วิทยาศาสตร์การกีฬา (sports science) ·...

53
วิทยาศาสตร์การกีฬา(Sports Science) By Luckhana Pimjan + Exercise Science (Ph.D.), Mahidol university + Sports Medicine (M.Sc.), Chulalongkorn University + Sports Science (B.Sc.), Mahidol University C1, Room 156 Tel. 2008

Upload: others

Post on 19-Oct-2020

13 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

วิทยาศาสตร์การกีฬา(Sports Science)

By Luckhana Pimjan

+ Exercise Science (Ph.D.), Mahidol university

+ Sports Medicine (M.Sc.), Chulalongkorn University

+ Sports Science (B.Sc.), Mahidol University

C1, Room 156 Tel. 2008

Page 2: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

เป็นวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยน าหลักวิชาต่างๆ เช่นกายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยาการออกก าลังกาย จิตวิทยาการกีฬา สังคมวิทยาการ กีฬาเวชศาสตร์ โภชนาการการกีฬา เทคโนโลยีการกีฬา การจัดการการกีฬา มาประยุกต์ใช้ในการออกก าลังกาย การฝึกซ้อมกีฬา การแข่งขันกีฬา ตลอดจนการดูแลสุขภาพร่างกายอย่างเป็นขั้นตอน

วิทยาศาสตร์การกีฬา ( Sport science)

Page 3: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

โครงสร้างของร่างกาย ที่ประกอบขึ้นเป็นรูปร่างสัดส่วนของร่างกายนักกีฬาแต่ละคน ได้แก่ กระดูก กล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อ หัวใจ ปอด หลอดเลือด เม็ดเลือดแดง เซลล์ประสาท เป็นต้น

กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)

Page 4: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก
Page 5: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

การท างานของอวัยวะระบบต่างๆของร่างกาย ก่อน ระหว่าง หลังการออกก าลังกาย และมีผลต่อ ระบบประสาท ระบบกล้ามเนื้อ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบหายใจ และระบบอื่นๆ อย่างไร เช่น ระบบย่อยอาหาร: Metabolism, พลังงานและแหล่งพลังงานที่ใช้ในกิจกรรม ต่าง ๆ : Aerobic Exercise , Anaerobic Exercise •การพัฒนาความสามารถของการท างานของระบบต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพ เช่น ความทนต่อการมีกรดแลคติกสะสมในกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อสามารถใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ • การแลกเปลี่ยน ก๊าซออกซิเจน กับ คาร์บอนไดซ์ออกไซด์ อัตราการหายใจ • อัตราการเต้นของหัวใจ ; การหาระดับความหนักของการออกก าลังกาย จากสูตร (220 – อายุ) * % ออกก าลังกาย เช่น อายุ 20 ปี จะออกก าลังกายที่ระดับความหนัก 65 % เพื่อลดไขมัน อัตราการเต้นของหัวใจ จะเต้นกี่คร้ัง ต่อนาที = (220-20) * .65 = ? ครั้งต่อนาที

สรีรวิทยาการออกก าลังกาย (Exercise Physiology)

Page 6: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก
Page 7: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

การท างานของกล้ามเนื้อ กระดูก เอ็น และข้อต่อ เพื่อน าไปสู่การใช้แรง ในการเคลื่อนไหวหรือปฏิบัติทักษะ อย่างไรให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ในแต่ละชนิดหรือประเภทกีฬา เพื่อพัฒนาปรับปรุง เพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง ทางด้านเทคนิคทักษะกีฬา

ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics)

Page 8: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก
Page 9: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

ความรู้ หลักการในการการฝึก รูปแบบวิธี ความหนักเบา โปรแกรมการฝึกซ้อมที่ถูกต้อง โดยค านึงถึงอายุ เพศ วัย ประสบการณ์ ความแตกต่างระหว่างบุคคล เหมาะสมกับนักกีฬาแต่ละบุคคล ระบบพลังงานสมรรถภาพทางกาย เฉพาะประเภทกีฬา ความสามารถในการเรียนรู้รับรู้ของนักกีฬาแต่ละบุคคล การวางแผนการฝึกซ้อมในแต่ละช่วงเวลาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

