสตร์การเมือง เป็นต้น จะเห็นได้ว่าเป็นวิชาที่มีเนื้อหากว้างขวางมากเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างโลกกับมนุษย์ สิ่งแวดล้อมกับมนุษย์ มีอิทธิพลต่อสภาพความเป็นอยู่ วิถีชีวิตและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี (ธงชัย ธนะสิงห์ , 2554) ทั้งหมดนีถือว่าเป็นการศึกษาทางภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นศาสตร์ที่อยู่ใกล้ตัวที่สามารถศึกษาสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ ได้แกลักษณะของภูมิประเทศภูมิอากาศและทรัพยากรธรรมชาติ บริเวณพื้นที่ ภูมิภาค ท้องถิ่น ยังเป็นการศึกษาระบบการ เปลี่ยนแปลงธรรมชาติ และเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นบนพื้นโลก โดยอาศัยเครื่องมือทางด้านแผนที่ ภาพถ่ายทาง อากาศ ภาพจากดาวเทียม และการผลิตแผนที่ด้วยคอมพิวเตอร์ จะเห็นได้ว่าเครื่องมือเหล่านี้เป็นประโยชน์มหาศาล ที่สามารถนามาใช้ในการวางแผนจัดการเมือง การบริหารทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดการแหล่ง ท่องเที่ยว ตามกระบวนการตามกรอบมาตรฐานของหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน การบริการวิชาการและบารุง ศิลปวัฒนธรรม ทาให้นิสิตเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองจากกิจกรรมด้านต่างๆ เช่น การแสวงหาความรู้จากแหล่งความรูอื่นๆ นอกห้องเรียน การร่วมกิจกรรมด้านต่างๆ ก่อให้เกิดองค์ความรู้ที่สามารถบูรณาการนาความรู้ทางภูมิศาสตร์ ร่วมกับการประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์ ในกลุ่มรายวิชาประเภท การอ่านแผนที่และการแปลภาพถ่าย ทางอากาศ ภูมิศาสตร์ท่องเที่ยวและนันทนาการ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบกาหนดตาแหน่งบนโลก เพื่อ สร้างเครื่องมือทางด้านแผนที่แสดงตาแหน่งทางศิลปวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม (หลักสูตรภูมิศาสตร์พัฒนาเพื่อ จัดการทรัพยากร, 2554) ด้วยเหตุนี้ภาควิชาภูมิศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาภูมิศาสตร์พัฒนาเพื่อการจัดการทรัพยากร ในฐานะหน่วยงานที่มีการผลิตบัณฑิตซึ่งมีการจัดการเรียนการสอน วิจัย การบริการวิชาการและบารุงศิลปวัฒนธรรม จึงจัดโครงการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ประจาปีการศึกษา 2557 เพื่อให้สอดคล้องกับการกาหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ และพันธกิจของมหาวิทยาลัยและคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทั้งนี้จึงเป็นการพยายามค้นคว้าหาคาตอบทีจะก่อให้เกิดการพัฒนางานบริการวิชาการและทานุศิลปวัฒนธรรมมีประสิทธิภาพ ทาให้สามารถตอบสนองความ

Upload: others

Post on 18-Feb-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จงัหวัดมหาสารคาม | 1

บทที่ 1 บทน ำ

1.1 หลักกำรและเหตุผล

สถานบันการศึกษาเป็นแหล่งที่มีความส าคัญช่วยให้ผู้เข้าสู่ระบบการศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและแสวงหา

ความรู้จากโลกและชีวิต สามารถท าประโยชน์ให้กับสังคมไปพร้อมๆ กัน คุณภาพของบัณฑิตขึ้นอยู่กับกระบวนการหล่อหลอมของสถาบันที่ต้องท าหน้าที่ด้านการสอน การวิจัย การบริการวิชาการและชุมชนและการท านุศิลปวัฒนธรรม เพ่ือให้ผู้ที่ศึกษาได้รับการพัฒนาจนเป็นบุคคลที่มีศักยภาพที่ออกไปประกอบอาชีพและด ารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข (เบญจนาฎ ดวงจิโน และคณะ, 2547) การศึกษาทางภูมิศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการถ่ายทอดจากอาจารย์ องค์ความรู้ในศาสตร์ เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมธรรมชาติกับสังคมที่ปรากฏในพ้ืนที่ส่วนต่างๆ ของโลก สามารถแบ่งเป็นหลายแขนงวิชา เช่น ภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์มนุษย์ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ภูมิศาสตร์การเมือง เป็นต้น จะเห็นได้ว่าเป็นวิชาที่มีเนื้อหากว้างขวางมากเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างโลกกับมนุษย์ สิ่งแวดล้อมกับมนุษย์ มีอิทธิพลต่อสภาพความเป็นอยู่ วิถีชีวิตและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี (ธงชัย ธนะสิงห์, 2554) ทั้งหมดนี้ถือว่าเป็นการศึกษาทางภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นศาสตร์ที่อยู่ใกล้ตัวที่สามารถศึกษาสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ ได้แก่ ลักษณะของภูมิประเทศภูมิอากาศและทรัพยากรธรรมชาติ บริเวณพ้ืนที่ ภูมิภาค ท้องถิ่น ยังเป็นการศึกษาระบบการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติ และเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นบนพ้ืนโลก โดยอาศัยเครื่องมือทางด้านแผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพจากดาวเทียม และการผลิตแผนที่ด้วยคอมพิวเตอร์ จะเห็นได้ว่าเครื่องมือเหล่านี้เป็นประโยชน์มหาศาล ที่สามารถน ามาใช้ในการวางแผนจัดการเมือง การบริหารทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดการแหล่งท่องเที่ยว

ตามกระบวนการตามกรอบมาตรฐานของหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน การบริการวิชาการและบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ท าให้นิสิตเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองจากกิจกรรมด้านต่างๆ เช่น การแสวงหาความรู้จากแหล่งความรู้อ่ืนๆ นอกห้องเรียน การร่วมกิจกรรมด้านต่างๆ ก่อให้เกิดองค์ความรู้ที่สามารถบูรณาการน าความรู้ทางภูมิศาสตร์ร่วมกับการประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์ ในกลุ่มรายวิชาประเภท การอ่านแผนที่และการแปลภาพถ่ายทางอากาศ ภูมิศาสตร์ท่องเที่ยวและนันทนาการ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบก าหนดต าแหน่งบนโลก เพ่ือสร้างเครื่องมือทางด้านแผนที่แสดงต าแหน่งทางศิลปวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม (หลักสูตรภูมิศาสตร์พัฒนาเพ่ือจัดการทรัพยากร, 2554)

ด้วยเหตุนี้ภาควิชาภูมิศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาภูมิศาสตร์พัฒนาเพ่ือการจัดการทรัพยากรในฐานะหน่วยงานที่มีการผลิตบัณฑิตซึ่งมีการจัดการเรียนการสอน วิจัย การบริการวิชาการและบ ารุงศิลปวัฒนธรรม จึงจัดโครงการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ประจ าปีการศึกษา 2557 เพ่ือให้สอดคล้องกับการก าหนดปรัชญา วิสัยทัศน์และพันธกิจของมหาวิทยาลัยและคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทั้งนี้จึงเป็นการพยายามค้นคว้าหาค าตอบที่จะก่อให้เกิดการพัฒนางานบริการวิชาการและท านุศิลปวัฒนธรรมมีประสิทธิภาพ ท าให้สามารถตอบสนองความ

Page 2: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จงัหวัดมหาสารคาม | 2

ต้องการได้อย่างแท้จริง ดังนั้นคณาจารย์ เจ้าหน้าที่และนิสิตได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัด ภายใต้โครงการศิลปวัฒนธรรม ท าให้เห็นเป็นรูปธรรมและตระหนักถึงความส าคัญของการท านุศิลปวัฒนธรรม 1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือให้มีความรู้ที่ตั้งของสถานที่ส าคัญแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น Geo-Life ภูมิศาสตร์ในวิถีจังหวัดมหาสารคาม 2. เพื่อเป็นฝึกฝนให้นิสิตได้น าความรู้และเทคโนโลยีภูมิศาสตร์มาใช้สร้างสื่อการเรียนทางภูมิศาสตร์ผ่านการท าแผนที่ทางศิลปวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม 3. เพื่อเป็นการเผยแพร่แผนที่แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น ภายใต้โครงการทางศิลปวัฒนธรรม Geo-Life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม 1.3 เป้ำหมำยและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การสร้างแผนที่ทางศิลปวัฒนธรรมจังหวัดมหาสารคาม ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดท าได้แก่ ผู้บริห ารอาจารย์ เจ้าหน้าที่ นิสิตที่เป็นคณะการท างานคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จ านวน 21 คน ส าหรับกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม คือ นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม หน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและศูนย์วัฒนธรรมจังหวัด เป็นต้น 1.4 ขอบเขตรูปแบบกิจกรรม 1.4.1 การวางแผนกรอบงานท างานร่วมกันระหว่างผู้รับผิดชอบและผู้ช่วยโครงการทั้งคณาจารย์และนิสิต มีรายละเอียดดังนี้

1) แต่งตั้งคณะกรรมการอ านวยการ คณะผู้ปฎิบัติการท างาน 2) จัดการแบ่งหน้าที่ภาระงานที่รับผิดชอบแต่ละส่วน

1.4.2 ประสานงานและท าหนังสือขอความอนุเคราะห์ข้อมูลตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ และท าการค้นคว้าแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีส าคัญจากหน่วยงานต่างๆ ที่เก่ียวข้อง

1.4.3 จัดการแบ่งกิจกรรมการท างานโดยคณะท างานของนิสิตสาขาภูมิศาสตร์พัฒนาเพื่อการจัดการ ทรัพยากร

1) ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นต าแหน่งที่ตั้ง ขอบเขตการปกครอง กับแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1:50,000 กับภาพถ่ายจากดาวเทียม Google Earth

2) วางแผนส ารวจเส้นทางส ารวจที่ตั้งแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น เพ่ือก าหนดเส้นทางการเดินทางเก็บ ข้อมูลภาคสนาม

3) ท าการเก็บข้อมูลภาคสนามโดยใช้เครื่องก าหนดต าแหน่งบนโลก (Global Positioning System) เพ่ือเก็บค่าพิกัดต าแหน่งทางภูมิศาสตร์

4) เก็บข้อมูลสัมภาษณ์บุคคลส าคัญของแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นจากแบบสอบถาม 5) วิเคราะห์แบบสอบถามผู้เข้าร่วมโครงการ

