ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/eco_pla_man/wipawee_p.pdf ·...

265
การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา: กรณีศึกษา ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี ปริญญานิพนธ ของ วิภาวี พลรัตน เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวางแผนและการจัดการ การทองเที่ยวเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอม พฤษภาคม 2551

Upload: others

Post on 02-Oct-2020

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา:

กรณีศึกษา ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี

ปริญญานิพนธ ของ

วิภาวี พลรัตน

เสนอตอบัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพ่ือเปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาการวางแผนและการจัดการ

การทองเที่ยวเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอม พฤษภาคม 2551

Page 2: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา:

กรณีศึกษา ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี

ปริญญานิพนธ

ของ วิภาวี พลรัตน

เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพ่ือเปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวางแผนและการจดัการ

การทองเที่ยวเพือ่อนุรักษสิ่งแวดลอม พฤษภาคม 2551

ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 3: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา: กรณีศึกษา ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี

บทคัดยอ ของ

วิภาวี พลรัตน

เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพ่ือเปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวชิาการวางแผนและการจัดการการทองเที่ยวเพื่ออนุรักษสิง่แวดลอม พฤษภาคม 2551

Page 4: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

วิภาวี พลรัตน. (2551). การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา: กรณีศึกษา ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี. ปริญญานิพนธ วท.ม.(การวางแผนและการจัดการการทองเที่ยวเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอม). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. คณะกรรมการควบคุม: วาท่ีรอยตรี ดร.มนัส บุญประกอบ, ผูชวยศาสตรจารยสาวิตรี พิสณุพงศ.

การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค 4 ประการ คือ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบเสนทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา

ในเสนทาง “ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี” 2) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจตอการ

ทองเที่ยวของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมตอการทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิมและนักทองเที่ยวกลุมทดลองตอการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา 3) เพ่ือสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรีที่เหมาะสมตอรูปแบบการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในเสนทาง “ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี” และ 4) เพื่อศึกษา

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยว ผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว มัคคุเทศก และประชาชนทองถิ่น เกี่ยวกับการ

ทองเที่ยวทางน้ําในพื้นที่ฝงธนบุรี และความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ กลุมตัวอยางที่ใชในการ

วิจัยแบงเปน 5 กลุม ไดแก ทรัพยากรการทองเที่ยว 36 แหง นักทองเที่ยว 27 คน ผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว 57

แหง มัคคุเทศก 100 คน และประชาชนทองถิ่น 100 คน เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยแบบสํารวจทรัพยากรการ

ทองเที่ยวและแบบสอบถามของกลุมตัวอยางแตละกลุม ซึ่งสถิติที่ใชในการวิจัย คือ คาเฉลี่ย คาฐานนิยม และสวน

เบ่ียงเบนมาตรฐาน โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS 14 ในการประมวลผล ผลการวิจัยพบวา รูปแบบเสนทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา โดยการลองเรือผานคลองบางกอกใหญ คลองบางเชือก

หนัง คลองบางนอย คลองบางพรม คลองบางระมาด คลองชักพระ คลองบางกอกนอย และแมนํ้าเจาพระยา

ระหวางคลองบางกอกนอยถึงคลองบางกอกใหญ ใชระยะเวลาการเดินทางตั้งแต 09.00 - 16.00 น. โดยเลือก

ทรัพยากรการทองเที่ยวที่มีความเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศและประวัติศาสตร การเลือกใชมัคคุเทศกที่มี

ประสบการณ และกระตุนใหเกิดการเรียนรูของนักทองเที่ยวตอการปฏิบัติตนที่เหมาะสมในแหลงทองเที่ยวและ

ชุมชนทองถิ่น รวมทั้งการเปดโอกาสใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา เชน การเปนมัคคุเทศกทองถิ่น นอกจากน้ัน ยังมีมาตรการปองกันและลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในพื้นท่ีของ

แหลงทองเที่ยวและชุมชน เชน การใชเรือหางยาวที่มีมาตรฐานดานความปลอดภัย การปองกันนํ้าเนาเสียและการ

ทิ้งขยะมูลฝอยในลํานํ้าเตรียมถุงขยะสําหรับนักทองเที่ยวทุกคน นักทองเที่ยวกลุมทดลองดวยการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํามีความพึงพอใจมากกวานักทองเที่ยวกลุม

ควบคุมดวยการทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิม สวนเรื่องความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

นักทองเที่ยวกลุมทดลองมีความเขาใจมากกวานักทองเที่ยวกลุมควบคุม และนักทองเที่ยวทั้งสองกลุมมีความเห็น

วา พื้นท่ีฝงธนบุรีมีความเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ เน่ืองจากฝงธนบุรีมีประวัติศาสตร

ความเปนมายาวนาน และยังอุดมสมบูรณไปดวยแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติและประวัติศาสตร

Page 5: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ทรัพยากรการทองเที่ยวที่ใชในการทองเท่ียวเชิงนิเวศทางน้ํา ไดแก วัดอรุณราชวราราม วัดโมลีโลกยา

ราม มัสยิดตนสน วัดกัลยาณมิตร ศาลเจาเกียนอันเกง วัดอินทาราม ตลาดนํ้าคลองลัดมะยม สวนกลวยไม

พิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี วัดระฆังโฆสิตาราม วังหลังและกําแพงวังหลัง ประชาชนทองถิ่นมีความรูความเขาใจตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยูในระดับมาก และมีความคิดเห็นตอ

การมีสวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยูในระดับมาก รวมทั้งคิดวาพื้นท่ีของตนเหมาะสมตอการ

พัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ โดยควรจัดรูปแบบการดําเนินการจัดการทองเที่ยวในชุมชนแบบมีสวนรวมระหวาง

ชุมชนทองถิ่นและบุคคลภายนอก ผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวมีความคิดเห็นตอความพรอมของปจจัยตาง ๆ ดานการทองเที่ยวในพื้นท่ี

ฝงธนบุรีโดยรวมอยูในระดับปานกลาง และไมมีการดําเนินนโยบายดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางชัดเจน อยางไร

ก็ตาม ยังคงคิดวาพ้ืนท่ีฝงธนบุรีเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ มัคคุเทศกมีความคิดเห็นตอความพรอมของปจจัยตาง ๆ ดานการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรีโดยภาพ

รวมอยูในระดับปานกลาง และมีความรูความเขาใจตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยภาพรวมอยูในระดับ

มาก รวมทั้งยังมีความคิดเห็นวาพ้ืนท่ีฝงธนบุรีเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ

Page 6: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

Water Ecotourism Design Development:

A Case Study of Retracing the Historical Route within an Area of the Old Capital City –

Thonburi

AN ABSTRACT

BY

WIPAWEE POLLARATANA

Presented in Partial Fulfillment of the requirements

For the Master of Science in Ecotourism Planning and Management

At Srinakharinwirot University

May 2008

Page 7: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

Wipawee Pollaratana. (2008). Water Ecotourism Design Development: A Case Study of Retracing

the Historical Route within an Area of the Old Capital City – Thonburi. Master thesis,

M.Sc. (Ecotourism Planning and Management). Bangkok: Graduate School,

Srinakharinwirot University. Advisor Committee: Acting Sub Lt. Dr.Manat Boonprakob,

Assist. Prof. Sawittee Pitsanupong. This study aimed to 1) develop river ecotourism program “Retracing the Historical

Route within an Area of the Old Capital City – Thonburi” 2) compare tourism satisfaction of

controlled tourists for general river tourism to experimental tourists for ecotourism river tourism

3) survey tourism resources in Thonburi province which suitable for river ecotourism program

“Retracing the Historical Route within an Area of the Old Capital City - Thonburi” and 4) study

opinions of tourists, tour operators, tour guides and local people in tourism in Thonburi

province, knowledge and understanding in ecotourism. Attendants were classified into 5 groups

including 36 tourism resources, 27 tourists, 57 tour operators, 100 tourists and 100 local people.

The research tools were tourism resources survey form and questionnaires. Statistic used in this

research was mean, mode, and standard deviation.

River ecotourism program, passed Bangkok Yai Canal, Bang Cheuk Nang Canal,

Bangnoi Canal, Bangprom Canal, Bangramad Canal, Chakphra Canal, Bangkok Noi Canal and

Chao Phraya River, starts from 09.00 am to 4.00 pm. Ecotourism and historical destinations in

the program were selected by experienced tour guides which motivated the tourists to act

properly in the destinations and local communities. Local community was attracted to involve in

river ecotourism program development. In addition, environmental policies were proposed to

reduce environmental impact in the destinations and communities.

Experimental tourists for ecotourism river tourism had more satisfaction than

controlled tourists for general river tourism. Controlled tourists for general river tourism had

more ecotourism knowledge and understanding than experimental tourists for ecotourism river

tourism. Both groups suggested that Thonburi province was suitable for ecotourism

development due to long history of Thonburi province and pristine natural and historical

destinations.

Tourism resources used in this river ecotourism program included Wat Arun

Ratchawararam, Wat Moleelokayaram, Ton Son Mosque, Wat Kanlayanamit, Gian Un Gaeng

Page 8: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

Shrine, Wat Intharam, Klong Ludmayom Floating Canal, Orchid Garden, National Museum of

Royal Barges, Wat Rakangkositaram, Wang lang and Wang lang City Wall.

Local people had knowledge and understanding in ecotourism in high level. They had

opinion that local community had participation in ecotourism development in high level. They

also suggested that the area was suitable for ecotourism development based on participation of

local people and outsiders.

Tour operators had opinion in the readiness of tourism factors in moderate level. They

suggested that there was no clear ecotourism policy but they still thought that Thonburi

province was suitable for ecotourism development.

Tour guides had opinion in the readiness of tourism factors in moderate level. They

had knowledge and understanding in ecotourism in high level and thought that Thonburi

province was suitable for ecotourism development.

Page 9: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ปริญญานิพนธ เรื่อง

การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา:

กรณีศึกษา ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุร.ี

ของ

วิภาวี พลรัตน

ไดรับอนุมัติจากบัณฑิตวิทยาลัยใหนับเปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตร

ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวางแผนและการจัดการการทองเที่ยวเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอม

ของมหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

................................................................ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

(รองศาสตราจารย ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล)

วันท่ี ........ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2551

คณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ คณะกรรมการสอบปริญญานิพนธ

....................................................... ประธาน ................................................... ประธาน

(วาท่ีรอยตรี ดร.มนัส บุญประกอบ) (รองศาสตราจารยสุภาพร สุกสเีหลือง)

....................................................... กรรมการ ................................................... กรรมการ

(ผูชวยศาสตราจารยสาวิตรี พสิณุพงศ) (วาท่ีรอยตรี ดร.มนัส บุญประกอบ)

................................................... กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยสาวิตรี พสิณุพงศ)

................................................... กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยกรองแกว พูพิทยาสถาพร)

Page 10: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ประกาศคุณูปการ

ปริญญานิพนธน้ีสําเร็จไดดวยดีเปนเพราะผูวิจัยไดรับความกรุณาอยางยิ่งจาก วาที่รอยตรี ดร.มนัส บุญ

ประกอบ ประธานกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ ผูชวยศาสตราจารยสาวิตรี พิสณุพงศ กรรมการควบคุม

ปริญญานิพนธ รองศาสตราจารยสุภาพร สุกสีเหลือง ผูชวยศาสตราจารยพลับพลึง คงชนะ และผูชวย

ศาสตราจารยกรองแกว พูพิทยาสถาพร กรรมการควบคุมการสอบ อาจารยทั้งหาทานไดเสียสละเวลาอันมีคา

เพ่ือใหคําปรึกษาแนะนําในการจัดทํางานวิจัยน้ีทุกขั้นตอน อีกทั้งทําใหผูวิจัยไดรับประสบการณในการทํางานวิจัยใน

พื้นท่ีทองเที่ยวและรูถึงคุณคาของงานวิจัยท่ีจะชวยใหการทํางานในดานการพัฒนาเปนไปอยางมีคุณคามากขึ้น

ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ ที่น้ี นอกจากน้ีผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณอาจารยทุกทานที่ใหความรูแกผูวิจัยในการศึกษาตามหลักสูตรการ

จัดการการทองเที่ยวเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอม ซึ่งทําใหผูวิจัยไดนําเอากระบวนการเรียนรูตลอด 5 ปที่ผานมา ให

กลายเปนการเรียนรูที่นําไปใชไดตอไปอยางไมสิ้นสุด และจะนําความรูน้ันไปใชใหเกิดประโยชนตอผูอื่นอีกดวย ทายสุดผูวิจัยขอขอบพระคุณ พอ แม พี่ นอง และเพื่อน ๆ ทุกคนท่ีใหทั้งกําลังกายและกําลังใจที่ดี

ตลอดระยะเวลาที่ศึกษาและทํางานวิจัย วิภาวี พลรัตน

Page 11: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

สารบัญ

บทที่ หนา

1 บทนํา................................................................................................................................ 1

ภูมิหลัง........................................................................................................................... 1

วัตถุประสงคของการวิจยั................................................................................................. 2

ความสําคัญของการวิจัย................................................................................................... 3

ขอบเขตของการวิจัย........................................................................................................ 3

ขอจํากัดของการวิจัย........................................................................................................ 6

สรุปแนวคิดในการวิจัย..................................................................................................... 7

2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ............................................................................. 9

สภาพท่ัวไปของพื้นท่ีฝงธนบุรีและพื้นท่ีกรณีศึกษา............................................................. 9

แนวความคิดการพัฒนาการทองเที่ยว............................................................................... 22

แนวความคิดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ.................................................................................. 29

แนวความคิดการทองเที่ยวทางน้ํา..................................................................................... 42

นโยบายและแผนงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาการทองเที่ยวฝงธนบุรี................................. 52

งานวิจัยที่เกี่ยวของ.......................................................................................................... 56

3 วิธีดําเนนิการวจิัย.............................................................................................................. 66

การศึกษาขอมูลเบ้ืองตน................................................................................................... 66

การกําหนดประชากรและการเลอืกกลุมตัวอยาง................................................................. 66

การพัฒนาและการสรางเครื่องมือที่ใชในการวจิัย............................................................... 68

การเก็บรวบรวมขอมูล...................................................................................................... 80

การจัดกระทําขอมูลและการวิเคราะหขอมูล....................................................................... 81

4 ผลการวิเคราะหขอมูล........................................................................................................ 82

รูปแบบเสนทางการทองเที่ยวเชงินิเวศทางน้ํา..................................................................... 82

การเปรียบเทียบความพึงพอใจระหวางการทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิม

ของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา

ของนักทองเที่ยวกลุมทดลอง.....................................................................................

87

Page 12: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

สารบัญ (ตอ)

บทที่ หนา

4 (ตอ)

ขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรการทองเที่ยว.............................................................................. 96

ความคิดเห็นเกี่ยวกับการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรีและความรูความเขาใจ

ตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศของประชาชนทองถิ่น ผูประกอบธุรกิจนําเท่ียว และ

มัคคุเทศก………………………………………….……………………………………………………....

114

กลุมประชาชนทองถิ่น................................................................................................ 111

กลุมผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว................................................................................ 124

กลุมมัคคุเทศก.......................................................................................................... 135

5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ.................................................................................... 143

สรุปผลการศึกษา............................................................................................................. 144

การอภิปรายผล............................................................................................................... 148

ขอเสนอแนะ.................................................................................................................... 157

บรรณานกุรม................................................................................................................................. 159

ภาคผนวก..................................................................................................................................... 166

ภาคผนวก ก การกําหนดขนาดของกลุมตัวอยาง.......................................................................... 167

ภาคผนวก ข แบบประเมินความพึงพอใจของนักทองเที่ยว........................................................... 171

ภาคผนวก ค แบบสํารวจทรัพยากรการทองเทีย่ว......................................................................... 175

ภาคผนวก ง แบบสอบถามประชาชนทองถิ่น............................................................................... 176

ภาคผนวก จ แบบสอบถามผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว................................................................ 181

ภาคผนวก ฉ แบบสอบถามมัคคุเทศก......................................................................................... 186

ภาคผนวก ช ภาพประกอบแบบสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยว...................................................... 190

ภาคผนวก ซ ตัวอยางแผนพับนําเท่ียว......................................................................................... 240

ประวัติยอผูวิจัย.............................................................................................................................. 241

Page 13: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บัญชีตาราง ตาราง หนา

1 แสดงเขตการปกครองของกรงุเทพมหานครในฝงธนบุรี ณ เดือนมีนาคม 2551........................ 15

2 แสดงเขตการปกครองของเขตบางกอกนอย ณ เดือนมีนาคม 2551......................................... 17

3 แสดงเขตการปกครองของเขตบางกอกใหญ ณ เดือนมีนาคม 2551........................................ 19

4 แสดงเขตการปกครองของเขตตลิ่งชัน ณ เดือนมีนาคม 2551................................................. 20

5 แสดงเขตการปกครองของเขตธนบุรี ณ เดือนมีนาคม 2551.................................................... 21 6 แบบสํารวจทรัพยากรการทองเทีย่ว........................................................................................ 69

7 แสดงจํานวนของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลอง จําแนกตามสถานภาพทั่วไปในดานเพศ..............................................................................

87

8 แสดงจํานวนของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลอง จําแนกตามสถานภาพทั่วไปในดานอายุ..............................................................................

87

9 แสดงจํานวนของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลอง จําแนกตามสถานภาพทั่วไปในดานระดับการศึกษาสูงสุด....................................................

88

10 แสดงจํานวนของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลองจําแนกตามดานอาชีพหลัก............. 88

11 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมตอการทองเที่ยวทางน้ํา รูปแบบเดิมและกลุมทดลองตอการทองเที่ยวเชงินิเวศทางน้ํา..............................................

89

12 เปรียบเทียบความรูความเขาใจของนักทองเที่ยวกลุมควบคุม และกลุมทดลองตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ.........................................................................

91

13 ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลองตอความเหมาะสม ของการพัฒนาพื้นท่ีฝงธนบุรีใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ...............................................

94

14 ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลอง ตอภาพรวมของปญหาดานการทองเที่ยวทางน้ําในพื้นท่ีฝงธนบุรี.........................................

95

15 แบบสํารวจทรัพยากรการทองเทีย่วเขตบางกอกนอย............................................................... 96

16 แบบสํารวจทรัพยากรการทองเทีย่วเขตบางกอกใหญ............................................................... 102

17 แบบสํารวจทรัพยากรการทองเทีย่วเขตตลิ่งชัน....................................................................... 106

18 แบบสํารวจทรัพยากรการทองเทีย่วเขตธนบุรี.......................................................................... 110

19 แสดงคารอยละของสถานภาพทางเพศของประชาชนทองถิ่น.................................................... 114

20 แสดงคารอยละดานอายุของประชาชนทองถิ่น......................................................................... 114

21 แสดงคารอยละระดับการศึกษาสูงสุดของประชาชนทองถิ่น..................................................... 115

Page 14: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บัญชีตาราง (ตอ) ตาราง หนา

22 แสดงคารอยละอาชีพหลักของประชาชนทองถิ่น...................................................................... 115

23 แสดงคารอยละอาชีพเสริมของประชาชนทองถิน่..................................................................... 116

24 แสดงคารอยละรายไดตอเดือนของประชาชนทองถิ่น............................................................... 117

25 แสดงคารอยละระยะเวลาการตัง้ถิ่นฐานในพื้นท่ีฝงธนบุรีของประชาชนทองถิ่น........................ 117

26 แสดงคารอยละการเปนสมาชิกกลุมกิจกรรมในชุมชนของประชาชนทองถิ่น............................. 118

27 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความรูความเขาใจ ตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศของประชาชนทองถิ่นโดยแสดงเปนภาพรวม.................................

118

28 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นตอการมีสวนรวมใน

การพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศของประชาชนทองถิ่นโดยแสดงเปนภาพรวม......................

120

29 แสดงคารอยละของความคิดเห็นตอการพัฒนาชุมชนใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ................ 121

30 แสดงคารอยละของความคิดเห็นตอรูปแบบการดําเนินการจัดการทองเที่ยวในชุมชน................ 122

31 แสดงคารอยละของความสนใจเขารวมกิจกรรมดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ของประชาชนทองถิ่น........................................................................................................

122

32 แสดงคารอยละของความคิดเห็นของประชาชนทองถิ่นตอภาพรวม ของปญหาดานการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรี.....................................................................

123

33 แสดงคารอยละของสถานภาพทางเพศของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว.................................... 124

34 แสดงคารอยละดานอายุของผูประกอบการธุรกจินําเท่ียว........................................................ 125

35 แสดงคารอยละระดับการศึกษาสูงสุดของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว..................................... 125

36 แสดงคารอยละตําแหนงปจจุบันของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว............................................. 126

37 แสดงคารอยละระยะเวลาการทาํงานในตําแหนงปจจุบัน ของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว........................................................................................

126

38 แสดงคารอยละดานระยะเวลาของการประกอบธุรกิจ ขององคกรของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว........................................................................

127

39 แสดงคารอยละของรูปแบบการนําเท่ียวของผูประกอบการ...................................................... 127

40 แสดงคารอยละของจํานวนพนักงานในองคกรของผูประกอบการ............................................. 128

41 แสดงคารอยละประเภทธุรกิจเสริมของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว......................................... 128 42 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นของผูประกอบการ

ธุรกิจนําเท่ียวตอความพรอมของปจจัยตาง ๆ ดานการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรี................

129

Page 15: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บัญชีตาราง (ตอ) ตาราง หนา

43 แสดงคารอยละของความคิดเห็นตอการดําเนินนโยบายดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว........................................................................................

131

44 แสดงคารอยละของความคิดเห็นของผูประกอบการเรื่องความเหมาะสม ตอการพัฒนาพื้นท่ีฝงธนบุรีใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ.................................................

133

45 แสดงคารอยละความคิดเห็นของผูประกอบการเรื่องภาพรวมของปญหา ดานการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรี....................................................................................

133 46 แสดงคารอยละของสถานภาพทางเพศของมัคคุเทศก............................................................. 135

47 แสดงคารอยละดานอายุของมัคคุเทศก................................................................................ 135

48 แสดงคารอยละระดับการศึกษาสูงสุดของมัคคุเทศก............................................................... 136

49 แสดงคารอยละรายไดเฉลี่ยตอเดือนของมัคคุเทศก................................................................ 136

50 แสดงคารอยละของประเภทของบัตรมัคคุเทศก...................................................................... 137

51 แสดงคารอยละเกี่ยวกับประสบการณในการทํางานเปนมัคคุเทศก........................................... 137

52 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นของมัคคุเทศก ตอความพรอมของปจจัยตาง ๆ ดานการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรี....................................

138

53 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นของมัคคุเทศก ตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ..................................................................................

139

54 แสดงคารอยละของความคิดเห็นของมัคคุเทศกเรื่องความเหมาะสม ตอการพัฒนาพื้นท่ีฝงธนบุรีใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ.................................................

141

55 แสดงคารอยละความคิดเห็นของมัคคุเทศกเรื่องภาพรวมของปญหา ดานการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรี....................................................................................

141

Page 16: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บัญชีภาพประกอบ

ภาพประกอบ หนา

1 สรุปแนวคิดในการวิจัยเพื่อการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา

กรณีศึกษา “ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี”................................

8

2 แผนที่แสดงคลองที่ขุดลัดเสนทางเดิมของแมนํ้าเจาพระยา................................................... 11

3 แผนที่แสดงเมืองธนบุรีสมัยพระเจาตากสิน........................................................................ 13

4 แสดงเขตการปกครองของกรงุเทพมหานครฝงธนบุรี........................................................... 16

5 กระแสความตองการการทองเทีย่วเชิงนิเวศ (Ecotourism).................................................. 31 6 รูปแบบการทองเที่ยวในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวไทย........................................................ 32

7 แผนที่เสนทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา......................................................................... 86

8 ปายสื่อความหมายและบรรยากาศริมแมนํ้าเจาพระยาของวัดระฆังโฆสิตาราม....................... 190

9 บรรยากาศริมแมนํ้าเจาพระยาและเขตอภัยทานของวัดระฆังโฆสิตาราม................................ 190

10 บรรยากาศสถานที่ขายสัตวนํ้าเพื่อทําทานสําหรับปลอยลงแมนํ้าของวัดระฆงัโฆสิตาราม......... 190

11 ถังรองรับขยะและปายบอกทางไปหองนํ้าภายในวัดระฆังโฆสิตาราม...................................... 191

12 เสนทางเดินบริเวณรอบวัดระฆงัโฆสิตาราม......................................................................... 191

13 หอระฆังจัตุรมุขพรอมระฆัง 5 ลูก และพระปรางคภายในวัดระฆังโฆสิตาราม....................... 191

14 พระอุโบสถภายและพระประธานยิ้มรับฟาภายในพระอุโบสถวัดระฆังโฆสิตาราม................... 192

15 หอพระไตรปฎกหรือตําหนักจันทรภายในวัดระฆังโฆสิตาราม............................................... 192

16 ปายสื่อความหมายวัดอินทรารามวรวิหารของกรุงเทพมหานคร............................................. 192

17 ทาเรือและทางเขาวัดอินทรารามวรวิหาร.............................................................................. 193

18 ถนนทางเขาวัดอินทรารามวรวิหาร....................................................................................... 193

19 แสดงประตูทางเขาวัดอินทรารามวรวิหารในดานตาง ๆ ....................................................... 193

20 บรรยากาศของวัดอินทรามวรวหิารในวันปกติและชวงวันจัดงานประจําป............................... 194

21 ที่รองรับขยะและหองนํ้าภายในวัดอินทรามรามวรวิหาร........................................................ 194

22 พระอุโบสถและหลวงพอโบสถนอยวัดอินทารามวรวิหาร...................................................... 194

23 ปายสื่อความหมาย ปายชื่อ และทาเรือวัดสุวรรณารามริมคลองบางกอกนอย........................ 195

24 พระอุโบสถ พระประธานในพระอุโบสถ และพระวิหาร วัดสวุรรณาราม................................ 195

25 ภาพเขียนฝาผนังที่มีชื่อเสียงของวัดสวุรรณารามราชวรวิหาร................................................ 195

26 ปายสื่อความหมายและถนนทางเขาวัดศรีสุดาราม................................................................ 196

27 บรรยากาศภายในวัดศรีสุดาราม......................................................................................... 196

Page 17: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บัญชีภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา

28 หองนํ้าและถังรองรับขยะของวดัศรีสุดาราม......................................................................... 196

29 รูปหลอสมเด็จพระพุฒาจารยโตริมฝงคลองบางกอกนอยของวดัศรีสุดาราม.......................... 196

30 ถนนทางเขาวัดครุฑผานซอยวัดชิโนรสาราม........................................................................ 197

31 ทานํ้าวัดครุฑบริเวณคลองมอญและทางเดินเขาสูชุมชนวัดครุฑ............................................ 197

32 พระพุทธรูปดานหนาทางเขาวัดและที่ตั้งของอาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัยหนวยวัดครุฑ...... 197

33 พระอุโบสถภายในวัดครุฑ.................................................................................................. 198

34 ปายสื่อความหมายและปายชื่อวัดสุวรรณคีรี........................................................................ 198

35 ทาเรือและพระพุทธรูปปางหามสมุทรตั้งอยูบริเวณทางแยกของคลอง 3 สาย

หนาวัดสุวรรณคีรี..........................................................................................................

198

36 พระอุโบสถและบรรยากาศภายในวัดสุวรรณคีรี................................................................... 199

37 ปายสื่อความหมายชุมชนบานบุของกรงุเทพมหานคร........................................................... 199

38 ทางเดินจากสํานักงานเขตบางกอกนอยสูชุมชนขนัลงหินบานบุ.............................................. 199

39 ทางเดินจากสถานีโรงรถจักรของการรถไฟแหงประเทศไทยสูชุมชนบานบุ.............................. 200

40 ผลิตภัณฑอลูมิเนียมที่ถูกนํามาทดแทนผลิตภัณฑขันลงหินในปจจุบัน.................................. 200

41 ขั้นตอนการผลติขันลงหิน................................................................................................... 200

42 บรรยากาศภายในบานขันลงหินบานบุ................................................................................. 201

43 ผลิตภัณฑขันลงหิน............................................................................................................ 201

44 ทาเรือสถานีรถไฟธนบุรี...................................................................................................... 201

45 บริเวณสถานีรถไฟบางกอกนอยกอนถูกรื้อถอน

เพ่ือกอสรางศูนยการแพทยของโรงพยาบาลศิริราช..........................................................

202

46 สถานีรถไฟบางกอกนอยขณะกาํลังถูกรือ้ถอน

เพ่ือทําการกอสรางศูนยการแพทยของโรงพยาบาลศิริราช................................................

