คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน standard manual...

15
คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิทัลด้วยโปรแกรม QGIS จัดทาโดย กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Upload: others

Post on 03-Jan-2020

15 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

คู่มือมาตรฐานการปฏบิัติงาน Standard Manual

การวาดแปลงเกษตรกรรมดิจทิัลดว้ยโปรแกรม QGIS

จัดท าโดย

กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี

กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Page 2: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

ค าน า

กรมส่งเสริมการเกษตรได้ด าเนินการขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร เพื่อใช้ในการจัดท าฐานข้อมูลเกษตรกรเป็นรายครัวเรือน และทราบสถานการณ์การผลิตประกอบการวางแผนพัฒนาด้านการเกษตรของประเทศ รวมถึงให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและสนับสนุนการด าเนินงาน ตามนโยบายของรัฐบาลต่างๆ ตลอดจนเป็นฐานข้อมูลส าหรับตรวจสอบการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรในกรณีเกิดภัยพิบัติ

โดยกรมส่งเสริมการเกษตรมีเป้าหมายการด าเนินโครงการจ านวน ๑๓,๐๐๐,๐๐๐ แปลงตลอดโครงการ และจัดสรรเป้าหมายด าเนินการวาดแปลงเพาะปลูกให้แต่ละจังหวัดด าเนินการ เจ้าหน้าที่สามารถวาดแปลงผ่านโปรแกรม GISAGRO Application FAARMis และโปรแกรม QGIS ซึ่งเป็นโปรแกรมทาง ภูมิสารสนเทศศาสตร์ที่เปิดให้ดาวน์โหลดใช้ได้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและยังมีการปรับปรุงโปรแกรมให้มีความทันสมัยพร้อมใช้งานอยู่เสมอ

กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ ๘ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จึงได้จัดท าคู่มือการวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอลด้วยโปรแกรม QGIS ขึ้นเพ่ือใช้เป็นคู่มือและแนวทางในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ต่อไป

ผู้จัดท า กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ

สิงหาคม 2561

Page 3: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

สารบัญ

หน้า ค าน า (ก) สารบัญ (ข) 1. หลักการและเหตุผล 1 2. วัตถุประสงค์ 1 3. ขอบเขต 1 4. ค าจ ากัดความ 1 5. หน้าที่ความรับผิดชอบ 2 6. ผังกระบวนงาน (Work Flow) 2 7. ขั้นตอนการปฏิบัติ 3 8. มาตรฐานงาน 12 9. ระบบติดตามประเมินผล 12 10. เอกสารอ้างอิง 12