ทักษะและการฝึกซ้อมกีฬา ( Sports Pedagogy)

Page 10: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก
Page 11: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

โภชนาการทางการกีฬา( Sports Nutrition)

- สารอาหาร แหล่งพลังงานที่ส าคัญที่ใช้ในการออกก าลังกาย การเล่นกีฬา - อาหารส าหรับบุคคลทั่วไปและบุคคลพิเศษ : ช่วยให้รู้จักเลือกรับประทานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการและเหมาะสมกับกิจกรรมกีฬานั้นๆ หรือซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอส าหรับนักกีฬาทั้งในช่วงการฝึก การแข่งขันและหลังการแข่งขัน เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดในการแข่งขัน

Page 12: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

การลดน้ าหนักที่ได้ผลมากสุด: ออกก าลังกายแบบแอโรบิค + อาหาร

Page 13: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

กระบวนการคิดการควบคุมทักษะการเคลื่อนไหวและทักษะกีฬา การตัดสินใจในแต่ละสถานการณ์ ถูกต้องเป็นผลดีต่อเกมส์การแข่งขันการแสดงออกซึ่งทักษะและความสามารถของนักกีฬาได้อย่างสอดคล้อง สัมพันธ์กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น : ช่วยในการสร้างแรงขับในทางบวกและลดความวิตกกังวลของนักกีฬา

จิตวิทยาการกีฬา ( sports psychology )

Page 14: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก
Page 15: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

การป้องกัน บ าบัดรักษา และฟื้นฟู สภาพร่างกายให้กับนักกีฬาทั้งในสภาวะปกติและในระหว่างการฝึกซ้อมเพื่อช่วยเสริมให้สมรรถภาพทางกายอยู่ในสภาวะที่สมบูรณ์และพร้อมที่จะใช้งานได้ดีที่สุด

เวชศาสตร์การกีฬา (Sports Medicine)

•อาการบาดเจ็บจากการกีฬามักมีสาเหตุจาก 2 คือประการ 1.การใช้งานของอวัยวะส่วนนั้นมากเกินไป 2.จากอุบัติเหตุของการเล่นกีฬา •การป้องกันการบาดเจ็บ นอกจากการป้องกันจากภายนอกได้ คือจากอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการกีฬา ยังสามารถป้องกันด้วยสมรรถภาพทางกาย ป้องกันด้วยทักษะ ป้องกันด้วยโภชนาการ ป้องกันด้วยสภาพแวดล้อม ป้องกันด้วยการอบอุ่นร่างกาย และป้องกันด้วยวิธีการ

Page 16: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก
Page 17: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

ประดิษฐ์การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ช่วยสนับสนุนในการพัฒนาส่งเสริมตลอดจนการแก้ไขปัญหา ข้อบกพร่องให้กับนักกีฬาเพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพให้กับผู้ฝึกสอนกีฬาและนักกีฬารวมทั้งการวิเคราะห์ข้อมูลการเคลื่อนไหวทางด้านเทคนิคทักษะ การประเมินผลและรายงานผลการแข่งขันที่เป็นประโยชน์ถูกต้องรวดเร็วให้กับผู้ฝึกสอนกีฬา นักกีฬา และผู้ชม เช่น การถ่ายภาพ การถ่ายวิดีโอ โทรทัศน์ : วิเคราะหก์ารเคลื่อนไหวในเชิงกีฬา โค้ชและนักกีฬาน าเอาข้อมูลที่ได้มาปรับปรุง แก้ไข พัฒนา ความสามารถของนักกีฬาให้ดีขึ้นได้

เทคโนโลยีทางการกีฬา(Sports and technology)

Page 18: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก
Page 19: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

การจัดการกีฬา (Sports Management)

การบริหารและการจัดการมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการในองค์กรกีฬา การจัดการแข่งขันกีฬา รวมทั้งการท าธุรกิจด้านกีฬา ฯลฯ : การเรียนรู้ ในเรื่องการแก้ปัญหาต่างที่เกิดขึ้นในองค์กรกีฬา(องค์กรกีฬาต่างๆ เช่น การแข่งขัน โอลิมปิก เอเชี่ยนเกมส์ ซีเกมส์ กีฬาแห่งชาติ กีฬาสโมสรอาชีพ ฯลฯ)