202

47 ซอยบานชางหลอในปจจุบันท่ีไมมีโรงหลอเหลืออีกแลว........................................................ 202

48 โรงหลอที่ตั้งอยูในซอยฝงตรงขามซอยบานชางหลอที่ยังหลงเหลือใหเห็นอยูบาง.................... 203

49 รูปหลอที่อยูในกระบวนการผลติ......................................................................................... 203

50 รูปหลอที่ใกลเสร็จสมบูรณแลว........................................................................................... 203

51 ดานหนาและทาเรือของพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธีริมฝงคลองบางกอกนอย....... 204

52 เรือพระที่น่ังภายในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรอืพระราชพิธี................................................. 204

Page 18: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บัญชีภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา

53 เรืออนันตนาคราชภายในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี......................................... 204

54 เรือพระที่น่ังภายในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรอืพระราชพิธี................................................. 205

55 เรือครุฑเหินเห็จและเรือพระที่น่ังนารายณทรงสบุรรณ

ภายในพิพิธภัณฑสถานแหงชาตเิรือพระราชพิธี..............................................................

205

56 เรือพระที่น่ังสุพรรณหงสภายในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี............................... 205

57 เรือกระบี่ปราบเมืองมารภายในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี................................ 206

58 เรือกระบี่ปราบเมืองมารภายในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี................................ 206

59 มุมใหความรูเกี่ยวกับพระราชพธิีกระบวนพยุหยาตราชลมารคผานสื่อวีดีทัศน

โดยบรรยายเปนภาษาไทยและมีคําบรรยายใตภาพเปนภาษาอังกฤษ................................

206

60 สิ่งอํานวยความสะดวกภายในพพิิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี ไดแก

มุมขายสินคาและนั่งพักผอน หองนํ้า และโทรศพัท ตามลําดับ.........................................

207

61 ทางเดินเขาสูชุมชนที่นอนบางกอกนอย................................................................................ 207

62 หองบรรจุนุนและนุนสําหรับใสที่นอน.................................................................................. 207

63 ที่นอนบางกอกนอยของแท................................................................................................. 208

64 วังหลงัเม่ือมองจากฝงทาพระจนัทร..................................................................................... 208 65 บริเวณตรอกวังหลัง........................................................................................................... 208

66 แผนที่วังหลงัและกําแพงวังหลงัของกรุงเทพมหานคร........................................................... 209

67 บริเวณกําแพงวงัหลัง.......................................................................................................... 209

68 ปายสื่อความหมายวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร......................................................... 209

69 ทาเรือทองเที่ยว ทาเรือขามฟาก และพระปรางควัดอรุณราชวราราม

บริเวณริมฝงแมนํ้าเจาพระยา.........................................................................................

210

70 บรรยากาศภายในวัดอรุณราชวราราม.................................................................................. 210

71 สิ่งอํานวยความสะดวกภายในวดัอรุณราชวราราม –

ที่จอดรถ หองนํ้า และที่รองรับขยะ.................................................................................

210

72 แผนที่ทองเที่ยวทางนํ้าและสถานีตํารวจทองเที่ยวประจําวัดอรณุราชวราราม.......................... 211

73 บรรยากาศรานคาภายในวัดอรุณราชวราราม........................................................................ 211

74 พระปรางค มณฑป และพระพทุธบาทจําลองของวัดอรุณราชวราราม.................................... 211

75 พระอุโบสถ ซุมประตูยอดมงกุฎ และพระอรุณหรือพระแจงภายในวัดอรุณราชวราราม.......... 212

Page 19: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บัญชีภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา

76 พระระเบียงหรอืพระวิหารคด และรูปปนยักตสหัสเดชะภายในวัดอรุณราชวราราม................ 212

77 ปายสื่อความหมายวัดโมลีโลกยารามราชวรวิหารของกรงุเทพมหานคร.................................. 212

78 ถนนทางเขาสูวดัโมลีโลกยาราม........................................................................................... 213

79 ทาเรือมัสยิดตนสนและวัดโมลีโลกยารามบริเวณริมคลองบางกอกใหญ................................ 213

80 พระวิหาร และพระบรมรูปสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีภายในวัดโมลีโลกยาราม........................ 213

81 ปายสื่อความหมายวัดเครือวัลยวรวิหารของกรุงเทพมหานคร............................................... 214

82 ทาเรือและทางเขาวัดจากทาเรือของวัดเครือวัลยวรวิหาร....................................................... 214

83 พระอุโบสถภายในวัดเครือวัลย........................................................................................... 214

84 พระวิหารและพระเจดีย 3 องคภายในวัดเครือวัลย.............................................................. 215

85 ปายสื่อความหมายของกรงุเทพมหานครและปายชื่อวัดหงสรตันาราม

บริเวณริมคลองบางกอกใหญ.........................................................................................

215

86 ทาเรือและพระอโุบสถวัดหงสรัตนารามเมื่อมองจากทาเรือ.................................................... 215 87 ทางเขา ศาลเดิม และศาลใหมของศาลสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีมหาราช

บริเวณวัดหงสรตันาราม.................................................................................................

216

88 บรรยากาศภายในวัดหงสรัตนาราม..................................................................................... 216

89 ปายสื่อความหมายและทาเรือ วัดสังขกระจาย..................................................................... 216 90 ถนนทางเขาและบรรยากาศภายในวัดสังขกระจาย............................................................... 217

91 หลวงพอพระกจัจายนและหอพระไตรปฎก.......................................................................... 217

92 ทาเรือ พระอุโบสถ และรูปหลอหลวงปูโตะภายในวัดประดูฉิมพลี

บริเวณริมคลองบางกอกใหญ.........................................................................................

217

93 พระเจดียทรงรามัญ........................................................................................................... 218

94 ทาเรือและปอมวิชัยประสิทธิ์ภายในของกองทัพเรือบริเวณปากคลองบางกอกใหญ................ 218

95 รูปหลอสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีหนาพิพิธภัณฑพระราชวังเดิมภายในกองทัพเรือ.................. 218

96 ปายสื่อความหมายและทาเรือมัสยิดตนสนริมคลองบางกอกใหญ......................................... 219

97 ถนนทางเขามัสยิดตนสน.................................................................................................... 219

98 มัสยิดตนสนจากมุมตาง ๆ ................................................................................................ 219

99 ประตูถนนทางเขา พระอุโบสถ และหอไตรกลางน้ํา วัดรัชฎาธิษฐานราชวรวิหาร.................... 220

100 บรรยากาศภายในวัดรัชฎาธิษฐานราชวรวิหาร...................................................................... 220

Page 20: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บัญชีภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา

101 ประตูทางเขาและพระอุโบสถ วดักาญจนสิงหาสน................................................................ 221

102 บานประตูพระอุโบสถ ใบเสมา และพระปรางคที่ตั้งอยูภายใน

กําแพงแกวพระอุโบสถ วัดกาญจนสิงหาสน....................................................................

221

103 โรงเรียนพระปรยิัติธรรม และทานํ้าวัดกาญจนสิงหาสนซึ่งตั้งอยูริมคลองมอญ...................... 221

104 สะพานทางเชื่อมระหวางวัดปากน้ําฝงเหนือ-วดัปากน้ําฝงใต

และประตูทางถนนเขาวัดปากน้ําฝงใต.............................................................................

222

105 ศาสนสถานสําคัญภายในวัดปากน้ําฝงใต............................................................................. 222

106 วัดปากนํ้าฝงใตบริเวณริมคลองมอญ.................................................................................. 222

107 วัดเกาะที่ลอมรอบไปดวยคลองมอญ คลองบางเชือกหนัง และคลองบางนอย....................... 223

108 ปายชื่อวัดและบรรยากาศภายในวัดเกาะ............................................................................. 223

109 วิหารหลวงพอดําและเจดียภายในวัดเกาะ............................................................................ 223

110 พระพุทธรูปศักด์ิสิทธิ์ประจําวัดสะพาน................................................................................ 224

111 บรรยากาศภายในตลาดน้ําวัดสะพาน.................................................................................. 224

112 ตลาดนํ้าตลิ่งชัน................................................................................................................. 224

113 บรรยากาศภายในตลาดน้ําตลิ่งชัน...................................................................................... 225

114 ทางเขาตลาดน้ําคลองลัดมะยม และบานหัตถกรรมเรือจําลอง.............................................. 225

115 บรรยากาศภายในตลาดน้ําคลองลัดมะยม........................................................................... 225

116 สินคาพื้นบานท่ีชาวบานนํามาจําหนายดวยตนเอง................................................................. 226

117 สินคาพื้นบานท่ีชาวบานนํามาจําหนายดวยตนเอง................................................................. 226

118 ปายสื่อความหมายวัดกัลยาณมิตรวรวิหารของกรุงเทพมหานคร........................................... 226

119 ทาเรือและถนนทางเขาวัดกัลยาณมิตรวรวิหารริมคลองบางกอกใหญ.................................... 227

120 พระอุโบสถวัดกลัยาณมิตร กอสรางเลียนแบบศิลปะจีน....................................................... 227

121 พระวิหารหลวง และหลวงพอโต หรือ ซําปอกง หรือ พระพุทธไตรัตนายก

พระประธานภายในวิหารหลวงวัดกัลยาณมิตร................................................................

227

122 ศิลปะจีนบริเวณทางเขาพระวหิารหลวง วัดกลัยาณมิตร....................................................... 228

123 เจดียเหลี่ยมยอมุม 12 ตั้งบนฐาน 8 เหลี่ยม เปนท่ีบรรจุอัฐิของ

เจาพระยานิกรบดินทร (โต) ผูสรางวัดกลัยาณมิตร.........................................................

228

124 “ถะ” หรือเจดียหินทําจากเมืองจีนมีความสวยงามมาก.......................................................... 228

Page 21: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บัญชีภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา

125 ทาเรือและที่ใหอาหารนกของวัดกัลยาณมิตรริมฝงแมนํ้าเจาพระยา....................................... 229

126 ปายสื่อความหมายวัดอินทารามและประตูทางเขาวัดอินทาราม............................................. 229

127 ทาเรือวัดอินทาราม............................................................................................................. 229

128 ปายสื่อความหมายศาลสมเด็จพระเจาตากสินภายในวัดอินทาราม พระเจดียกูชาติ

เจดียองคขวาบรรจุพระบรมอัฐิสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี องคซายบรรจุพระบรมอัฐิ พระอัครมเหสี บริเวณหนาพระอุโบสถหลงัเกาวดัอินทาราม.............................................

230

129 พระรูปทรงมาสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีหนาพระวิหารสมเด็จพระเจาตากสิน

พระพุทธรูปและพระแทนบรรทมภายในพระวิหารสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช

วัดอินทาราม.................................................................................................................

230

130 พระมาลา พระบรมรูปสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี และพระขรรคที่ประดิษฐานอยูใน

พระแทนบรรทมภายในพระวิหารสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช วัดอินทาราม..................

230

131 พระบรมรูปจําลองสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีทรงวิปสสนากรรมฐาน

ในพระวิหารสมเด็จพระเจาตากสิน วัดอินทาราม.............................................................

231

132 พระอุโบสถภายในวัดอินทาราม.......................................................................................... 231

133 พระวิหารใหญกอทึบมีหนาตางโดยรอบ เปนศิลปะสมัยธนบุรี

สังเกตไดจากหนาบันมีการเจาะเปนหนาตาง....................................................................

231

134 เจดียเหลี่ยมยอมุม 20 ขนาดใหญ สามองคเรียงกันสวยงามมาก เปนศิลปะ

สมัยรัชกาลที่ 3 และปรางคสูง ตั้งบนฐานสูงมีพาไลรอบในวัดอินทาราม...........................

232

135 ทานํ้าวัดราชคฤหบริเวณริมคลองบางกอกใหญ.................................................................... 232

136 พระวิหารใหญ และภูเขาจําลองเปนท่ีตั้งของพระมณฑป

ประดิษฐานพระพุทธบาทจําลอง วัดราชคฤห...................................................................

232

137 ปายสื่อความหมายวัดปากน้ําและคลองภาษีเจริญ................................................................ 233

138 ทาเรือวัดปากน้ํา ภาษีเจริญ................................................................................................. 233

139 ถนนทางเขาสูวดัปากน้ํา ภาษีเจริญ...................................................................................... 233

140 ที่ประดิษฐานศพหลวงพอสด วดัปากน้ํา.............................................................................. 234

141 พระอุโบสถและพระปรางคที่กําลังมีการกอสรางตอเติม วัดปากนํ้า ภาษีเจริญ....................... 234

142 ที่จอดรถและหองนํ้าภายในวัดปากน้ํา ภาษีเจริญ................................................................. 234

143 ปายสื่อความหมายวัดเวฬุราชนิ........................................................................................... 235

Page 22: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บัญชีภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา

144 ทาเรือและพระพุทธรูปปางหามสมุทรบริเวณริมคลองบางกอกใหญ วัดเวฬุราชิน................... 235

145 บรรยากาศภายในวัดเวฬุราชิน............................................................................................ 235

146 พระอุโบสถ และเจดียสมัยรัชกาลที่ 4 วัดเวฬุราชิน.............................................................. 236

147 ศาลสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี วัดเวฬุราชิน........................................................................... 236

148 ปายสื่อความหมายวัดอัปสรสวรรควรวิหาร......................................................................... 236

149 ทานํ้า และหอไตร วัดอัปสรสวรรค...................................................................................... 237

150 พระอุโบสถ พระประธาน 28 องคภายในพระอโุบสถ

และปรางคสมัยรัชกาลท่ี 3 วัดอปัสรสวรรค....................................................................

237

151 ปายสื่อความหมายศาลเจากวนอันเกง (ศาลเจาแมกวนอิม).................................................. 237

152 ทาเรือขามฟากบริเวณศาลเจาแมกวนอิม............................................................................. 238

153 ทางเดินจากวัดกัลยาณมิตรไปยังศาลเจาแมกวนอิม............................................................. 238

154 บริเวณดานหนาของศาลเจาแมกวนอิม................................................................................ 238

155 ไมแกะสลักดานหนาศาลเจาแมกวนอิม............................................................................... 239

156 ประตูทางเขาศาลเจาแมกวนอิม........................................................................................... 239

Page 23: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ภูมิหลัง

กรุงเทพมหานครนับเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญแหงหน่ึงของประเทศ จากขอมูลของการทองเที่ยวแหง

ประเทศไทยป 2549 พบวา มีจํานวนนักทองเที่ยวที่เขามาทองเที่ยวทั้งสิ้น 36.17 ลานคน เพิ่มขึ้นจากปกอนรอยละ

3.83 ซึ่งเปนอัตราการเพิ่มขึ้นท่ีชะลอตัวลงจากปกอน โดยนักทองเที่ยวชาวตางชาติมีอัตราการเติบโตที่ลดลงรอยละ

4.86 เหลือเพียงอัตราการเติบโตรอยละ 0.84 อันเน่ืองมาจากการเกิดรัฐประหารในเดือนกันยายน ทําใหบาง

ประเทศมีการประกาศเตือนพลเมืองของตนเองวาใหหลีกเลี่ยงการเดินทางเขากรุงเทพมหานคร เน่ืองจากถูกมองวา

เปนพื้นที่ไมปลอดภัย สงผลใหนักทองเที่ยวชาวตางชาติมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นในลักษณะชะลอตัวดังกลาว แต

อยางไรก็ตาม จากการจัดงานเฉลิมฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลย

เดชในชวงตนป ทําใหอัตราการขยายตัวในกลุมนักทองเที่ยวชาวไทยเพิ่มขึ้นรอยละ 5.45 จึงสงผลใหอัตราการ

ขยายตัวของนักทองเที่ยวในภาพรวมยังคงเพิ่มขึ้น รวมทั้งรายไดที่เกิดขึ้นก็ยังคงมีจํานวนมากเชนกัน

จากการศึกษาแผนแมบทเพื่อพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2548-2552)

(กรุงเทพมหานคร. 2548: 2-25) พบวา เปนการจัดทําแผนภายใตกรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน การทองเที่ยวที่

ยั่งยืน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการมีสวนรวม ซึ่งแหลงทองเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครนั้นมีความ

หลากหลาย สามารถตอบสนองความตองการที่แตกตางกันของนักทองเที่ยวไดเปนอยางดี ทั้งแหลงทองเที่ยวทาง

ธรรมชาติ แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร โบราณวัตถุ โบราณสถานและศาสนา และแหลงทองเที่ยวประเภท

ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และกิจกรรม ซึ่งยุทธศาสตร แผนงาน และโครงการที่ไดจัดทําขึ้นเปนกรอบแนวทางใน

การดําเนินงาน และยกตัวอยางการนําไปปฏิบัติกับบางพื้นท่ีเพ่ือประกอบความเขาใจ แตยังไมไดนําไปปฏิบัติได

ทันที ซึ่งหนวยงานที่เกี่ยวของจะตองนําไปเปนแนวทางในการออกแบบรายละเอียดโครงการตอไป ดังน้ัน ผูวิจัยจึง

ตองการนําแผนงานและโครงการตาง ๆ มาทดลองใชปฏิบัติในพื้นท่ีตัวอยาง เพ่ือศึกษาถึงความเปนไปได และ

ผลลัพธที่จะเกิดขึ้น พรอมทั้งหาแนวทางการแกปญหาที่อาจจะเกิดขึ้น อันจะเปนแนวทางสําหรับการจัดทําแผนงาน

และโครงการในพื้นท่ีอื่น ๆ ของกรุงเทพมหานครตอไป

งานวิจัยในครั้งน้ีผูวิจัยจึงไดเลือกนําโครงการจากยุทธศาสตรตาง ๆ ของแผนแมบทเพื่อพัฒนาการ

ทองเที่ยวกรุงเทพมหานครมาพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในกรณีศึกษา “ยอนรอยเสนทาง

ประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี” โดยอางอิงขอมูลจากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (2549) เกี่ยวกับสถานที่

ทองเที่ยวในกรุงเทพมหานครที่นักทองเที่ยวนิยมเขาชม 3 ลําดับแรก ไดแก วัดพระแกว / วัดโพธิ์ คิดเปนรอยละ

55.40 สวนลุมพินี / สวนหลวง ร.9 คิดเปนรอยละ 44.53 และแมนํ้าเจาพระยา / ลองแมนํ้าเจาพระยา คิดเปนรอย

ละ 38.79 ซึ่งจะพบวาการทองเท่ียวทางน้ําไดรับความนิยมในอันดับตน ๆ ของแหลงทองเท่ียวในกรุงเทพมหานคร

Page 24: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

2

ทั้งกลุมนักทองเที่ยวชาวไทยและชาวตางประเทศ ซึ่งตองการพบเห็นและสัมผัสวิถีชีวิตความเปนอยูแบบดั้งเดิมของ

ชาวบานแถบริมแมนํ้า และจากขอมูลอีกสวนหนึ่งของการทองเที่ยวแหงประเทศไทยเกี่ยวกับการทํากิจกรรมระหวาง

ทองเที่ยวอยูในกรุงเทพมหานครของนักทองเที่ยว ปรากฏวา ไมมีนักทองเที่ยวคนใดไดเขารวมกิจกรรมการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศเลย จึงเปนที่นาสนใจวาควรสงเสริมใหเกิดการทองเที่ยวเชิงนิเวศในกรุงเทพมหานคร ประกอบ

กับแหลงทองเที่ยวและเสนทางทองเที่ยวทางน้ําบางแหงเริ่มประสบปญหาความเสื่อมโทรมจากการขาดการจัดการที่

ดี หากเปนเชนน้ีตอไปทรัพยากรการทองเที่ยวก็จะถูกทําลายหมดลง และเกิดปญหาสิ่งแวดลอม สังคม และ

เศรษฐกิจตามมา ซึ่งหากปลอยใหการทองเที่ยวทางน้ําเจริญเติบโตอยางขาดการวางแผนที่เปนระบบ ก็จะเปน

ผลเสียตอการทองเที่ยวประเภทนี้ตอไปในอนาคต ดังน้ันจึงควรมีการวางแผนพัฒนาเสนทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ทางนํ้าอยางยั่งยืน เพ่ือรักษาและคงไวซึ่งทรัพยากรของชาติใหคงอยูตอไป

สําหรับพื้นที่ในการวิจัยน้ัน ผูวิจัยไดเลือกพื้นที่ฝงธนบุรีบริเวณชุมชนเขตบางกอกนอย บางกอกใหญ

ตลิ่งชัน และธนบุรีบางสวน เน่ืองจากธนบุรีเปนชุมชนเกาแกที่มีความสําคัญมาต้ังแตสมัยอยุธยา เคยไดรับการยก

ฐานะขึ้นเปน “เมืองทณบุรีศรีมหาสมุทร” เปนเมืองหนาดานทางทะเล ปองกันขาศึกศัตรูที่เขามาทางดานใตของกรุง

ศรีอยุธยา และตรวจตราจัดเก็บภาษีสินคาที่ผานเขาออก และหลังจากนั้นก็มีความสําคัญขึ้นอีกครั้ง เม่ือสมเด็จพระ

เจากรุงธนบุรีหรือพระเจาตากสินมหาราชทรงเลือกธนบุรีเปนราชธานีแหงใหมแทนกรุงศรีอยุธยา ผูวิจัยจึงมี

แนวความคิดท่ีจะนําเสนอการวางแผนการพัฒนาและจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในพื้นท่ีฝงธนบุรี เพื่อเปน

การเชื่อมโยงการทองเที่ยวเชิงนิเวศและเชิงประวัติศาสตรของประเทศไทย จากเมืองหลวงปจจุบันในฝง

รัตนโกสินทร แลวเดินทางยอนเวลากลับสูกรุงธนบุรีราชธานีที่ยังคงมีลมหายใจแหงอดีต เพ่ือใหชาวไทยและชาว

ตางประเทศไดตระหนักถึงความสําคัญของกรุงธนบุรีวา แมจะเปนเพียงเมืองหลวงในระยะเวลาสั้น ๆ เพียง 15 ป

แตเปนชวงรอยตอที่สําคัญอยางยิ่งกอนการสถาปนากรุงรัตนโกสินทรเปนราชธานีในปจจุบัน ซึ่งพื้นท่ีฝงธนบุรีเองก็

มีสิ่งที่นาสนใจตาง ๆ มากมายทั้งประวัติศาสตรความเปนมา โบราณสถาน วัฒนธรรม วิถีชีวิตความเปนอยู โดย

ผูวิจัยตองการนําเสนอเสนทางการทองเที่ยวที่สามารถเช่ือมโยงแหลงทองเท่ียวที่สําคัญและนาสนใจภายในพื้นท่ีฝง

ธนบุรีเอง และเพื่อเชื่อมโยงไปสูแหลงทองเที่ยวหลักท่ีมีชื่อเสียงอยูแลวในฝงรัตนโกสินทรดวย โดยการพัฒนา

รูปแบบการทองเที่ยวในครั้งน้ีจะดําเนินอยูบนพื้นฐานของการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางยั่งยืน ซึ่งจะทําใหเกิดการ

กระจายรายไดสูชุมชนในพื้นท่ีเขตบางกอกนอย บางกอกใหญ ตลิ่งชัน และธนบุรีเพิ่มขึ้น และยังจะสงผลดีใน

ภาพรวมตอแผนพัฒนาการทองเที่ยวทั้งในระดับพื้นท่ี จังหวัด และประเทศที่จะสามารถเพิ่มจํานวนวันทองเที่ยว

และคาใชจายของนักทองเที่ยวตอวันตอคนไดในที่สุดน่ันเอง

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย

1) เพื่อพัฒนารูปแบบเสนทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในเสนทาง “ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี”

2

Page 25: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

3

2) เพ่ือเปรียบเทียบความพึงพอใจตอการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมดวยการทองเที่ยวทางนํ้ารูปแบบเดิมและนักทองเที่ยวกลุมทดลองดวยการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา

3) เพ่ือสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรีที่เหมาะสมตอรูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางนํ้าในเสนทาง “ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี”

4) เพ่ือศึกษาความคิดเห็นของนักทองเที่ยว ผูประกอบการ มัคคุเทศก และประชาชนทองถิ่น เกี่ยวกับ

การทองเที่ยวทางน้ําในพื้นท่ีฝงธนบุรี และความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

1.3 ความสําคัญของการวิจัย

การวิจัยครั้งน้ีเปนรูปแบบการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) การทองเที่ยว

เชิงนิเวศทางน้ํา โดยการออกแบบใชในพื้นท่ีตัวอยาง ไดแก พื้นท่ีฝงธนบุรีในเขตบางกอกนอยและบางกอกใหญซึ่ง

เคยเปนพ้ืนท่ีในเขตกําแพงเมืองเกาฝงตะวันตกสมัยราชธานีกรุงธนบุรี และพื้นท่ีในเขตตลิ่งชันและธนบุรีบางสวนที่

มีความเกี่ยวของและเชื่อมโยงกัน เพื่อเปนกรณีศึกษาใหกับพื้นที่และแหลงทองเที่ยวอื่น ๆ ที่มีลักษณะสอดคลอง

และใกลเคียงกัน โดยเปนการศึกษาภายใตหัวขอ การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา : กรณีศึกษา

ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี ตามแนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางยั่งยืน ซึง่

จําเปนตองใชการประสานความรวมมือจากทุกภาคสวนที่เกี่ยวของในกระบวนการพัฒนาการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝง

ธนบุรี อันจะสงผลใหการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวครั้งน้ีมีความเปนไปไดจริงและสมบูรณครบถวนมากยิ่งขึ้น

ทั้งน้ี หากงานวิจัยครั้งน้ีประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว ผูวิจัยจะไดนําผลการวิจัยไป

เผยแพรและนําเสนอตอหนวยงานและองคกรตาง ๆ ทั้งภาครัฐบาล เอกชน ประชาชน และผูที่มีสวนเกี่ยวของตอ

การพัฒนาการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรี โดยเฉพาะพื้นท่ีเขตบางกอกนอย บางกอกใหญ ตลิ่งชัน และธนบุรี เพื่อ

นําไปใชเปนทางเลือกสําหรับรายการนําเท่ียว (Itinerary) ที่ตองการนําเสนอรูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา

รวมทั้งยังสามารถนําไปใชเปนแนวทางในการพัฒนาการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับทรัพยากรตาง ๆ ภายในพื้นท่ี และ

เพื่อขยายผลในการพัฒนาศักยภาพของการทองเที่ยวเชิงนิเวศทั้งในพื้นท่ีเขตกรุงเทพมหานครและแหลงทองเที่ยว

อื่น ๆ ในระดับประเทศใหเกิดการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนตอไป

1.4 ขอบเขตของการวิจัย

1.4.1 ประชากรที่ใชในการวิจัย

1) ทรัพยากรการทองเที่ยว จํานวนทั้งหมด 118 แหง แบงเปน ทรัพยากรการทองเที่ยวในเขต

บางกอกนอย 36 แหง (สํานักงานเขตบางกอกนอย. 2550: ออนไลน) เขตบางกอกใหญ 18 แหง (สํานักงานเขต

3

Page 26: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

4

บางกอกใหญ. 2550: ออนไลน) เขตตลิ่งชัน 34 แหง (สํานักงานเขตตลิ่งชัน. 2550: ออนไลน) และเขตธนบุรี 30

แหง (สํานักงานเขตธนบุรี. 2550: ออนไลน)

2) นักทองเที่ยว ไดแก นักทองเที่ยวที่เดินทางมาทองเที่ยวในกรุงเทพมหานคร ป 2549 รวม

ทั้งหมด 36,172,138 คน แบงเปนนักทองเที่ยวชาวไทย 23,800,757 คน และนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ

12,371,381 คน (การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. 2550: ออนไลน)

3) ประชาชนทองถิ่น ไดแก ประชาชนในเขตบางกอกนอยมีจํานวน 129,686 คน เขตบางกอกใหญ

จํานวน 81,743 คน เขตตลิ่งชันจํานวน 108,567 คน และเขตธนบุรีจํานวน 133,536 คน รวมทั้งหมด 453,532

คน (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2550: ออนไลน)

4) ผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว ไดแก ผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวเฉพาะที่จดทะเบียน ณ

สํานักงานทะเบียนเขตกรุงเทพมหานคร และเปนกลุมท่ีมีใบอนุญาตประเภทตางประเทศ - ในประเทศ ที่ตั้งอยูใน

เขตบางกอกนอย บางกอกใหญ ตลิ่งชัน ธนบุรี และพระนคร จํานวนทั้งหมด 131 แหง (การทองเที่ยวแหงประเทศ

ไทย. 2550: ออนไลน)

5) มัคคุเทศก ไดแก มัคคุเทศกที่ไดรับใบอนุญาตประเภททั่วไปตางประเทศ (บัตรสีบรอนซเงิน)

และในประเทศ (บัตรสีบรอนซทอง) เฉพาะท่ีจดทะเบียน ณ สํานักงานทะเบียนเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน

ทั้งหมด 16,436 คน (การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. 2550: ออนไลน)

1.4.2 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย

1) ทรัพยากรการทองเที่ยว จํานวนตัวอยางทั้งหมด 36 แหง แบงเปน ทรัพยากรการทองเที่ยวเขต

บางกอกนอย 13 ตัวอยาง เขตบางกอกใหญ 8 ตัวอยาง เขตตลิ่งชัน 8 ตัวอยาง และเขตธนบุรี 7 ตัวอยาง

2) นักทองเที่ยว โดยแบงนักทองเที่ยวออกเปน 4 กลุมท่ีมีคุณลักษณะใกลเคียงกัน จํานวน

ทั้งหมด 27 ตัวอยาง ไดแก กลุมตัวอยางที่ 1 สําหรับการทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิม (กลุมควบคุม X) จํานวน 10

ตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ 2 สําหรับการทองเท่ียวเชิงนิเวศทางน้ํา ครั้งที่ 1 (กลุมทดลอง X1) จํานวน 2 ตัวอยาง

กลุมตัวอยางที่ 3 สําหรับการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา ครั้งที่ 2 (กลุมทดลอง X2) จํานวน 5 ตัวอยาง และกลุม

ตัวอยางที่ 4 สําหรับการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา ครั้งที่ 3 (กลุมทดลอง X3) จํานวน 10 ตัวอยาง

3) ประชาชน ในเขตบางกอกนอย บางกอกใหญ ตลิ่งชัน และธนบุรี จํานวนทั้งหมด 100 ตัวอยาง

4) ผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวเฉพาะที่จดทะเบียน ณ สํานักงานทะเบียนเขตกรุงเทพมหานคร

จํานวนทั้งหมด 57 ตัวอยาง

5) มัคคุเทศกที่ไดรับใบอนุญาตประเภททั่วไปตางประเทศ (บัตรสีบรอนซเงิน) และในประเทศ

(บัตรสีบรอนซทอง) เฉพาะที่จดทะเบียน ณ สํานักงานทะเบียนเขตกรุงเทพมหานคร จํานวนทั้งหมด 99 ตัวอยาง

4

Page 27: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

5

1.4.3 การคัดเลือกพ้ืนที่ตัวอยาง

จากการศึกษาแผนแมบทเพื่อพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2548-2552) ไดกลาวถึงการ

จัดแบงพื้นท่ีกรุงเทพมหานครเพื่อการบริหารจัดการเมืองที่เปนระบบ ตามนโยบายการพัฒนาเมืองตามพื้นท่ี และ

แบงกลุมเพื่อการพัฒนาตามศักยภาพหรือลักษณะเฉพาะของพื้นท่ี โดยแบงออกเปน 12 กลุมเขต (กองการ

ทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร. 2548: 3-8) ซึ่งพื้นที่ที่มีความสําคัญแหงหนึ่ง คือ พื้นที่ กท 5 หรือเขตอนุรักษเมือง

เกากรุงธนบุรี เน่ืองจากเปนพ้ืนท่ีที่มีแหลงวิถีชีวิตชุมชนดั้งเดิม เปนแหลงทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตรและ

ศิลปวัฒนธรรม ประกอบดวย 5 เขต ไดแก ธนบุรี บางกอกใหญ คลองสาน บางกอกนอย และบางพลัด

สําหรับงานวิจัยในครั้งน้ี ผูวิจัยไดเลือกพ้ืนท่ีตัวอยางใน 3 เขต จากพื้นท่ี กท 5 คือ พื้นท่ีเขตบางกอก

นอย บางกอกใหญ และธนบุรี โดยเพิ่มเติมพื้นที่บางสวนของเขตตลิ่งชันเพื่อความสมบูรณของงานวิจัย ซึ่งเปน

พื้นท่ีที่สามารถเขาถึงและเชื่อมโยงดวยการสัญจรทางน้ํา ไดแก ตั้งแตปากคลองบางกอกใหญ คลองมอญ คลอง

บางเชือกหนัง คลองบางนอย คลองบางพรม คลองบางระมาด คลองชักพระ คลองบางกอกนอย และริมแมนํ้า

เจาพระยาจากปากคลองบางกอกใหญถึงปากคลองบางกอกนอย อันเน่ืองมาจากผูวิจัยสนใจศึกษาการพัฒนา

รูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในเขตพื้นท่ีดังกลาว และเมื่อไดศึกษาขอมูลเบ้ืองตนในการนําเท่ียวของ

ผูประกอบการทองเที่ยวจะพบวา การนําเที่ยวในเขตพื้นท่ีดังกลาวขางตนยังมีนอยและกระจุกตัวอยูในบางพื้นท่ี ซึ่ง

ในความเปนจริงแลวแหลงทองเท่ียวในพื้นท่ีดังกลาวยังมีศักยภาพมากพอตอการพัฒนาใหเกิดการทองเที่ยว

โดยเฉพาะการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา เน่ืองจากธนบุรีเปนพ้ืนที่ที่มีประวัติศาสตร ศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิตที่

โดดเดนและเปนเอกลักษณ รวมทั้งยังเปนอดีตราชธานีที่เปนรอยตอสําคัญทางประวัติศาสตรระหวางกรุงศรีอยุธยา

ที่เจริญรุงเรืองในอดีตและกรุงรัตนโกสินทรเมืองหลวงที่สวยงามและตั้งตระหงานอยูอีกฝงหนึ่งของแมนํ้าเจาพระยา

ในปจจุบัน ซึ่งจะเปนอีกทางเลือกหนึ่งของการทองเที่ยวภายในกรุงเทพมหานคร อันจะทําใหเกิดการกระจายรายได

สูชุมชนทองถิ่น รวมถึงการเพิ่มรายไดและจํานวนวันทองเที่ยวของกรุงเทพ ฯ ไดอีกทางหนึ่งดวย

1.4.4 นิยามศัพทเฉพาะ

1) การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยว หมายถึง กระบวนการออกแบบและดําเนินการ 3 ขั้นตอน

หลัก ไดแก 1) ขั้นเตรียมการ 2) ขั้นออกแบบ และ 3) ขั้นวิจัยและพัฒนา 3 ครั้ง พรอมการแกไขปรับปรุงทุกครั้ง

2) การทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิม หมายถึง การทองเที่ยวโดยเรือหางยาวหรือเรือยนตลองผาน

แมนํ้าเจาพระยา วนเขาสูคลองบางกอกนอย คลองชักพระ และคลองบางกอกใหญ อาจจะไดแวะชมสถานที่

ทองเที่ยวเพียงไมกี่แหงหรืออาจจะไมไดแวะชมเลย และอาจจะมีหรือไมมีมัคคุเทศกประจําเรือก็ได

3) การทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบใหม หมายถึง การเดินทางไปยังแหลงทองเที่ยวโดยการบริการ

เคลื่อนยายนักทองเที่ยวดวยเรือ ซึ่งวิ่งไปตามลํานํ้าจากแมนํ้าเจาพระยาออมเขาสูคลองบางกอกใหญ เขาสูคลอง

มอญ คลองบางเชือกหนัง คลองบางนอย คลองบางพรม คลองบางระมาด คลองชักพระ คลองบางกอกนอย และ

5

Page 28: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

6

มาสิ้นสุดท่ีแมนํ้าเจาพระยาอีกครั้ง โดยมีการวางแผนและการจัดการรูปแบบการทองเที่ยวตามแนวความคิดการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศ

4) ผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว หมายถึง ผูทําธุรกิจในการใหบริการอํานวยความสะดวกเกี่ยวกับ

การเดินทาง สถานท่ีพัก อาหาร ทัศนาจร และมัคคุเทศกแกนักทองเที่ยว ซึ่งมีที่ตั้งอยูในพื้นท่ีเขตบางกอกนอย

บางกอกใหญ ตลิ่งชัน และธนบุรี

5) มัคคุเทศก หมายถึง ผูทําหนาที่นํานักทองเที่ยวไปเยี่ยมชมสถานที่ตางๆในพื้นที่ฝงธนบุรีที่

ตั้งอยูบริเวณริมลํานํ้าของพื้นท่ีเขตบางกอกนอย บางกอกใหญ ตลิ่งชัน และธนบุรี พรอมท้ังใหความรู คําอธิบาย

ชี้แจงเรื่องราวความเปนมาและความสําคัญตางๆเกี่ยวกับสถานที่น้ันๆ โดยเปนมัคคุเทศกที่ไดรับใบอนุญาตประเภท

ทั่วไปตางประเทศ (บัตรสีบรอนซเงิน) หรือในประเทศ (บัตรสีบรอนซทอง) เฉพาะที่จดทะเบียน ณ สํานักงาน

ทะเบียนเขตกรุงเทพมหานคร

6) นักทองเที่ยว (Tourist) หมายถึง ผูเยี่ยมเยือน (Visitor) ชาวไทยที่เดินทางไปยังพื้นท่ีฝงธนบุรี

ตามลํานํ้าในเขตบางกอกนอย บางกอกใหญ ตลิ่งชัน และธนบุรี เพ่ือพักผอนและศึกษาเรียนรูประวัติศาสตร วิถี

ชีวิตวัฒนธรรม ความเปนอยูของชุมชนทองถิ่น

7) การยอนรอย (Retracing) หมายถึง การเดินทางไปยังสถานที่ที่นาสนใจและมีความสําคัญใน

ฝงธนบุรีซึ่งเคยเปนอดีตราชธานีกรุงธนบุรี โดยเฉพาะพื้นท่ีที่อยูบริเวณริมลํานํ้าของพื้นท่ีเขตบางกอกนอย บางกอก

ใหญ ตลิ่งชัน และธนบุรี เพ่ือทําความเขาใจประวัติศาสตรและวัฒนธรรม ตลอดจนเรียนรูวิถีชีวิตของคนธนบุรีที่

ผูกพันกับสายนํ้า และรูจักกลุมชนตางๆที่มีเอกลักษณเฉพาะถิ่นซึ่งอาศัยอยูในธนบุรีตั้งแตอดีตจวบจนถึงปจจุบัน

8) เสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี (The Historical Route within an Area of

the Old Capital City - Thonburi) หมายถึง เสนทางลํานํ้าตั้งแตปากคลองบางกอกใหญ วนเขาสูคลองมอญ

คลองบางเชือกหนัง คลองบางนอย คลองบางพรม คลองบางระมาด คลองชักพระ แลววนเขาสูคลองบางกอกนอย

และสิ้นสุดท่ีแมนํ้าเจาพระยาระหวางคลองบางกอกนอยและคลองบางกอกใหญ

1.5 ขอจํากัดของการวิจัย

เน่ืองจากผูวิจัยมีระยะเวลาในการศึกษาและเก็บขอมูลภาคสนามอยางจํากัด รวมถึงงบประมาณที่ตองใช

ในการดําเนินงานวิจัยท่ีคอนขางสูง ทําใหผูวิจัยจําเปนตองเลือกกลุมตัวอยางที่เปนนักทองเที่ยวชาวไทยและพื้นท่ี

เพียงบางสวนของฝงธนบุรีที่มีความสําคัญและมีความเปนไปไดสําหรับการศึกษากอน น่ันคือ พื้นท่ีบางสวนของเขต

บางกอกนอย บางกอกใหญ ตลิ่งชัน และธนบุรี

6

Page 29: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

7

1.6 สรุปแนวคิดในการวิจัย

การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําน้ันเปนการประสานบทบาทและหนาท่ีขององคประกอบ

ตาง ๆ ที่เกี่ยวของเขาดวยกัน เพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืนและเปนระบบ ซึ่งการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยว

เปนกระบวนการออกแบบและดําเนินการใน 3 ขั้นตอนหลัก ไดแก 1) ขั้นเตรียมการ เปนขั้นตอนการศึกษาขอมูล

และแนวคิดเบ้ืองตนที่เกี่ยวของกับหัวของานวิจัย ภายใตแนวคิดการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางยั่งยืน ประกอบดวย

การสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยว การศึกษาความคิดเห็นตอการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรีและความรูความเขาใจ

เกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศของนักทองเที่ยว ผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว มัคคุเทศก และประชาชนทองถิ่น 2)

ขั้นออกแบบ เปนขั้นตอนในการรางรูปแบบและเสนทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา จากน้ันจึงนํามาใหผูเชี่ยวชาญ

ในดานตางๆวิเคราะหและประเมินผลของรูปแบบการทองเท่ียวที่จัดทําขึ้น และ 3) ขั้นวิจัยและพัฒนา เปนขั้นตอน

ของการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํารูปแบบใหม 3 ขั้นตอนจากนักทองเที่ยวกลุมทดลอง ไดแก การ

ทดลองรายบุคคล การทดลองกลุมยอย และการทดลองกลุมใหญ ซึ่งในการทดลองแตละครั้งน้ันตองมีการแกไข

ปรับปรุงรูปแบบและเสนทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําดวยทุกครั้ง จากน้ันจึงนํานักทองเที่ยวกลุมทดลองจาก

การทดลองกลุมใหญไปเปรียบเทียบกับนักทองเที่ยวกลุมควบคุมดวยการทองเที่ยวทางนํ้ารูปแบบเดิม เพ่ือนํามา

วิเคราะหและเปรียบเทียบความพึงพอใจตอการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวทั้งสองกลุม ซึ่งหากนักทองเที่ยวกลุม

ทดลองมีความพึงพอใจมากกวานักทองเที่ยวกลุมควบคุม ผูวิจัยก็จะสามารถนําเสนอรูปแบบและเสนทางการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําของพื้นท่ีฝงธนบุรีในพื้นที่วิจัยที่พัฒนาและปรับปรุงแลว อันจะสงผลดีตอทุกภาคสวนที่

เกี่ยวของกับกระบวนการพัฒนาการทองเที่ยวของพื้นท่ีที่ทําการวิจัย และจะทําใหเกิดการพัฒนาการทองเที่ยวอยาง

ยั่งยืนตอไป โดยมีแนวคิดการวิจัยดังกลาว ดังภาพประกอบ 1

7

Page 30: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

8

การทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา

การทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางยั่งยนื

แหลงทองเท่ียว

การรางรูปแบบและเสนทางการทองเที่ยวทางน้ํา

ผูเช่ียวชาญประเมนิ

การทดลองรายบุคคล ครั้งที่ 1

นําเสนอรูปแบบและเสนทางการทองเที่ยวที่พัฒนาแลว

การทดลองกลุมยอย ครั้งที่ 2

การทดลองกลุมใหญ ครั้งที่ 3

มัคคุเทศก นักทองเท่ียว

ประชาชนทองถิ่น

การศึกษาขอมูลและแนวคิดเบื้องตน

การทองเท่ียวทางน้ํารูปแบบเดิม

ข้ันที่ 2 ข้ันออกแบบ

ข้ันที่ 3 ข้ันวิจัยและพัฒนา

ผูประกอบการ ธุรกิจนําเที่ยว

ข้ันเตรียมการ

ข้ันที่ 1 นําขอมูลยอนกลับ (Feedback) มาใชเพือปรับปรุง

ภาพประกอบ 1 สรุปแนวคิดในการวิจัยเพื่อการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา กรณีศึกษา “ยอนรอย

เสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี”

8

Page 31: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการวิจัยครั้งน้ี ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ และไดนําเสนอตามหัวขอตอไปนี้

2.1 สภาพท่ัวไปของพื้นท่ีฝงธนบุรีและพื้นท่ีกรณีศึกษา 2.2 แนวความคิดการพัฒนาการทองเที่ยว 2.3 แนวความคิดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

2.4 แนวความคิดการทองเที่ยวทางน้ํา 2.5 นโยบายและแผนงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาการทองเที่ยวฝงธนบุรี 2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.1 สภาพทั่วไปของพื้นที่ฝงธนบุรีและพื้นที่กรณีศึกษา

2.1.1 พ้ืนที่ฝงธนบุรี

1) ความเปนมา

(1) เมืองทาหนาดานในสมัยอยุธยา ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (พ.ศ. 1967 - 1991) เมืองธนบุรีถูกระบุวามีฐานะเปน

ดานขนอนของกรุงศรีอยุธยาตั้งแตตนกรุงศรีอยุธยา สาเหตุที่ทําใหธนบุรีเปนเมืองหนาดานที่สําคัญน้ันมีหลาย

เหตุผล กลาวคือ ธนบุรีเปนเมืองที่ตั้งอยูในชัยภูมิที่เหมาะสม ตั้งอยูบนเสนทางน้ําระหวางปากแมนํ้าเจาพระยาและ

กรุงศรีอยุธยา ซึ่งทําใหเปนจุดเชื่อมโยงที่สําคัญในการติดตอสื่อสารไดโดยสะดวกทั้งจากภายในและภายนอก

ราชอาณาจักร หลังจากน้ันเมืองธนบุรีไดถูกยกความสําคัญยิ่งขึ้นอีก เม่ือสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พ.ศ. 2091 -

2111) ทรงยกฐานะเมืองธนบุรีจากดานขนอนเปน “เมืองทณบุรีศรีมหาสมุทร” ทําหนาท่ีเปนเมืองหนาดานทางทะเล

ปองกันขาศึกศัตรูที่จะเขามาทางใตของกรุงศรีอยุธยา และตรวจตราจัดเก็บภาษีสินคาท่ีผานเขาออกอยุธยาทางทะเล

เน่ืองจากธนบุรีเปนเมืองที่ตั้งอยูบนฝงแมนํ้าเจาพระยา ซึ่งเปนเสนทางเดินเรือสินคาเขาออก

ระหวางกรุงศรีอยุธยากับปากแมนํ้ามาต้ังแตสมัยอยุธยาตอนตน และไดมีการขุดคลองลัดเสนทางลํานํ้าเจาพระยา

มาโดยตลอด ดวยเหตุผลหลักคือ เพื่อพัฒนาเสนทางคมนาคมสําหรับการเดินทางเขาออกกรุงศรีอยุธยาไดรวดเร็ว

ยิ่งขึ้น เพราะในปลายสมัยอยุธยาการคากับตางประเทศเจริญกาวหนามาก ทําใหมีตางชาตินําเรือเขามาติดตอคาขาย

ในกรุงศรีอยุธยาเพิ่มมากขึ้น จึงจําเปนตองมีการปรับปรุงเสนทางน้ําใหมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการขุดคลองลัด

ในรัชสมัยสมเด็จพระชัยราชาธิราช (พ.ศ. 2077 - 2089) น่ันคือ การขุดคลองลัดที่บางกอกหรือธนบุรี ตั้งแตปาก

Page 32: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

คลองบางกอกนอยไปจนจรดปากคลองบางกอกใหญ เน่ืองจากแตเดิมน้ันคลองบางกอกนอยและบางกอกใหญเปน

แมนํ้าท่ีไหลออม ทําใหการคมนาคมทางน้ําตองใชเวลานาน เม่ือขุดคลองลัดแลว ลํานํ้าเจาพระยาก็สามารถไหลผาน

คลองลัดเปนเสนตรง ครั้นเวลาผานไปคลองลัดก็ขยายกวางจนกลายเปนลํานํ้าสายใหม และลํานํ้าเดิมชวงที่ไหลคด

โคงกลับตื้นเขินดวยเหตุที่เปนทางออมของแมนํ้า ที่ตั้งของเมืองธนบุรีที่มีลํานํ้าใหมไหลผานน้ันจึงมีลักษณะอกแตก

ทําใหเกิดชุมชนเมืองขึ้นท้ังสองฝงแมนํ้า

เมืองธนบุรีมีบทบาทสําคัญขึ้นอีกครั้งในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช (พ.ศ. 2199 -

2231) เน่ืองจากพระองคไดโปรดเกลาฯใหฝรั่งเศสเขามาสรางปอมปราการที่ปากคลองบางกอกใหญ คือปอมวิชัย

ประสิทธิ์ และสรางปอมใหญอีกหน่ึงปอมทางฝงตะวันออก คือที่ตั้งของโรงเรียนราชินีในปจจุบัน เน่ืองจากฝรั่งเศส

ตองการแผอิทธิพลและควบคุมเสนทางการเดินเรือของไทย จึงไดสงกองทหารเขามาประจําการที่ปอมท้ังสองแหง

สมเด็จพระเพทราชา (พ.ศ. 2231 - 2246) ซึ่งครองสมบัติสืบตอจากสมเด็จพระนารายณจึงโปรดเกลาฯใหรื้อทําลาย

ปอมใหญฝงตะวันออก คงเหลือแตปอมฝงตะวันตกเพียงปอมเดียว

(2) ราชธานีกรุงธนบุรี หลังจากที่ไทยรบกับพมาจนเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจากรุงธนบุรี

หรือสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช (พ.ศ. 2310 - 2325) ทรงนําทัพเขากอบกูกรุงศรีอยุธยาจากพมาไดสําเร็จ แต

เน่ืองจากกรุงศรีอยุธยาถูกเผาทําลายเสียหายเกินกวาท่ีจะบูรณะใหคืนสภาพดีไดดังเดิม พระเจาตากสินจึงโปรด

เกลาฯใหรวบรวมและกวาดตอนผูคน สมณะชีพราหมณ และพระบรมราชวงศที่ยังคงหลงเหลืออยูที่กรุงศรีอยุธยา

รวมทั้งชาวจีน ชาวอินเดียท่ีทําการคาขายกับไทย ชาวมอญ ชาวลาว และไพรพลท่ีเปนเชลยศึกลงมาอยูที่กรุงธนบุรี

โดยทรงเลือกเมืองธนบุรีเปนราชธานีแหงใหมดวยเหตุผลหลายประการ กลาวคือ เมืองธนบุรีเปนเมืองขนาดยอม

เหมาะกับกําลังทหารที่มีอยูนอย หากไมสามารถตานทานขาศึกได ก็อาจถอยทัพไปตั้งม่ันท่ีเมืองจันทบุรี และเหตุผล

อีกประการหนึ่งก็คือ เมืองธนบุรีมีปอมปราการที่แนนหนาตั้งอยูบริเวณปากแมนํ้า ทําใหสามารถควบคุมเสนทางการ

เดินเรือ มิใหหัวเมืองทางเหนือซื้อหาอาวุธจากชาวตางชาติได อีกท้ังเมืองธนบุรียังมีความอุดมสมบูรณเปนท่ีราบลุม

เหมาะแกการเพาะปลูกพืชผักผลไมไดเปนอยางดีอีกดวย

ในชวงตนของการฟนฟูดานเศรษฐกิจของกรุงธนบุรี เปนชวงที่ประชาชนอดอยากเพราะผลจาก

สงคราม สมเด็จพระเจาตากสินไดใชนโยบายการชักชวนพอคาโดยเฉพาะชาวจีนใหเขามาคาขายภายในเมือง

นอกจากน้ี การท่ีกรุงธนบุรีตั้งอยูใกลปากแมนํ้าเจาพระยาซึ่งเปนทําเลท่ีเหมาะสมทางการคา ทําใหการติดตอคาขาย

ทางเรือสามารถทําไดงายและเหมาะสม โดยทางไทยไดทําการติดตอกับหลายประเทศดวยกัน ทั้งจีน ชวา มลายู

อังกฤษ และฮอลันดา เปนตน

10

Page 33: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ภาพประกอบ 2 แผนที่แสดงคลองที่ขุดลัดเสนทางเดิมของแมนํ้าเจาพระยา

ที่มา: มูลนิธิอนุรักษโบราณสถานในพระราชวงัเดิม. (2543). สาระนารูกรุงธนบุรี: หนา 10.

11

Page 34: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

นอกจากน้ัน สมเด็จพระเจาตากสินไดพัฒนาประเทศเขาสูแนวทางใหม โดยการตัดถนนในยาม

ที่วางจากศึกสงคราม เพื่ออํานวยความสะดวกในดานตาง ๆ ซึ่งนับไดวาเปนนโยบายใหมที่มีแนวคิดกวางไกล

เพราะยังไมเคยมีหลักฐานการสรางถนนมากอนในสมัยอยุธยา สวนการขยายเมืองในสมัยกรุงธนบุรีน้ัน ไดมีการขุด

คลองเปนคูเมืองตรงดานหลังกําแพงเมืองเดิม จากคลองบางกอกใหญตัดไปออกคลองบางกอกนอย (ปจจุบันคือ

คลองบานหมอ บานขม้ิน สวนแนวคลองชวงทายสุดถูกถมไปตั้งแตคราวสรางสถานีรถไฟธนบุรี) สวนฝงตะวันออก

ก็ขุดคูเมืองจากแมนํ้าเจาพระยาดานหลังปอมวิชาเยนทรไปออกแมนํ้าเจาพระยาตรงศาลเทพารักษหัวโขด (ปจจุบัน

คือคลองคูเมืองเดิม) การตัดถนนและขุดคลองดังกลาวน้ี แสดงถึงการคมนาคมในกรุงธนบุรีวา ไดมีการพัฒนาไป

อยางกาวหนา เพ่ือความสะดวกทั้งทางบกและทางน้ําสําหรับรองรับความเจริญทางการคาท่ีกําลังจะขยายเขามา

หลังขยายเมือง พระเจาตากสินโปรดใหกันเอาพื้นท่ีในกําแพงเมืองเดิมสรางเปนพระราชวังที่

ประทับ ยกวัดแจงและวัดทายตลาดใหเปนวัดภายในพระราชวังที่ไมมีพระสงฆจําพรรษา บูรณะวัดวาอารามที่ชํารุด

ทรุดโทรมทั่วพระนครและตามหัวเมืองตาง ๆ ปรับที่สวนนอกกําแพงเมืองฝงตะวันตก และที่ลุมนํ้าขังที่เรียกวา

ทะเลตมนอกกําแพงเมืองฝงตะวันออกทําเปนผืนนากวางใหญ พรอมทั้งเกณฑไพรพลมาทํานาเพื่อแกปญหาขาว

ยากหมากแพงจากภาวะสงคราม และฝนแลงอยางหนักในชวงตนรัชกาล

(3) ธนบุรีในสมัยรัตนโกสินทร เม่ือพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกเสด็จขึ้นครองราชยสมบัติ เปนพระมหากษัตริย

พระองคแรกแหงราชวงศจักรี ทรงยายราชธานีจากฝงธนบุรีมาอยูฝงพระนคร ซึ่งอยูทางดานตะวันออกของแมนํ้า

เจาพระยา คือ กรุงเทพมหานครในปจจุบัน ทรงโปรดเกลา ฯ ใหรื้อกําแพงเมืองธนบุรีฝงตะวันออก แลวสรางแนว

กําแพงเมืองใหมที่แนวคลองรอบกรุง เหตุที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกทรงเลือกกรุงเทพฯฝงพระ

นครเปนราชธานี เน่ืองจากเมืองธนบุรีมีลักษณะเปนเมืองอกแตกเหมือนเมืองพิษณุโลก หากขาศึกยกเรือเขามาจู

โจมก็ยากจะเอาชนะศึกได

เม่ือสงครามกับพมาสิ้นสุดลงในตอนตนรัตนโกสินทร ธนบุรีก็มีความสงบสุขอีกครั้ง มีความ

อุดมสมบูรณ เปนแหลงปลูกไมผลนานาชนิด และยังเปนถิ่นฐานบานเรือนของบรรดาเจานายและขุนนางทั้งหลาย

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวมีการขุดลอกคลองสายเกาในฝงธนบุรี ตอมาในสมัยพระบาทสมเด็จ

พระจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลา ฯ ใหขุดคลองภาษีเจริญและคลองมหาสวัสด์ิ เพื่อลําเลียงขนสงสินคา และขยาย

พื้นท่ีการเกษตร ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลา ฯ ใหปรับปรุงคลองสายเกาและขุด

คลองสายใหมเพ่ือการคมนาคมทางน้ํา ไดแก คลองทวีวัฒนา คลองนราภิรมย สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา

เจาอยูหัวโปรดเกลา ฯ ใหสรางสะพานขามแม นํ้าเจาพระยาแหงแรก คือ สะพานพระรามหก และสมัย

พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวไดโปรดเกลา ฯ ใหสรางสะพานขามแมนํ้าเจาพระยาแหงที่ 2 เน่ืองในโอกาส

ครบรอบ 150 ป ของกรุงเทพมหานคร คือ สะพานพระพุทธยอดฟา

12

Page 35: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ภาพประกอบ 3 แผนที่แสดงเมืองธนบุรีสมัยพระเจาตากสิน

ที่มา: นิธิ เอียวศรีวงศ. (2548). การเมืองไทยสมัยพระเจากรุงธนบุรี: หนา 548.