Page 4: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

กระบวนงาน การวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอลด้วยโปรแกรม QGIS 1. หลักการและเหตุผล กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีการรับขึ้นทะเบียนเกษตรกรในกลุ่มผู้ปลูกพืช ท าไร่นาสวนผสม ท านาเกลือและเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจ พร้อมทั้งท าการวาดผังแปลงเกษตรกรรมที่เกษตรกรน ามาขึ้นทะเบียนควบคู่ไปกับการขึ้นทะเบียนและการปรับปรุงทะเบียนเกษตรกรด้วยโปรแกรมต่างๆ เพ่ือต้องการทราบสถานการณ์การเพาะปลูก รวมถึงให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและสนับสนุนการด าเนินงาน ตามนโยบายของรัฐบาลต่างๆ ตลอดจนเป็นฐานข้อมูลส าหรับตรวจสอบการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรในกรณีเกิดภัยพิบัติ โปรแกรม QGIS เป็นโปรแกรมที่เปิดให้สามารถดาวน์โหลดมาใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และมีการพัฒนาโปรแกรมด้วยบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ จึงสามารถน ามาใช้ในการวาดแปลงเกษตรกรรม เพื่อน าข้อมูลที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆต่อไป ดังนั้นการจัดท าคู่มือการวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอลด้วยโปรแกรม QGIS จึงจ าเป็นต่อการวาดแปลงเกษตรกรรมของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการการข้ึนทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร เพ่ือใช้เป็นคู่มือและแนวทางในการปฏิบัติงานต่อไป 2. วัตถุประสงค ์ เพ่ือให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการการข้ึนทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ด าเนินการวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอลด้วยโปรแกรม QGIS ได้อย่างถูกต้อง 3. ขอบเขต คู่มือด าเนินการวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอลด้วยโปรแกรม QGIS ครอบคลุมขั้นตอนการวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอล ตั้งแต่กระบวนการดาวน์โหลดโปรแกรม ติดตั้ง ตั้งค่า และขั้นตอนการวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอล จนกระทั่งการส่งแปลงที่วาดเสร็จแล้วไปยังเว็บไซต์ https://ssmap.doae.go.th/geofarmer 4. ค าจ ากัดความ ระบบพิกัด (Coordinate system) หมายถึง ข้อมูลเชิงพ้ืนที่ที่อยู่ในรูปของสถานที่ตั้ง หรือคุณลักษณะอ่ืนใดบนพื้นโลกจะต้องมีพิกัดก ากับไว้อยู่เสมอ เพื่อให้ทราบว่าวัตถุหรือสิ่งของนั้นมีที่อยู่ที่แน่นอน และสามารถค านวณหาความสัมพันธ์เชิงต าแหน่งในระหว่างกันได้ ระบบพิกัดกริด (Universal Transverse Mercator System: UTM) หมายถึง เป็นระบบตารางกริดที่ช่วยในการก าหนดต าแหน่งและใช้อ้างอิง ในการบอกต าแหน่งที่นิยมใช้กับแผนที่ มีตารางกริดที่มีขนาดเท่ากันทุกตาราง และมีวิธีการก าหนดบอกพิกัดที่ง่ายและถูกต้อง โดยเป็นชุดตัวเลขอย่างน้อย 2 ค่า ได้ แก่ค่า X และค่า Y โซน (Zone) หมายถึง เส้นสมมติที่ลากในแนวเหนือ-ใต้บนพ้ืนผิวของโลก ผ่านใจกลางมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งก าหนดสถานที่ซึ่งวันตามปฏิทินเริ่มต้น เส้นดังกล่าวอยู่ที่ประมาณลองติจูด ๑๘๐ องศา ตรงข้ามกับเส้นเมริเดียนแรก แต่ลากอ้อมบางดินแดนและกลุ่มเกาะบางกลุ่ม ประเทศไทยอยู่ในโซนที่ 47N และ 48N โดยจังหวัดส่วนใหญ ่อยู่ในโซน 47N ยกเว้นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือฝั่งตะวันออก ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตราด นครพนม บุรีรัมย์ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด ศรีษะเกษ สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย อ านาจเจริญ อุดรธานี อุบลราชธานี อยู่ในโซน 48N

1

Page 5: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

5. หน้าที่ความรับผิดชอบ คู่มือการวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอลด้วยโปรแกรม QGIS มีบุคคลที่เกี่ยวข้องได้แก่ 1) ผู้อ านวยการส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ ๘ จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีหน้าที่เป็นผู้บริหารสูงสุด ใช้อ านาจในการตัดสินใจและมีบทบาทเป็นผู้น าองค์กร 2) ผู้อ านวยการกลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ มีหน้าที่ในการควบคุมการด าเนินงาน และก ากับให้การด าเนินงานให้เป็นไปตามระยะเวลา 3) เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการการขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร มีหน้าที่ในการขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร พร้อมทั้งวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอล 6. ผังกระบวนงาน (Work Flow)

ขั้นตอนการเตรียมข้อมูล • ดาวน์โหลดโปรแกรม QGIS • ติดตั้งโปรแกรม QGIS • การดาวน์โหลดปลั๊กอิน • การคัดเลือกแปลงในการ