Page 20: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก
Page 21: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

Citius (swifter) : เร็วที่สุด Altius (higher) : สูงที่สุด Fortius (stronger) : ความแข็งแกร่งที่สุด

Page 22: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก
Page 23: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

กระบวนการพัฒนาเสริมสร้างส าหรับการออกก าลังกาย

1. วัดและทดสอบร่างกาย (Assessment) 2. ประเมินผล (Interpretation) 3. การจัดโปรแกรม (Prescription)

3.1 รูปแบบการออกก าลังกาย (Mode) 3.2 ความถี่ของการออกก าลังกาย (Frequency) 3.3 ระยะเวลาการออกก าลังกาย (Duration) 3.4 ความหนักของการออกก าลังกาย (Intensity) 3.5 ข้อควรระวังในการออกก าลังกาย (Precaution) 3.6 ความก้าวหน้าของการการออกก าลังกาย (Progression)

Page 24: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

หลักการออกก าลังกายที่ถูกต้อง

•การเตรียมพร้อมก่อนออกก าลังกาย: พักผ่อนเพียงพอ, การแต่งกาย, น้ าดื่ม ร่างกายและจิตใจพร้อม •การออกก าลังกายอย่างปลอดภัย: -คนมีโรคประจ าตัวควรปรึกษาแพทย์ ก่อน(ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหัวใจ อ้วน ), -เลือกกิจกรรมที่ชอบ สะดวกที่สุด ไม่หักโหม ควรเป็นการออกก าลังกายอย่างต่อเนื่อง(aerobic exercise) - ส าหรับคนอ้วน หรือผู้ที่เริ่มออกก าลังกาย: เดินเร็ว ปั่นจักรยาน ว่ายน้ า 60-65% เพราะเหนื่อยไม่มาก และลดน้ าหนักได้ ปวดข้อน้อย - คนปกต:ิ วิ่ง ท าให้หัวใจเต้นเร็ว เหนื่อย เพิ่มความฟิตของร่างกายมากขึ้น

Page 25: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

• การเตรียมตัวก่อนออกก าลังกาย: warm up 5-10 นาที, ป้องกันการบาดเจ็บ

• เลือกกิจกรรมให้เหมาะสมกับระดับความฟิต: 30 นาทีขึ้นไป • การปฏิบัติตัวหลังการออกก าลังกาย: cool down 5-10 นาที, ชีพจรลดลงปกต,ิ ดื่มน้ าเพียงพอ

หลักการออกก าลังกายที่ถูกต้อง(ต่อ)

รศ.นพ.อภิชาติ อัศวมงคลกุล, ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบ าบัด คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

Page 26: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

1. อบอุ่นร่างกาย (warm up) 1.1. ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (stretching) 1.2 บริหารข้อต่อ ร่างกาย วิ่งเหยาะๆ

2. ออกก าลังกาย (exercise)

2.1 Aerobic exercise 2.2 Anaerobic exercise 2.3 Strengthening exercise 3. คลายอุ่น (cool down) คล้ายช่วง warm up แต่ท าช้าลง เพื่อลดอัตราการเต้นของหัวใจกลับสู่ภาวะปกติ และ เคล่ือนย้ายกรดแลคติค ต้นตอความเมื่อยล้าในกล้ามเนื้อ

Steps of exercise

Page 27: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

หลักFITTส าหรับการจัดโปรแกรมการออกก าลังกาย

• F = frequency ความบ่อยของการออกก าลังกาย 3-5 วัน/สัปดาห ์• I = intensity ความหนักของกิจกรรม ดูจากอัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด = 220- อายุ (ครั้ง/นาท)ี เช่น นาย ใจดี อายุ 20 ปี จะมีอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด___ครั้ง/นาท ี• T = time, duration ระยะเวลาที่ใช้ในการออกก าลังกาย 30-45 นาที • T = type, mode ชนิดหรือกิจกรรม การออกก าลังกาย - การออกก าลังกายแบบอากาศนิยม(aerobic exercise) - การออกก าลังกายแบบอนากาศนิยม(anaerobic exercise) - การออกก าลังกายแบบใช้แรงต้าน (resistance training)