(4) ธนบุรีในปจจุบัน

ธนบุรีในวันน้ีคือแผนดินฝงตะวันตกของแมนํ้าเจาพระยา การขยับขยายความเจริญภาคเมือง

อุตสาหกรรมจากฝงตะวันออกของกรุงเทพมหานคร ทําใหมีการถมคูคลองเพื่อสรางชุมชนเมืองแบบใหม คูคลอง

หลายแหงถูกแปรสภาพเปนคลองระบายน้ําทิ้งจากบานเรือนที่อยูอาศัย ความตองการภาคแรงงานของอุตสาหกรรม

และการโยกยายถิ่นฐานจากภาคชนบทสูเมือง ไดเขามาแทนที่วัฒนธรรมชุมชนแบบเดิม ทําใหธนบุรีในปจจุบันคือ

ยานธุรกิจการคา ที่อยูอาศัย เสนทางคมนาคม และสถานที่สําคัญตาง ๆ

2) ที่ตั้ง

ธนบุรี คือ พื้นที่ฝงตะวันตกของแมนํ้าเจาพระยาที่อยูในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร

ตั้งอยูระหวางเสนรุงที่ 13.50-13.80 องศาเหนือ กับเสนแวงที่ 100.20-100.50 องศาตะวันออก

13

Page 36: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

3) อาณาเขต

ทิศเหนือ ติดตอกับจังหวัดนนทบุรี แนวเขตเริ่มจากเชิงสะพานพระราม 6 ฝงตะวันออกแมนํ้า

เจาพระยาตอไปทางฝงตะวันตกตามทางรถไฟสายใต เปนแนวลงมาตามทางรถไฟสายใตจนถึงคลองบางกอกนอย

ฝงตะวันออก แลวเลี้ยวขึ้นไปทางเหนือถึงปากคลองมหาสวัสด์ิตรงวัดชัยพฤกษมาลา เลี้ยวไปทางทิศตะวันตก

เลียบฝงเหนือคลองมหาสวัสด์ิไปจรดสี่แยกคลองนราภิรมยฝงตะวันออก ทิศใต จรดอาวไทย เริ่มจากปากคลองขุนราชพินิจใจฝงตะวันออก เลียบไปตามชายฝงทะเลอาว

ไทย จรดฝงตะวันตกคลองบางเสาธง ทิศตะวันออก ติดตอกับกรุงเทพมหานครฝงตะวันออกและจังหวัดสมุทรปราการ เริ่มจาก

สะพานพระราม 6 ฝงตะวันออก เลียบไปตามลํานํ้าเจาพระยาฝงตะวันออกจนถึงคลองบางมะนาวฝงเหนือ ตัดตรง

ขามลําแมนํ้าเจาพระยามาทางฝงตะวันตกในแนวกึ่งกลางคลองบางพึ่ง ผานถนนสุขสวัสด์ิไปทางทิศใตในแนวคลอง

รางใหญ เลี้ยวไปตามคลองบางจาก คลองกระออม ไปจนจรดคลองบางมดตัดกับคลองหัวกระบือลงไปทางทิศใต

ตามแนวคลองขุนราชพินิจใจ จนสุดแนวเขตกรุงเทพมหานครบริเวณอาวไทย ทิศตะวันตก ติดตอกับจังหวัดนครปฐมและจังหวัดสมุทรสาคร จากสี่แยกคลองนราภิรมยฝง

ตะวันออกวกลงใตตัดคลองบางไผ เลียบคลองศรีสําราญฝงตะวันออก ตัดกับถนนเพชรเกษมและคลองภาษีเจริญ

ไปตามคลองตามกลอม เลี้ยวเขาคลองหนามแดงและหักลงทางทิศใต เลียบฝงตะวันตกของคลองแสมดําลงมาทาง

ทิศใต แลวเลียบตามฝงตะวันตกของคลดงบางเสาธงไปจรดฝงทะเลอาวไทย

4) การปกครอง

สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชดําริเห็นวาพื้นที่มณฑลกรุงเทพพระ

มหานครที่จัดต้ังขึ้นในสมัยรัชกาลท่ี 5 น้ันกวางใหญเกินไป จึงโปรดเกลา ฯ ใหยกเลิกมณฑลกรุงเทพพระมหานคร

และใหแบงเขตกรุงเทพพระมหานครออกเปนจังหวัดดังน้ีคือ กรุงเทพ ฯ ฝงตะวันออกลํานํ้าเจาพระยาเปนจังหวัด

พระนคร กรุงเทพ ฯ ฝงตะวันตกลํานํ้าเจาพระยาเปนจังหวัดธนบุรี แบงรอบนอกเปนจังหวัดนนทบุรี จังหวัดมีนบุรี

จังหวัดพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เหตุน้ีกรุงเทพพระมหานครจึงแยกออกเปนจังหวัดพระนครและจังหวัด

ธนบุรี ตอมาหลังจากการปฏิวัติในป 2514 ไดมีประกาศคณะปฏิวัติใหรวมจังหวัดพระนครและจังหวัด

ธนบุรีเขาดวยกันเรียกวา “นครหลวงกรุงเทพธนบุรี” มีฐานะเปนจังหวัดหน่ึง จนกระทั่งเกิดการเปลี่ยนแปลงในป

2516 มีการใชรัฐธรรมนูญฉบับใหม สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริหารกรุงเทพมหานครตาม

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518 แบงพื้นที่การปกครองออกเปนเขตและแขวง

มีผูวาราชการและรองผูวาราชการมาจากการเลือกต้ัง ทําหนาที่รับผิดชอบการบริหาร ซึ่งรูปแบบดังกลาวยังคงใชสืบ

มาจนถึงปจจุบัน ปจจุบันน้ีธนบุรีประกอบไปดวยเขตตาง ๆ 15 เขต ดังน้ี

14

Page 37: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ตาราง 1 แสดงเขตการปกครองของกรุงเทพมหานครในฝงธนบุรี ณ เดือนมีนาคม 2551

เขต พื้นท่ี (ตารางกิโลเมตร) จํานวนบาน (หลัง) จํานวนประชากร (คน)

คลองสาน 6.870 28,664 84,382

จอมทอง 26.254 57,373 167,791

ตลิ่งชัน 32.855 35,071 108,569

ทุงครุ 26.840 41,694 111,938

ทวีวัฒนา 50.219 28,468 70,651

ธนบุรี 8.566 43,761 131,531

บางกอกนอย 11.944 44,351 129,687

บางกอกใหญ 6.180 25,703 79,312

บางขุนเทียน 123.260 56,470 143,301

บางบอน 34.621 46,139 101,784

บางพลัด 11.360 37,318 104,937

บางแค 46.550 73,243 192,790

ภาษีเจริญ 17.180 45,575 134,272

ราษฎรบูรณะ 15.700 32,546 92,715

หนองแขม 35.825 49,050 136,445

รวมทั้งหมด 454.224 645,426 1,790,105

ที่มา: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2551, มีนาคม): (ออนไลน).

2.1.2 พ้ืนที่กรณีศึกษา

1) เขตบางกอกนอย

ประวัติความเปนมา

เขตบางกอกนอยเดิมมีชื่อวา อําเภออมรินทร จากน้ันในป พ.ศ.2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ

เกลาเจาอยูหัวโปรดเกลา ฯ ใหเปลี่ยนชื่อเปน อําเภอบางกอกนอย เพื่อใหเหมาะสมกับนามตําบลอันมีหลักฐานมา

แตโบราณ ตอมาเม่ือ พ.ศ.2515 มีประกาศคณะปฏิวัติ ยกเลิกหนวยการปกครองจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล ใน

เขตจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี โดยรวมเปนเขตการปกครองเดียว คือ กรุงเทพมหานคร และไดเปลี่ยนคําวา

อําเภอเปนเขต และตําบลเปนแขวง ดังน้ันอําเภอบางกอกนอยจึงไดรับการเปลี่ยนแปลงฐานะเปน เขตบางกอกนอย

15

Page 38: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ภาพประกอบ 4 แสดงเขตการปกครองของกรงุเทพมหานครฝงธนบุรี

ที่มา: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). ธนบุรีศรีมหาสมุทร: หนา 15.

16

Page 39: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

อาณาเขต

เขตบางกอกนอย มีพื้นท่ีทั้งหมด 11.944 ตารางกิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดตอกับพื้นท่ี

ดังตอไปนี้

ทิศเหนือ ติดตอกับเขตบางพลัด ทิศตะวันออก ติดแมนํ้าเจาพระยา และเขตพระนคร

ทิศใต ติดคลองมอญ และเขตบางกอกใหญ ทิศตะวันตก ติดคลองชักพระ คลองบางกอกนอย และเขตตลิ่งชัน

การปกครอง จากขอมูลในเดือนมีนาคม 2551 แสดงจํานวนประชากรในเขตบางกอกนอยรวมทั้งหมด

133,055 คน จํานวนบาน 43,524 หลัง โดยแบงเขตการปกครองออกเปน 5 แขวง ดังแสดงในตาราง 2

ตาราง 2 แสดงเขตการปกครองของเขตบางกอกนอย ณ เดือนมีนาคม 2551

แขวง จํานวนบาน (หลัง) จํานวนประชากร (คน)

อรุณอมรินทร 11,945 22,494

บางขุนนนท 3,801 10,339

บางขุนศรี 12,955 37,999

บานชางหลอ 11,348 39,179

ศิริราช 4,303 19,675

รวมทั้งหมด 44,352 129,686

ที่มา: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2551, มีนาคม): (ออนไลน).

แหลงทองเที่ยวที่สําคัญ วัด จํานวน 21 แหง ไดแก วัดโพธิ์เรียง วัดครุฑ วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร วัดอมรินทรา

ราม วัดวิเศษการ วัดสุวรรณาราม วัดมะลิ วัดปาเชิงเลน วัดรวกสุทธาราม วัดเจาอาม วัดไชยทิศ วัดภาวนาภิรตา

ราม วัดศรีสุดาราม วัดบางขุนนนท วัดชิโนรสาราม วัดพระยาทํา วัดดงมูลเหล็ก วัดยางสุทธาราม วัดละครทํา วัดสี

หไกรสร และวัดอมรทายิการาม อื่น ๆ จํานวน 15 แหง ไดแก ขันลงหินบานบุ ที่นอนบางกอกนอย เรือกสวนไรนา นิวาสสถาน

เดิมของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย กําแพงวังหลัง ศาลหลวงพอปู ศาลาแดงบางชางหลอ สถานีรถไฟ

ธนบุรี วังหลัง คลองบางกอกนอย โรงพยาบาลศิริราช ตรอกขาวเมา ศาลาตนจันทน สุนทรภู พิพิธภัณฑสถาน

แหงชาติเรือพระราชพิธี

17

Page 40: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

2) เขตบางกอกใหญ

ประวัติความเปนมา เขตบางกอกใหญน้ันมีที่มาจากชื่อลําคลองสายสําคัญที่ไหลผานพื้นท่ีแถบนี้มาต้ังแตอดีต น่ันคือ

“คลองบางกอกใหญ” หรือที่ชาวบานเรียกกันวา “คลองบางหลวง” คลองบางกอกใหญเปนชื่อเรียกชวงน้ําสวนหนึ่ง

ของแมนํ้าเจาพระยาสายเดิมท่ีแคบลงเน่ืองจากการขุดคลองลัดบางกอกในรัชสมัยพระไชยราชาธิราชของกรุงศรี

อยุธยา ซึ่งเปนเหตุใหสายนํ้าเปลี่ยนทางเดิน คลองขุดลัดกลับกลายเปนลํานํ้าใหญของแมนํ้าเจาพระยา ในขณะที่

สายนํ้าเดิมคอย ๆ ตื้นเขิน และกลายสภาพเปนคลองในเวลาตอมา

ที่มาของชื่อ “คลองบางกอกใหญ” น้ันมีผูใหความคิดเห็นไวหลายประการ ยกตัวอยางเชน เปน

การเรียกชื่อเพื่อใหสอดคลองกับชื่อ “คลองบางกอกนอย” ซึ่งเปนลํานํ้าสายเดียวกันแตอยูทางตอนบนของพื้นท่ี ซึ่ง

ไหลออมพื้นท่ีเมืองบางกอกในสมัยอดีต สวนชื่อ “คลองบางหลวง” เพ่ิมมาเรียกใชกันในสมัยสมเด็จพระเจากรุง

ธนบุรี เน่ืองจากเคยเปนท่ีตั้งของวังหลวง บานเรือนเจานายและขุนนางในสมัยน้ัน ซึ่งการสัญจรผานเสนทางบริเวณ

น้ีมีความสําคัญจึงเรียกพ้ืนท่ีบริเวณนี้วา “บางหลวง” ทําใหคลองสายน้ีจึงถูกเรียกวา “คลองบางหลวง” ไปดวย

นอกจากน้ีบางทานกลาววาชื่อ “ตําบลบางหลวง” นาจะเปนชื่อเกาของพื้นที่เขตบางกอกใหญใน

ปจจุบัน สวนพื้นท่ี “ตําบลบางกอก” ในอดีตคงจะเปนเฉพาะพื้นที่ของบางกอกนอยในทุกวันน้ี เน่ืองมาจากวา การ

ขุดคลองลัดบางกอกในสมัยพระไชยราชาธิราชน้ัน เปนการขุดซ้ําคลองลัดท่ีมีอยูเดิมใหกวางขึ้น โดยเริ่มขุดจาก

คลองบางกอกตอนบนไปบรรจบกับคลองบางหลวงที่ราษฎรขุดขึ้นมาจากตอนลาง ตอมาเม่ือคลองลัดดังกลาวถูกนํ้า

กัดกวางจนแมนํ้าเจาพระยาปจจุบันแลว บริเวณที่เคยเปนบางหลวงจึงถูกเรียกรวมเปนบางกอกดวย แตเพื่อปองกัน

ความสับสนจึงแบงเรียกพื้นที่ คือ บางกอกตอนบนเปน “บางกอกนอย” และบางกอกตอนลางเปน “บางกอกใหญ”

ซึ่งสงผลใหคลองที่ไหลผานพื้นท่ีทั้งสองถูกเปลี่ยนชื่อตามไปดวย

อยางไรก็ตาม คลองบางหลวงหรือคลองบางกอกใหญ ในอดีตน้ันเปนพ้ืนท่ีอุดมสมบูรณในดาน

ของพืชสวน ทั้งหมาก พลู มะพราว รวมถึงพืชผักผลไมนานาชนิด ซึ่งจะเห็นไดจากชื่อของพื้นท่ีบริเวณนี้ที่แสดงถึง

การที่เคยเปนศูนยกลางทางการเกษตรและยานชุมชนมากอน เชน ตลาดพลู ทาพระ เปนตน

ในแงของความสําคัญทางประวัติศาสตรน้ัน ลํานํ้าสายน้ีเคยใชเปนเสนทางเดินทัพ ตลอดจนใช

เปนเสนทางสัญจรลําเลียงเสบียงอาหาร กําลังพล และหลบหนีภัยพิบัติตางๆมานับครั้งไมถวน ดังน้ันจึงสามารถ

กลาวไดวา คลองบางกอกใหญ มีความสําคัญอยางยิ่งทางประวัติศาสตรและโบราณคดีที่มีความเกี่ยวพันกับแมนํ้า

เจาพระยามาตั้งแตอดีตจวบจนถึงปจจุบันน่ันเอง

ลักษณะภูมิประเทศและอาณาเขต

เขตบางกอกใหญ เปนพื้นที่ราบลุม มีลักษณะเปนเกาะคือ มีคลองและแมนํ้าลอมรอบ มีพื้นที่

ทั้งหมด 6.18 ตารางกิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดตอกับพื้นท่ีตาง ๆ ดังตอไปนี้

ทิศเหนือ ติดคลองมอญ และเขตบางกอกนอย

ทิศตะวันออก ติดแมนํ้าเจาพระยา และเขตพระนคร

ทิศใต ติดคลองบางกอกใหญ เขตธนบุรี และเขตภาษีเจริญ

18

Page 41: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ทิศตะวันตก ติดคลองบางกอกใหญ เขตภาษีเจริญ และเขตบางกอกนอย

การปกครอง

ตาราง 3 แสดงเขตการปกครองของเขตบางกอกใหญ ณ เดือนมีนาคม 2551

แขวง จํานวนบาน (หลัง) จํานวนประชากร (คน)

วัดอรุณ 3,920 16,336

วัดทาพระ 21,785 62,978

รวมทั้งหมด 25,705 79,314

ที่มา: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2551, มีนาคม): (ออนไลน).

แหลงทองเที่ยวที่สําคัญ วัด จํานวน 14 แหง ไดแก วัดอรุณราชวราราม วัดหงสรัตนาราม วัดโมลีโลกยาราม วัดเครือ

วัลยวรวิหาร วัดนาคกลาง วัดใหมพิเรนทร วัดราชสิทธาราม วัดสังขกระจาย วัดทาพระ วัดดีดวด วัดเจามูล วัด

ประดูฉิมพลี วัดประดูในทรงธรรม และวัดใหมวิเชียร

มัสยิด จํานวน 3 แหง ไดแก มัสยิดตนสน มัสยิดดิลฟลลาห และมัสยิดผดุงธรรมอิสลาม

อื่น ๆ จํานวน 1 แหง ไดแก พระราชวังเดิม

3) เขตตลิ่งชัน

ประวัติความเปนมา

เดิมเปนอําเภอหน่ึงของจังหวัดธนบุรี เม่ือมีการปฏิรูปการปกครองในเขตนครหลวง โดยการ

รวมเอาจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรี ซึ่งเปนสวนราชการบริหารสวนภูมิภาคเปน “จังหวัดนครหลวงกรุงเทพ

ธนบุรี” และรวมองคการบริหารสวนจังหวัดพระนครกับองคการบริหารสวนจังหวัดธนบุรี ซึ่งเปนสวนราชการบริหาร

ราชการสวนทองถิ่นเปน “องคการบริหารนครหลวงกรุงเทพธนบุรี” นอกจากน้ันยังรวมเอาเทศบาลนครกรุงเทพกับ

เทศบาลนครธนบุรีซึ่งเปนราชการสวนทองถิ่นเปนเทศบาลนครหลวง ตอมาในป พ.ศ. 2528 ไดตราพระราชบัญญัติ

ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานครใหม กําหนดใหกรุงเทพมหานครเปนทบวงการเมือง มีฐานะเปนราชการ

บริหารสวนทองถิ่นนครหลวงเพียงองคกรเดียว อําเภอตลิ่งชันขึงเปนอําเภอหน่ึงของกรุงเทพมหานคร และตอมาได

เปลี่ยนแปลงเปนเขตจนถึงปจจุบัน

ลักษณะภูมิประเทศและอาณาเขต

เขตตลิ่งชันมีเน้ือท่ีประมาณ 32.855 ตารางกิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอกับพื้นที่ตาง ๆ

ดังตอไปนี้

19

Page 42: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ทิศเหนือ ติดกับคลองมหาสวัสด์ิ

ทิศใต ติดกับคลองบางเชือกหนัง

ทิศตะวันออก ติดกับคลองชักพระ และคลองบางกอกนอย

ทิศตะวันตก ติดตอเขตทวีวัฒนา เน่ืองจากเปนเขตที่ถูกลอมรอบดวยคลองใหญ 3 ดานแลว ภายในพื้นที่ยังประกอบดวยคลอง

เล็กคลองนอยอีกหลายคลอง ทั้งที่เปนคูคลองโดยธรรมชาติและที่ขุดขึ้นมาเพ่ือการชลประทาน การเกษตรกรรม

และการคมนาคม ซึ่งทําใหเปนเขตที่มีโครงขายเสนทางคมนาคมทางน้ําหนาแนนต้ังแตอดีต การคมนาคมสวนใหญ

จึงใชเรือเปนพาหนะหลัก รวมทั้งบานเรือนของประชาชนและวัดตาง ๆ ก็อยูริมนํ้า เพราะสะดวกตอการเดินทางและ

เอ้ืออํานวยตอพื้นท่ีทางการเกษตรดวย ดังน้ันริมคลองตาง ๆ จึงประกอบไปดวยสวนผักผลไม สวนไมยืนตน และ

สวนกลวยไมจํานวนมาก

การปกครอง

ตาราง 4 แสดงเขตการปกครองของเขตตลิ่งชัน ณ เดือนมีนาคม 2551

แขวง จํานวนบาน (หลัง) จํานวนประชากร (คน)

คลองชักพระ 4,181 11,510

ตลิ่งชัน 9,526 28,723

ฉิมพลี 8,046 25,331

บางระมาด 5,989 17,909

บางพรม 4,084 14,394

บางเชือกหนัง 3,243 10,700

รวมทั้งหมด 35,069 108,567

ที่มา: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2551, มีนาคม): (ออนไลน).

แหลงทองเที่ยวที่สําคัญ

วัด จํานวนทั้งสิ้น 29 แหง ไดแก วัดชัยพฤกษมาลา วัดนอยใน วัดไกเตี้ย วัดนครปาหมาก วัด

ตลิ่งชัน วัดพุทธจักรมงคลชยาราม วัดชางเหล็ก วัดเรไร วัดมณฑป วัดสมรโกฏิ วัดทอง (ฉิมพลี) วัดกระจัง วัด

จําปา วัดมะกอก วัดโพธิ์ วัดอินทราวาส (ประดู) วัดกาญจนสิงหาสน วัดรัชฎาธิษฐาน วัดประสาท วัดแกว วัดศิริ

วัฒนาราม วัดใหมเทพพล วัดเพลงกลางสวน วัดพิกุล วัดสะพาน วัดกระโจมทอง วัดทอง (บางเชือกหนัง) วัดเกาะ

วัดปากนํ้าฝงเหนือ

20

Page 43: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ตลาดน้ํา จํานวน 3 แหง ไดแก ตลาดนํ้าตลิ่งชัน ตลาดนํ้าคลองลัดมะยม และตลาดน้ําวัด

สะพาน แหลงทองเที่ยวอื่น ๆ อีกจํานวน 2 แหง ไดแก บานจักรยาน สวนผัก / ผลไม / ดอกไม

4) เขตธนบุรี

ประวัติความเปนมา

เดิมชื่อวา “อําเภอราชคฤห” เน่ืองจากตั้งอยูในเขตพื้นที่ของวัดราชคฤห ตอมาไดเปลี่ยนชื่อเปน

“อําเภอบางยี่เรือ” เพราะวาในสมัยกรุงธนบุรีเปนราชธานี ประเทศไทยมีการติดตอคาขายกับประเทศจีน ซึ่งใชเรือ

สําเภาลําเลียงรับสงสินคาในบริเวณใกลเคียงกับวัดราชคฤห และมีพระญาติของสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีสอง

พระองคนําเรือสําเภามาจอดอยูประจํา คําวา “ยี่” แปลวา สอง และในสมัยโบราณมักนิยมเรียกแตละทองถิ่นวา

“บาง” จึงเรียกบริเวณนี้วา “บางยี่เรือ” ตอมาไดเปลี่ยนชื่ออําเภอบางยี่เรือเปน “อําเภอธนบุรี” เน่ืองจากจังหวัดธนบุรี

เคยมีฐานะเปนราชธานีมากอน และเพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติของสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีดวย

ลักษณะภูมิประเทศและอาณาเขต

เขตธนบุรีตั้งอยูทางตะวันตกของแมนํ้าเจาพระยามีเน้ือท่ี 8,566 ตารางกิโลเมตร สภาพท่ัวไป

เปนท่ีราบลุม มีแมนํ้าลําคลองไหลผานท่ัวถึงกันตลอดทองถิ่น

ทิศเหนือ ติดเขตบางกอกใหญและเขตพระนคร

ทิศตะวันออก ติดเขตคลองสาน

ทิศใต ติดเขตราษฎรบูรณะ และเขตบางคอแหลม

ทิศตะวันตก ติดเขตจอมทองและเขตภาษีเจริญ

การปกครอง

ตาราง 5 แสดงเขตการปกครองของเขตธนบุรี ณ เดือนมีนาคม 2551

แขวง จํานวนบาน (หลัง) จํานวนประชากร (คน)

วัดกัลยาณ 2,715 11,670

หิรัญรูจี 3,794 14,594

บางยี่เรือ 7,542 26,599

บุคคโล 7,302 19,867

ตลาดพลู 7,116 19,875

ดาวคะนอง 8,005 20,122

สําเหร 7,287 18,809

รวมทั้งหมด 43,761 133,536

ที่มา: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2551, มีนาคม): (ออนไลน).

21

Page 44: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

แหลงทองเที่ยวที่สําคัญ

วัด จํานวน 25 แหง ไดแก วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร วัดประยูรวงศาวาสวรวิหาร วัดบุ

ปผารามวรวิหาร วัดประดิษฐาราม วัดราษฎรศรัทธาธรรม วัดใหญศรีสุพรรณ วัดหิรัญรูจีวรวิหาร วัดเวฬุราชิณ วัด

อินทารามวรวิหาร วัดราชคฤห วัดจันทารามวรวิหาร วัดโพธินิมิตรสถิตมหาสีมาราม วัดกันตทาราราม วัดบางสะแก

นอก วัดกระจับพินิจ วัดบางสะแกใน วัดใหมยายนุย วัดราชวรินทร วัดสุทธาวาส วัดสันติธรรมาราม วัดบางน้ําชน

วัดบุคคโล วัดกลางดาวคะนอง และวัดดาวคะนอง

คริสตจักร จํานวน 2 แหง ไดแก วัดซางตาครูส (โบสถคริสตกุฎีจีน) และคริสจักรที่ 1 สําเหร

มัสยิด จํานวน 3 แหง ไดแก มัสยิดกุฎีขาว (บางหลวง) มัสยิดนูรุลมูบีล (ยานสมเด็จ) และ

มัสยิดสวนพลู

2.2 แนวความคิดการพัฒนาการทองเที่ยว

2.2.1 ความหมายของการทองเที่ยว

จากการประชุมขององคการสหประชาชาติวาดวยการเดินทางและทองเที่ยวระหวางประเทศ เม่ือป พ.ศ.

2506 ณ กรุงโรม ประเทศอิตาลี ไดใหคําจํากัดความของการทองเที่ยวไววาหมายถึงการเดินทาง (Travel) ที่มี

เงื่อนไข 3 ประการ คือ

1) การเดินทาง (Travel) หมายถึง การออกจากสถานที่แหงหนึ่งไปสูสถานที่อีกแหงหนึ่งโดยไมได

ถูกบังคับหรือเพ่ือสินจาง ตองมีการวางแผนการเดินทาง รวมทั้งมีการใชยานพาหนะเพื่อเดินทาง และไมจํากัดวาจะ

เปนระยะทางใกลหรือไกลก็ได

2) จุดหมายปลายทาง (Destination) หมายถึง สถานท่ีที่นักทองเที่ยวเลือกเดินทางไปเยือนใน

ชวงเวลาใดเวลาหนึ่งเปนการชั่วคราว และตองเดินทางกลับสูที่อยูหรือภูมิลําเนาเดิม โดยสถานที่แหงน้ันตองมีสิ่ง

อํานวยความสะดวกและการบริการสําหรับสนองความตองการและความพึงพอใจใหกับนักทองเที่ยวที่มาเยือน

3) ความมุงหมาย (Purpose) หมายถึง วัตถุประสงคในการเดินทางที่มิใชเพื่อการประกอบอาชีพ

หรือหารายได ซึ่งผูเดินทางอาจมีวัตถุประสงคในการเดินทางมากกวาหน่ึงอยางก็ได เชน เพื่อการพักผอนหยอนใจ

ความสนุกสนานเพลิดเพลิน การศึกษา ศาสนา กีฬา เยี่ยมญาติ ติดตอธุรกิจ การประชุมสัมมนา เปนตน

2.2.2 องคประกอบของการทองเที่ยว

การทองเที่ยวทั่วไปมีองคประกอบหลักสําคัญ 3 ดาน คือ ทรัพยากรแหลงทองเที่ยว (Tourism

Resource) บริการการทองเที่ยว (Tourism Service) และตลาดการทองเที่ยว (Tourism Market or Tourist)

ดังน้ี

22

Page 45: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

1) ทรัพยากรการทองเที่ยว แหลงทองเที่ยวเปนทรัพยากรที่สําคัญ จัดเปนอุปทานการทองเที่ยว

(Tourism Supply) ซึ่งสามารถแบงประเภทของทรัพยากรการทองเที่ยวไดหลายแบบ

2) บริการการทองเที่ยว เปนอุปทานประเภทหนึ่ง ซึ่งไมไดเปนจุดประสงคหลักของนักทองเที่ยว

แตเปนบริการท่ีรองรับใหเกิดความสะดวกสบายและความบันเทิงแกนักทองเที่ยว ซึ่งในบางโอกาสก็อาจเปนตัว

ดึงดูดใจไดเหมือนกัน บริการการทองเที่ยวที่สําคัญ ไดแก ที่พัก อาหาร แหลงจําหนายสินคา แหลงบันเทิง แหลง

กิจกรรมและบริการอื่น ๆ ทั้งน้ีรวมถึงโครงสรางพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวกที่จําเปนอื่น ๆ ดวย

3) ตลาดการทองเที่ยว เปนอุปสงคทางการทองเที่ยว (Tourism Supply) หมายถึง นักทองเที่ยว

ที่ตองการทองเที่ยวจากที่หน่ึงไปยังอีกท่ีหน่ึง เพื่อเขารวมในกิจกรรมพักผอนหยอนใจ และเพื่อกิจกรรมอื่น ๆ ซึ่ง

ในกระบวนการยังประกอบไปดวยการสงเสริมและพัฒนาการขาย และการใหบริการแกนักทองเที่ยวดวย

2.2.3 ประเภทของการทองเที่ยว

1) การแบงการทองเที่ยวตามลักษณะของทรัพยากร

การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (2542: 2-14) ไดแบงการทองเที่ยวตามลักษณะของทรัพยากรการ

ทองเที่ยวไว ดังน้ี

(1) การทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ (Natural Tourism) เปนการทองเที่ยวในแหลงธรรมชาติ โดย

มีวัตถุประสงคเพ่ือการพักผอนหยอนใจ ความสนุกสนาน การชื่นชมและศึกษาธรรมชาติ

(2) การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Cultural Tourism) เปนการทองเที่ยวในแหลงวัฒนธรรม

ประวัติศาสตร และสถานที่ตางๆที่มนุษยสรางขึ้นและเกี่ยวเนื่องกับความเปนอยูของสังคม โดยมุงเนนในการให

ความรูและความภาคภูมิใจ

(3) การทองเที่ยวเชิงกีฬาและบันเทิง (Sport and Entertainment Tourism) เปนการ

ทองเที่ยวที่สนองตอบความตองการและความพึงพอใจในการพักผอน สนุกสนาน รื่นเริง ออกกําลังกาย โดยมุงเนน