Page 3: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จงัหวัดมหาสารคาม | 3

6) จัดท าแผนที่แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดมหาสารคาม 1.4.4 ถ่ายทอดความรู้ให้แก่บุคคลที่สนใจ เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจทางภูมิศาสตร์ 1.4.5 สรุปและรายงานผลการด าเนินโครงการ

1.5 พื้นที่ด ำเนินกำร พ้ืนที่ศึกษาจังหวัดมหาสารคามประกอบด้วย 11 อ าเภอ คือ นาดูน กันทรวิชัย แกด า โกสุมพิสัย ชื่นชม เชียงยืน นาเชือก บรบือ เมือง ยางสีสุราช วาปีปทุม 1.6 ระยะเวลำ ระยะที่ 1 เริ่มโครงการมีการจัดประชุมระหว่างอาจารย์และนิสิตทุกวันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 09.00–10.00 น.เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2557 ระยะที่ 2 การวางแผนและท าการส ารวจพ้ืนที่ภาคสนาม วิเคราะห์งานระหว่างอาจารย์และนิสิตทุกวันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 09.00 – 10.00 เริ่มตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2557 ระยะที่ 3 เขียนสรุปโครงการเดือนสิงหาคม 2557 1.7 ผลที่คำดว่ำจะได้รับ 1. สามารถพัฒนาองค์ความรู้ให้แก่นิสิต และบุคคลที่สนใจเข้าใจหลักสูตร วิชาการและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ทางด้านการอนุรักษ์ ศิลปะ วัฒนธรรม หัตถกรรมพื้นบ้านและท้องถิ่น 2. เป็นแนวทางในการพัฒนางานบริการท านุศิลปวัฒนธรรมให้มีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตรและชุมชน 3. เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อสาขาภูมิศาสตร์พัฒนาเพ่ือการจัดการทรัพยากร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 4. เป็นการสร้างเครือข่ายร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัย โรงเรียนและผู้ใช้ประโยชน์

Page 4: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จงัหวัดมหาสารคาม | 4

บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องมีเนื้อหาส าคัญที่ใช้เป็นกรอบในการด าเนินกิจกรรมและเป็นข้อมูลประกอบต่างๆ ดังนี้ 1. หลักการและแนวทางการด าเนินงานท านุศิลปวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนานิสิต 3. แนวคิดทางภูมิศาสตร์

4. แนวคิดการจัดกิจกรรมเรียนรู้แบบโมเดลซิปปา (CIPPA) 5. ทฤษฎีการแพร่กระจายของนวัตกรรมภูมิศาสตร์ 6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1 กรอบแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

2.1.1 หลักการและแนวทางการด าเนินงานท านุศิลปวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ การท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม เป็นหนึ่งภารกิจหลักของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ส่งเสริมการต่อยอดขยายผลด้านศิลปวัฒนธรรมให้เกิดประโยชน์ทั้งด้านคุณค่าและมูลค่าและสร้างฐานการจัดการความรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีกระบวนการส่งเสริมให้นิสิตตระหนักในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ปกป้อง และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมและขนมธรรมเนียมประเพณี มีเป้าหมาย 1. ส่งเสริมด าเนินโครงการตามนโยบาย 1 หลักสูตร 1 ศิลปวัฒนธรรม

2. มีจ านวนโครงการ/กิจกรรมเพ่ือการอนุรักษ์ เผยแพร่ สืบสานศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ระดับชาติและนานาชาติ 3. บุคลากรและนิสิตมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมและพัฒนารักษาภูมิทัศน์ให้ส่วยงามเป็นมิตรสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมพ้ืนที่ทางวัฒนธรรม 4. ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกในการท านุ ศิลปวัฒนธรรม 2.1.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนานิสิต การพัฒนานิสิต หมายถึง ความพยายามของสถาบันอุดมศึกษาที่ส่งเสริมให้นิสิตมีพัฒนาการในด้านต่างๆ อย่างสมบูรณ์ และต้องค านึงถึงความแตกต่างของนิสิตแต่ละคน มีการเสนอเป้าหมายในการพัฒนานิสิตไว้ 4 ประการ คือ (สุมณฑา พรหมบุญ และอรพรรณ พรสีมา, 2540)

Page 5: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จงัหวัดมหาสารคาม | 5

1. การพัฒนาสติปัญญา เน้นการพัฒนาความสามารถของบุคคลในการคิดและเรียนรู้ รวมทั้งกระบวนการ ในการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น เพ่ือสร้างสรรค์ความหมายใหม่และประเมินคุณค่าและศักยภาพของข้อมูลนั้น

2. การพัฒนาเอกลักษณ์ เน้นการพัฒนาความรู้สึกเก่ียวกับตนเอง หมายถึง การค้นพบว่าตนเองเป็นใคร และบอกได้ว่าตนเองต้องการเป็นคนประเภทไหน

3. การพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล เน้นการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืนๆ ผลของการปฏิสัมพันธ์ทั้งต่อ ตนเองและผู้อ่ืน และการเรียนรู้ที่จะสัมพันธ์กับผู้อ่ืนอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบบริหารวิชาการ โดยเปลี่ยนจากการบรรยายอย่างเดียวในห้องเรียน ออกสู่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่อาจารย์และนิสิตได้ร่วมกันวางแผนการเรียนรู้ การแสวงหาแหล่งข้อมูลและแหล่งเรียนรู้ การท างานเป็นทีม การใช้กระบวนการกลุ่ม การเผชิญสถานการณ์และกรณีศึกษา การค้นคว้าทดลองและพิสูจน์ที่ท้าทาย การเรียนรู้จากสถานการณ์จ าลอง ประสบการณ์ตรง ที่มีการวางแผนจัดขั้นตอนการเรียนอย่างรอบคอบยืดหยุ่น 2.1.3 แนวคิดทางภูมิศาสตร์ หัวใจภูมิศาสตร์คือ มนุษย์ และความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการดัดแปลงปรับปรุงสภาพแวดล้อม โดยจุดเริ่มต้นของภูมิศาสตร์จะอยู่ที่มนุษย์ พ้ืนที่ และวิถีชีวิตของมนุษย์ในส่วนต่างๆ ของโลก ดังนั้นการศึกษาจึงเป็นการบรรยายในรูปแบบภูมิศาสตร์ ซึ่งสามารถจัดระบบเนื้อหาของภูมิศาสตร์ สามารถจ าแนกออกเป็น 3 เนื้อหา (ฉัตรชัย พงศ์ประยูร, มปป)

- เนื้อหาด้านกายภาพ อาศัยปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ธรรมชาติ ซึ่งเป็นการศึกษาพ้ืนโลกและสภาพแวดล้อมที่เป็นอาศัยของมนุษย์มีอิทธิพลต่อการด ารงชีวิต

- เนื้อหาด้านมนุษย์ เป็นกิจกรรมของมนุษย์ การปรับตัวใช้ความสามารถทางด้านวัฒนธรรมและเทคโนโลยีเข้ามาจัดการทางด้านพ้ืนที่

- เนื้อหาด้านเทคนิค อาศัยการสังเกต ส ารวจรวบรวมข้อเท็จจริงภาคสนามเพ่ือบรรยายเกี่ยวกับ พ้ืนที่ทางด้านกายภาพและวัฒนธรรม ซึ่งอาศัยแผนที่เป็นเครื่องมือในการบันทึกข้อมูลแหล่งต่างๆ

รูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ได้เข้ามาแพร่หลายในวงการศึกษา เป็นสื่อการสอนที่สร้างความสนใจ แก่ผู้เรียนและผู้เรียนสามารถเข้าใจบทเรียนได้ง่าย อีกทั้งยังสามารถศึกษาด้วยตนเอง ซี่งสามารถแบ่งรูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์เป็นดังนี้ (สุคนธ์ สินธพานท์, 2553)

- การฝึกและปฏิบัติ เป็นวิธีการสนโดยสร้างโปรแกรมเน้นการฝึกทักษะและการปฏิบัติให้ผู้เรียนเป็นขั้นตอน

- เกม เป็นลักษณะที่ไม่มีการสอนโดยตรง แต่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมโดยการฝึก จะส่งเสริมทักษะและความรู้ทั้งทางตรงและอ้อม เกมอาจน าไปใช้ช่วงใดช่วงหนึ่งของการสอนหรือสรุปบทเรียนได้

- สถานการณ์จ าลอง เป็นการจ าลองสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึนให้เป็นรูปร่างง่ายต่อการเข้าใจ ท าให้ผู้เรียนสามารถเห็นได้อย่างละเอียด

โครงการหนึ่งหลักสูตรหนึ่งศิลปวัฒนธรรมได้น าแนวคิดรูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์มาใช้ช่วยประกอบใน การออกแบบสื่อทางภูมิศาสตร์ นับว่าเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาทั้งผู้สนใจและผู้จัดท า และสร้างความกระตือรือร้น เจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ที่เก่ียวข้องกับภูมิศาสตร์

Page 6: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จงัหวัดมหาสารคาม | 6

2.1.4 แนวคิดการจัดกิจกรรมเรียนรู้แบบโมเดลซิปปา (CIPPA) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้จ าเป็นต้องให้เกิดการแสวงหาความรู้ เข้าใจ คิดวิเคราะห์ และสรุปความรู้ โดยกระบวนการเรียนรู้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด ประสบการณ์ และพัฒนาการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนรู้น าความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน มีขั้นตอนการจัดกรรมการเรียนรู้แบบโมเดลซิปปาดังนี้ (สุคนธ์ สินธพานนท์, 2553)

- การทบทวนความรู้เดิม คือ น าความรู้เดิมที่ได้จากทฤษฎี สิ่งที่อยู่รอบตัว ประสบการณ์ต่างๆ - การแสวงหาความรู้ใหม่ คือ น าความรู้จากแหล่งข้อมูล ค าแนะน า สื่อต่างๆ - การเชื่อมโยงความรู้ คือ ท าความเข้าใจกับข้อมูล ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด อภิปรายกลุ่ม

และสรุปความเข้าใจอาศัยการเชื่อมโยงกับความรู้เดิม - การแลกเปลี่ยนความรู้ คือ อาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบความรู้ และแบ่งปันความรู้ให้

ผู้อื่น - การจัดระเบียบความรู้ คือ สรุปความรู้เดิมและความรู้ใหม่ให้เป็นระบบ - การแสดงผลงาน คือ แสดงผลงานสร้างความรู้ของตนเอง เช่น จัดนิทรรศการ สร้างแบบจ าลอง