วาด • การตั้งค่าโปรแกรม

ก่อนวาดแปลง

ขั้นตอนการวาดแปลง การส่งแปลงที่วาด

2

Page 6: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

7. ขั้นตอนการปฏิบัตงิาน ขั้นตอนการเตรียมข้อมูล 1) ดาวน์โหลดโปรแกรม QGIS

- เข้าไปโหลดโปรแกรมที่เว็บไซต์ https://download.qgis.org - เลือกเวอร์ชั่นที่ต้องการ

2) การติดตั้งโปรแกรม QGIS

- ดับเบ้ิลคลิกไฟล์โปรแกรม QGIS ที่โหลดมา - ปรากฏหน้าต่าง Setup จากนั้นคลิกที่ Next

3

Page 7: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

- ปรากฏหน้าต่างแสดงค าชี้แจงต่างๆ ให้คลิก I Agree - เลือกพ้ืนที่จัดเก็บ จากนั้นคลิก Next - เลือก conponents จากนั้นคลิก Install - รอจนโปรแกรมติดตั้งเสร็จสมบูรณ์ จากนั้นคลิกที่ Finish

3) การดาวน์โหลดปลั๊กอิน - ไปที่เมนูเลือก Mange And Install Plugins..

- พิมพ์ชื่อปลั๊กอิน ZoomToCoordinates และ OpenLayers Plugin ในช่องค้นหา - จากนั้นคลิก Install Plugin โดยท าการค้นหาและติดตั้งครั้งละ 1 ปลั๊กอิน

4

Page 8: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

4) การคัดเลือกแปลงในการวาด - ไปที่เว็บไซต์ https://ssmap.doae.go.th/geofarmer - ด าเนินการเข้าสู่ระบบ

- ไปที่เมนูรายงาน -> ข้อมูลแปลงส าหรับใช้วาดแปลง -> แปลงที่ยังไม่วาด หน้าต่างจะแสดงแปลงที่ยังไม่วาด เลือกวาดแปลงในปีปัจจุบันและแปลงที่มีพิกัดก่อน

แปลงปีปัจจุบัน พิกดัแปลง

5

Page 9: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

5) การตั้งค่าโปรแกรมก่อนวาดแปลง - การเรียกใช้เครื่องมือ Digitizing คลิกขวาบนพ้ืนที่ว่างหลังเมนูบาร์ จากนั้นเลือก Advance

Digitizing Toolbar

- การตั้งค่า Snapping เพ่ือให้เส้นขอบแปลงที่อยู่ติดกันแนบสนิทกัน ไปที่เมนู เลือก setting เลือกsnapping options

- ตั้งค่า Snap to เลือกเป็น Vertex and segment - Tolerance เท่ากับ 5 pixels จากนั้นคลิก OK

6

Page 10: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

ขั้นตอนการวาดแปลง 6) ขั้นตอนการวาดแปลง

- เปิด Shapefile ตั้งต้นส าหรับใช้วาดแปลง โดยมีวิธีเปิด 2 วธิี คือ 1. การเปิดจาก และการ2. เปิดจากเมนู Layer -> add Layer -> Add Vector Layer

- เปิดภาพดาวเทียมจาก Google มาซ้อนทับ เพ่ือดูขอบเขตแปลงที่จะท าการวาด โดยไปที่เมนู เลือก Web -> OpenLayer Plugin -> Google Maps -> Google Satellite

7

Page 11: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

- ตั้งค่า EPSG ของภาพดาวเทียม ให้ตรงกับโซนที่เราจะท าการวาด โดยคลิกที่ EPSG XXXX พิมพ์ที่ช่อง Filter หากพ้ืนที่อยู่ในโซน 47 ให้พิมพ์ 32647 หากพ้ืนท่ีอยู่ในโซน 48 ให้พิมพ์ 32648

- ตั้งค่ามาตราส่วนเพื่อให้มองเห็นภาพถ่ายดาวเทียมได้อย่างชัดเจน โดยคลิกที่ Scale ตั้งค่ามาตราส่วนไม่ต่ ากว่า 1:2000