ในการไดรับบริการที่เหมาะสม

(4) การทองเที่ยวเชิงธุรกิจและประชุมสัมมนา (Business and Convention Tourism) เปน

การทองเที่ยวที่เปนผลพลอยไดมาจากการเดินทางไปติดตอธุรกิจหรือประชุมสัมมนา โดยอาจจะมีหรือไมมี

การศึกษาดูงานและการทัศนศึกษารวมอยูดวยก็ได หรืออาจรวมถึงการศึกษาดูงานดวยตนเองในเวลาวางหลังจาก

การติดตอธุรกิจหรือประชุมสัมมนาแลวก็ได

2) การแบงการทองเที่ยวตามระดับของกิจกรรม

นอกจากน้ัน การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (2542: 2-14) ยังแบงประเภทการทองเที่ยวตามระดับ

กิจกรรมไดอีก 4 รูปแบบ ดังภาพประกอบ ไดแก

23

Page 46: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

(1) การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ (Conservation Tourism) การทองเที่ยวที่มุงเนนการอนุรักษ

ทรัพยากรใหคงไวนานท่ีสุด ซึ่งครอบคลุมการทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และการ

ทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร

(2) การทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) การทองเที่ยวที่มุงเนนการศึกษาในแหลงธรรมชาติ

เพื่อการรักษาระบบนิเวศ โดยคํานึงถึงการมีสวนรวมของทองถิ่นมากเปนพิเศษ เปนสวนหนึ่งหรือบางสวนของการ

ทองเที่ยวธรรมเชิงธรรมชาติ การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และการทองเท่ียวเชิงประวัติศาสตร ที่ใหความสําคัญตอ

ระบบนิเวศของพื้นท่ีน้ัน ๆ

(3) การทองเที่ยวเชิงนันทนาการ ประชุม สัมมนา (Recreation and Convention Tourism)

เปนการทองเที่ยวเพื่อติดตอธุรกิจ ประชุม หรือสัมมนา โดยมีระยะเวลา 2-3 วันเพ่ือการทองเที่ยว

(4) การทองเที่ยวที่ขัดตอศีลธรรม (Immorality Tourism) เปนการทองเที่ยวที่ขัดตอ

ศีลธรรม จริยธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณี ซึ่งมีทั้งแบบแอบแฝงและแบบถูกกฎหมาย

2.2.4 การพัฒนาการทองเที่ยว

การพัฒนาการทองเที่ยว (Tourism Development) คือ การดําเนินงานที่จะทําใหการทองเที่ยวเปนไป

ในทิศทางที่จะกอใหเกิดความพึงพอใจของนักทองเที่ยว รักษาทรัพยากรใหคงความดึงดูดใจ และพัฒนาใหเกิดการ

ขยายตัวของอุตสาหกรรมการทองเที่ยว แบงไดเปนการพัฒนาแหลงทองเที่ยว การพัฒนาบริการการทองเที่ยว และ

การสงเสริมการทองเที่ยว

องคการการทองเที่ยวโลก (World Tourism Organization) ไดกลาวถึงบทบาทขององคการการ

ทองเที่ยวแหงชาติของแตละประเทศในการทําหนาที่พัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยว สรุปไดดังน้ี (บุญเลิศ จิตตั้ง

วัฒนา. 2548: 24-25)

1) รัฐบาลของแตละประเทศควรมีหนาท่ีชักจูงหรือกระตุนกิจกรรมตางๆเกี่ยวกับการทองเที่ยวของ

ประเทศ

2) กิจกรรมการทองเที่ยวควรมีการประสานงานภายใตองคกรการทองเที่ยวแหงชาติองคการการ

ทองเที่ยวแหงชาติควรสนับสนุนพัฒนาทรัพยากรทองเที่ยวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในระดับชาติและ

นานาชาติ

3) องคการการทองเที่ยวแหงชาติควรสนับสนุนพัฒนาทรัพยากรทองเที่ยวอยางมีประสิทธิภาพ

และประสิทธิผลในระดับชาติและนานาชาติ

นอกจากนี้ องคการการทองเที่ยวโลกยังไดสรุปหนาท่ีและความรับผิดชอบขององคการการทองเที่ยว

แหงชาติที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวไว 9 ประการ ดังน้ี

1) การวิจัย เพ่ือเปนขอมูลชวยในการตัดสินใจ พัฒนา ประชาสัมพันธ และพัฒนาศักยภาพ

อุตสาหกรรมการทองเที่ยว

24

Page 47: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

2) การสงเสริมดานการใหขอมูลขาวสารและการสงเสริมตลาดทางการทองเที่ยว เรื่องแหลง

ทองเที่ยว การคมนาคม และสิ่งอํานวยความสะดวกทางการทองเที่ยว

3) การออกกฎระเบียบขอบังคับในการควบคุมมาตรฐานเรื่องที่พัก อาหาร การคมนาคมขนสง

เพ่ือสรางความพึงพอใจและความเจริญเติบโตในอุตสาหกรรมการทองเที่ยว

4) การควบคุมธุรกิจนําเท่ียว เพ่ือใหบริการแกนักทองเที่ยวอยางยุติธรรมทั้งในดานคุณภาพและ

มาตรฐาน

5) การโฆษณาและประชาสัมพันธขอมูลขาวสารทางการทองเที่ยว โดยตองเขามาควบคุมเพื่อ

ประสานงานระหวางรัฐและเอกชนใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

6) ออกกฎหมายและปรับปรุงกฎหมายใหทันสมัย พรอมประสานงานพัฒนาแหลงทองเที่ยว

เพ่ือใหเกิดผลดีตอนักทองเที่ยวและอุตสาหกรรมการทองเที่ยว

7) รัฐบาลควรใหความรวมมือประสานงานในการชวยกันแกปญหาการทองเที่ยวระหวางประเทศ

รวมทั้งสรางความเขาใจอันดีระหวางนักทองเที่ยวตางชาติและประชาชนทองถิ่น

8) สํารวจ ศึกษา และวิจัยพื้นท่ีที่มีศักยภาพเพื่อการทองเที่ยว โดยใหการสนับสนุนและการพัฒนา

อยางเต็มท่ี

9) นโยบายดานการทองเท่ียวที่มุงเนนเรื่องการใชทรัพยากรการทองเที่ยวอยางเหมาะสม และให

เกิดประโยชนสูงสุดท้ังดานเศรษฐกิจ สังคม และศิลปวัฒนธรรม

การพัฒนาการทองเที่ยวในประเทศไทยไดกําหนดวัตถุประสงคไวหลายประการ เชน ชวยแกไขปญหา

การขาดดุลการชําระเงิน สงเสริมใหการทองเท่ียวเปนฐานทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ซึ่งจะกระตุนใหเกิดการลงทุนใน

ทุกระบบ และเพื่ออนุรักษฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และ

โบราณสถาน โบราณวัตถุทางประวัติศาสตร เพ่ือประโยชนตอการพัฒนาดานสังคมตอไป

องคการการทองเที่ยวแหงชาติในประเทศไทยนั้นประกอบดวย 2 หนวยงานหลัก คือ 1) กระทรวงการ

ทองเที่ยวและกีฬา เปนหนวยงานราชการที่มีความรับผิดชอบในการพัฒนาแหลงทองเที่ยวและบริการทองเที่ยว

และ 2) การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) เปนรัฐวิสาหกิจ มีหนาท่ีในการพัฒนาตลาดการทองเท่ียว โดยทั้ง

สองหนวยงานมีหนาท่ีจะตองประสานงานกันเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวในดานตางๆ ดังน้ี

1) การพัฒนาทรัพยากรการทองเที่ยว ซึ่งครอบคลุมท้ังทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและ

สิ่งที่มนุษยสรางขึ้น รวมทั้งการเขาถึง และการสรางสิ่งอํานวยความสะดวกในแหลงทองเที่ยว

2) การควบคุมอุตสาหกรรมการทองเที่ยว เพื่อควบคุม ดูแล และจัดระเบียบในอุตสาหกรรมการ

ทองเที่ยว โดยเฉพาะปญหาที่เกิดขึ้นเน่ืองจากการทองเที่ยว โดยสามารถออกกฎหมายที่จะชวยใหอุตสาหกรรมการ

ทองเที่ยวดําเนินการไปตามแนวทางที่กําหนดไว

3) การพัฒนาตลาดทองเที่ยว มีวิธีดําเนินงานแบงเปน 2 รูปแบบ คือ

(1) แบบพาสซิฟ (Passive) เปนการสงเสริมใหเกิดความตองการ (Need) ทองเที่ยวในแหลง

ทองเที่ยวหรืออุปสงค (Demand) ทางการทองเที่ยวกอน แลวจึงพัฒนาทรัพยากรการทองเที่ยว การเขาถึง และสิ่ง

25

Page 48: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

อํานวยความสะดวกทางการทองเที่ยวหรืออุปทาน (Supply) ทางการทองเที่ยวตามมา การดําเนินงานในลักษณะนี้มี

ความเสี่ยงนอย

(2) แบบแอ็กแกรสซิฟ (Aggressive) เปนการพัฒนาหรือสรางทรัพยากรการทองเที่ยวและสิ่ง

อํานวยความสะดวกทางการทองเที่ยวหรืออุปทาน (Supply) ทางการทองเที่ยวกอน แลวจึงสงเสริมการตลาดกับ

นักทองเท่ียวใหเขามาทองเที่ยวหรืออุปสงค (Demand) ทางการทองเที่ยวตามมา ซึ่งการดําเนินงานลักษณะนี้มี

ความเสี่ยงมากกวาแบบพาสซิฟ

4) การจัดการการเงินของอุตสาหกรรมทองเที่ยว การพัฒนาการทองเที่ยวที่จะประสบความสําเร็จ

ไดน้ัน หนวยงานของภาครัฐทั้งสององคกรจําเปนตองไดรับการสนับสนุนดานการเงินอยางเหมาะสม เพื่อนําไปใชใน

การลงทุนและพัฒนาในเรื่องตาง ๆ ไดแก การพัฒนาทรัพยากรทองเที่ยว การพัฒนาบริการทองเที่ยว และ

การตลาดเพื่อการทองเที่ยว

นอกจากน้ัน องคกรภาคเอกชนก็มีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาการทองเที่ยวเชนกัน ดังน้ันบทบาทของ

องคกรเอกชนตอการพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของประเทศไทยที่สําคัญพอสรุปได ดังน้ี

1) การพัฒนาบริการของธุรกิจทองเที่ยว ไดแกการสรางสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆทางการ

ทองเที่ยว ทําใหนักทองเที่ยวเกิดความพึงพอใจ ซึ่งสงผลดีตอการพัฒนาอุตสาหกรรมดานการทองเที่ยวอยางมาก

2) การพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมการทองเที่ยว การฝกอบรมพนักงานหรือการสงพนักงานไป

อบรมวิชาการทองเที่ยวทั้งในและตางประเทศ นับเปนการชวยพัฒนามาตรฐานแรงงานในอุตสาหกรรมการ

ทองเที่ยวใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมถึงการจัดหลักสูตรวิชาการจัดการดานการทองเที่ยวของ

สถาบันการศึกษาตาง ๆ ก็เปนอีกทางหนึ่งที่จะชวยรองรับการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวที่มีมากขึ้น

ในทุกปดวยเชนกัน

3) การคุมครองรักษาความปลอดภัยแกนักทองเที่ยว ความปลอดภัยนับเปนปจจัยหลักท่ีสําคัญ

มากอยางหนึ่งตอการตัดสินใจเดินทางทองเที่ยวของนักทองเที่ยว ถาหากแหลงทองเที่ยวใดไมมีความปลอดภัยก็จะ

เปนอุปสรรคสําคัญตอความเจริญกาวหนาของอุตสาหกรรมการทองเที่ยว ดังน้ัน จึงจําเปนท่ีตองมีการคุมครองและ

รักษาความปลอดภัยใหแกนักทองเที่ยว เพ่ือทําใหนักทองเที่ยวรูสึกม่ันใจและอุนใจในระหวางการเดินทางทองเที่ยว

4) การอนุรักษทรัพยากรการทองเท่ียว เปนบทบาทที่สําคัญมากที่สุดอีกอยางหนึ่ง เน่ืองจาก

ทรัพยากรการทองเท่ียวเปนสิ่งดึงดูดใจใหนักทองเที่ยวมาเยือน ดังน้ันการอนุรักษรักษาทรัพยากรการทองเที่ยวให

คงอยูไวนานเทานาน จึงเปนสิ่งที่ทุกฝายตองรวมมือกัน ซึ่งตองอาศัยความรวมมือของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของใน

กระบวนการพัฒนาการทองเที่ยว ทั้งองคกรภาครัฐ เอกชน และประชาชนทุกคน

2.2.5 การพัฒนาเชิงอนุรักษ

กรอบแนวคิดในการพัฒนาเชิงอนุรักษสามารถทําได ดังน้ี

26

Page 49: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

1) ทําการศึกษาแลวกําหนดกรอบการพัฒนาสูงสุดในเขตอนุรักษ พรอมท้ังชี้นําการพัฒนาเชิง

เศรษฐกิจไปยังบริเวณที่เหมาะสม

2) พัฒนาสาธารณูปโภค เชน ถนน ทางเดิน ไฟฟา ประปา โทรศัพท ฯลฯ เทาท่ีจําเปนโดยไมให

เกินกวาท่ีกําหนดไวในกรอบการพัฒนา

3) ควบคุมการพัฒนาในบริเวณตาง ๆ ตามกรอบพัฒนาท่ีกําหนดไว ตลอดจนบริเวณที่เชื่อมตอ

กับการพัฒนาเชิงเศรษฐกิจ ตองควบคุมใหเกิดความกลมกลืนและการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาตองเปนแบบคอย

เปนคอยไป

4) สงเสริมใหเขตอนุรักษมีความสงางามและมีบรรยากาศที่เหมาะสมสอดคลองกลมกลืนกับพื้นท่ี

2.2.6 การพัฒนาอยางยั่งยืน

1) การพัฒนาอยางยั่งยืนในบริบทโลก

คณะกรรมาธิการโลกวาดวยสิ่งแวดลอมและการพัฒนาขององคการสหประชาชาติ (World

Commission on Environment and Development) ไดเผยแพรเอกสารชื่อ Our Common Future เพื่อ

เรียกรองใหชาวโลกเปลี่ยนแปลงวิถีการดําเนินชีวิตที่ฟุมเฟอย และเปลี่ยนแปลงวิถีการพัฒนาใหมที่ปลอดภัยตอ

สิ่งแวดลอม ซึ่งเอกสารฉบับน้ีมีสวนสําคัญที่ทําใหเกิดการประชุมสหประชาชาติวาดวยเรื่องสิ่งแวดลอมและการ

พัฒนา (The United Nations Conference on Environment and Development : UNCED) หรือการ

ประชุม The Earth Summit ที่จัดขึ้น ณ กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล เม่ือเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2535 ซึ่ง

ทําใหเกิดผลสรุปรวมกันในการกําหนด “แผนปฏิบัติการ 21” เพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน หรือ Agenda 21 ซึ่งถือ

เปนแผนปฏิบัติการของโลกในศตวรรษที่ 21 ที่จะทําใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืนในดานเศรษฐกิจ สังคม และ

สิ่งแวดลอม

คณะกรรมาธิการฯดังกลาวไดใหความหมายของการพัฒนาอยางยั่งยืนไววา คือ การพัฒนาท่ี

สามารถตอบสนองความตองการของประชากรในปจจุบันน้ีได โดยไมขัดขวางหรือสงผลกระทบตอความตองการ

ของประชากรในอนาคต นอกจากน้ัน แผนปฏิบัติการ 21 หรือ Agenda 21 ยังไดกลาวถึงองคประกอบสําคัญสู

การพัฒนาอยางยั่งยืนไว 4 มิติ ดังน้ี (กระทรวงการตางประเทศ. 2537)

(1) มิติดานสังคมและเศรษฐกิจ (Social and Economic Dimension) การพัฒนาเศรษฐกิจ

ที่ตองผสมผสานและควบคูไปกับการพัฒนาทางดานสังคม ซึ่งจะตองกระทําไปพรอม ๆ กับการดูแลและใสใจ

สิ่งแวดลอม

(2) มิติดานการอนุรักษและการจัดการทรัพยากร (Conservation and Management of

Resources Dimension) การจัดทํานโยบายและแผนงานเพื่อสรางความสมดุลระหวางการบริโภคของประชากร

และทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด รวมถึงแนวทางแกปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรตางๆ

27

Page 50: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

(3) มิติดานการสงเสริมบทบาทของกลุมท่ีสําคัญตาง ๆ (Strengthening the Role of Major

Groups Dimension) เพื่อใหมีโอกาสรับรูและเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจพัฒนานโยบาย ตรวจสอบ

ประเมินผลการดําเนินงาน โดยเฉพาะเรื่องที่สงผลกระทบโดยตรงกับชุมชนที่พวกเขาอาศัยอยู

(4) มิติดานวิธีการในการดําเนินงาน (Means of Implementation Dimension) ตองมีการ

แสดงใหเห็นถึงลําดับขั้นตอนการดําเนินงานและความตองการ เพ่ือการพัฒนาอยางยั่งยืนใหชัดเจน

2) การพัฒนาอยางยั่งยืนในบริบทไทย

ประเทศไทยไดมีผูใหความหมายและอธิบายแนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืนไวอยางหลากหลาย

ตัวอยางแนวคิดท่ีนาสนใจ ไดแก แนวคิดของพระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโต. 2547) ไดกลาวถึงการพัฒนาอยาง

ยั่งยืนวาคือ การใหความเจริญทางเศรษฐกิจอยูภายใตเงื่อนไขของการอนุรักษสภาพแวดลอม จึงมีการพัฒนา

(Development) ควบคูกับสิ่งแวดลอม (Environment) คือใหเศรษฐกิจคูกับธรรมชาติหรือระบบนิเวศได หรือ

เศรษฐกิจ (Economy) กับนิเวศวิทยา (Ecology) การพัฒนาอยางยั่งยืนน้ีมีลักษณะเปนการพัฒนาแบบบูรณาการ

(Integrated) คือ ทําใหเกิดองครวม (Holistic) ซึ่งหมายความวา องคประกอบทั้งที่เกี่ยวของจะตองมาประสานกัน

ครบองค และมีลักษณะที่เปนดุลยภาพ (Balance) หรือกลาวอีกนัยหน่ึงก็คือ การทําใหกิจกรรมของมนุษย

สอดคลองกับกฎเกณฑธรรมชาติ

จากการประชุมสุดยอดของโลกวาดวยการพัฒนาท่ียั่งยืน ณ นครโจฮันเนสเบิรก ประเทศ

แอฟริกาใต เม่ือเดือนกันยายน พ.ศ. 2545 คณะอนุกรรมการกํากับการอนุวัตตามแผนปฏิบัติการ 21 และการ

พัฒนาอยางยั่งยืน ไดรวมกับสถาบันสิ่งแวดลอมไทยใหคํานิยามของการพัฒนาอยางยั่งยืนในบริบทไทยไววา เปน

การพัฒนาที่ตองคํานึงถึงความเปนองครวมของทุก ๆ ดานอยางสมดุล บนพื้นฐานของทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิ

ปญญา และวัฒนธรรมไทย ดวยการมีสวนรวมของประชาชนทุกกลุมดวยความเอื้ออาทร เคารพซึ่งกันและกัน เพื่อ

ความสามารถในการพึ่งตนเอง และคุณภาพชีวิตที่ดีอยางเทาเทียม

กรอบแนวความคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทยนั้นมีพื้นฐานมาจากแนวคิด “ปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง” ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว แบงออกเปน 3 มิติ ไดแก

(1) มิติดานเศรษฐกิจ เนนการพัฒนาเศรษฐกิจที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ เพ่ือทําใหเกิด

ความไดเปรียบทางการแขงขัน (Competitive Advantage) โดยพัฒนาในลักษณะระบบเศรษฐกิจแบบคูขนาน

(Dual Track Economy) คือสรางความแข็งแกรงทั้งในระดับจุลภาคและมหภาค ภายใตการรักษาความสมดุล

ระหวางการผลิตและการอนุรักษ ซึ่งจะเปนการกระจายความมั่งค่ังสูสังคมทุกระดับของประเทศ

(2) มิติดานสังคม เปนการพัฒนาคนและสังคมให เชื่อมโยงกับการพัฒนาเศรษฐกิจ

ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมอยางสมดุล โดยใหความสําคัญที่ตัวคนและชุมชน และการสรางความเขมแข็ง

ใหทุกภาคสวนของสังคม รวมทั้งการสรางจิตสํานึกที่ไมทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(3) มิติดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยใหความสําคัญในเรื่องของการใช

ทรัพยากรธรรมชาติในปริมาณที่ระบบนิเวศสามารถฟนตัวกลับสูสภาพเดิมได และปลอยมลพิษอยูในระดับที่ระบบ

28

Page 51: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

นิเวศสามารถดูดซับและทําลายได เพื่อรักษาความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทาง

ชีวภาพ และคุณภาพสิ่งแวดลอมใหคงอยูตลอดไป

2.3 แนวความคิดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

2.3.1 แนวความคิดการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (Sustainable Tourism)

จากการประชุม Globe’90 ณ ประเทศแคนาดา ไดใหคําจํากัดความของ การทองเที่ยวอยางยั่งยืน วา

การทองเที่ยวอยางยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาท่ีสามารถตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยว และผูเปน

เจาของทองถิ่นในปจจุบัน โดยมีการปกปองและสงวนรักษาโอกาสตางๆของอนุชนรุนหลัง การทองเที่ยวน้ีหมายถึง

การจัดการทรัพยากรเพื่อตอบสนองความจําเปนทางเศรษฐกิจ สังคม และความงามทางสุนทรียภาพ ในขณะที่

สามารถรักษาเอกลักษณทางวัฒนธรรมและระบบนิเวศดวย (การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. 2542: 2-10)

อีเบอร (Eber. 1993) กลาวถึงการทองเที่ยวอยางยั่งยืนไวดังน้ี คือ 1) การใชทรัพยากรอยางยั่งยืน 2)

การลดการบริโภคที่มากเกินความจําเปน และการลดของเสีย 3) การรักษาและสงเสริมความหลากหลาย 4) การบูร

ณาการการทองเที่ยวเขาสูแผนงานในระดับตางๆ 5) การสนับสนุนทางเศรษฐกิจในระดับทองถิ่น 6) การมีสวนรวม

ของชุมชนทองถิ่น 7. การปรึกษาหารือกันระหวางผูมีสวนไดสวนเสียในกระบวนการทองเที่ยวและสาธารณชนทุก

ฝายท่ีเกี่ยวของ 8) การฝกอบรมบุคลากร 9) การตลาดดานการทองเที่ยว และ 10) การวิจัยและติดตามตรวจสอบ

นอกจากน้ัน ดาวลิ่ง (Dowling. 1995) ยังกลาววา การทองเที่ยวทั้งหมดทุกประเภทควรจะเปนการทองเที่ยวอยาง

ยั่งยืน (All tourism should be sustainable tourism.) อันหมายถึง แนวความคิดการทองเที่ยวอยางยั่งยืนควร

มีขอบเขตของการพัฒนาที่ครอบคลุมทุกองคประกอบทุกสวนของการทองเที่ยว

รําไพพรรณ แกวสุริยะ (2545: 95) กลาววา Sustainable Tourism คือ การทองเที่ยวที่ยั่งยืน ซึ่ง

หมายถึง การพัฒนาทรัพยากรการทองเที่ยว เพื่อตอบสนองความจําเปนทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ

สุนทรียภาพ โดยใชทรัพยากรอันทรงคุณคาอยางชาญฉลาด สามารถรักษาเอกลักษณของธรรมชาติและวัฒนธรรม

ไวนานที่สุด เกิดผลกระทบนอยที่สุด และใชประโยชนไดตลอดกาลยาวนานที่สุด

ฉันทัช วรรณถนอม (2547: 42) กลาวถึงองคประกอบของการทองเที่ยวอยางยั่งยืนวาตองอยูบนพื้นฐาน

ดังน้ี

1) ตองดําเนินการภายใตขีดความสามารถของธรรมชาติ ชุมชน ขนบธรรมเนียมประเพณี

วัฒนธรรม วิถีชีวิต ที่มีตอกระบวนการทองเที่ยว

2) ตองตระหนักดีตอการมีสวนรวมของประชากร ชุมชน ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม วิถี

ชีวิต ที่มีตอกระบวนการทองเที่ยว

3) ตองยอมรับใหประชาชนทุกสวนไดรับผลประโยชนทางเศรษฐกิจที่เกิดจากการทองเที่ยวอยาง

เสมอภาคเทาเทียมกัน

29

Page 52: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

4) ตองชี้นําภายใตความปรารถนาของประชาชนและชุมชนในพื้นท่ีทองเที่ยวน้ัน

2.3.2 แนวความคิดการทองเที่ยวเชิงนิเวศในระดับโลก

จากการประชุม Earth Summit ณ กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล เม่ือวันท่ี 14 มิถุนายน พ.ศ.

2535 มีสวนผลักดันใหเกิดความรวมมือระหวางภาครัฐบาลและเอกชนตอกระบวนการเพื่อการประสานการพัฒนา

อยางยั่งยืน โดยเริ่มตั้งแตกระบวนการวางแผน การตัดสินใจ การปฏิบัติ จนกระทั่งกระบวนการติดตามและ

ประเมินผลรวมกัน ซึ่งการประชุมครั้งน้ันไดกอใหเกิดกระแสที่สําคัญตอการพัฒนาการทองเที่ยว 3 ดาน คือ

กระแสความตองการอนุรักษสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ กระแสความตองการของตลาดทองเที่ยวในดาน

การศึกษาเรียนรู และกระแสความตองการพัฒนาคน โดยการมีสวนรวมของประชาชน ดังภาพประกอบ 5

จากพลังทั้ง 3 กระแสนี้ จึงทําใหเกิดแนวคิดการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวแนวใหมที่ปองกัน

ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและเพื่อรักษาระบบนิเวศของธรรมชาติ นับเปนทางเลือกใหมในการทองเที่ยว (New

Tourism or Alternative Tourism) ซึ่งรูปแบบการทองเที่ยวที่มีกระบวนการจัดการเฉพาะและมีการกลาวถึงมาก

ที่สุด คือ การทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) ซึ่งเปนรูปแบบการทองเที่ยวที่นําไปสูการพัฒนาการทองเที่ยวอยาง

ยั่งยืนได

2.3.3 แนวความคิดของการทองเที่ยวเชิงนิเวศในประเทศไทย

แนวคิดเรื่องการทองเที่ยวเชิงนิเวศไดถูกกลาวถึงครั้งแรกในแผนพัฒนาการทองเที่ยวแหงชาติ พ.ศ.

2519 ซึ่งเปนแผนแรกของประเทศไทย แตเปนเพียงการกลาวถึงอยางกวาง ๆ ในสวนของนักทองเที่ยวจะเปนการ

ทองเที่ยวที่สะทอนภาพผานกิจกรรมการทองเที่ยวในกลุมผูสนใจพิเศษ (Special Interest) ซึ่งยังเปนกลุมขนาด

เล็กที่ใหความสําคัญกับการศึกษาหาความรูควบคูกับความสนุกสนานเพลิดเพลิน แตสิ่งที่ยังไมมีบทบาทในขณะนั้น

คือ การมีสวนรวมของทองถิ่น

ชวงป 2530 ซึ่งประกาศใหเปนปทองเที่ยวไทย นับไดวาเปนการเปดประเทศสูสังคมโลก จนกระทั่งป

2535 สถิตินักทองเที่ยวที่เดินทางมาทองเที่ยวในประเทศไทยสูงขึ้น ทําใหรายไดจากอุตสาหกรรมการทองเที่ยวสูง

เปนอันดับ 1 เม่ือเทียบกับสินคาออกประเภทอื่น ๆ นอกจากการเกิดผลดีในเชิงเศรษฐกิจแลว ในทางตรงขามการ

พัฒนาการทองเที่ยวไดกอใหเกิดผลกระทบดานลบตอสิ่งแวดลอม สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งกระจายลงไปในพื้นที่

ทองเที่ยวหลักท่ัวประเทศ จากผลกระทบดังกลาว ทําใหหนวยงานที่มีสวนเกี่ยวของโดยตรง โดยเฉพาะการ

ทองเที่ยวแหงประเทศไทยไดเริ่มผลักดันใหมีการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับเรื่องการทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism)

ซึ่งถือไดวาเปนการเริ่มตนแนวความคิดเรื่องการทองเที่ยวเชิงนิเวศใหเกิดขึ้นในประเทศไทย

ในป 2538 - 2539 ททท. ไดผลักดันใหเกิดนโยบายและแนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ซึ่ง

กลาวถึงทิศทางในการดําเนินงานการทองเที่ยวเชิงนิเวศในทุกองคประกอบที่เกี่ยวของ อาทิ การพัฒนาพ้ืนท่ี

30

Page 53: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ทองเที่ยว การพัฒนาบุคลากร การจัดบริการนําเที่ยว เปนตน และเมื่อป 2539-2540 ททท. เห็นความสําคัญและ

ความจําเปนท่ีจะตองกําหนดนโยบายการทองเที่ยวเชิงนิเวศระดับชาติ (National Policy) ขึ้น ซึ่งนโยบายนี้จะตอง

ไดรับความเห็นชอบจากทุกหนวยงานที่เกี่ยวของ และสามารถจัดทําใหเสร็จสิ้นในป 2540 นอกจากน้ัน ททท. ยังได

ใหการสนับสนุนงบประมาณในโครงการที่เกี่ยวของกับการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศจํานวนมาก เพื่อผลักดันให

เกิดการทองเที่ยวแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางเต็มรูปแบบในจังหวัดตาง ๆ ทั่วประเทศ

ความตองการในการ

อนุรกัษสิ่งแวดลอม

และทรัพยากร

ความตองการของ

ตลาดการทองเที่ยว

ดานการศึกษาเรียนรู

ความตองการพัฒนา

คนโดยการมีสวนรวม

ของประชาชน

การทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism)

ภาพประกอบ 5 กระแสความตองการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism)

ที่มา: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. (2542). การดําเนินการเพื่อกําหนดนโยบายการทองเท่ียว

เชิงนิเวศ. หนา 2-2.