2.1.5 ทฤษฎีการแพร่กระจายของนวัตกรรมภูมิศาสตร์ วิธีการมองปัญหาภูมิศาสตร์ตามแนวคิดบุกเบิกโดยซาวเวอร์ และพัฒนาขึ้นมาเป็นระบบโดยนักภูมิศาสตร์ชาวสวีเดน คือ ทอร์สเตน แฮเกอร์สแตรนด์ ศึกษา “การแพร่กระจายของนวัตกรรมในฐานะกระบวนการพ้ืนที”่.(Torseten Hagerstrand,.1953).เป็นการศึกษาพ้ืนที่ทางสังคมและวัฒนธรรม มาเป็นสิ่งประดิษฐ์ เทคโนโลยี จากการศึกษา.Robert.Jones.(2001).เสนอการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ประกอบการสอนวิชาภูมิศาสตร์ สามารถน ามาสร้างได้หลากหลายดังนี้คือ

- การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เป็นเครื่องมือที่มีการใช้การศึกษาค้นคว้ามากในเรื่องเกี่ยวกับภูมิศาสตร์กายภาพ สิ่งแวดล้อม เป็นต้น

- การศึกษาจากเว็บไซต์สถานที่ส าคัญ ท าให้เสมือนเป็นการออกภาคจริง - การใช้สื่อแผ่นพับหรือโปสเตอร์ เป็นการสรุปเนื้อหา ข้อความที่สนใจ - การศึกษาแผนที่จากเว็บไซต์ต่างๆ สามารถดาวโหลดแผนที่โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย - การใช้โปรแกรมน าเสนอข้อมูล เพ่ือประกอบการบรรยายให้ห้องเรียน ได้แก่ Microsoft

PowerPoint นักวิชาการ Richard Ager (2000) และ ได้น าเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ในวิชาภูมิศาสตร์ หลักสูตร

แห่งชาติสหราชอาณาจักรอังกฤษ - การใช้เวปไซด์ช่วยในการสืบค้นสถานที่ท่ัวโลก สามารถเก็บไว้ใช้งานเองโดยไม่จ าเป็นต้องวาด หรือ

พิมพ์ออกมาเพ่ือน ามาศึกษา - การใช้โปรแกรมด้านแผนที่ ช่วยในการหาจุดส าคัญของพ้ืนที่ สามารถขยายให้พ้ืนที่มีขนาดเล็กหรือ

ใหญ่ได ้- การค้นหาข้อมูลจากสารานุกรม ลักษณะข้อมูลมีคุณภาพ ทันสมัยและมีรายละเอียดลักษณะเฉพาะ

บรรจุในรูปของ CD-ROW

Page 7: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จงัหวัดมหาสารคาม | 7

- การใช้โปรแกรมน าเสนอรูปแบบกราฟฟิก หรือการท าภาพเคลื่อนไหว เพ่ือแสดงหรืออธิบายตัวอย่าง ท าให้เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น

- การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยแสดงข้อมูลเกี่ยวกับสภาพอากาศ ซึ่งได้ข้อมูลเสมือนจริง ใช้เวลาไม่มาก รวดเร็วและประหยัดค่าใช้จ่าย

นอกจากนี้ David Hassell (2000) ได้มีข้อคิดเห็นเพ่ิมเติมจากนักวิชาการที่กล่าวว่า คือ การใช้โปรแกรมสถานการณ์จ าลอง เช่นการศึกษาการอพยพประชากรในแต่ละเชื้อชาติ เป็นต้น การใช้แผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เปรียบเทียบข้อมูลด้านสังคม เศรษฐกิจ ความหนาแน่นจราจร และเครื่องมือในการตัดสินใจในการเลือกที่ตั้ง

สรุปได้ว่ากิจกรรมนิสิตเป็นกระบวนทางการศึกษาที่ส าคัญของสถาบันอุดมศึกษา ที่จะพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ทั้งสติปัญญา สังคม อารมณ์ ร่างกายและจิตใจ โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ท างานร่วมกันระหว่า งอาจารย์และนิสิต ท าให้สร้างระบบการท างาน ความอบอุ่น เข้าใจและมีเจตคติท่ีดีต่ออาจารย์และสถาบันการศึกษา

Page 8: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จงัหวัดมหาสารคาม | 8

บทที่ 3 วิธีกำรด ำเนินงำน

การบริการวิชาการด้านท านุศิลปวัฒนธรรมปีงบประมาณ 2557 มุ่งเน้นประสิทธิภาพและ

ประสิทธิผลของการบริหารจัดการโครงการที่ด าเนินการ ซึ่งมีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้ 1. ประชากร

1.1 หัวหน้าหน่วยงานและหัวหน้าโครงการของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ได้รับการจัดสรร งบประมาณอุดหนุนโครงการบริการท านุศิลปและวัฒนธรรม

1.2 คณะท างานในโครงการ เพ่ือด าเนินโครงการด้านท านุศิลปวัฒนธรรม 1.3 ผู้ให้ข้อมูลเป็นบุคคลส าคัญท่ีอยู่ในพื้นท่ีแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดมหาสารคาม

2. กลุ่มตัวอย่าง 2.1 หัวหน้าหน่วยงานเป็นคณะกรรมการอ านวยการ 9 คน ใช้วิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง 2.2 คณะการท างาน 11 คน ประกอบด้วยอาจารย์ 1 คน เจ้าหน้าที่ 1 คน ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง

และนิสิต 9 คน ชั้นปีที่ 1 – 4 ชั้นปีละ 2 - 3 คน 2.3 บุคคลส าคัญท่ีอยู่ในพื้นท่ีแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดมหาสารคาม ทั้ง 59 คน ใช้วิธีการเลือก

แบบเจาะจง 3. เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล

1. แผนที่ภูมิประเทศ จังหวัดมหาสารคาม มาตราส่วน 1: 50,000 จากกรมแผนที่ทหาร 2. ภาพถ่ายดาวเทียม Google Earth 3. เครื่องก าหนดต าแหน่งบนโลก (Global Positioning System :GPS) 4. คอมพิวเตอร์และโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 5. กล้องถ่ายรูป 6. แบบสอบถาม

4. วิธีด าเนินการ 1. ค้นคว้าแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ส าคัญ จังหวัดมหาสารคามจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นต าแหน่งที่ตั้ง ขอบเขตการปกครอง กับแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน

1:50,000 กับภาพถ่ายจากดาวเทียม Google Earth 3. วางแผนส ารวจเส้นทางส ารวจที่ตั้งแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น เพ่ือก าหนดเส้นทางการเดินทางเก็บ

ข้อมูลภาคสนาม 4. ท าการเก็บข้อมูลภาคสนามโดยใช้เครื่องก าหนดต าแหน่งบนโลก (Global Positioning

System) เพ่ือเก็บค่าพิกัดต าแหน่งทางภูมิศาสตร์ 5. สัมภาษณ์บุคคลส าคัญของแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นจากแบบสอบถามมีโครงสร้าง โดย

ประสานงานกับคนในพ้ืนที่ที่มีแหล่งแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดมหาสารคาม

Page 9: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จงัหวัดมหาสารคาม | 9

การสร้างแบบสอบถามแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ลักษณะทั่วไปของแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นและนิสิตที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ เพศ

อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ เหตุผลการเข้าร่วมโครงการ ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการและขั้นตอนกิจกรรม ได้แก่

ด้านกระบวนการให้บริการ ประกอบ การให้บริการด้วยสุภาพ ระยะเวลาให้บริการ การให้ค าแนะน า ด้านสิ่งอ านวยความสะดวก ประกอบ สถานที่และบรรยากาศ ความพร้อมของวัสดุ เอกสาร และการ

ประสานงาน ประชาสัมพันธ์ ด้านประโยชน์ ประกอบ ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ สามารถน าไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน การจัด

กิจกรรมควรจัดต่อเนื่องหรือไม่ ด้านผลการน าไปใช้ประโยชน์ความรู้ความเข้าใจ ประกอบ ได้รับความรู้ทั่วไปหรือรอบตัว และได้รับความรู้

เพ่ิมเติมจากเดิม ผลการน าไปใช้ประโยชน์ด้านน าไปใช้ ประกอบ สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปใช้โดยตรง สามารถถ่ายทอด

ให้แก่ผู้อื่น และน าไปใช้ชีวิตประจ าวัน 6. สรุปและรายงานผลการด าเนินโครงการ

5. กำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจในการใช้การบริการวิชาการและ

ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้การวัดคะแนนตามมาตรวัดแบบประเมินค่า ตามแนวคิดของลิเคิร์ท โดยแบ่งระดับความพึงพอใจออกเป็น 5 ระดับ คือ

ความพึงพอใจมากท่ีสุด ระดับคะแนนเท่ากับ 5 ความพึงพอใจมาก ระดับคะแนนเท่ากับ 4 ความพึงพอใจปานกลาง ระดับคะแนนเท่ากับ 3 ความพึงพอใจน้อย ระดับคะแนนเท่ากับ 2 ความพึงพอใจน้อยที่สุด ระดับคะแนนเท่ากับ 1

การแปลความหมายของคะแนน จะใช้ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของคะแนนความพอใจเป็นเกณฑ์ โดย ก าหนดช่วงค่าเฉลี่ยของคะแนนความพอใจในแต่ละระดับดังนี้

ค่าเฉลี่ย 4.50 – 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.50 – 4.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.50 – 3.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.50 – 2.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด การหาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจ มาค านวณหาสัมพันธ์จากค่าสถิติและทดสอบ

ค่าไคสแควร์ (Chi-square test) ที่ระดับนัยส าคัญทางสถิติ 0.05

Page 10: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 10

ภำพประกอบ 1 แผนผังวิธีด าเนินการ

Page 11: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 11

บทที่ 4 ผลกำรด ำเนินงำน

4.1 กำรบรรลุวัตถุประสงค์กำรด ำเนินงำน

ผลการด าเนินงานโครงการหนึ่งหลักสูตรหนึ่งศิลปวัฒนธรรม จัดท าแผนที่ทางศิลปวัฒนธรรม Geo-Life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต เพ่ือเป็นฐานข้อมูลทางด้านแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาภูมิศาสตร์พัฒนาเพ่ือการจัดการทรัพยากร ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจ าปี 2557 นิสิตท าการฝึกฝนเรียนรู้ด้วยตนเองจากการน าศาสตร์ความรู้ทางภูมิศาสตร์ เพ่ือจัดท าฐานข้อมูลทางด้านแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นและน าเสนอในรูปแบบของแผนที่ ท าให้สะดวกต่อการน าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานต่างๆ เช่น การท่องเที่ยว แหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม เป็นต้น 4.1.1 การจัดท าฐานข้อมูลแหล่งศิลปวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม

การจัดท าฐานข้อมูลแหล่งศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดมหาสารคาม ท าการเก็บข้อมูลภาคสนาม โดยเก็บข้อมูลพิกัดต าแหน่งทางภูมิศาสตร์โดยเครื่องก าหนดต าแหน่งบนโลก (Global Positioning System) มีทั้งหมด 52 แหล่ง สามารถจ าแนกเป็น 5 ประเภท ได้แก่

1. หัตถกรรม เป็นกลุ่มเครื่องจักรสานที่ใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติ ได้แก่ เสื่อกก กระติบข้าว การสานแห การทอผ้าไหม พานบายศรี สุ่มไก่ พรมเช็ดเท้า หม้อปั้นดินเผา สุ่มจับนก จับปลา การสาวไหม ขันหมากเบ็ง มีทั้งหมด 37 แห่ง

2. แพทย์แผนไทย เป็นกลุ่มรักษาโดยใช้สมุนไพร ได้แก่ ยาหม่องสมุนไพร นวดแผนโบราณ มี ทั้งหมด 3 แห่ง

3. อาหาร เป็นกลุ่มประเภทท าอาหารพื้นบ้านอีสาน ได้แก่ กลุ่มปลาร้า ขนมจีน ข้าวกล้อง และขนมเทียนแก้ว มีทั้งหมด 5 แห่ง

4. เครื่องมือเครื่องใช้ เป็นกลุ่มประเภทประกอบอาชีพ ได้แก่ ขลุ่ยเรียกนก การขดเบ็ด กะโหล่งคอควาย โป่งไม้โบราณ มีทั้ง 4 แห่ง

5. พิพิธภัณฑ์และศูนย์การเรียนรู้ เป็นประเภทการแสดงเครื่องมือเครื่องใช้ของชาวอีสาน ได้แก่ พิพิธภัณฑ์บ้านอีสานและพิพิธภัณฑ์วัดพุทธมงคล 3 แห่ง

Page 12: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 12

ประเภท ภำพประกอบ 1. หัตถกรรม

การท ากระติบข้าว บ้านลุมพุก

การท าสุ่มไก่ บ้านกุดใสจ้อ

การทอเสื่อกก บ้านคันธาร์พัฒนา

กลุ่มจักสาน บ้านขอนแก่น

การทอผ้าไหม บ้านเหล่าดอกไม้

ผ้าซิ่นตีนจก บ้านกุดปลาดุก

Page 13: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 13

ประเภท ภำพประกอบ 2. แพทย์แผนไทย

นวดแผนไทย บ้านโคกสูง

นวดแผนไทย บ้านดงน้อย

3.อาหาร

การท าขนมจีน บ้านขนมจีน

การท าข้าวกล้อง บ้านดอนแดง

การท าขนมเทียน บ้านหนองแวง

การท าผงเครื่องดื่มสมุนไพรกลุ่มแม่บ้านเกษตร บ้านโนน

กลุ่มปลาร้าเงินล้าน บ้านหนองล่าม

Page 14: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 14

ประเภท ภำพประกอบ 4. เครื่องมือเครื่องใช้

โปงไม้โบราณ วัดนพคุณ บ้านหนองน้ าใส

กะโหล่งคอควาย วัดศรีสมพร บ้านแบก

การขดเบ็ด บ้านหนองใหม่

ขลุ่ยเรียกนก(ล่อนก) บ้านสะเดาหวาน

5. พิพิธภัณฑ์และศูนย์การเรียนรู้

ยาหม่องสมุนไพร วัดอัมพวนาราม

พิพิธภัณฑ์บ้านอีสาน สถาบันวยิจัยวลัยรุกขเวช (มมส.)

Page 15: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 15

4.1.2 ที่ตั้งข้อมูลแหล่งศิลปวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม จากการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากภาคสนาม น ามาเข้าสู่กระบวนการท างานของระบบสารสนเทศ

ภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงต าแหน่งที่ตั้งของข้อมูลแหล่งศิลปวัฒนธรรมลงบนแผนที่ระดับจังหวัดและระดับอ าเภอ

1. แผนที่แหล่งศิลปวัฒนธรรมระดับจังหวัดมหาสารคาม

ภำพประกอบ 2 แผนที่แหล่งศิลปวัฒนธรรมระดับจังหวัดมหาสารคาม

Page 16: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 16

2. แผนที่แหล่งศิลปวัฒนธรรมระดับอ าเภอ 12 อ าเภอของมหาสารคาม

ภำพประกอบ 3 แผนที่แหล่งศิลปวัฒนธรรม อ าเภอกันทรวิชัย

ภำพประกอบ 4 แผนที่แหล่งศิลปวัฒนธรรม อ าเภอกุดรัง

Page 17: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 17

ภำพประกอบ 5 แผนที่แหล่งศิลปวัฒนธรรม อ าเภอแกด า

ภำพประกอบ 6 แผนที่แหล่งศิลปวัฒนธรรม อ าเภอโกสุมพิสัย

Page 18: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 18

ภำพประกอบ 7 แผนที่แหล่งศิลปวัฒนธรรม อ าเภอชื่นชม

ภำพประกอบ 8 แผนที่แหล่งศิลปวัฒนธรรม อ าเภอเชียงยืน

Page 19: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 19

ภำพประกอบ 9 แผนที่แหล่งศิลปวัฒนธรรม อ าเภอนาเชือก

ภำพประกอบ 10 แผนที่แหล่งศิลปวัฒนธรรม อ าเภอนาดูน

Page 20: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 20

ภำพประกอบ 11 แผนที่แหล่งศิลปวัฒนธรรม อ าเภอบรบือ

ภำพประกอบ 12 แผนที่แหล่งศิลปวัฒนธรรม อ าเภอพยัคฆภูมิพิสัย

Page 21: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 21

ภำพประกอบ 13 แผนที่แหล่งศิลปวัฒนธรรม อ าเภอเมืองมหาสารคาม

ภำพประกอบ 14 แผนที่แหล่งศิลปวัฒนธรรม อ าเภอเมืองวาปีปทุม

Page 22: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 22

4.1.3 การฝึกฝนการเรียนรู้ของนิสิตในโครงการศิลปวัฒนธรรม นิสิตท าการฝึกฝนการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการน าศาสตร์ความรู้ที่เรียนทางภูมิศาสตร์สามารถจ าแนก

ออกเป็น 2 ประเภท คือ ด้านการเรียนรู้ของนิสิตที่เข้าร่วมปฏิบัติการ และความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการบริการวิชาการเผยแพร่ความรู้แผนที่ทางศิลปวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม

1. ด้านการเรียนรู้ของนิสิตที่เข้าร่วมปฏิบัติการ นิสิตที่เข้าร่วมปฏิบัติการคณะการท างาน 11 คน ประกอบด้วยอาจารย์ 1 คน เจ้าหน้าที่ 1 คน ใช้

วิธีการเลือกแบบเจาะจง และนิสิต 9 คน ชั้นปีที่ 1 – 4 ชั้นปีละ 2 - 3 คน มีนิสิตที่เข้าร่วมโครงการท างานเข้ามาช่วยเสริมในการสร้างฐานข้อมูล จัดแยกประเภทข้อมูล ชั้นปีละ 5 คน รวมทั้งหมด 26 คน ซึ่งแต่ละชั้นปีมีความรู้ที่ได้รับแตกต่างกัน เป็นการสร้างการเรียนรู้ระหว่างพ่ีสู่น้อง จากสัมภาษณ์เหตุผลการเข้าร่วมการปฏิบัติการ เพ่ือน าความรู้ที่เรียนมาประมวลมาใช้ในทางปฏิบัติจริง

ชั้นปีที่ 2 วิชา 0107206 การอ่านแผนที่และการแปลภาพถ่ายทางอากาศ ชั้นปีที่ 3 วิชา 0107211 ระบบก าหนดต าแหน่งบนโลก

วิชา 0107209 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ วิชา 0107210 การรับรู้ระยะไกล

ชั้นปีที่ 4 วิชา 0107 308 การสร้างแบบจ าลองเพ่ือการวางแผนพัฒนาและจัดการชุมชน การสร้างแผนที่แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นใช้องค์ความรู้ทางด้านการส ารวจพ้ืนที่ภาคสนาม อ่านค่า

ต าแหน่งพิกัดทางภูมิศาสตร์ โดยใช้เครื่องก าหนดต าแหน่งบนโลกและน าเข้าสู่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพ่ือการวาดแผนที่แสดงต าแหน่งที่ตั้ง ซึ่งเป็นการรวบรวมข้อมูลแสดงให้เห็นได้ง่ายขึ้น โดยใช้แนวคิดแบบจ าลองทางภูมิศาสตร์เป็นกรอบการท างาน

ด้านรูปแบบการสร้างกิจกรรมการมีส่วนร่วมด้านเนื้อหาบริการวิชาการ เป็นกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการอ่านแผนที่ที่สื่อสัญลักษณ์ประเภทแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น แสดงความส าคัญของแหล่งภูมิปัญญาของแต่ละประเภท ได้แก่ หัตถกรรม แพทย์แผนไทย อาหาร เครื่องมือเครื่องใช้ และพิพิธภัณฑ์ศูนย์การเรียนรู้ และแสดงข้อมูลในคอมพิวเตอร์ที่แสดงในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เป็นการช่วยให้ท าให้เกิดความเข้าใจข้อมูลที่รวบรวมเป็นจ านวนมากและสิ่งที่ปรากฏสิ่งต่างๆ ทางพ้ืนที่ เมื่อเสร็จสิ้นโครงการดังกล่าวท าการมอบแผนที่และข้อมูลดิจิตอลให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม หน่วยงานต่างๆ ที่สนใจ เช่น ศูนย์การท่องเที่ยวและศูนย์ศิลปวัฒนธรรมจังหวัดมหาสารคาม 2. ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการบริการวิชาการเผยแพร่ความรู้

ด้านรูปแบบกิจกรรมด้านเนื้อหาภูมิศาสตร์ที่บริการวิชาการท านุศิลปะและวัฒนธรรม เป็นการให้ความรู้ทางด้านแผนที่แสดงแหล่งที่ตั้งแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดมหาสารคาม ให้เห็นความส าคัญของการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นมาพัฒนาเป็นสินค้า ผู้เข้าร่วมสามารถน าไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ชีวิตประจ าวัน ท าให้เล็งเห็นความส าคัญของการเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับ พบว่า ผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมงานและตอบแบบสอบถามความพึงพอใจการบริการท านุศิลปวัฒนธรรมมีจ านวนทั้งหมด 82 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 66 เพศชายร้อยละ 31 มีอายุระหว่าง 17 -20 ปี จ าแนกตามระดับการศึกษาพบว่า นิสิตก าลังศึกษาระดับปริญญาตรีร้อยละ 98 รองลงมาเป็นบุคคลากรมหาวิทยาลัย เช่น อาจารย์และเจ้าหน้าที่ร้อยละ 2 เหตุผลของการเข้าร่วมกิจกรรม คือ น าความรู้ไปใช้ในการชีวิตประจ าวันร้อยละ 86 ถูกชักชวนให้เข้ามาเข้าร่วม 2 และเพ่ือท าความรู้จักกับบุคคลอ่ืน 2