8

Page 12: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

- Copy ค่า X และค่า Y จากหน้าเว็บ GEOFARMER ไปใส่ลงในฟังชันก์ Zoomtocoordinates ในโปรแกรม QGIS และเม่ือกดปุ่มแว่นขยายจะมีแนวเล็งไปยังพิกัดนั้น

9

Page 13: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

- ก่อนท าการวาดจัดวางชั้นข้อมูล Shapefile ตั้งต้นให้อยู่ด้านบน และชั้นข้อมูล Google Satellite ให้อยู่ด้านล่าง

- จากนั้นคลิกที่ - คลิกท่ีไฮไลท์ชั้นข้อมูล Shapefile ตั้งต้น

- จากนั้นคลิก Add Feature - ท าการวาดแปลงโดยเริ่มที่มุมแปลง จนครบรอบแปลงโดยจะมีแนวเล็งเป็นกรอบสีแดงดังภาพ

10

Page 14: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

- เมื่อจบการวาดแปลงให้คลิกขวา 1 ครั้ง จะปรากฏหน้าต่าง Feature Attibutes - น าเลข Activity จากเว็บ GEOFARMER กรอกลงไปในช่อง Activity จากนั้นคลิก OK

การส่งแปลงที่วาด 7) การส่งแปลงที่วาด

- ลากเมาส์คลุม shapefile ที่ท าการวาดแปลงแล้ว โดยเลือกทุกนามสกุลไฟล์ จากนั้นคลิกขวา เลือก sent to compressed (Zipped) folder

- ลงชื่อเข้าเว็บไซต์ https://ssmap.doae.go.th/geofarmer เลือกเมนูน าเข้าแปลง - สามารถลากไฟล์ที่ท าการ Zipped เมื่อสักครู่ลงในเว็บได้เลย จากนั้นระบบจะท าการอัพโหลดรูป

แปลงอัตโนมัติ

11

Page 15: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

8. มาตรฐานงาน กระบวนงาน การวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิทัลด้วยโปรแกรม QGIS มาตรฐานการปฏิบัติงาน ผู้ปฏิบัติงาน มีผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ และสามารถด าเนินงานตาม การวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิทัลด้วยโปรแกรม QGIS ได้อย่างถูกต้อง ชื่อกระบวนงาน : การวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิทัลด้วยโปรแกรม QGIS ผู้รับผิดชอบกระบวนการท างาน : กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ล าดับขั้นตอน มาตรฐานการปฏิบัติ 1. ขั้นตอนการเตรียมข้อมูล - จัดเตรียมข้อมูลเกี่ยวกับเกษตรกร การเพาะปลูก พิกัดแปลงและโปรแกรม

ให้พร้อมส าหรับการวาดแปลง 2. ขั้นตอนการวาดแปลง - เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบสามารถด าเนินการวาดแปลงได้อย่างถูกต้อง

ตามหลักการทางภูมิสารสนเทศ 3. การส่งแปลงที่วาด - ผู้รับผิดชอบสามารถส่งแปลงได้อย่างถูกต้อง 9. ระบบติดตามประเมินผล 9.1 การตรวจสอบผังแปลงเกษตรกรรมดิจิทัลโดยศูนย์สารสนเทศและการสื่อสาร 10. เอกสารอ้างอิง 10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม QGIS DESKTOP (เบื้องต้น) ของกรมทางหลวงชนบท 10.2 คู่มือการใช้โปรแกรม QGIS ส านักเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ การประปาส่วนภูมิภาค 10.3 คู่มือการใช้โปรแกรม QGIS ศูนย์สารสนเทศชุมชนคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 10.4 คู่มือการใช้โปรแกรม QGIS มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 10.5 คู่มือการใช้โปรแกรม QGIS กรมส่งเสริมการเกษตร

12