31

Page 54: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

32

การประชุม สัมมนา และธุรกิจ

การบันเทิงและกีฬา

การทองเที่ยวนันทนาการ

ประชุม สัมมนา

ทองเที่ยว

ที่ผิด

ศีลธรรม

ทองเที่ยว

แหลงบริการ

และบันเทิง เริงรมย

กีฬา

ที่มา: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. (2542). การดําเนินการเพื่อกําหนดนโยบายการทองเที่ยวเชิงนิเวศ. หนา 2–16.

ภาพประกอบ 6 รูปแบบการทองเที่ยวในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวไทย

อุตสาหกรรมการทองเที่ยวทุกรูปแบบตองเปน การทองเที่ยวที่ยั่งยืน

การทองเทีย่วเชงิอนุรักษ (Conservation Tourism)

การทองเทีย่วทางวัฒนธรรม (Cultural Tourism)

การทองเทีย่วทางธรรมชาต ิ(Natural Tourism)

การแสดงทางวฒันธรรม

การทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism)

การทองเที่ยวใ

แหลงชุมชน

การเยี่ยมชม

แหลงโบราณสถา

การศึกษาธรรมชาติ

การพักผอนหยอนใจ

นการทัศนศึกษาใ แหลงธรรมขาต ิ

การผจญภัย

32

Page 55: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

2.3.4 คําจํากัดความของการทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism)

การทองเท่ียวเชิงนิเวศ (Ecotourism) เปนรูปแบบการทองเที่ยวที่กําลังไดรับความนิยมอยางมาก แต

ในชวงแรกยังไมมีคําจํากัดความที่สามารถอธิบายขอบเขตและรูปแบบการจัดการที่เปนสากลและเปนท่ียอมรับได

ความหมายของ Ecotourism จึงมีความแตกตางกันไปตามพื้นที่ ภูมิประเทศ และทิศทางการปฏิบัติของผูให

ความหมาย

คําจํากัดความที่นาสนใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศมีมากมาย ยกตัวอยางเชน (สถาบันวิจัย

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย. 2542: 2-22)

1) วรรณพร วณิชชานุกร (ม .ป .ป . : 13) ได ให คํา นิยามของการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ

(Ecotourism) วาเปนการทองเที่ยวแนวใหมที่คํานึงถึงผลประโยชนของธุรกิจทองเที่ยวในระยะยาว จึงจําเปนตองมี

การอนุรักษสภาพแวดลอม และวัฒนธรรมของชุมชนท่ีเปนแหลงทองเที่ยวใหมีผลกระทบในทางลบนอยที่สุด และ

ทองถิ่นไดรับประโยชนจากอุตสาหกรรมทองเที่ยวอยางยุติธรรม นอกจากนั้น ฉันทัช วรรณถนอม (2547: 39) ยัง

กลาวถึงการทองเที่ยวเชิงอนุรักษวา เปนการทองเที่ยวไปยังสถานที่ทองเที่ยวที่มีความด้ังเดิม มีเอกลักษณ

เฉพาะถิ่นเพื่อชื่นชมและไดความเพลิดเพลิน ไดความรูความเขาใจตอสภาพธรรมชาติ สังคม วัฒนธรรม และวิถี

ชีวิตของคนในทองถิ่นบนพื้นฐานของการมีจิตสํานึกตอการอนุรักษคุณคาของสภาพแวดลอม และชุมชนในทองถิ่น

ไดมีสวนรวมในการจัดการการทองเที่ยว

2) Department of Tourism ของประเทศออสเตรเลีย ไดกลาวถึงแนวความคิดการทองเที่ยว

เชิงนิเวศในกลยุทธการทองเที่ยวของรัฐ Queensland ดังน้ี

การทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) คือ การทองเที่ยวแบบยั่งยืน (Sustainable Tourism) ซึ่ง

มุงเนนสิ่งดึงดูดใจ (Attractions) ตามธรรมชาติและวัฒนธรรมที่เกี่ยวของ อันจะชวยเพิ่มความรูแกนักทองเที่ยว

และใหผลประโยชนแกชุมชนทองถิ่นและใหไดหลักพื้นฐานสําคัญของการทองเที่ยวเชิงนิเวศ 5 ประการ คือ

(1) ความยั่งยืน (Sustainability)

(2) องคประกอบทางธรรมชาติที่สําคัญ (Significant Nature Components) และ

วัฒนธรรมที่เกี่ยวของ

(3) การศึกษาและการสื่อความหมาย (Education and Interpretation)

(4) การมีสวนรวมและผลประโยชนของชุมชนทองถิ่น (Local Communities)

(5) ความพึงพอใจของผูใชหรือผูมาเยือน (User/Visitor Satisfaction)

3) Ecotourism Society ไดใหคําจํากัดความของ Ecotourism วา คือ การทองเที่ยวดวยความ

รับผิดชอบไปยังแหลงธรรมชาติ ซึ่งอนุรักษสภาพแวดลอมและธํารงไวซึ่งมีความกินดีอยูดีของผูคนทองถิ่น และคือ

การทองเที่ยวและเยี่ยมเยือนอยางรับผิดชอบตอสภาพแวดลอม เพื่อที่ชื่นชมและเพลิดเพลินกับธรรมชาติ

(วัฒนธรรมใดๆที่เกี่ยวของ) ที่สงเสริมการอนุรักษและไดรับผลกระทบจากผูมาเยือนในระดับต่ํา เอื้อตอการมีสวน

33

Page 56: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

รวมได และสรางประโยชนทางสังคม เศรษฐกิจของผูคนในทองถิ่น ซึ่งกลายเปนคําจํากัดความของ World

Conservation Union

4) การหาศัพทบัญญัติ (Terminology) ของภาษาไทย แทนคําวาอีโคทัวรริซึม (Ecotourism)

ตามที่ราชบัณฑิตยสถานไดพิจารณาบัญญัติอีโคทัวรริซึม (Ecotourism) โดยมีหนังสือที่ รถ 0004/5991 ลงวันท่ี

29 มิถุนายน 2541 มีความเห็นวาอีโคทัวรริซึม (Ecotourism) คือ การทองเที่ยวเชิงนิเวศ เน่ืองจากถูกตองตาม

หลักภาษาไทย และสื่อความหมายถึงกระบวนหรือทาทีที่เกี่ยวของกับการศึกษาเรียนรูทางนิเวศของแหลงทองเที่ยว

เพ่ือรักษาระบบนิเวศ ซึ่งแตกตางจาก การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ที่นิยมใชกันมาแตเดิม การทองเที่ยวเชิงอนุรักษเม่ือ

พิจารณาจากองคประกอบของคําแลว อาจหมายความไดวา การทองเที่ยวที่มีกระบวนการหรือทาทีในการอนุรักษ

สามารถเปรียบเทียบความแตกตางขององคประกอบสําคัญของคําทั้ง 2 ที่แตกตางกันได ดังน้ี

อนุรักษ (Conserve) มีความหมาย ในการรวมกันปองกันรักษาไวใหคลเดิม โดยจะเปนการอนุรักษ

แหลงทองเที่ยวทุกประเภท คือ ธรรมชาติ ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม ที่มีทุกรูปแบบอนุรักษโดยองคการท่ี

รับผิดชอบหรือโดยนักทองเที่ยวดวยวิธีการที่หลากหลาย

นิเวศวิทยา (Ecology) คือ ระบบที่ซับซอนของชุมชนพืช สัตว สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก และ

สภาพแวดลอมท่ีไมมีชีวิต อันมีบทบาทปฏิสัมพันธกัน

จากความหมายของคําทั้งสอง จะพบวา การทองเที่ยวเชิงอนุรักษมีความหมายกวางเกินความหมาย

ของการทองเที่ยวเชิงนิเวศท่ีแทจริง เพราะการทองเที่ยวเชิงอนุรักษมีความหมายครอบคลุมการทองเที่ยวรูปแบบ

อื่นๆดวย

เม่ือไดศัพทบัญญัติของอีโคทัวรริซึม (Ecotourism) วาคือ การทองเที่ยวเชิงนิเวศ แลว การ

ทองเที่ยวแหงประเทศไทยจึงไดมอบหมายใหสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย ใหคําจํากัด

ความของอีโคทัวรริซึม (Ecotourism) ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้

การทองเที่ยวเชิงนิเวศ คือ การทองเที่ยวอยางมีความรับผิดชอบในแหลงธรรมชาติที่มีเอกลักษณ

เฉพาะถิ่น และแหลงวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศสิ่งแวดลอมและการทองเที่ยว โดยมีกระบวนการเรียนรู

รวมกันของผูที่เกี่ยวของ ภายใตการจัดการอยางมีสวนรวมของทองถิ่น เพื่อมุงใหเกิดจิตสํานึกตอการรักษาระบบ

นิเวศอยางยั่งยืน

2.3.5 องคประกอบการทองเที่ยวเชิงนิเวศ (การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. 2542: 2-46)

1) ลักษณะพ้ืนฐานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ขอบเขตของการทองเที่ยวเชิงนิเวศจะครอบคลุมลักษณะพื้นฐานขององคประกอบหลัก (Key

Elements) 4 ดาน ประกอบดวย

34

Page 57: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

(1) องคประกอบดานพื้นท่ี

การทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนการทองเท่ียวในแหลงทองเที่ยวที่เกี่ยวเนื่องกับธรรมชาติเปนหลัก มี

แหลงทองเที่ยวธรรมชาติที่มีเอกลักษณเฉพาะถิ่น (Identity or Authentic or Endemic or Unique) ทั้งน้ี

รวมถึงแหลงวัฒนธรรมและประวัติศาสตรที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ (Eco-system) ในพื้นท่ีของแหลงน้ัน ดังน้ัน

องคประกอบดานพื้นท่ีจึงเปนการทองเที่ยวที่มีพื้นฐานอยูกับธรรมชาติ (Nature-based Tourism)

(2) องคประกอบดานการจัดการ การทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนการทองเที่ยวที่มีความรับผิดชอบ (Responsible Travel) ไมมี

ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสังคม (no or low impact) มีการจัดการที่ยั่งยืนครอบคลุมถึงการอนุรักษทรัพยากร

การจัดการสิ่งแวดลอม การปองกันและกําจัดมลพิษ และควบคุมการพัฒนาการทองเที่ยวอยางมีขอบเขต จึงเปน

การทองเที่ยวที่มีการจัดการอยางยั่งยืน (Sustainable Managed Tourism)

(3) องคประกอบดานกิจกรรมและกระบวนการ การทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนการทองเที่ยวที่เอ้ือตอกระบวนการเรียนรู (Learning Process) โดย

มีการใหการศึกษา (Education) เกี่ยวกับสภาพแวดลอมและระบบนิเวศของแหลงทองเที่ยว เปนการเพิ่มพูน

ความรู (Knowledge) ประสบการณ (Experience) ความประทับใจ (Appreciation) เพื่อสรางความตระหนัก

และปลุกจิตสํานึกที่ถูกตองทั้งตอนักทองเที่ยว ประชาชนทองถิ่น และผูประกอบการที่เกี่ยวของ จึงเปนการ

ทองเที่ยวสิ่งแวดลอมศึกษา (Environmental Education – based Tourism)

(4) องคประกอบดานการมีสวนรวม

การทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนการทองเที่ยวที่คํานึงถึงการมีสวนรวมของชุมชนและประชาชน

ทองถิ่น (Involvement of Local Community or People Participation) ที่มีสวนรวมเกือบตลอดกระบวนการ

เพ่ือกอใหเกิดผลประโยชนตอทองถิ่น (Local Benefit) โดยประโยชนตอทองถิ่นท่ีไดหมายความรวมถึงการ

กระจายรายได การยกระดับคุณภาพชีวิต และการไดรับผลตอบแทน เพื่อกลับมาบํารุงรักษาและจัดการแหลง

ทองเท่ียวดวย และในที่สุดแลวทองถิ่นมีสวนในการควบคุมการพัฒนาการทองเที่ยวอยางมีคุณภาพ ทองถิ่นในที่น้ี

เริ่มตนจากระดับรากหญา (Grass Root) จนถึงการปกครองสวนทองถิ่น และอาจรวมการมีสวนรวมของผูที่

เกี่ยวของ จึงเปนการทองเที่ยวอยางมีสวนรวมของชุมชน (Community Participation–based Tourism)

2) ลักษณะเฉพาะการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

จากองคประกอบพื้นฐานดังกลาวขางตน สามารถสรุปไดถึงลักษณะเฉพาะขององคประกอบของการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศวามีความแตกตางจากการทองเที่ยวทั่วไปไดดังน้ี

(1) แหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ

แหลงทองเท่ียวที่มีศักยภาพในการรองรับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ จะมีเกณฑการคัดเลือก

ดังตอไปนี้

35

Page 58: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

(1.1) ศักยภาพของทรัพยากรแหลงทองเที่ยว โดยพิจารณาจากสภาพทรัพยากรที่มีความ

เหมาะสม มีลักษณะเฉพาะและคงลักษณะพื้นถิ่น โดยเนนความสําคัญของระบบนิเวศ (Ecosystem) หรือ

วัฒนธรรมของพื้นท่ี และความดึงดูดใจวามีมากนอยเพียงใด โดยจะพิจารณาจาก 1) ชนิดของแหลงทองเที่ยว และ

2) องคประกอบที่เปนเอกลักษณ

(1.2) ศักยภาพของการจัดการ พิจารณาจากสภาพการจัดการในปจจุบันวามีการจัดการ

ดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศมากนอยเพียงใด ซึ่งจะบงชี้ถึงโอกาสในการเพิ่มศักยภาพของแหลงทองเที่ยวใหสูงขึ้นได

โดยการพิจารณาศักยภาพดานการจัดการน้ันประกอบดวย

- มีการใหการศึกษาดานสิ่งแวดลอม เปนสิ่งสําคัญที่จะทําใหเกิดการเรียนรูรวมกัน

สรางความตระหนักและจิตสํานึกใหกับนักทองเที่ยว โดยพิจารณาจากรูปแบบการจัดสื่อความหมาย กิจกรรมดาน

การศึกษา

- การจัดการปองกันและรักษาสิ่งแวดลอมในแหลงทองเที่ยว เพื่อปองกันและลด

ผลกระทบสิ่งแวดลอม รวมถึงการรักษาไวซึ่งทรัพยากร โดยพิจารณาจากมาตรการรักษาและคุมครองสิ่งแวดลอม

วามีประสิทธิภาพมากนอยเพียงใด มีการนํารายไดมาบํารุงรักษาแหลงทองเที่ยวมากนอยแคไหน มีความปลอดภัย

ตอชีวิตและทรัพยสินของนักทองเที่ยวหรือไม มีการควบคุมและจํากัดจํานวนนักทองเที่ยวหรือไม

- องคกรในการจัดการการทองเที่ยว เปนความรวมมือกันระหวางภาครัฐ เอกชน

และประชาชนทองถิ่นหรือไม ชุมชนในทองถิ่นมีสวนรวมในการควบคุมการทองเท่ียว หรือเสนอแนะ หรือใหความ

คิดเห็นตอการทองเที่ยวในชุมชนมากนอยเพียงใด หรือเพียงไดรับประโยชนจาการคาและบริการเพียงเทาน้ัน

(1.3) ศักยภาพของการจัดการ ประกอบดวย การใหการศึกษาดานสิ่งแวดลอม การ

จัดการปองกันและรักษาสิ่งแวดลอมในแหลงทองเที่ยว และองคการในการจัดการมีความรวมมือกัน ซึ่งแหลง

ทองเที่ยวที่มีการจัดการดี จะมีศักยภาพสูงในการสงเสริมการทองเที่ยวไดโดยไมกอใหเกิดผลกระทบตอพื้นท่ี

(2) ตลาดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

นักทองเที่ยวเชิงอนุรักษ จะเปนกลุมท่ีมีพฤติกรรมนอกจากการทองเที่ยวเพื่อพักผอนหยอนใจ

แลว ยังตองการศึกษาหาความรูและประสบการณเพ่ิมเติม เพ่ือเสริมสรางจิตสํานึกในการอนุรักษธรรมชาติ

ประวัติศาสตร วัฒนธรรม วิถีชีวิตอันเปนเอกลักษณของแหลงทองเที่ยวที่ไปเยือน ซึ่งสามารถพิจารณาลักษณะ

ความเปนนักทองเที่ยวเชิงนิเวศได ดังตอไปนี้

(2.1) ความสนใจในแหลงทองเที่ยว จะนิยมไปทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวที่สงเสริม

ความรู การอนุรักษ การรักษาสิ่งแวดลอม และการสรางความตระหนักในการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยมีความสนใจ

ในแหลงทองเที่ยวธรรมชาติหรือวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณเฉพาะถิ่น ตองใชความตั้งใจในการทองเที่ยว มีกิจกรรมที่

แตกตางจากความเคยชิน นอกจากน้ัน ยังตองมีกิจกรรมการทองเที่ยวเพื่อการศึกษา เรียนรู สัมผัส และดูแลรักษา

ธรรมชาติและแหลงทองเที่ยว

(2.2) การปฏิบัติตัวของนักทองเที่ยว หมายความรวมตั้งแตการเตรียมตัวกอนออก

เดินทาง การปฏิบัติตัวขณะทองเที่ยว และการปฏิบัติหลังจากการทองเที่ยว

36

Page 59: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

- กอนเดินทางทองเที่ยว จะมีการศึกษาหาความรูและขอมูลของแหลงทองเที่ยวกอน

การเดินทาง รวมทั้งการเตรียมอุปกรณเครื่องมือในการทองเที่ยวที่ไมทําลายสิ่งแวดลอมและไมเปนขยะในขณะ

ทองเที่ยว

- ขณะเดินทางทองเที่ยว จะตองปฏิบัติตามกฎเกณฑของแหลงทองเที่ยว มีความ

สนใจใฝรูระหวางการทองเที่ยว ใหความสําคัญกับขอมูล กิจกรรม และการสื่อความหมายตาง ๆ มีความยินดีและ

เต็มใจที่จะจายเพื่อการชวยรักษาสิ่งแวดลอมของแหลงทองเที่ยว ควรเปนการจายตรงลงในพื้นท่ีทองเที่ยว เชน การ

บริจาค การจายคาบริการ รวมถึงการสนใจเขารวมกิจกรรมและปฏิสัมพันธกับผูอื่น

- การปฏิบัติหลังการทองเที่ยว จะรูสึกถึงความรักและหวงแหนทรัพยากรที่ไดเรียนรู

เพ่ิมขึ้น และมีการเรียนรูเพ่ิมเติมอยางตอเน่ือง รวมทั้งยังชวยเผยแพรขอมูลท่ีไดรับตอไปยังผูอื่นอีกดวย

การเปนนักทองเที่ยวเชิงนิเวศสามารถกลาวไดวา ไมไดใชขนาดกลุม เชื้อชาติ หรือเกณฑ

การใชจาย เปนตัววัด ซึ่งหมายความวา นักทองเที่ยวคณะใหญ (Mass Tourism) นักทองเที่ยวที่จายเงินมาก

นักทองเที่ยวที่ตองการความสะดวกสบาย ก็อาจเปนนักทองเที่ยวเชิงนิเวศได

(3) กิจกรรมการทองเที่ยวนิเวศ

การทองเที่ยวเชิงนิเวศใหความสําคัญกับกิจกรรมการทองเที่ยวมาก เพราะกิจกรรมตางๆน้ัน

เปนสื่อกลางที่จะทําใหการทองเที่ยวบรรลุสูจุดมุงหมายของการทองเที่ยวเชิงนิเวศได กิจกรรมที่เหมาะสมจึงควร

เปนกิจกรรมที่เนนการศึกษาหาความรูในระบบนิเวศและวัฒนธรรมทองถิ่น ควบคูกับการไดรับความเพลิดเพลิน

ทั้งน้ี ตองเปนกิจกรรมที่ไมมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและระบบนิเวศ หรืออยางนอยท่ีสุดอาจจะเกิดผลกระทบ

แตตองเกิดนอยที่สุด และเปนผลกระทบที่สามารถปองกันและแกไขได

กิจกรรมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ แบงออกเปน (การทองเที่ยวแหประเทศไทย. 2542: 3-9)

- กิจกรรมเชิงนิเวศในแหลงธรรมชาติ ไดแก เดินปา (hiking / trekking /

walking) ศึกษาธรรมชาติ (nature educating) สองสัตว / ดูนก (animal / bird watching) เที่ยวถ้ํา / นํ้าตก

(cave / waterfall exploring) พายเรือ / แคนู / คะยัค / เรือใบ / กระดานโตลม (canoeing / kayak / sail /

boating / wind surfing) ดํานํ้าดูปะการังนํ้าตื้น / นํ้าลึก (snorkeling / scuba diving) ตั้งแคมป (tent

camping) ลองแพ (rafting) ขี่มา / น่ังชาง (horse/elephant riding)

- กิจกรรมกึ่งนิเวศ ไดแก ถายรูป/บันทึกภาพ-เสียง (photographing) ศึกษา

ทองฟา (sky interpreting) ขี่จักรยานเสือภูเขา (terrain/mountain biking) ปน / ไตเขา (rock/mountain

climbing) ตกปลา (fishing)

- กิจกรรมทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร การทองเที่ยวชมความงามที่มีลักษณะ

เฉพาะตัว รวมทั้งการศึกษาเรียนรู ประวัติ ความเปนมา และชื่นชมแหลงประวัติศาสตร แหลงโบราณคดี และงาน

ศิลปกรรมตาง ๆ นอกจากน้ันยังรวมถึงการเขารวมกิจกรรม เพ่ือเรียนรูและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหวาง

นักทองเที่ยวและชุมชนทองถิ่นในแหลงทองเที่ยว รวมทั้งการไดศึกษา เรียนรูถึงการผลิตสินคาพื้นเมืองและของที่

ระลึกตาง ๆ ของทองถิ่น

37

Page 60: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

(4) การบริการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

การบริการการทองเที่ยว (Tourism Services) หมายถึง สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆที่

ตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยวในขณะที่มีกิจกรรมการทองเที่ยว รวมทั้งสิ่งบริการที่รองรับกอนและหลัง

การทองเที่ยว เพ่ือใหเกิดความสะดวกสบายและตอบสนองความจําเปนขั้นพ้ืนฐาน

(4.1) สถานที่พักเชิงนิเวศ (Eco-lodge) อาจพิจารณาจากปจจัย ดังน้ี

- ลักษณะรูปแบบของสถานที่พัก มีการกอสรางที่สะทอนสภาพด้ังเดิมของพื้นท่ีและ

ความเปนทองถิ่น ความกลมกลืนกับสภาพแวดลอม รวมทั้งการเลือกทําเลท่ีตั้งของสถานที่พัก ตองไมอยูในทําเลท่ี

มีผลกระทบและทําลายสภาพธรรมชาติ

- การจัดการดานรักษาสิ่งแวดลอมในดานตาง ๆ อาทิ การประหยัดพลังงานไฟฟา-

นํ้าประปา ระบบการบําบัดนํ้าเสีย การจัดการขยะมูลฝอย

- การจัดกิจกรรมและการบริการที่ใหการศึกษา สื่อความหมายเรื่องระบบนิเวศ

สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมทองถิ่นของแหลงทองเที่ยว การบริการที่สะทอนความเปนทองถิ่นท้ังในดานรูปแบบ สิ่ง

อํานวยความสะดวก และบริการ รวมถึงความสะอาดและถูกสุขลักษณะ

- มีการรวมลงทุนกับทองถิ่น และผลตอบแทนที่เอื้อประโยชนตอชุมชนทองถิ่นท้ังใน

ดานรายไดและการใชแรงงานทองถิ่นดวย

(4.2) บริษัทนําเท่ียวและมัคคุเทศก

บริการนําเที่ยว (Tour Operator) เปนบริการที่สําคัญตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เน่ืองจาก

เปนตัวกลางในการเชื่อมโยงระบบตลาดหรือนักทองเที่ยวเขากับทรัพยากรการทองเที่ยว และมีสวนสําคัญในการ

กระจายขอมูลท้ังการใหความรูความเขาใจแกนักทองเที่ยว และการควบคุมพฤติกรรมของนักทองเที่ยวที่มี

ประสิทธิภาพมากที่สุด รวมทั้งยังเปนสวนสงเสริมใหเกิดนักทองเที่ยวเชิงนิเวศมากขึ้น โดยมัคคุเทศกเปนผูที่มี

บทบาทสําคัญในการใหขอมูลและรายละเอียดของทรัพยากรการทองเที่ยว เพื่อใหการศึกษาแกนักทองเที่ยว ดังน้ัน

การจัดการนําเท่ียวและมัคคุเทศกจึงมีบทบาทสําคัญตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ จึงควรมีคุณภาพหรือมาตรฐานของ

การบริการ ดังน้ี

- กิจกรรมและการบริการ โดยมีการจัดกิจกรรมและใหการศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติ

สิ่งแวดลอม ประวัติศาสตร วัฒนธรรม และโบราณคดีของแหลงทองเที่ยวที่ถูกกําหนดไวในรายการนําเที่ยว การมี

มัคคุเทศกเฉพาะตลอดรายการนําเที่ยวที่สามารถใหขอมูลรายละเอียดไดอยางครอบคลุมและถูกตอง รวมทั้งมีการ

ใหบริการอํานวยความสะดวกที่สรางความพึงพอใจใหกับนักทองเที่ยว โดยไมกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

และมีการควบคุมพฤติกรรมดานลบของนักทองเที่ยวดวย

- การดําเนินงานของบริษัท มีการเตรียมความพรอมทุกดานท้ังขอมูล เครื่องมือ

อุปกรณ มีการจัดการ รักษา และปองกันผลกระทบดานสิ่งแวดลอม การเคารพกฎเกณฑของแหลงทองเที่ยว และ

การติดตามประเมินผลการนําเท่ียวและใหขอมูลขาวสารกับนักทองเที่ยวอยางสมํ่าเสมอ

38

Page 61: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

- การจัดการ การจัดมัคคุเทศกที่มีความรู หรือมัคคุเทศกทองถิ่นท่ีไดรับการอบรม

อยางดี การจัดใหประชาชนทองถิ่นมีสวนรวมในการวางแผนและเตรียมการในการจัดนําเท่ียว รวมถึงการให

ผลตอบแทนหรือคืนกําไรใหกับทองถิ่นหรือแหลงทองเที่ยว เพ่ือชวยในการสงเสริม ฟนฟู และจัดการดาน

สิ่งแวดลอม

(4.3) รานอาหาร รานคา

รานอาหารและรานคาของที่ระลึกหรือสินคาพื้นเมือง ตองเปนการดําเนินงานโดยประชาชน

ทองถิ่น ซึ่งสงผลตอการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ทําใหเกิดการพัฒนาตอเน่ืองเปนการทองเที่ยวอยางยั่งยืน

เพราะเปนการกระจายรายไดสูชุมชนทองถิ่น ทําใหเกิดความภาคภูมิใจและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ

ประวัติศาสตร และวัฒนธรรมที่มีอยูในทองถิ่น เน่ืองจากเปนแหลงที่มาของรายไดจากการทองเที่ยวของชุมชน

(5) การศึกษาและการสรางจิตสํานึก กระบวนการทองเที่ยวเชิงนิเวศ มีจุดมุงหมายในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอมของแหลงทองเที่ยว โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักทองเที่ยว และผูเกี่ยวของในการจัดการไปใน

ทิศทางที่เหมาะสมกับการอนุรักษและการพัฒนาอยางยั่งยืน ดังน้ัน องคประกอบพื้นฐานที่สําคัญดานหนึ่ง คือ

การศึกษา (Education) โดยเฉพาะการมุงเนนเสริมสรางจิตสํานึก (Awareness) ความรูสึกและการปฏิบัติตนที่

เหมาะสมอยางมีความรับผิดชอบ (Responsible) ตอทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอม โดยมีวิธีการให

การศึกษาและสรางจิตสํานึก ยกตัวอยางเชน

(5.1) การใหการศึกษาและเรียนรูเรื่องการอนุรักษธรรมชาติ ประวัติศาสตร และ

ศิลปวัฒนธรรม เปนกระบวนการเรียนรู (Learning Process) รวมกันของผูที่มีสวนเกี่ยวของ โดยเฉพาะประชาชน

ทองถิ่น เพื่อใหเกิดประโยชนตอการจัดการแหลงทองเที่ยว การบริการ และกิจกรรมการทองเที่ยวที่เหมาะสม และ