Page 23: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 23

3. ความพึงพอใจด้านกระบวนการให้บริการค่าเฉลี่ยระดับดีมาก ได้แก่ การให้บริการด้วยความสุภาพและเป็นมิตร 4.52 คะแนน รองลงมาด้านวิทยากรและผู้ด าเนินการมีการให้ค าแนะน าข้อมูลมีความชัดเจน 4.51 คะแนน และระยะเวลาการให้บริการมีความเหมาะสมระดับดี 4.20 คะแนน เนื่องจากการบริการวิชาการทางด้านภูมิศาสตร์มีความพร้อมในด้านวิชาการและเป็นผู้ที่ปฏิบัติงานเฉพาะทาง จึงมีความรู้ความเข้าใจในแนวปฏิบัติเป็นอย่างดี ส่วนระยะเวลาการจัดโครงการค่อนข้างมีเวลาจ ากัด ในด้านของจ านวนผู้ที่ตอบแบบสอบถามแต่ละระดับความพึงพอใจพบว่ามีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05)

4. ความพึงพอใจด้านสิ่งอ านวยความสะดวกบริเวณจัดกิจกรรมค่าเฉลี่ยระดับดี ได้แก่ ความพร้อมของวัสดุ อุปกรณ์ และเอกสารความรู้แจกผู้ร่วมงาน 4.25 คะแนน รองลงมาสถานที่และบรรยากาศเอ้ืออ านวยต่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม 4.10 คะแนน และการประสานงานประชาสัมพันธ์ 3.95 คะแนน ในด้านของจ านวนผู้ที่ตอบแบบสอบถามแต่ละระดับความพึงพอใจพบว่ามีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05)

5. ความพึงพอใจด้านประโยชน์ที่ได้รับความรู้ทางภูมิศาสตร์ค่าเฉลี่ยระดับดี พบว่า ประโยชน์ความรู้ที่ได้รับก่อนเข้าร่วมกิจกรรม 4.05 คะแนน ความรู้ที่ได้รับหลังเข้าร่วมกิจกรรม 4.38 คะแนน สามารถน าประโยชน์และความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 4.40 คะแนน ผู้ใช้บริการได้รับความรู้ ความเข้าใจศาสตร์ทางด้านการอ่านแผนที่ทางภูมิศาสตร์ และด้วยการน าเสนอด้วยคอมพิวเตอร์เป็นแสดงข้อมูล ท าให้เกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น ในด้านของจ านวนผู้ที่ตอบแบบสอบถามแต่ละระดับความพึงพอใจพบว่ามีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05)

ผลการน าไปใช้ประโยชน์ทางด้านความรู้ความเข้าใจภูมิศาสตร์ค่าเฉลี่ยระดับดีมาก ได้แก่ ความรู้ทั่วไปเป็นความรู้รอบตัว 4.52 คะแนน การได้รับความรู้เพ่ิมเติมจากเดิม 4.50 คะแนน และ ทั้งนี้การได้รับความรู้ตรงสาขาวิชาหรือวิชาชีพค่าเฉลี่ยระดับดี 4.24 คะแนน ในด้านของจ านวนผู้ที่ตอบแบบสอบถามแต่ละระดับความพึงพอใจพบว่ามีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05)

ผลการน าไปใช้ประโยชน์ด้านการน าไปใช้ค่าเฉลี่ยระดับดี ได้แก่ สามารถน าความรู้ปรับใช้ในชีวิตประจ าวัน 4.44 คะแนน สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์โดยตรงและสามารถน าความรู้ ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้ผู้อ่ืน 4.21 คะแนน ในด้านของจ านวนผู้ที่ตอบแบบสอบถามแต่ละระดับความพึงพอใจพบว่ามีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05)

สรุปภาพรวมและรูปแบบกิจกรรมโครงการหนึ่งหลักสูตรหนึ่งศิลปวัฒนธรรมของสาขาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาภูมิศาสตร์พัฒนาเพ่ือการจัดการทรัพยากรค่าเฉลี่ยระดับดีมาก 4.51 คะแนนและควรจัดกิจกรรมการบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอน บริการวิชาการร่วมกับการท านุศิลปะและวัฒนธรรมทุกปี 4.52 คะแนน เพ่ือเผยแพร่ให้ทราบข้อมูลข่าวสารต่างๆ ทางภูมิศาสตร์ และส่งเสริมให้สามารถใช้ความรู้ทางภูมิศาสตร์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ซึ่งเป็นตัวชี้วัดความส าเร็จโครงการที่มีประโยชน์และสร้างคุณค่าทางสังคมต่อภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย สร้างเครือข่ายการท างานงานร่วมกัน สะท้อนให้เห็นความส าคัญของการเชื่อมโยงงานและเป็นการเพ่ิมคุณค่าของงาน อีกท้ังเป็นการเผยแพร่หลักสูตร ภาควิชา คณะและมหาวิทยาลัยให้แก่สังคม

Page 24: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 24

ภำพกิจกรรมโครงกำร

ระยะที่ 1 เตรียมกิจกรรม : ประสานงานและกรอบแนวคิดการท างาน

ภำพประกอบ 15 วางแผนการด าเนินงาน ระยะที่ 2 ส ารวจภาคสนาม : ลงพื้นที่และเก็บข้อมูลแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น

ภำพประกอบ 16 ลงพื้นที่เก็บข้อมูลแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น การท าสื่อกก ต าบลบ้านแพง อ าเภอโกสุมพิสัย

Page 25: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 25

ภำพประกอบ 17 ลงพื้นที่เก็บข้อมูลแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น กลุ่มทอผ้าพ้ืนบ้าน ต าบลหัวเรือ อ าเภอวาปีปทุม

ภำพประกอบ 18 ลงพื้นที่เก็บข้อมูลแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น หม้อปั้นดินเผา ต าบลเขวา อ าเภอเมืองมหาสารคาม

Page 26: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 26

ภำพประกอบ 19 ลงพื้นที่เก็บข้อมูลแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์จากหวาย ต าบลลาดพัฒนา อ าเภอเมืองมหาสารคาม

ระยะที่ 3 กำรเผยแพร่ควำมรู้ : น ำเสนอผลงำนต่อผู้เข้ำร่วมรับฟัง

ภำพประกอบ 20 เผยแพร่แหล่งความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นแก่นิสิต

Page 27: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 27

ภำพประกอบ 21 เผยแพร่แหล่งความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นแก่อาจารย์และบุคลากร

ภำพประกอบ 22 เผยแพร่แหล่งความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการจัดท าสื่อโปสเตอร์แสดง

Page 28: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 28

บทที่ 5 กำรบูรณำกำรกับกำรเรียนกำรสอนและบริกำรวิชำกำรร่วมกับศิลปวัฒนธรรม

5.1 กำรท ำนุบ ำรุงศิลปวัฒนธรรม เมื่อพิจารณาผลการด าเนินงานหนึ่งหลักสูตรหนึ่งศิลปวัฒนธรรมของสาขาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาภูมิศาสตร์พัฒนาเพื่อการจัดการทรัพยากร ภายใต้โครงการการจัดท าแผนที่ทางศิลปวัฒนธรรม Geo-Life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต เพ่ือเผยแพร่ให้ทราบข้อมูลข่าวสารต่างๆ ทางภูมิศาสตร์ และส่งเสริมให้สามารถใช้ความรู้ทางภูมิศาสตร์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในปีงบประมาณ 2557 โดยด าเนินการจัดการท าฐานข้อมูลแสดงต าแหน่งแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งอยู่ในตัวชี้วัดความส าเร็จโครงการ ผลลัพธ์เชิงเศรษฐกิจและคุณค่าทางสังคม ตัวชี้วัด 6.1 ระบบกลไกในการท านุบ ารุงในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม มีการจัดการด าเนินการเป็นระบบที่ก าหนดโดยมีการประชุมวางแผนกรอบแนวคิด งบประมาณ และผลส าเร็จของโครงการ บูรณาการงานด้านท านุศิลปวัฒนธรรมกับกิจกรรมของนิสิตและการจัดการเรียนการสอน ซึ่งน าความรู้ทางด้านภูมิศาสตร์มาเชื่อมโยงกับทางด้านศิลปวัฒนธรรม เช่น การจัดท าแผนที่แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นการเชื่อมโยงศาสตร์ทางพ้ืนที่และวัฒนธรรม โดยท าการเผยแพร่กิจกรรม ประเมินผลส าเร็จของการบูรณาการด้านศิลปวัฒธรรม ตัวชี้วัด 6.2 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปวัฒนธรรม ซึ่งเป็นประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย สร้างเครือข่ายการท างานงานร่วมกัน 5.2 กำรน ำไปใช้กับกำรเรียนกำรสอน การบูรณาการงานด้านท านุศิลปวัฒนธรรมร่วมกับการเรียนการสอน โดยให้นิสิตฝึกการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยน าศาสตร์ความรู้ที่เรียนจากการถ่ายทอดเนื้อหาวิชาการมากกว่าการเรียนรู้จากสภาพที่เป็นจริง และไม่เน้นกระบวนการเรียนรู้ นอกจากนี้การสอนเป็นแยกออกเป็นวิชาท าให้การเรียนรู้แยกเป็นส่วนๆ ไม่สัมพันธ์กัน ดังนั้นการด าเนินงานเป็นการเชื่อมโยงภูมิปัญญาท้องถิ่นกับเทคโนโลยีภูมิศาสตร์ เป็นการบูรณาการมีลักษณะการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันและสัมพันธ์กับชีวิตจริง ท าให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เผยแพร่ความรู้ทางวิชาการให้แก่สังคมผ่านกิจกรรมของนิสิตและสามารถน าไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ชีวิตประจ าวัน เกี่ยวข้องกับรายวิชาดังต่อไปนี้ 0107206 การอ่านแผนที่และการแปลภาพถ่ายทางอากาศ และ 0107211 ระบบก าหนดต าแหน่งบนโลก เป็นการใช้ศาสตร์ทางด้านการส ารวจพื้นที่และอ่านค่าพิกัดต าแหน่งทางภูมิศาสตร์ ในการเก็บข้อมูลภาคสนาม