Page 31: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

การเลือกกิจกรรมส าหรับการออกก าลังกาย

ข้อควรค านึง

• อายุ

• เพศ

• ระดับสมรรถภาพทางกาย

• โรคประจ าตัว

• อุปกรณ์และการแต่งกาย

Page 35: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

ปัจจัยที่ส่งเสริมสุขภาพที่ด ี

• การออกก าลังกายอยา่งสม่ าเสมอ • การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบถว้น • การพักผ่อนที่เพียงพอ • การป้องกันโรค • การลดหรือเลิกสิ่งที่บ่ันทอนสุขภาพ

Page 37: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

Team sport

Page 38: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

อุปกรณ์และการแต่งกาย

Page 39: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

1. Prevention 2. Immediate care: RICE= R = Rest I = Ice C = Compression E = Elevation

การบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา (Sports Injuries)

Page 41: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

– ไม่หายใจ (Cessation of breathing)

– เลือดออกมาก (Severe bleeding)

– ชีพจรไม่เต้น (No pulse)

– บาดเจ็บที่สมองและหมดสติ (Concussion with loss

of consciousness)

– บาดเจ็บที่คอหรือสันหลัง(Neck or spinal injury)

ข้อบ่งชี้ของการบาดเจ็บที่ฉุกเฉิน

Page 42: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

– กระดูกหักและข้อเคลื่อน(Fractures and dislocations)

– บาดเจ็บที่ตา (Eye injuries)

– หอบหืดรุนแรง(Severe asthma attack)

– เป็นไข้แดด(Heat-related illness)

– ช๊อค(Shock)

ข้อบ่งชี้ของการบาดเจ็บที่ฉุกเฉิน(ต่อ)

Page 43: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

– ถลอก(Abrasions)

– ของมีคมบาด(Minor cuts)

– ตึงกล้ามเนื้อ(Strains)

– ข้อเคล็ด(Sprains)

– สมองกระทบกระเทือนแต่ยังมีสติ(Minor concussions

without loss of consciousness)

– ฟกช้ า(Contusions)

ข้อบ่งชี้ของการบาดเจบ็ที่ไม่รุนแรง

Page 44: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

ข้อเคลื่อน (Joint dislocation)

Page 45: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

กระดูกหัก (Bone fracture)

Page 47: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

แผลถลอก (Abrasion)

ฟกช้ า (Contusion)

Page 48: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

การปฐมพยาบาลเบื้องต้น (First Aids)

Page 49: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

Rest and Ice

Page 51: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

ข้อปฏิบัติเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากการออกก าลังกายหรือกีฬา

รับประทานอาหารก่อน 3-4 ชม & ดื่มน้ าเพียงพอ/เกลือแร่

อบอุ่นร่างกายโดยปฏิบัติตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง รวมทั้งการบริหารความอ่อนตัว (Jogging + Stretching)

สวมใส่รองเท้าและถุงเท้าให้พอดีและเหมาะสมกับกีฬา มั่นคงและรองรับแรงกระแทก

ออกก าลังกายที่บริเวณพื้นเรียบ ไม่วิ่งบนลาดยางหรือคอนกรีต

Page 52: วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) · ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) ความรู้ หลักการในการการฝึก

ศึกษาเรียนรู้วิธีการเล่นและปฏิบัติทักษะอย่างถูกวิธี

เพิ่มระดับความหนักของการออกก าลังกาย อย่างต่อเนื่องสม่ าเสมอ

รู้ข้อจ ากัดของตัวเอง ไม่เล่นมากเกินความสามารถตัวเอง

น าส่งรพ. ให้เร็วที่สุด

พยายามออกก าลังกายอย่างเต็มที่เพื่อพัฒนา ทุกๆระบบ

แบ่งเวลาออกก าลังกายตลอดทั้งสัปดาห์