เพื่อใหเกิดผลกระทบตอทรัพยากรการทองเที่ยวและสิ่งแวดลอมนอยที่สุด ซึ่งกลุมเปาหมายในการจัดการให

การศึกษา ไดแก

- นักทองเที่ยว ตองไดรับความรูความเขาใจกอนเดินทางเขาสูแหลงทองเที่ยว เพ่ือ

เตรียมความพรอมและรับทราบขอมูลขาวสารลวงหนา การไดความรูความเขาใจขณะเดินทางทองเที่ยว โดยไดรับ

จากกิจกรรมและการสื่อความหมายตาง ๆ และการไดรับความรูหลังจากการทองเที่ยว ดวยการคนควาเพิ่มเติมจาก

แหลงขอมูลอ่ืนๆ

- ประชาชนทองถิ่น ตองไดรับความรูความเขาใจในทรัพยากรของตนเอง รวมถึงการ

จัดการ การบริการ และการวางแผนในกระบวนการทองเที่ยวผานทางการอบรม สัมมนา ดูงาน และรวมปฏิบัติการ

นอกจากน้ัน การติดตอและประสานงานกับภายนอกจะทําใหประชาชนทองถิ่นมีความรูและทัศนคติใหม ๆ เพิ่มเติม

ขึ้น

- สวนราชการ ตองไดรับความรูความเขาใจ ทั้งในรูปแบบและวิธีการทางการศึกษา

และการสื่อความหมายตาง ๆ

39

Page 62: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

- ผูประกอบการธุรกิจและมัคคุเทศก ตองไดรับความรูดานการจัดการที่มีคุณภาพ

ไดมาตรฐาน รวมทั้งความรูเพ่ิมเติมในทรัพยากรที่นําเที่ยว

- เยาวชนและประชาชนทั่วไป โดยการปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนใน

โรงเรียน การปฏิบัติการในพื้นท่ี การสื่อขอมูลขาวสารกับประชาชนทั่วไป

(5.2) การจัดการสื่อความหมาย (Interpreting) เพื่อใหนักทองเที่ยวไดพัฒนาจิตสํานึก มี

ความซาบซึ้ง และเขาใจในแหลงทองเที่ยวที่ไปเยือน นอกจากน้ัน ยังสามารถชวยลดผลกระทบที่มีจากมนุษยตอ

ทรัพยากรการทองเที่ยวลงได รวมทั้งยังเปนการสงเสริมความเขาใจของประชาชนตอหนวยงานและโครงการตางๆ

ในแหลงทองเที่ยวได

นอกจากนั้น การจัดทําคูมือทองเที่ยว ก็เปนอีกวิธีการหนึ่งในการที่จะใชเปนสื่อในการให

ความรู เสริมสรางเจตคติ และแนวการปฏิบัติตนในการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางถูกตองและเหมาะสมดวย

(6) ชุมชนกับการมีสวนรวมของชุมชน

ในอดีตที่ผานมา ชุมชนแทบจะไมไดรับประโยชนที่แทจริงจากการทองเที่ยว เน่ืองจากมีผูโอกาส

หรือมีกําลังทรัพยมากกวาไดแสวงหาผลประโยชนจากชุมชนและทรัพยากร โดยละเลยหรือใหผลประโยชนแก

ชุมชนเพียงเล็กนอย และสรางผลกระทบทางลบไวอยางมาก การมีสวนรวมของประชาชนทองถิ่นนับไดวาเปน

พื้นฐานของการพัฒนาท่ียั่งยืนในองครวมของระบบ ซึ่งเปนองคประกอบหลักของการทองเที่ยวเชิงนิเวศ การมีสวน

รวมของประชาชนทองถิ่นเนนในการใหความสําคัญแกประชาชนใหมีบทบาทในการกํากับ ดูแล และควบคุมการ

ทองเที่ยวใหมากขึ้น และสามารถดําเนินชีวิตอยูไดอยางมีศักด์ิศรี และสามารถเปนตัวกลางเชื่อมโยงทองถิ่นกับ

หนวยงานของภาครัฐหรือเอกชนท่ีเกี่ยวของกับกระบวนการพัฒนาการทองเที่ยวตางๆได

การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่นตองเริ่มต้ังแตการใหขอมูลของทองถิ่น การเตรียมการ การ

วางแผน การควบคุมดูแลการใชทรัพยากร การมีสวนรวมในการบริการ และการไดประโยชนจากการบริการ โดย

ชุมชนจะตองตระหนักถึงความสําคัญของทรัพยากรและสิ่งแวดลอม มีกิจกรรมในการอนุรักษและการใชประโยชนที่

จะตองไมเปนการเบียดบังและทําลายสิ่งแวดลอม ดังน้ัน บทบาทขององคกรในชุมชนซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของ

ประชาชนในชุมชนจึงมีสวนสําคัญในการผลักดันใหองคกรดังกลาวเปนตัวแทนของประชาชนในชุมชนอยางแทจริง

ซึ่งผลประโยชนที่ชุมชนจะไดรับจากการมีสวนรวมนั้นมีมากมาย ดังตัวอยางเชน

- ผลประโยชนทางเศรษฐกิจและสังคมอันจะเกิดแกคนสวนใหญในชุมชน ทําใหมี

งาน มีรายได และมีสภาพความเปนอยูที่ดีขึ้น

- ผลประโยชนทางสังคม คือการมีสวัสดิการที่ดี สังคมมีความม่ันคง และสามารถ

ดํารงเอกลักษณทางสังคมของตนไวได

- การเกิดจิตสํานึก ความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของสิ่งแวดลอม

มีความเขาใจในการอนุรักษ และรวมมือรวมใจกันพัฒนาเพื่อความยั่งยืนของชุมชนตอไป

40

Page 63: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

- ความภูมิใจ ความสุขใจในการดําเนินชีวิตความเปนอยู จากความรวมมือในชุมชน

ทําใหเกิดความรักและหวงแหน และพรอมที่จะอนุรักษและพัฒนากระบวนการทองเที่ยวของชุมชนตอไปอยาง

สรางสรรค

โดยสรุปแลว การเขามามีสวนรวมของชุมชนทองถิ่นจึงตองเปนการมีสวนรวมตลอดกระบวน

พัฒนาการทองเที่ยว เพ่ือใหเกิดผลประโยชนตอทองถิ่น (Local Benefit) ซึ่งหมายความถึงการกระจายรายได การ

ยกระดับคุณภาพชีวิต การไดรับผลตอบแทนมาบํารุงรักษาแหลงทองเที่ยว และสุดทายชุมชนก็จะสามารถเขาไป

ควบคุมและดูแลการพัฒนาการทองเที่ยวอยางมีคุณภาพ

(7) การจัดการสิ่งแวดลอม

ผลกระทบดานสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นจากการทองเที่ยวภายในแหลงทองเที่ยว เน่ืองมาจาก

กิจกรรมการทองเที่ยว และบริการที่พัก อาหาร ซึ่งมีลักษณะแตกตางกันไปตามสภาพพื้นท่ีและความเปราะบาง

หรือความสามารถในการรองรับของพื้นท่ี ซึ่งมาตรการในการจัดการดานสิ่งแวดลอมที่ดําเนินการอยูในปจจุบันสวน

ใหญจะอยูในรูปของกฎหมาย กฎระเบียบ พระราชบัญญัติ หรือมาตรฐานคุณภาพตางๆ โดยทําหนาท่ีเปนตัว

ควบคุมแหลงกําเนิดมลพิษ หรือควบคุมกิจกรรมใหเหมาะสม เพ่ือใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมใหนอยท่ีสุด ดัง

รายละเอียดตอไปนี้

- การกําหนดเขตควบคุมอาคาร เปนการกําหนดบริเวณหามกอสราง ดัดแปลง หรือ

เปลี่ยนแปลงการใชอาคารบางชนิดหรือบางประเภท รวมถึงการกําหนดความสูงและประเภทของอาคารตางๆที่

สามารถกอสรางไดบริเวณริมลํานํ้าในระยะหางจากริมนํ้าเปนระยะทางตางๆกัน

- การกําหนดเขตพื้นท่ีคุมครองสิ่งแวดลอมและเขตควบคุมมลพิษ เปนเขตที่มีการ

คุมครองโดยการควบคุมเรื่องการใชประโยชนที่ดิน เพ่ือการกอสรางหรือการอุตสาหกรรมในการดําเนินโครงการ

หรือกําหนดการใด ๆ ในพื้นท่ี จะตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม

- เขตผังเมืองรวม เปนขอกําหนดการใชที่ดินประเภทตาง ๆ เพ่ือจัดระบบการใช

ประโยชนที่ดินใหมีประสิทธิภาพ สามารถรองรับและสอดคลองกับการขยายตัวของชุมชนในอนาคต เพ่ือสงเสริม

และพัฒนาเศรษฐกิจและโครงข ายบริการสาธารณะ ทั้ ง น้ี มีวัตถุประสงคส วนหน่ึง เพื่ อการอนุรักษ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- กําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเลชายฝง มีการกําหนดคุณภาพนํ้าทะเล โดยใชคา

คุณภาพน้ําทะเลตาง ๆ เปนตัวกําหนด เพ่ือเปนการกําหนดการใชประโยชนใหเหมาะสมกับกิจกรรม

- กําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน โดยการกําหนดคุณภาพนํ้าผิวดิน

โดยใชคาดัชนีคุณภาพนํ้าตาง ๆ เปนตัวกําหนด ทั้งเพื่อกําหนดการใชประโยชนอยางเหมาะสมตามกิจกรรม

- กําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าท้ิงจากอาคารประเภทตาง ๆ ทั้งน้ีเพื่อเปนการควบคุม

การปลอยนํ้าเสียจากอาคารประเภทตาง ๆ ลงสูแหลงนํ้าสาธารณะหรือออกสูสิ่งแวดลอม ซึ่งคุณภาพนํ้าเสียท่ี

กําหนดจะขึ้นอยูกับขนาดและประเภทอาคาร

41

Page 64: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

นอกจากน้ัน มาตรการในการปองกันและลดผลกระทบสิ่งแวดลอมที่รัฐใชเปนเครื่องมือในการ

ดําเนินการปจจุบัน ประกอบดวย การกําหนดความสามารถในการรองรับไดของพื้นท่ี (Carrying Capacity) การ

วางแผน การออกกฎหมาย กฎระเบียบขอบังคับ การประเมินผลกระทบเบื้องตน (Infial Environmental

Examination : IEE) และการประเมินผลกระทบระดับโครงการ (Environmental Impact Assessment :

EIA) รวมทั้งมาตรการอีกประการหนึ่งที่ยังไมมีการใชอยางจริงจัง คือ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับกล

ยุทธ (Strategic Environmental Assessment : SEA)

สําหรับการลดผลกระทบในการทองเที่ยวเชิงนิเวศน้ัน ควรใชมาตรการในปองกันและแกไข

ปญหาสิ่งแวดลอมท่ีไดกลาวไปแลว ควบคูกับวิธีดังตอไปนี้

- การควบคุมกิจกรรม

- การจํากัดพ้ืนท่ีหรือการควบคุมขนาดการพัฒนา

- การจํากัดจํานวน

- ควบคุมพฤติกรรมนักทองเที่ยว

- จํากัดเวลาทองเที่ยว

2.4 แนวความคิดการทองเที่ยวทางน้ํา

2.4.1 ความเปนมาการทองเที่ยวทางน้ํา

1) การทองเที่ยวทางน้ําในระดับโลก

การเดินทางสัญจรทางน้ําสันนิษฐานวาคงเริ่มพรอมขึ้นกับการที่มนุษยรูจักการวายนํ้า จากหลักฐาน

ในยุคอียิปตโบราณมีการใชเรือกรรเชียง การใชเรือตามแนวชายฝงทะเลเพื่อหาปลาในบริเวณทะเลเมดิเตอรเรเนียน

สวนในพงศาวดารจีนยุคแรกไดกลาวถึง “ฮองเตเอ้ียมสินลง” ที่ไดรับสั่งใหตอสําเภา (Argosy) เรือเดินทะเลขึ้นเพ่ือ

เปนพาหนะและที่พักแรม สําหรับเดินทางหายาอายุวัฒนะ ตอมาก็มีพอคาชาวฟนีเซียนไดนําเรือท่ีมีทั้งใบเรือและ

ฝพายออกสูทะเล เพื่อไปคาขายทางทะเลยังตางเมือง จนกระทั่งชวงพุทธศตวรรษที่ 20 เปนตนมา วิทยาการดาน

การเดินเรือมีความเจริญกาวหนาขึ้นอยางมาก ทําใหเกิด “เสนทางสายแพรไหมทางทะเล” ขึ้นมาทดแทนเสนทาง

แพรไหมทางบก ตอมาในป พ.ศ. 2035 คริสโตเฟอร โคลัมบัสกับคณะไดแลนเรือขามมหาสมุทรแอตแลนติกจาก

เกาะฝงตะวันตกของทวีปแอฟริกาไปยังเกาะฝงตะวันออกของทวีปอเมริกาไดสําเร็จ และในป พ.ศ. 2040 วาสโกดา

กามา ชาวโปรตุเกสไดนําเรือออกจากกรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส แลนออมขามทวีปแอฟริกาตัดขามสวนหนึ่ง

ของมหาสมุทรอินเดียไปยังเมืองแคลลิกิทซ ซึ่งอยูทางตะวันตกของประเทศอินเดีย

สําหรับการบริการขนสงผูโดยสารทางเรือเริ่มขึ้นต้ังแตป พ.ศ. 2315 ในประเทศอังกฤษ โดยทาน

ดุคแหงบริดจวอเตอรเปนผูริเริ่มกิจการเดินเรือในลํานํ้าระหวางเมืองแมนเชสเตอรกับสะพานลอนดอน ซึ่งบนเรือมี

หองสําหรับด่ืมชากาแฟเพื่อบริการผูโดยสาร ตอมาในป พ.ศ. 2358 มีเรือเคร่ืองจักรไอน้ําบริการขนสงผูโดยสาร

42

Page 65: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ดวยเรือ จากน้ันการทองเที่ยวทางเรือไดมีการพัฒนามาอยางตอเน่ือง จากการใชเรือใบมาเปนเรือกลไฟขับเคลื่อน

ดวยเครื่องจักรไอน้ํา ในป พ.ศ. 2362 เรือกลไฟที่เดินทางขามมหาสมุทรลําแรกชื่อเรือกลไฟ “ซาวานนาห” เดินทาง

ระหวางเอซาวนาหในรัฐจอรเจีย ประเทศสหรัฐอเมริกา กับเมืองลิเวอรพูล ประเทศอังกฤษ ซึ่งการเดินทางครั้งน้ีใช

เวลาทั้งสิ้น 29 วัน เรือกลไฟรุนน้ีเปนเรือบรรทุกไปรษณียภัณฑเปนหลัก สวนผูโดยสารมีจํานวนไมมากนัก

เน่ืองจากอัตราคาโดยสารคอนขางแพงมาก

ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้น การเดินทางดวยเรือเพ่ือการทองเที่ยวเกือบจะตองหยุดลงอยาง

สิ้นเชิง จนกระทั่งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ธุรกิจการบินพาณิชยเริ่มเจริญกาวหนาขึ้น ทําใหการเดินทางดวยเรือเริ่ม

หมดความนิยมลง เน่ืองจากผูโดยสารหันไปนิยมการเดินทางดวยเครื่องบินซึ่งสะดวกรวดเร็วกวา ทําใหธุรกิจการ

เดินเรือขนสงผูโดยสารเปลี่ยนมาเปนกิจการเดินเรือสมุทรเพื่อการทองเที่ยว โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพานักทองเที่ยว

แสวงหาความสําราญในเรือดวยการใชเรือสําราญเปนพาหนะเดินทางไปยังแหลงทองเที่ยวตาง ๆ การเดินทาง

ทองเที่ยวดวยเรือไดรับการพัฒนารูปแบบตาง ๆ ตลอดระยะเวลาที่ผานมาจนกระทั่งถึงปจจุบัน ในดานการพัฒนา

เทคโนโลยีตาง ๆ ที่นํามาใชในการเดินเรือ การตอเรือ ปรับปรุงสมรรถนะความเร็ว เพ่ือสรางความสะดวกสบายและ

ความปลอดภัยของนักทองเที่ยว

2) การทองเที่ยวทางน้ําในประเทศไทย

สําหรับการเดินทางทองเที่ยวทางน้ําของประเทศไทยนั้นเริ่มตนดวยการเดินทางดวยเรือขนาดเล็ก

เพื่อนํามาใชเปนยานพาหนะในการเดินทาง ทําการประมง และขนสงสินคาภายในประเทศเปนหลัก ดังตัวอยางเชน

ในสมัยพระนารายณ (พ.ศ. 2199 - 2231) การคาขายกับชาวยุโรปเจริญรุงเรืองมาก ทําใหเกิดการเดินทางระหวาง

ประเทศทางทะเลโดยใชเรือสําเภา (Junk) หรือเรือกําปนใบ (Argosy) นอกจากน้ัน ในพระราชพงศาวดารกรุงศรี

อยุธยาตอนหนึ่งกลาวถึง มองซิเออร เซเบเรต ในคณะทูตฝรั่งเศสที่เดินทางมากรุงศรีอยุธยาพรอมกับราชทูตลาลู

แบร ไดเดินทางกลับกอนทางเรือ โดยใชเสนทางคลองดาน ทาจีน แมกลอง แลวขึ้นจากเรือท่ีเมืองเพชรบุรี เดิน

ทางผานปราณบุรี กุยบุรี เมืองแคลง เพื่อไปลงเรือกําปนที่เมืองตะนาวศรีกลับปารีส จนกระทั่งในสมัยสมเด็จพระ

เจาตากสิน (พ.ศ. 2310 - 2325) ไดมีการขุดคลองหลอดขึ้นเปนคลองประจําเมืองธนบุรี

ตอมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร การเดินทางทองเที่ยวสมัยรัชกาลท่ี 1 - รัชกาลท่ี 4 ไดกลาวถึงการ

เดินทางของพระสุนทรโวหารหรือสุนทรภูกวีเอกของโลกวา ไดแตงนิราศไวหลายเรื่องซึ่งพรรณนาถึงสถานที่

ทิวทัศน สภาพแวดลอม และวิถีชีวิตตามเสนทางที่เดินทางผาน สวนใหญเปนการเดินทางโดยทางเรือ ชวงชีวิตของ

ทานอยูในชวงสมัยรัชกาลที่ 2 ถึงรัชกาลที่ 4 ตามหลักฐานที่ปรากฏในปจจุบัน การเดินทางของทานสวนใหญเปน

การเดินทางไปนมัสการสิ่งศักด์ิสิทธิ์ในสถานที่ตาง ๆ นอกจากน้ันยังมีการกลาวถึงการเดินทางของทานเพื่อไปเยี่ยม

บิดาท่ีบวชอยูที่บานกร่ํา เมืองแกลง จังหวัดระยองดวย

นอกจากการเดินทางเพื่อการทองเที่ยวแลว ยังมีวัตถุประสงคอื่น ๆ ดวย เชน ในสมัยรัชกาลที่ 1

เปนการเดินทางเพื่อการเมืองการสงคราม เน่ืองจากในรัชสมัยดังกลาวเปนชวงเวลาที่มีการทําศึกสงครามกับ

ประเทศเพื่อนบาน ในชวงรัชกาลท่ี 2 และรัชกาลท่ี 3 เปนการเดินทางเพื่อการคา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา

43

Page 66: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

เจาอยูหัว เม่ือครั้งยังทรงดํารงพระยศเปนพระเจาลูกยาเธอในสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ทรงมีพระปรีชา

สามารถในเรื่องการคาเปนอยางยิ่ง พระองคไดทรงแตงเรือสําเภาไปคาขายกับประเทศจีน และในสมัย

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 3 พระเจานองยาเธอซึ่งตอมาคือพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา

เจาอยูหัว ขณะทรงผนวชพระองคไดปฏิบัติธุดงควัตรไปตามหัวเมืองตาง ๆ เปนเวลานาน และในสมัยน้ันเริ่มมี

ชาวตะวันตกเดินทางเขามาติดตอคาขายกับประเทศไทยมากขึ้นท้ังพอคา บาทหลวง และมิชชันนารี

ในสมัยรัชกาลท่ี 4 ประเทศไทยเริ่มเปดประตูการคาอยางเปนทางการ เม่ือไทยไดลงนามใน

สนธิสัญญาเบาวริ่ง ยกเลิกการผูกขาดการคาในระบบพระคลังสินคามาเปนเปดการคาเสรี นับไดวาเปนการเริ่มตน

ของการทองเท่ียวยุคใหม ซึ่งแตเดิมจะมีเรือจากอังกฤษเขามาไมถึง 4 ลํา แตหลังจากการทําสนธิสัญญาแลว มีเรือ

สินคาเดินทางเขามากรุงเทพฯเพิ่มขึ้นถึง 103 ลํา และพอคาในกรุงเทพฯก็แตงเรือออกไปคาขายตางประเทศถึง 37

ลํา เม่ือเกิดความเจริญทางเศรษฐกิจอยางมาก ทําใหประชากรในกรุงเทพ ฯ เพิ่มขึ้นตามไปดวย จึงทรงโปรด ฯ ให

มีการขยายพระนครออกไปทางทิศตะวันออก โดยปรับปรุงการคมนาคมทางน้ําเพ่ิมขึ้น เชน การขุดคลองผดุงกรุง

เกษม

นอกจากน้ัน กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ยังทรงเลาไวในหนังสือความทรงจําวา กอนสมัยรัชกาลที่

4 เรือทะเลของหลวงและเรือคาขายจะใชเรือสําเภาจีน สวนเรือลาดตระเวนใชเรือกําปน จนมาถึงรัชกาลท่ี 3

เจาพระยาศรีสุริยวงศ เม่ือครั้งยังดํารงตําแหนงเปนหลวงสิทธินายเวรมหาดเล็ก ไดเรียนตอเรือกําปนจาก

ชาวตางชาติ จึงไดตอเรือกําปนใบถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ตั้งแตน้ันเปนตนมาเรือรบหลวงของ

ไทยจึงเปลี่ยนมาใชเรือกําปนใบอยางตางชาติ นอกจากน้ัน ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว

ไดมีการสรางเรือกําปนไฟเดินชายฝงเปนเรือพระที่น่ัง 2 ลํา คือ สยามอรสุมพล และอรรคราชวรเดช นอกจากน้ัน

กรมพระยาดํารงฯยังทรงเลาถึงการเดินทางในกรุงเทพฯวา “การไปมาในกรุงเทพ ฯ สมัยน้ัน ถนนหนทางยังมีนอย

รถก็มีแตของหลวง ยังใชเรือกันเปนพื้น บานคุณตา (พระยาอัมภันตริกามาตย) แมอยูใกลถนนเจริญกรุงที่เชิง

สะพานเหล็ก (ดํารงสถิตย) ก็ยังตองใชเรือ เรือที่ใชกันเปนพาหนะสมัยน้ัน ถาเปนเจานายหรือเจาพระยา ใชเรือ

สําปนเกงคนพายสัก 10 คน ขุนนางชั้นรองลงมาเชนคุณตา ใชเรือสําปนประทุนคนพาย 6 คน 7 คน.....”

ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 นับไดวาพระองคทรงเปนนัก

เดินทางทองเที่ยวที่ยิ่งใหญ และการเดินทางของพระองคกอใหเกิดประโยชนตอบานเมืองอยางมากมายมหาศาล ใน

ป พ.ศ. 2440 ทรงเปนพระมหากษัตริยไทยพระองคแรกที่เสด็จถึงทวีปยุโรป ไดเจริญพระราชไมตรีกับนานา

ประเทศ โดยมีเรือพระที่น่ังมหาจักรีเปนราชพาหนะ การเดินทางในครั้งน้ันทําใหพระองคไดทรงนําความรูและ

วิทยาการมาปรับใช กอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงกับบานเมืองในทุกดาน นับตั้งแตเรื่องประเพณีในราชสํานัก การ

เลิกระบบทาส การกอต้ังกิจการสําคัญตาง ๆ เชน การแพทย โทรเลข ไปรษณีย ไฟฟา นํ้าประปา ตัดถนน สราง

สะพาน โรงเรียน โรงพยาบาล ฯลฯ มีการนําเขาสินคาประเภทเครื่องจักรกลเทคโนโลยีสมัยใหม เชน รถไฟ รถราง

เรือกลไฟ เรือเมล กลองถายรูป เปนตน จากนั้นในป พ.ศ. 2450 เสด็จประพาสยุโรปอีกครั้ง เพ่ือทองเที่ยวตาก

อากาศและรักษาพระวรกาย นอกจากการเสด็จประพาสยุโรปแลว พระองคยังไดเสด็จประพาสตนไปตามหัวเมือง

ตาง ๆ หลายหัวเมืองในประเทศ เพ่ือเยี่ยมเยียนราษฎร และสํารวจสภาพทั่วไปของประเทศดวย

44

Page 67: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 6 ทรงใหความสนพระทัยในการทองเที่ยว

อยางมาก พระองคไดเสด็จเยือนหัวหินอยูเสมอ สวนในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 7

พระองคไดเสด็จเยือนจังหวัดตาง ๆ ในภาคเหนือ และเสด็จเยือนประเทศตางๆระหวางป พ.ศ. 2472 - 2474 ซึ่งใน

ขณะนั้นธุรกิจอุตสาหกรรมทองเที่ยวระหวางประเทศและรอบโลกกําลังกาวหนาอยางมาก มีนักทองเที่ยว

ชาวตะวันตกสนใจเขามาทองเที่ยวในประเทศไทย โดยเฉพาะชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 จํานวนมาก แตการ

เดินทางดวยเรือน้ันจะมาไดเพียงปละ 4 - 5 ลํา และรับผูโดยสารไดจํากัดเพียง 250 - 500 คนเทาน้ัน นอกจากน้ัน

ยังสามารถเดินทางโดยรถไฟจากประเทศสิงคโปร หรือเดินทางโดยเครื่องบินซึ่งจะใหบริการไดเฉพาะเจาพนักงาน

ฝายปกครองชาวยุโรปที่มีเมืองขึ้นอยูในภูมิภาคน้ีหรือบุคคลสําคัญเทาน้ัน

เม่ือถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 ชวงป พ.ศ. 2479 ถือไดวาการ

สงเสริมการทองเที่ยวไดเริ่มขึ้นอยางเปนทางการเมื่อกระทรวงพาณิชยและคมนาคมเสนอโครงการบํารุง

อุตสาหกรรมการทองเที่ยวในประเทศสยามโดยมีวัตถุประสงคเพื่องานโฆษณาเชิญชวนนักทองเที่ยว งานรับ

นักทองเที่ยว และที่พัก นอกจากน้ัน ในระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2482 - 2488) นักทองเที่ยวชาว

อเมริกันเริ่มเดินทางเขามาในประเทศไทยเพิ่มขึ้น จนกระทั่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช

รัชกาลท่ี 9 เปนชวงที่อุตสาหกรรมการทองเที่ยวเจริญกาวหนามากท่ีสุด มีการกอต้ังหนวยงานดานการทองเที่ยว

ระดับประเทศ คือ องคการสงเสริมการทองเที่ยว ซึ่งตอมาเปลี่ยนเปนการทองเที่ยวแหงประเทศไทย กอใหเกิด

ประโยชนตอประเทศในหลายดาน โดยเฉพาะการนําเงินตราตางประเทศเขาสูประเทศ รวมถึงการกระจายรายได

และสรางานสรางอาชีพใหกับประชาชนในแหลงทองเที่ยวตาง ๆ สงผลใหเกิดการขยายตัวดานการลงทุนของกิจการ

ในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวมากขึ้น รวมถึงการสรางสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ ทางการคมนาคมทางน้ําดวย

2.4.2 รูปแบบของการทองเที่ยวทางน้ํา

การทองเที่ยวทางน้ําเปนรูปแบบหนึ่งของการทองเที่ยวที่ใชเสนทางน้ําเปนสื่อกลางการทองเที่ยว ซึ่งอาจ

เปนเพียงเสนทางคมนาคมหรือเปนการทองเที่ยวที่จัดกิจกรรมเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลินดวยก็ได โดย

สามารถใหความหมายของแหลงทองเที่ยวทางน้ําคือ แหลงทองเที่ยวประเภทตาง ๆ ซึ่งตั้งอยูในลํานํ้าหรือบนสอง

ฟากฝงของลํานํ้า หรือมองเห็นไดจากพาหนะเดินทาง เชน บาน วัด เปนตน

รูปแบบการเดินทางทองเที่ยวทางน้ํา สามารถจําแนกไดตามเงื่อนไขตางๆ ดังน้ี

1) การทองเที่ยวที่กําหนดตามคาบเวลาการทองเที่ยว ไดแก การทองเที่ยวคาบเวลายาว การ

ทองเที่ยวคาบเวลาสั้น และการทองเที่ยวแบบเชาไปเย็นกลับดังที่ WTO เรียกวา excursion หรือทัศนาจร การพัก

แรมอาจพักบนเรือหรือแพ หรือแวะขึ้นบกระหวางทาง

2) การทองเที่ยวที่กําหนดตามลักษณะของการเดินทาง ไดแก การเดินทางโดยใชเรือตลอดสาย

การเดินทางโดยใชเรือเฉพาะชวง และการเดินทางทางน้ําซึ่งตอเน่ืองกับการเดินทางโดยวิธีอื่น ๆ