0107210 การรับรู้ระยะไกล การใช้เครื่องมือ Google เป็นการอ่านข้อมูลพื้นฐานแหล่งที่ตั้ง 0107209 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยใช้สื่อการสอนการวาดแผนที่ร่วมกับข้อมูลทางด้านวัฒนธรรม 0107308 การสร้างแบบจ าลองเพ่ือการวางแผนพัฒนาและจัดการชุมชนเป็นกรอบแนวคิดในการด าเนินกิจกรรมทางพ้ืนที่ วิเคราะห์และสื่อความหมายให้ผู้ใช้บริการทราบข้อมูลทางภูมิศาสตร์

Page 29: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 29

5.3 กำรน ำไปใช้ในงำนวิจัย

จากการวิจัยเรื่อง Analysis of Geo-information Teaching Capabilities of Teachers in Thai High School by GIS และการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อศึกษาเส้นทางเดินธุดงค์ที่เหมาะสม วัดสิรินทรวรารามภูพร้าว จังหวัดอุบลราชธานี เกิดจากการสะท้อนปัญหาที่เห็นว่าการจัดเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูลให้เป็นปัจจุบันนั้นยังไม่สมบูรณ์ จึงน าหลักการงานวิจัยทั้งสองเรื่องมาวางกรอบการท างานหนึ่ งหลักสูตรหนึ่ งศิลปวัฒนธรรรม ที่สามารถช่วยให้เข้าใจและสามารถอธิบายสิ่งต่างๆ บนโลกได้ นอกจากนี้สามารถช่วยให้เกิดการวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ จะเห็นได้นักภูมิศาสตร์มีภารกิจในการแสดงลักษณะพ้ืนผิวโลกแต่ละส่วนให้ปรากฏ จึงถือได้ว่าเป็นส่วนประกอบที่ส าคัญในเนื้อหาวิชาการทางภูมิศาสตร์ (กุลยา วิวิตเสวี, 2548)

ดังนั้นจึงเล็งเห็นปัญหาจึงได้ให้คณาจารย์ร่วมกับนิสิตที่เรียนทางด้านภูมิศาสตร์สร้างแผนที่ เป็นสื่อเข้าใจได้ง่ายที่บุคคลทั่วไปสามารถอ่านและเข้าใจ จึงด าเนินกิจกรรมทางภูมิศาสตร์สะท้อนให้มีความสัมพันธ์กับผลการด าเนินงานหนึ่งหลักสูตรหนึ่งศิลปวัฒนธรรมของสาขาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาภูมิศาสตร์พัฒนาเพ่ือการจัดการทรัพยากร

5.4 กำรน ำไปใช้กับกำรบริกำรวิชำกำร การบูรณาการงานด้านท านุศิลปวัฒนธรรมร่วมกับการบริการวิชาการ โดยให้นิสิตเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม เป็นการบูรณาการความรู้เนื้อหาเก่ียวกับภูมิศาสตร์มาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานการศึกษา ในหลักสูตรที่มีปรัชญาสร้างองค์ความรู้ทางด้านการจัดการทรัพยากรที่เป็นการเรียนรู้เรื่องใกล้ตัวมีความเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของนิสิต กระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นการเปิดโอกาสให้ท ากิจกรรม แสดงความคิดเห็นและแสดงออกได้อย่างเต็มที่ ร่วมกิจกรรมกลุ่มเกิดลักษณะของมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ก่อให้เกิดความสามัคคีเห็นองค์รวมของความรู้ 5.5 ประโยชน์และสร้ำงคุณค่ำต่อสถำบัน จากการจัดโครงการที่มีการบูรณาหลายๆด้าน คือ งานวิจัย การเรียนการสอน การบริการวิชาการร่วมกับศิลปวัฒนธรรม สะท้อนให้เห็นความส าคัญของการเชื่อมโยงงานและเป็นการเพ่ิมคุณค่าของงานให้ดีขึ้น อีกท้ังยังเป็นการเผยแพร่หลักสูตร ภาควิชา คณะและมหาวิทยาลัยให้แก่สังคม

Page 30: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 30

5.6 แนวคิดทำงบทควำมของนิสิตด ำเนินกำร

โครงกำร 1 ชุมชน 1 ศิลปวัฒนธรรม 1. ชื่อเรื่อง: การจัดท าแผนที่ทางศิลปวัฒนธรรม Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต

2. องค์ประกอบการเขียน

2.1 สถานที่จัดกิจกรรม: ห้องแมน่้ าสงคราม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ต าบลขามเรียง อ าเภอ

กันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม กิจกรรมจัดขึ้นระหว่างวันที่ 1 เดือน กันยายน พุทธศักราช 2557

2.2 อาจารย์และนิสิตภาควิชาภูมิศาสตร์ มีการ

2.3 สิ่งที่ค้นพบ

2.4.1 อุปสรรคปัญหา

1. การจัดเตรียมวางแผนภาคสนามส ารวจแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น ค่อนข้างใช้ระยะเวลานาน

เนื่องจากพ้ืนที่ส ารวจมีขนาดใหญ่

2. การด าเนินการเป็นช่วงต่อเนื่องระว่างเทอม 3/56 และเทอม 1/57 ท าให้นิสิตมีจ านวน

จ ากัดในการท างานภาคสนาม

2.4.2 ความส าเร็จ

1. นักเรียน นิสิต และประชาชนทั่วไปที่สนใจ เข้าร่วมกิจกรรม เป็นไปตามแผนที่วางไว้

2. หลังจากเข้าร่วมกิจกรรมนักเรียน นิสิต และประชาชนทั่วไปที่สนใจ มีความรู้

ความสามารถเพ่ิมเติมมากข้ึน และน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้

3. รูปแบบการเขียน (เรื่องเล่าเร้าอารมณ์)

ส าหรับโครงการ 1 ชุมชน 1 ศิลปวัฒนธรรม ที่ภาควิชาภูมิศาสตร์พัฒนาเพ่ือการจัดการทรัพยากรได้เป็นผู้รับผิดชอบ คือ คณะกรรมการท างานฝ่ายบริหาร อาจารย์และนิสิตสาขาภูมิศาสตร์พัฒนาเพ่ือการจัดการทรัพยากร เริ่มต้นมีการประชุมกลุ่มจากตัวแทนชั้นปีที่ 2-4 ร่วมกับคณาจารย์กับการคิดประเด็นที่สนใจ และท าการวิเคราะห์แนวโน้ม ทิศทางการท างานที่เป็นไปได้ตามระยะเวลาที่ก าหนด

ความรู้สึกกับการได้ท างาน ผมรู้สึกว่าได้ไปเจอกับความเป็นจริงของสังคม เช่น การที่ได้ลงไปหาบ้านของเจ้าของภูมิปัญญา ผมต้องขี่รถจักรยานยนต์ และค่อยๆตามหาทีละคนๆ ซึ่งบางพ้ืนที่ก็ต้อนรับเราเป็นอย่างดี แต่บางพ้ืนที่คิดว่าเราเป็นพวกเก็บหนี้รายวัน ถึงกับจะหนีเราเลยก็มี และโดยส่วนมากชาวบ้านที่ยังคงยึดถือภูมิปัญญาในกาประกอบอาชีพ ส่วนใหญ่จะไม่ได้รับการสนับสนุน และไม่เป็นที่รู้จักในวงกว้าง จะรู้จักก็เพียงคนในบ้านเดียวกันเท่านั้น ผมได้เรียนรู้ที่จะกล้าถาม จากการไปลงพ้ืนที่บางครั้งข้อมูลพิกัดที่เราได้มาจากอินเตอร์เน็ตนั้นไม่เพียงพอที่จะระบุบ้านของชาวบ้านที่เราไปหาได้ จะระบุแค่เพียงหมู่บ้านและอ าเภอเท่านั้น ท าไห้พวกเราต้องค่อยๆ ถามทางจากชาวบ้านแถวนั้นไปเรื่อยๆ ตอนแรกเราก็กล้าๆกลัว แต่หลังจากผ่านไปเรื่อยๆเราถามกันทุกบ้านที่ผ่านเลยครับเพราะเราเคยถามบ้างมั่วบ้าง เลยต้องขี่เลยบ้านที่เราจะไปหาอยู่บ่อยครั้ง

Page 31: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 31

ท าให้รู้สึกดีๆและสนิทกับเพ่ือนๆในทีมงานมากขึ้น เพราะที่เราไปนั้น ขี่จักยานยนต์ไปกัน ทั้งตากแดด ตากลม ร่วมกัน บางครั้งหลงทางกันอยู่หลายรอบ ทุกคนไม่เคยบ่น ท้อ หรือคิดจะถอย กับตั้งใจที่จะหาบ้านของคนที่เราให้ได้ เพราะต้องการไห้งานออกมาดี และสมบูรณ์ที่สุด ขอขอบคุณอาจารย์และพ่ีๆที่ได้ให้โอกาสผมได้ท างานนี้และขอขอบคุณทีมงานทุกคนที่ได้คอยช่วยเหลือและร่วมกันท าอย่างเต็มที่ ขอบคุณครับ

(…………………………..…………...) นายคณาภูมิ บุตรไชยเจริญ

ตั้งแต่ที่ผมได้รู้ว่าจะได้เข้าทีมท างานผมยังกังวลอยู่ เลยว่า ผมจะท างานนี้ได้ไหม ซึ้งผมเป็นคนที่ใช้

คอมพิวเตอร์ไม่เก่งเลย หัวโบรานเอามากๆ แต่พอผมได้ลงมือท างานจริงๆ พ่ีบอมเป็นคนที่สอนทุกอย่าง พ่ีบอมเหมาะกับต าแหน่งกัปตันมากครับ พ่ีบอมแกท างานเก่ง มีความเป็นผู้น า จริงจังกับการท างาน (จนเครียด) สอนน้องๆ ได้ดี และสุดนี้ผมก็ต้องขอขอบคุณ ท่านอาจารย์ที่มีงานดีๆให้ท า ขอขอบคุณ พ่ีบอม ที่เป็นทั้ง พ่อ พ่ี อาจารย์ ในเวลาเดียวกันตอนท างาน พ่ีๆทุกคนในทีมที่ดูแลน้องๆและขอบคุณเพ่ือนๆที่ไปไหนไปกัน ไม่เคยบ่น

(…………………………..…………...)

นายอลงกรณ์ ไชยวัน ส าหรับความรู้สึกของกระผม ที่มีต่อการลงพ้ืนที่การท างานในครั้งนี้ กระผมรู้สึกว่า เป็นการท างานที่ดี สร้างสัมพันธภาพและมิตรภาพที่ดีต่อเพ่ือนร่วมงานทุกคน ท าให้รู้ถึงความรับผิดชอบ ความเสียสละ และความมีน้ าใจต่อเพ่ือนร่วมงาน ส าหรับการท างานในครั้งนี้ กระผมและเพ่ือนร่วมงานได้เดินทางเกือบหลายร้อยกิโลเมตร มีทั้งอุปสรรคและปัญหาต่างๆ ในการเดินทาง ท้อบ้าง เหนื่อยบ้าง แต่ก็ทุ่มเทกับการท างานทุกครั้ง ในการเดินทางแต่ละครั้งกระผมเคยรู้สึกท้อและอยากถอนตัวออกจากการท างาน แต่เพราะมิตรภาพและก าลังใจจากคนรอบข้างและเพ่ือนร่วมงาน ท าให้ผมตั้งใจ มุ่งมั่นและอยากจะท าในสิ่งที่ตัวเองรัก และท างานที่ได้รับมอบหมายมาให้ดีที่สุด ซึ่งกระผมคิดว่าการท างานชิ้นใหญ่แบบนี้ถือเป็นประสบการณ์และจุดเริ่มต้นของการท างานในครั้ งต่อไป ขอขอบคุณอาจารย์และพ่ีบอมบ์ (พีรวิชญ์) ที่หยิบยื่นโอกาสและประสบการณ์ดีๆ มาให้กระผมได้เรียนรู้และน าไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวันและในการท างานครั้งต่อไป

(…………………………..…………...)

นายอานนท์ พรมภักดี

Page 32: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 32

การท างาน Geo lifeเป็นประสบการณ์ท างานครั้งแรกของผม ก่อนรับงานพ่ีได้บอกผมว่าจะมีงานให้ท านะ ผมตื่นเต้นมากผมชอบการท างานลงพ้ืนที่อยู่แล้ว ในการท างานผมได้รับความรู้ต่างๆจากการท างานซึ่งมันไม่มีในต ารา การท างานเป็นไปอย่างสนุกสนานผมได้เห็นถึงความรับผิดชอบของการท างานร่วมกับผู้อ่ืน วันแรกของการเริ่มท างาน พ่ีๆและเพ่ือนๆในกลุ่มตั้งหน้าตั้งตารอว่าการลงพ้ืนที่ของเราจะออกมาเป็นแบบไหน และแล้วเราก็พากันท างานได้อย่างเต็มที่ มีความรู้ใหม่ๆจากงานสอนผมทั้งพวกพ่ีๆได้สอนงานให้กับผม ในวันแรกนั้นผมได้ประสบการณ์เต็มที่ วันที่สองในการส ารวจและเก็บข้อมูลนั้นเป็นไปอย่างราบรื่น มีทั้ งสนุกสนานและได้ท างานอย่างเต็มรูปแบบครับ วันที่สามนั้นเราจึงท างานแบบมั่นใจ สนุกมากๆครับ ผมขอขอบคุณทุกท่าน ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานนี้ ขอขอบคุณพ่ีๆในทีมทุกคน ขอบคุณอาจารย์ มากๆครับ

(…………………………..…………...) นายกรรชัย มะโนนอ้ม

ก่อนเริ่มงานผมไม่รู้ว่าต้องท าอะไรหรืองานที่จะท ามันเกี่ยวข้องกับอะไร แต่พอพ่ีบอมได้อธิบายรายละเอียด ผมก็สามารถเข้าใจได้ว่างานที่เราจะท าต้องท าอะไรบ้าง ท าไปเพ่ืออะไรและมีขั้นตอนในการท างานอย่างไร ก่อนวันลงภาคสนามกลุ่มของเราได้มีการแบ่งทีมออกเป็นสองฝ่าย เพื่อความสะดวกสบายในการลงพ้ืนที่ ในวันลงภาคสนามวันแรก ทีมของเราได้ลงภาคสนามครบทุกคนโดยไปพร้อมกันหมด และทุกๆคนก็มีหน้าที่เป็นของตัวเองอย่างชัดเจน ทุกคนท างานกันอย่างเต็มที่พร้อมกับความสนุกสนาน เพราะสิ่งนี้จากที่เราเหนื่อยกันมาทั้งวันมันก็กลับกลายมีแต่ความสุข หน้าที่แต่ละหน้าที่ท างานกันอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว วันที่สองและสามเราได้แบ่งทีมงานออกเป็นสองกลุ่มโดยกลุ่มแรกขึ้นทางทิศเหนือ กลุ่มสองลงมาทางทิศใต้ โดยกลุ่มของผมลงมาทางทิศใต้โดยจุดเริ่มต้อนอยู่ที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทุกคนท างานกันอย่างเต็มที่เหมือนเดิมพร้อมกับความสนุกสนานมีความสุข ทั้งถนนที่เราได้ไปลงพ้ืนที่ตามหมู่บ้านต่างๆ แถบจะไม่มีถนนที่เป็นคอนกรีตเลย เป็นถนนลูกรังซะส่วนใหญ่บางทีก็รู้สึกท้อและคิดว่าพ่ีผมพาผมมาท าอะไร แต่พอถึงที่พักความสนุกก็กลับมาอีกครั้ง ทีมนั่งปรึกษาปัญหา ท าให้ผมมีก าลังใจในการท างานต่อไป เพื่อนร่วมทีมก็เปน็อีกส่วนหนึ่งที่ท าให้งานของเราส าเร็จและพ่ีบอมหัวหน้างานของพวกเรา มีความเป็นผู้น าสูง ห่วงใยใส่ใจน้องทุกๆคน ขอบคุณครับ

(…………………………..…………...)

นายชุติพงศ์ ทองเนตร

Page 33: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 33

งานที่ท าแบบเป็นระบบตัวผมพึ่งจะได้ท าจริงๆก็คราวนี้ มันเป็นงานชิ้นที่ใหญ่ที่สุดของผมเลยก็ว่าได้ ได้ให้โอกาสผมเข้าร่วมทีมท างานทั้งๆที่ผมไม่มีประสบการณ์หรือความ สามารถอะไรโดดเด่นเลย พี่อธิบายแผนงานและแจงหน้าที่ออกมา(ผมได้เป็นฝ่ายสอบถามและเก็บขอมูลกับพ่ี) ในการท างานวันแรกทุกคนไปลงพ้ืนที่ด้วยกันทั้งหมด วันต่อมาพ่ีได้แบ่งทีมออกเป็น2 กลุ่มเพ่ือความรวดเร็ว กลุ่มทีมเราได้รับผมชอบส่วนโซนรอบนอกของจังหวัด ซึ่งต้องบอกเลยว่าระยะทางนั้นก็ไกลใช้ได้เลยอีกท้ังเส้นทางนั้นลึกและขรุขระ มากอีกท้ังการ Survey นั้นพวกผมไม่สามารถรู้ว่าภูมิปัญญาท้องถิ่นสิ่งนั้นยังเหลือไหมหรือบุคคลที่ท านั้นยังมีชีวิตอยู่ไหม บ้างก็เลิกท า บ้างก็เสียชีวิตแล้ว แต่พวกพ่ีๆก็พาผมและเพ่ือนเก็บข้อมูลจนได้มากที่สุดเท่าที่หาได้แล้ว จนส าเร็จ แรงบันดาลใจของผมคือการท างานแบบที่ชอบแล้วงานจะไหลลื่นและสนุกยิ่งถ้าได้ท า กับคนที่คุ้นเคยกัน ความเข้าใจและช่วยเหลือของระหว่างพ่ีและเพ่ือนๆนั้นท าให้ผมมีความสุขกับ การท างาน ขอบคุณทุกค าต าหนิแนะน าและความช่วยเหลือ

(…………………………..…………...)

นายณัฐวุฒิ ทิพย์พิชัย จากการท างานที่ผ่านมา เริ่มต้นจากการวางแผนเพ่ือรวบรวมข้อมูลเพ่ือใช้ในการท างาน ไปจนถึงวันที่ทีมงานทุกคนลงพ้ืนที่ ในความรู้สึกครั้งแรกของผมคืองานนี้เป็นงานที่ยากอีกทั้งมีอุปสรรคเข้ามาเยี่ยมเยือนอยู่ตลอดจนท าให้บางครั้งรู้สึกเหนื่อย และสิ่งที่ท าให้ผมยิ้มได้ หายเหนื่อยได้คือทีม คือเพ่ือนที่ท างานไปด้วยกัน เหนื่อยด้วยกัน สนุกด้วยกัน ท าให้ผมคิดว่าสิ่งที่ผมได้ไม่ใช่แค่งาน แต่คือความสุขที่ได้จากการท างาน จากรอยยิ้มของทุกคน ถึงจะเจอกับอุปสรรคและความล าบาก แต่มันก็ไม่สามารถท าให้เราท้อได้เพราะเรามีเพ่ือนทุกคนที่ชวยกันท างานและพร้อมที่จะก้าวเดินบนถนนสายนี้ไปด้วยกัน

(…………………………..…………...)

นายวีรวัฒน์ จันทวงษ ์

ตั้งแต่ท่ีเลือกผมเข้าท างานในทีม ผมรู้สึกดีใจมากเพราะรู้สึกว่าเป็นคนหนึ่งที่ได้รับความไว้วางใจจากพ่ีและอาจารย์ แล้วเมื่อเริ่มงานก็รู้ต่ออีกว่าเป็นงานของคณะเป็นงานที่มีความส าคัญ แล้วก็เริ่มท างานมีการแบ่งงานลงพ้ืนที่ลงหมู่บ้านต่าง ๆ เข้าหาผู้ใหญ่ คนเฒ่าคนแก่ในหมู่บ้าน พูดคุยถามไถ่ ชักถามข้อมูลที่เราต้ องการ ท าให้ได้ประสบการณ์ที่ดีรู้บรรยากาศการท างานจริง รู้การท างานเป็นทีม และได้ไปกับเพ่ือนท าให้รู้มิตรภาพและค าว่า “เพ่ือนไม่ทิ้งกัน” เก็บงานเก็บข้อมูลกลับมารวบรวมงานอย่างเป็นระบบ สุดท้ายงานนี้ท าให้ผมได้มากกว่าการท างานทั่ว ๆ ไปคือ ประสบการณ์ชีวิตจริงในการลงพ้ืนที่ท างาน ได้ความไว้ใจจากพ่ีและอาจารย์ และได้มิตรภาพจากเพ่ือนครับ

(…………………………..…………...)

นายประนัฐพล ไทยเจริญ

Page 34: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 34

จากวันแรกท่ีผมได้เข้ามาท างานผมมีความรู้สึกว่าการท างานผมต้องท าอะไรบ้างมันจะยากไหมหรือมันจะง่ายแต่พอได้มารู้จักกับทีมงานที่ร่วมงานด้วยกันแล้วผมรู้สึกดีและตื่นเต้นที่อยากจะท างานเพราะทีมงานเรามีการแบ่งงานการอย่างชัดเจนวันแรกๆในการออกส ารวจภาคสนามเป็นอะไรที่สนุกสนานมาก เพราะที่ที่ทีมงานเราไปเป็นการไปครั้งแรกของทุกคนที่ไปด้วยกันจึงไม่มีใครรู้ว่าที่ตรงนั้นอยู่ที่ไหนท าให้การท างานของพวกเราทุกคนต้องค้นคว้าหาเส้นทางช่วยกันท าให้เป็นการท างานที่สนุกมากๆครับ สุดท้ายนี้การท างานที่สนุกสนานอยากนี้จะเป็นความทรงจ าดีๆส าหรับผมตลอดไปครับขอบคุณครับ

(…………………………..…………...)

นายเอกอนันต์ พาพันธ์

กระผมเป็นหัวหน้าทีมท างานของนิสิต เพราะเป็นพ่ีชั้นปีที่ 4 ซ่ึงได้ผ่านกระบวนการเรียนทางด้านภูมิศาสตร์ที่มีแนวคิดหลักทางภูมิศาสตร์ คือ กายภาพ มนุษย์และเทคนิคทางภูมิศาสตร์ ท าให้ได้รับมอบหมายในการจัดการดูแลโครงการจัดท าแผนที่ทางศิลปวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม ได้ใช้องค์ความรู้หลากหลายวิชา ภูมิศาสตร์กายภาพ การอ่านแผนที่และการแปลภาพถ่ายทางอากาศ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบก าหนดต าแหน่งบนโลก น ามาผสมผสานกับแนวคิดการสร้างแบบจ าลองทางภูมิศาสตร์เพ่ือพัฒนาชุมชน ตามปรัชญาตามชื่อสาขาคือ ภูมิศาสตร์พัฒนาเพื่อการจัดการทรัพยากร

สิ่งที่ได้รับรู้สึกภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นและศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นท่ีมาเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรม เกิดความเชื่อมโยงองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาชาวบ้านที่เกิดจากการสร้างสรรค์จากความรู้ ความสามารถในการสร้างสรรค์ชิ้นงานขึ้นจากความรู้ ความสามารถของชุมชนในท้องถิ่นด้านหัตถกรรมประเภท งานสาน และสอดคล้องกับสภาพท้องถิ่นเพ่ือน ามาใช้ชีวิตประจ าวันโดยมีการพัฒนารูปแบบเพ่ือให้มีประโยชน์ใช้สอย เช่น ตะกร้า เสื่อ เป็นต้น ท าให้เกิดกระบวนการเรียนรู้พัฒนาการในด้านการท างานเป็นทีม การเรียนรู้การจัดระบบการเรียนน ามาประยุกต์ใช้ในศาสตร์และเข้าใจการบูรณาการระหว่างศาสตร์กับกิจกรรมด้านบริการวิชาการและท านุศิลปวัฒนธรรม

ขอขอบคุณมหาวิทยาลัย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาภูมิศาสตร์ได้มอบหมายงานชิ้นนี้ ท าให้กระผมได้ฝึกประสบการณ์การท างาน ฝึกแก้ปัญหาต่างๆ และทีมงานและน้องๆ ได้ให้ความร่วมมือให้การท างานส าเร็จลุล่วงเป็นอย่างด ี

(…………………………..…………...) นายพีรวิชญ์ สุภาร ี

Page 35: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 35

บทที่ 6 สรุปผลกำรด ำเนินงำน

การด าเนินงานหนึ่งหลักสูตรหนึ่งศิลปวัฒนธรรมของสาขาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาภูมิศาสตร์พัฒนาเพ่ือการจัดการทรัพยากร ภายใต้โครงการการจัดท าแผนที่ศิลปวัฒนธรรม Geo-Life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต เป็นการท างานร่วมกันระหว่างคณาจารย์และนิสิต สามารถแบ่งช่วงระยะท างานเป็น 3 ระยะคือ ระยะที่ 1 ขั้นเตรียมงานเป็นการวางแผนโครงงานกิจกรรมที่ด าเนินการระหว่างคณาจารย์และนิสิต เพ่ือวางกรอบแนวทางการท างานให้เป็นทิศทางเดียวกัน เป็นการเตรียมการเพ่ือออกภาคสนามทางด้านเครื่องมื อ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ประกอบ ระยะที่ 2 ขั้นออกภาคสนาม จากที่ก าหนดเส้นทางในแต่ละเส้นทางตามช่วงระยะเวลาที่ก าหนด โดยท าการเก็บข้อมูลต าแหน่งพิกัดทางภูมิศาสตร์และสัมภาษณ์คนในท้องถิ่น ระยะที่ 3 ขั้นจัดท ารายงาน ท าการสรุปรายงานผลจากการออกภาคสนาม วางกรอบแนวทางการเขียน และวิเคราะห์ความส าเร็จตามตัวชี้วัดของโครงการ ผลลัพธ์เชิงเศรษฐกิจและคุณค่าทางสังคม ระบบกลไกในการท านุบ ารุงในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม มีการจัดการด าเนินการเป็นระบบที่ก าหนด บูรณาการงานด้านท านุศิลปวัฒนธรรมกับกิจกรรมของนิสิตและการจัดการเรียนการสอน โดยท าการเผยแพร่กิจกรรม ประเมินผลส าเร็จของการบูรณาการด้านศิลปวัฒธรรม การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปวัฒนธรรม ซึ่งเป็นประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย 6.1 สรุปและข้อเสนอแนะ

ผลการด าเนินงานหนึ่งหลักสูตรหนึ่งศิลปวัฒนธรรมของสาขาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาภูมิศาสตร์พัฒนาเพ่ือการจัดการทรัพยากร ผ่านกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองจากศาสตร์ทางภูมิศาสตร์ โดยท าการส ารวจภาคสนามแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดมหาสารคาม เพ่ือจะผลิตเป็นแผนที่เฉพาะเรื่องทางด้านหัตกรรม แพทย์แผนไทย อาหาร เครื่องมือเครื่องใช้ และพิพิธภัณฑ์ศูนย์การเรียนรู้ ช่วยให้ท าให้เกิดความเข้าใจข้อมูลและต าแหน่ง เมื่อเสร็จสิ้นโครงการดังกล่าวท าการมอบแผนที่และข้อมูลดิจิตอลให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม หน่วยงานต่างๆ ที่สนใจ เช่น ศูนย์การท่องเที่ยวและศูนย์ศิลปวัฒนธรรมจังหวัดมหาสารคาม

การจัดโครงการเผยแพร่ข้อมูลให้กับคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ พบว่า ผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมงานและตอบแบบสอบถามความพึงพอใจการบริการท านุศิลปวัฒนธรรมมีจ านวนทั้งหมด 82 คน กลุ่มนิสิตและอาจารย์และเจ้าหน้าที่คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เหตุผลของการเข้าร่วมกิจกรรม คือ น าความรู้ไปใช้ในการชีวิตประจ าวัน ด้านกระบวนการให้บริการพบว่า มีการให้บริการด้วยความสุภาพและเป็นมิตร ระยะเวลาการให้บริการมีความเหมาะสมและ การให้ค าแนะน า ข้อมูลมีความชัดเจน ด้านสิ่งอ านวยความสะดวก พบว่า สถานที่และบรรยากาศเอ้ืออ านวยต่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพร้อมของวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร แต่การประสานงานและประชาสัมพันธ์ยังไม่ค่อยทั่วถึง ด้านประโยชน์ความรู้ทางภูมิศาสตร์ พบว่า ได้รับประโยชน์ความรู้หลังเข้าร่วมโครงการและสามารถน าประโยชน์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ได้จริงภาพรวมกิจกรรมอยู่ในระดับดีมาก

Page 36: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 36

ข้อเสนอแนะ 1. ควรจัดสรรงบประมาณโครงการด าเนินการทุกๆปี เพ่ือจะได้มีความต่อเนื่อง อีกท้ังได้เป็นการสร้าง

ความกระตือรือร้นให้แก่คณาจารย์และนิสิต และได้น าผลการปรับปรุงครั้งแรกไปพัฒนาต่อไป 2. ควรวิจัยเพื่อติดตามผลการด าเนินงานการบริการวิชาการอย่างต่อเนื่องทุกๆ ปี

3. พัฒนาระบบฐานข้อมูลและเครือข่ายชุมชน เพื่อจัดท าฐานข้อมูลและใช้ประโยชน์ในการจัดการ 4. ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการต่อยอดเป็นวิจัยในชั้นเรียน

Page 37: แบบฟอร์มการเสนอของบประมาณ ...rms.msu.ac.th/upload/art_culture/doc/5707013_9659(1).pdf · 2015-02-11 · ศิลปวัฒนธรรม

การจัดท าแผนท่ีแหล่งภมูิปัญญาทอ้งถิ่น Geo-life ภูมิศาสตร์ในวิถีชีวิต จังหวัดมหาสารคาม | 37

บรรณำนุกรม กุลยา วิวิตเสวี. (2548). วิวัฒนาการแนวคิดทางภูมิศาสตร์. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามค าแหง. ฉัตรชัย พงศ์ประยูร. (มปป). แนวคิดทางภูมิศาสตร์. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ธงชัย ธนะสิงห์. (2554). ภูมิศาสตร์และการพัฒนา. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามค าแหง. สุคนธ์ สินธพานนท์. (2553). นวัตกรรมการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาคุณภาพของเยาวชน. กรุงเทพฯ:

เทคนิคพริ้นติ้ง. สุมณฑา พรหมบุญ และอรพรรณ พรสีมา (2540). การเรียนรู้แบบม่ีส่วนร่วม .วารสารครุศาสตร์

(กรกฎาคม – ตุลาคม 2540), 28-29 Ager, R. (2000). The Art of Information and Communications Technology for Teacher. London:

David Fulton. Banskota T.R. (2009). Appication of GIS as education decision support system (EDSS). Paper

presented at the ESRI Education User Conference. Fitzpatrick C., & Maguire D.J. (2000). GIS in Schools: Infrastructure, Methodology and Role: Taylor

& Francis. Hassell, D. (2000). Issues in ICT and Geography. In C. a. B. In Fisher, Tony (Ed.), Issues in Geography

Teaching. New York: RoutledgeFalmer. Jones, R. (2001) Making ICT Work in Support og GCSE and a Level Geography. & J. Mansell (Vol.

Ed.). Using ICT in School. Suwanlee S.R. (2012). Analysis of Geo-Informatics Teaching Capabilities of Teachers in Thai High

School by Geographic Information System. Geography: Mahasarakham University