45

Page 68: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

3) การทองเที่ยวที่กําหนดตามลักษณะของพาหนะ ไดแก การเดินทางโดยเรือหางยาว เรือเร็ว

(ดวน) เรือสําราญ เรือลาก แพลาก เปนตน ซึ่งลักษณะพาหนะแตละอยางจะสนองวัตถุประสงค และใหบรรยากาศ

ที่แตกตางกันดวย

นอกจากน้ัน ยังสามารถแบงรูปแบบการทองเที่ยวทางน้ําแบงไดอีก 2 ลักษณะ คือ การสัญจรทางน้ําเพื่อ

การเดินทางของคนภายในทองถิ่น และการสัญจรทางน้ําเพื่อการทองเที่ยว เชน การชมเมือง การเดินทางเพื่อไปชม

สถานที่

การชมเมืองจากแมนํ้า ลําคลอง เปนท่ีนิยมสําหรับนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ เน่ืองจาก

อากาศเย็นสบาย และยังไดเห็นวิถีชีวิตความเปนอยูของชาวบานดวย เชน การซักผา การเลนนํ้าของเด็ก การเรขาย

ของตามลํานํ้า ซึ่งเปนสิ่งดึงดูดความสนใจของนักทองเที่ยว โดยเฉพาะนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ เน่ืองจากเปน

รูปแบบของวิถีชีวิตที่แตกตางจากหลายประเทศ นอกจากน้ัน ในอดีตการสัญจรทางน้ําก็เปนเสนทางสําคัญ จึงทําให

มีสถานที่สําคัญตาง ๆ ตั้งเรียงรายอยูตามเสนทางน้ําดวย

2.4.3 องคประกอบของการทองเที่ยวทางน้ํา

การทองเที่ยวทางน้ํามีองคประกอบพื้นฐานของการทองเที่ยวโดยทั่วไปคือ ทรัพยากรการทองเที่ยวและ

นักทองเที่ยว นอกจากน้ันยังประกอบดวยลักษณะที่เปนเอกลักษณเฉพาะตัว คือ การใชเรือเปนพาหนะในการ

เดินทางและมีลํานํ้าเปนเสนทางสัญจร ซึ่งมีรูปแบบแตกตางกันไปตามระยะเวลาที่ขึ้นอยูกับระยะทางของเสนทาง

การทองเที่ยว นอกจากน้ี ระยะเวลาของการทองเที่ยวทางน้ํายังขึ้นกับวัตถุประสงคของการเดินทาง เชน ถา

นักทองเที่ยวตองการเพียงเพื่อเยี่ยมชมแหลงทองเที่ยวตาง ๆ อยางฉาบฉวย ระยะเวลาในการเดินทางจะคอนขาง

สั้น แตถานักทองเที่ยวตองการสัมผัสธรรมชาติสองฝงสองฝงลํานํ้าแบบดื่มดํ่า รวมถึงการใชชีวิตบนเรือ ระยะเวลา

ในการเดินทางก็จะยาวนานขึ้น

องคประกอบสําคัญของการทองเที่ยวทางน้ํา แบงไดเปน

1) แหลงทองเท่ียว หมายถึง สถานที่หรือบริเวณที่มีเหตุจูงใจใหนักทองเที่ยวตองการที่จะเดินทาง

ทองเที่ยวเพื่อชม สัมผัส หรือประกอบกิจกรรมตามวัตถุประสงค เชน การชมโบราณสถาน การสัมผัสวิถีชีวิตของ

ชาวบานริมนํ้า เปนตน

2) บรรยากาศและทัศนียภาพ ลํานํ้า เน่ืองจากการทองเที่ยวทางน้ํามิไดหมายถึง การเดินทางจาก

จุดหน่ึงไปอีกจุดหน่ึงเทาน้ัน แตนักทองเที่ยวสามารถสัมผัสและรับความรูสึกประทับใจไดจากทัศนียภาพสองฟาก

ฝง อันเปนการใชประโยชนจากลํานํ้าไดตลอดระยะเวลาการเดินทางทางน้ํา

การทองเที่ยวทางน้ําควรใหความสําคัญกับทัศนียภาพริมนํ้าตามแมนํ้าลําคลองที่นักทองเที่ยวเดิน

ทางผานดวย เรื่องความสะอาด การควบคุมรูปแบบของอาคาร ปายโฆษณา สีทาอาคาร และสิ่งอื่น ๆ ที่มีผลตอ

ทัศนียภาพโดยรวมของพื้นท่ีริมนํ้า การควบคุมกิจกรรมริมนํ้าบางอยางที่ขัดตอความสะอาดและสุขอนามัย การ

รักษาคุณภาพของนํ้าใหใสสะอาด ปราศจากกลิ่น

46

Page 69: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

แนวความคิดเรื่องการจัดการและการใชประโยชนริมนํ้าน้ันมีอยูหลากหลาย บางหนวยงานมี

ความเห็นวา กิจกรรมริมนํ้าที่เปนวิถีชีวิตของชาวบาน เชน การซักผาริมนํ้า การอาบน้ําและเลนนํ้าริมคลอง เปนสิ่งที่

นาอับอาย ไมควรกระทําสําหรับเมืองที่มีความเจริญแลว แตในอีกมุมมองหนึ่งน้ัน วิถีชีวิตดังกลาวนับเปนความ

บริสุทธิ์ เน่ืองจากความแตกตางของสภาพแวดลอม ซึ่งสามารถแสดงออกไดถึงทัศนคติในการดําเนินชีวิต อันเปน

เอกลักษณเฉพาะทางวัฒนธรรมของแตละชนชาติ จึงควรรักษาไวใหคงอยูตอไป โดยสิ่งที่ควรใหความสําคัญและ

ระมัดระวัง คือ การรักษาความสะอาดของนํ้าไมใหเนาเสียและเกิดกลิ่นเหม็น รวมถึงการรักษาความปลอดภัยจาก

การสัญจรทางเรือ เปนตน

3) การบริการ คือ ลักษณะของยานพาหนะ การอํานวยความสะดวกบนเรือ การใหขอมูลขาวสารที่

ถูกตองโดยมีมัคคุเทศก และการสรางกิจกรรมเพื่อทดแทนความเบื่อหนายใหนักทองเที่ยวในระหวางการเดินทาง

พาหนะที่ใชสัญจรทางน้ําในปจจุบันมีหลายลักษณะ เชน เรือพาย เรือหางยาว และเรือที่ใชนํ้ามัน

ขนาดใหญ ซึ่งเรือแตละแบบจะมีขอดีและขอเสียตางกันไป เรือหางยาวจะมีขอดีคือ เปนที่สนใจของนักทองเที่ยว

โดยเฉพาะนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ เน่ืองจากไมสามารถพบเห็นไดในประเทศอื่น แตก็มีขอเสียในเรื่องของเสียง

ที่ดังมาก รวมถึงการทําลายตลิ่ง เน่ืองจากคลื่นท่ีเกิดจากความเร็วของเรือดวย สวนเรือที่ใชนํ้ามันขนาดใหญมี

ขอเสียในเรื่องความดังของเสียงที่ทําลายความเงียบสงบของพื้นท่ีริมนํ้า และขนาดที่ใหญไมสามารถลองเขาไปในลํา

คลองขนาดเล็กได

2.4.4 การกําหนดเสนทางทองเที่ยว

1) ลักษณะของเสนทางทองเที่ยว

เสนทาง ไดแก ถนน แมนํ้า คลอง ทางเทาท่ีใชเปนทางสัญจรของเมือง ซึ่งเปนระบบโครงขายท่ีใช

เชื่อมสวนตาง ๆ ของเมืองเขาไวดวยกัน มีเสนทางสายหลักและเสนทางสายรอง โดยเสนทางดังกลาวตองทําขึ้นมา

อยางชัดเจนเพียงพอใหผูมาเยี่ยมเยือนหรือผูอยูอาศัยในเมือง สามารถเชื่อมโยงสวนตาง ๆ ที่สําคัญของเมืองได

เสนทางทองเที่ยว (Tourism Route) เปนแนวทางการสัญจรที่กําหนดขึ้นสําหรับนักทองเที่ยว

เพื่อใหสามารถพบเห็นหรือเขาชมจุดที่นาสนใจตามแหลงทองเท่ียวตาง ๆ ไดงาย สะดวก ปลอดภัย ไดรับความรู

และความเพลิดเพลินจากการใชเสนทางที่จัดทําขึ้น ซึ่งเสนทางสําหรับนักทองเที่ยวอาจเปนการใชเสนทางรวมกับ

เสนทางสัญจรปกติของคนทองถิ่น หรืออาจเปนการกําหนดเสนทางขึ้นมาใหมเฉพาะเปนพิเศษสําหรับนักทองเที่ยวก็

ได

(1) การพิจารณากําหนดเสนทางทองเที่ยวจะตองสํารวจ สังเกตการณจากพฤติกรรมของนักทองเที่ยว รวมถึงแนวโนมท่ีควรจะเปนในการจัดเสนทางทองเท่ียว ซึ่งควรเริ่มตนจากการพิจารณาตําแหนงของ

แหลงทองเที่ยวประเภทตาง ๆ แลวจัดลําดับความสําคัญและความนาสนใจ จากน้ันจึงพิจาณาความสามารถในการ

เชื่อมโยงไปยังแหลงทองเที่ยวตาง ๆ เขาดวยกันไดอยางไรบาง

47

Page 70: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

(2) การจัดเสนทางในลักษณะวงบรรจบ เสนทางทองเที่ยวสวนใหญจะจัดในลักษณะที่เปนการ

สัญจรระบบวงจรบรรจบ เน่ืองจากจะทําใหนักทองเที่ยวไดพบเห็นสิ่งแปลกใหม เกิดความเพลิดเพลินไปตลอด

เสนทาง โดยไมตองยอนกลับเสนทางเดิม ซึ่งนักทองเที่ยวอาจเกิดความรูสึกเบ่ือและเสียเวลา การจัดเสนทางแบบนี้

สามารถทําได 2 ลักษณะ คือ เริ่มตนดวยการเดินเทาระยะแรก แลวจึงเปลี่ยนเปนการสัญจรโดยทางเรือในขากลับ

ซึ่งทําใหนักทองเที่ยวไดพักผอนจากการเดินทางดวยเทาในชวงแรกได

(3) การจัดเสนทางหลายเสนทาง โดยใหมีระยะเวลาที่แตกตางกัน เพ่ือเปนทางเลือกสําหรับ

นักทองเที่ยวที่มีขอจํากัดดานเวลา

(4) การใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับเสนทางและพื้นท่ีตาง ๆ ที่เดินทางผาน

(5) การคํานึงถึงความตอเน่ืองของแหลงทองเที่ยวหรือเสนทางการทองเที่ยวอื่น

2) การสํารวจเสนทางเพื่อการจัดนําเที่ยว

การสํารวจเสนทางเพื่อการทองเที่ยวในขั้นตนจะตองสํารวจสภาพภูมิศาสตรและภูมิประเทศของ

แหลงทองเที่ยวและบริเวณใกลเคียง สิ่งสําคัญที่ตองนํามาพิจารณาประกอบ ไดแก

(1) แหลงทองเที่ยว สํารวจเสนทางและหาขอมูลการทองเที่ยววาจะตองแวะที่จุดใดกอนหลัง (2) การเขาถึงแหลงทองเที่ยว แตละจุดยากงายอยางไร ตองใชพาหนะใดในการขนถาย

นักทองเที่ยว

(3) รานอาหาร รานขายของที่ระลึก และที่พัก (4) ชวงเวลาการเดินทางที่เหมาะสม

การสํารวจเสนทางสามารถแบงเปน 2 ลักษณะ คือ

(1) การสํารวจเสนทางเดิม ซึ่งจะมีประโยชนในดานการเพิ่มเติมความรูใหม ๆ เน่ืองจากยิ่ง

เวลานานมากขึ้น ก็จะมีการพัฒนาในดานตาง ๆ เพิ่มขึ้น เชน การตัดถนน รานอาหาร ที่พัก ฯลฯ วิธีการจะเริ่มจาก

การสํารวจจากเสนทางเกา และระหวางการสํารวจหากพบองคประกอบดานการทองเที่ยวที่เปลี่ยนไปหรือนาสนใจ ก็

สามารถนํามาเพิ่มเติมลงในรายการนําเท่ียวตอไปไดในอนาคต

(2) การสํารวจเสนทางใหม เปนการสํารวจเสนทางที่ยังไมเคยมีใครจัดนําเท่ียวมากอน หรือ

อาจเคยมีบางแตยังไมมากนัก สวนมากจะเปนแหลงทองเที่ยวใหมที่เขาถึงยาก ใชเวลาเดินทางนาน เปนสถานที่

ทองเที่ยวที่มีโครงสรางพื้นฐานดานสาธารณูปโภคไมดีพอ เปนการสํารวจที่คอนขางยุงยาก เน่ืองจากตองบุกเบิก

เสนทาง หารานอาหาร ที่พักใหมทั้งหมด แตตองศึกษาถึงผลกระทบในดานตาง ๆ เชน การเขาถึงยากงายอยางไร

ความปลอดภัยมีมากนอยเพียงใด มีชวงฤดูกาลทองเที่ยวหรือไม ฯลฯ นอกจากนี้ การสํารวจเสนทางใหม อาจ

หมายถึง การสํารวจเสนทางที่อาจเปนที่คุนเคยอยูแลวมาจัดรวมแหลงทองเที่ยวใหม โดยในบางครั้งอาจยังมี

เกร็ดความรูหรือมีมุมมองท่ีนาสนใจและทุกคนอาจยังไมรู ซึ่งสามารถนํามาเสนอเพ่ือเปนรูปแบบการทองเที่ยวแบบ

ใหมได

48

Page 71: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

2.4.5 พาหนะสําหรับการทองเที่ยวทางน้ํา

พาหนะที่ใชสัญจรทางน้ําในปจจุบันมีหลายลักษณะ เชน เรือพาย เรือหางยาว และเรือท่ีใชนํ้ามันขนาด

ใหญ ซึ่งเรือแตละแบบจะมีขอดีและขอเสียตางกันไป เรือหางยาวจะมีขอดีคือ เปนท่ีสนใจของนักทองเที่ยว

โดยเฉพาะนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ เน่ืองจากไมสามารถพบเห็นไดในประเทศอื่น แตก็มีขอเสียในเรื่องของเสียง

ที่ดังมาก รวมถึงการทําลายตลิ่ง เน่ืองจากคลื่นท่ีเกิดจากความเร็วของเรือดวย สวนเรือที่ใชนํ้ามันขนาดใหญมี

ขอเสียในเรื่องความดังของเสียงที่ทําลายความเงียบสงบของพื้นท่ีริมนํ้า และขนาดที่ใหญไมสามารถลองเขาไปในลํา

คลองขนาดเล็กได

ในเขตกรุงเทพมหานครมีเรือเปนพาหนะหลักที่ใชเพ่ือการเดินทางทองเที่ยวทางน้ํา 7 ประเภท คือ

1) เรือโดยสารขามฟากแมน้ําเจาพระยา เปนบริการขนสงผูโดยสารที่เดินทางไปมาระหวางฝงพระ

นครและธนบุรีกับบริเวณที่ตอเน่ืองกับจังหวัดใกลเคียง (จังหวัดนนทบุรีและสมุทรปราการ) ซึ่งไมมีจุดเชื่อมตอหรือ

สะพานขามแมนํ้าเจาพระยา เสนทางเรือโดยสารขามฟากแมนํ้าเจาพระยาที่มีผูโดยสารใชบริการมาก ไดแก เสนทาง

พระประแดง-ทาเรือเภตรา ทาดินแดง-ทาราชวงศ ทาดูเม็กซ-ทาสวนพลู ทาชาง-ทาวังหลัง ทาพรานนก-ทา

พระจันทรเหนือ ทารถไฟ-ทาสี่พระยา ฯลฯ จะเห็นวาเสนทางเรือโดยสารขามฟากแมนํ้าเจาพระยาและทุกจุดจะ

เชื่อมตอเสนทางขนสงผูโดยสารทางรถยนตซึ่งจะเปนจุดตนทางหรือปลายทางของรถเมลประจําทาง แมบางทาจะมี

สะพานเชื่อมทั้ง 2 ฝง แตผูโดยสารก็ยังนิยมใชบริการของเรือโดยสารขามฟากแมนํ้าเจาพระยาอยูเพราะสะดวก

รวดเร็วกวา และนักทองเที่ยวตางชาตินิยมทดลองนั่งเพื่อหาประสบการณ

2) เรือดวนเลียบแมน้ําเจาพระยา เปนกิจการของเอกชนคือ บริษัทเรือดวนเจาพระยา จํากัด มี

เสนทางวิ่งจากนนทบุรีมายังวัดราชสิงขร เดิมเคยวิ่งถึงถนนตก แตประสบกับความขาดทุน จึงตองตัดระยะทางนี้

ออก ปจจุบันมีทาเรือ 34 ทา คือ ทาวัดราชสิงขร-ทาวัดวรจรรยาวาส-ทาวัดเศวตฉัตร-ทาสาทร(ตากสิน)-ทาโอเรียน

เต็ล-ทาวัดมวงแค-ทาสี่พระยา-ทากรมเจาทา-ทาราชวงศ-ทาสะพานพุทธ-ทาราชินี-ทาเตียน-ทาชาง-ทาวังหลัง(ศิริ

ราช)-ทารถไฟ-ทารถไฟ-ทาพระปนเกลา-ทาบางลําพู-ทาพระราม 8-ทาเทเวศร-ทาสะพานกรุงธน-ทาวัดเทพนารี-ทา

พายัพ-ทากรมชลประทาน-ทาเขียวไขกา-ทาเกียกกาย-ทาบางโพ-ทาวัดสรอยทอง-ทาพระราม 7-ทาพิบูลสงคราม 1-

ทาวัดเขมา-ทาวัดตึก-ทาวัดเขียน-ทาพิบูลสงคราม 2-ทานนทบุรี ซึ่งทาเรือท่ีมีผูโดยสารขึ้นลงมากที่สุดคือ ทา

นนทบุรี ทาวังหลัง และทาวัดราชสิงขร ฯลฯ ซึ่งเปนทาเรือตนทางและปลายทางของเรือดวน เน่ืองจากใหความ

สะดวกรวดเร็วในการเดินทางมากกวาทางรถยนต อีกทั้งยังเปนจุดเชื่อมตอสําหรับการเดินทางดวยรถยนตดวย เรือ

ดวนที่ใชบริการมีขนาดกวาง 2.50-3.00 เมตร ความยาว 16.50-23.40 เมตร ระดับกินนํ้าลึก 0.80-1.20 เมตร

นํ้าหนัก 10.50-24.40 ตันกรอส ในแตละวันเรือแตละลําจะใชนํ้ามันโซลา ตั้งแต 150-170 ลิตร/วัน และใช

นํ้ามันเครื่องจํานวน 2 ลิตร/วัน ใชบุคลากรประจําเรือ ลําละ 3 คน ทําหนาท่ีนายทาย 1 คน กลาสีเรือ 1 คน และ

พนักงานเก็บคาโดยสาร 1 คน และมีเพียง 1 ลําเทาน้ัน ที่มีชางเครื่องประจําเรือ

3) เรือหางยาว ลักษณะของเรือเปนเรือเพลาใบจักรยาว มีจํานวน 24-40 ที่น่ังตอลํา เสนทางของ

เรือหางยาวจะเปนเสนทางติดตอระหวางพื้นท่ีสวนที่อยูลึกเขาไปทางดานฝงตะวันตกของแมนํ้าเจาพระยา

49

Page 72: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

โดยเฉพาะสวนที่ยังไมมีระบบถนนที่ดีติดตอกับทาเรือริมฝงตะวันออกของแมนํ้าเจาพระยา เสนทางเรือหางยาว

ประจําเสนทางที่มีผูโดยสารใชบริการหนาแนน ไดแก ทาชาง-บางใหญ พระประแดง-สาธุประดิษฐ ปากคลองตลาด-

บางแวก สะพานพุทธ-บางแวก คุณโกย-ประตูนํ้าฉิมพลี เปนตน โดยกําหนดจุดตนทางและปลายทางไวลักษณะ

คลายประจําทาง แตไมไดมีปายหยุดท่ีแนนอน ผูโดยสารสวนใหญจะอาศัยทานํ้าหนาบานหรือทาสวนรวม เชน ทา

วัดหรือทาสาธารณะ เปนตน เพ่ือคอยขึ้นและลงเรือ นักทองเที่ยวตางชาตินิยมเชาเหมาลําน่ังเพื่อชมเมืองทางน้ํา

4) เรือ Rice Barge หรือเรือกระแชง หรือเรือตอ ใชเปนเรือบรรทุกสินคา เชน ขาว ทราย ไมมี

เครื่องยนตในตัว ตองใชเรือท่ีมีเครื่องยนต เชน เรือหางยาว หรือเรือสองตอน เปนเรือลากจูง ตอมา เรือกระแชง

ขนาดกลางถูกนํามาดัดแปลงเพื่อใชบรรทุกนักทองเที่ยวแทน คือไดดัดแปลงภายในของเรือใหโลงโปรง โดยทําให

เปนที่น่ังยาวขนานไปกับตัวเรือท้ังสองขาง ตรงกลางตั้งโตะสําหรับวางอาหาร ดานหัวเรือมีเคานเตอรสําหรับเสริฟ

เครื่องด่ืม ดานทายเรือมีหองนํ้าไวอํานวยความสะดวกใหแกนักทองเที่ยว มีหลังคาผาใบเลื่อนขึ้นลงไดใชกันฝนและ

แดด เรือประเภทนี้มีความกวางไมเกิน 6 เมตร เรือน้ีจุผูโดยสารไดไมเกิน 30 คน ตอมามีการนําเรือกระแชงขนาด

ใหญซึ่งบรรจุนักทองเที่ยวไดถึง 70-80 คน มาดัดแปลงเปนเรือทองเที่ยว

5) เรือทองแบน หรือเรือสองตอน หรือเรือเสต็ป เปนเรือเล็กทองแบนติดเครื่องยนต ตั้งแต 2-4

สูบขึ้นไป และมีหางเสือเหมือนเรือหางยาว จุคนไดตามขนาดของเรือและเครื่องยนต มีหัวแหลม ทายตัด วิ่งไดเร็ว

อาจมีหรือไมมีหลังคา มีที่น่ัง 2 ตอน ทาเรือใชแหงเดียวกับเรือหางยาว เรือสองตอนใหบริการเหมือนมอเตอรไซต

รับจางตามปากซอย คาโดยสารเปนราคาเหมาตามระยะทางขึ้นอยูกับการตกลงราคากัน เรือสองตอนจะไมรับ

ผูโดยสารกลางทางในขณะที่มีผูโดยสารนั่งอยูในเรือ สําหรับการทองเที่ยวทางน้ํา เรือประเภทนี้นับวามีอันตรายที่สุด

เพราะการทรงตัวไมดี นํ้าหนักเบาเมื่อวิ่งดวยความเร็วสูง ทําใหการทรงตัวไมดี มักจะเกิดอุบัติเหตุเรือคว่ําหรือชน

กับเรือลําอื่นบอยครั้งกวาเรือหางยาว

6) เรือแท็กซ่ี หรือเรือตุกๆ หรือเมล เปนเรือโดยสารติดเครื่องยนต ตั้งแต 15 แรงมา ถึง 120

แรงมา มีที่น่ังและหลังคา ดานขางมีผาใบ ถาขนาดเครื่องยนต 15 แรงมา จุผูโดยสารไดไมเกิน 10 คน ขนาด

เครื่องยนต 60 แรงมา จุผูโดยสารไดไมเกิน 25 คน สามารถติดไมโครโฟน ไมมีหองนํ้า ใชบริการนักทองเที่ยว

กอนท่ีจะมีเรือหางยาวมาวิ่งในลํานํ้า ปจจุบันยังเปนที่นิยมของนักทองเท่ียว เพราะมีความเร็วปานกลาง ปลอดภัย

กวาเรือหางยาว นักทองเที่ยวสามารถถายรูปทิวทัศนขางทางไดสะดวกกวาการน่ังเรือหางยาว ทาเรือแทกซี่น้ีมี

บริการเพียงบางแหงที่เปนทาเรือทองเที่ยวเทาน้ัน เชน ทาเรือวัดสุวรรณ ทาเรือโอเรียนเต็ล และทาชาง เปนตน

7) เรือสําราญและแพสําราญ คือเรือท่ีใหบริการนักทองเที่ยวในรูปแบบของกิจกรรมพิเศษที่

นอกเหนือไปจากการขนสง เชน เรืออาหาร เรือโรงแรม เปนตน สําหรับเรืออาหารน้ัน ปจจุบันมีจํานวนมากตั้งอยู

เรียงรางตลอดลํานํ้าเจาพระยา สวนใหญเปนเรือติดเครื่องยนต ใชบริการทองเที่ยวทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน

สําหรับการบริการอาหารเย็นบนเรือ จัดในรูปแบบของทัวรที่เรียกวา Dinner Cruise หรือ Candle Light Dinner

สวนเรือโรงแรมหรือโรงแรมลอยน้ํามีผูดําเนินการเพียงรายเดียวคือ บริษัท เอเชีย โวยาช ใหบริการเรือชื่อ เมขลา

โดยจัดโปรแกรมการเดินทางเปน 2 รายการ คือ ไปเรือกลับรถและไปรถกลับเรือ สวนของแพสําราญนั้นมักเปนแพ

50

Page 73: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ที่ไมติดเครื่องยนต ตองลากดวยเรือยนตมีหลังคาคลุม ใชวิ่งในลํานํ้าเจาพระยาบริเวณที่อยูชานเมืองกรุงเทพฯ

การจราจรทางน้ําไมแนนขนัดเหมือนลํานํ้าบริเวณในเมือง เพราะแพสําราญวิ่งไดชากวาเรือประเภทอื่น

2.4.6 ทัศนียภาพริมน้ํา

การทองเที่ยวทางน้ําควรใหความสําคัญกับทัศนียภาพริมนํ้าตามแมนํ้าลําคลองที่นักทองเที่ยวเดิน

ทางผานดวย เรื่องความสะอาด การควบคุมรูปแบบของอาคาร ปายโฆษณา สีทาอาคาร และสิ่งอื่นๆที่มีผลตอ

ทัศนียภาพโดยรวมของพื้นท่ีริมนํ้า การควบคุมกิจกรรมริมนํ้าบางอยางที่ขัดตอความสะอาดและสุขอนามัย การ

รักษาคุณภาพของนํ้าใหใสสะอาด ปราศจากกลิ่น

แนวความคิดเรื่องการจัดการและการใชประโยชนริมนํ้าน้ันมีอยูหลากหลาย บางหนวยงานมีความเห็นวา

กิจกรรมริมนํ้าที่เปนวิถีชีวิตของชาวบาน เชน การซักผาริมนํ้า การอาบน้ําและเลนนํ้าริมคลอง เปนสิ่งที่นาอับอาย ไม

ควรกระทําสําหรับเมืองที่มีความเจริญแลว แตในอีกมุมมองหนึ่งน้ัน วิถีชีวิตดังกลาวนับเปนความบริสุทธิ์ เน่ืองจาก

ความแตกตางของสภาพแวดลอม ซึ่งสามารถแสดงออกไดถึงทัศนคติในการดําเนินชีวิต อันเปนเอกลักษณเฉพาะ

ทางวัฒนธรรมของแตละชนชาติ จึงควรรักษาไวใหคงอยูตอไป โดยสิ่งที่ควรใหความสําคัญและระมัดระวัง คือ การ

รักษาความสะอาดของน้ําไมใหเนาเสียและเกิดกลิ่นเหม็น รวมถึงการรักษาความปลอดภัยจากการสัญจรทางเรือ

เปนตน

2.4.7 การจัดระเบียบการสัญจรในลําน้ํา

เน่ืองจากการสัญจรทางน้ําในปจจุบันน้ีมีความหนาแนนและมีพาหนะหลายประเภท จึงควรจัดใหมี

ชองทางเดินเชนเดียวกับทางถนน ไมตองมีการแบงแนวใหเห็น แตเปนเพียงการกําหนดใหเรือประเภทใดเดินทางชิด

ฝง ประเภทใดเดินทางชวงกลาง และวิธีการเดินทางในสวนขาไปและขากลับใหวิ่งคนละฝงนํ้า เปนตน

2.4.8 การทําเขื่อนริมน้ํา

บริเวณริมนํ้าที่มีดินออนจะถูกกระแสน้ํากัดเซาะพื้นท่ีเขาไปตลอดเวลา ดังน้ันควรทําเขื่อนปองกันการกัด

เซาะริมนํ้า ซึ่งสามารถทําไดหลายแบบทั้งเขื่อนคอนกรีต เขื่อนหิน และเขื่อนไม โดยการกอสรางตองใหความสําคัญ

ในเรื่องความคงทนและแข็งแรง สําหรับแนวเขื่อนก็มีความจําเปนดวยเชนกัน เน่ืองจากจะทําใหมีความเปนระเบียบ

เรียบรอย ซึ่งควรสรางไปตามแนวทางน้ําเดิม เชน โคงไปตามแนวคุงนํ้า เปนตน

51

Page 74: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

2.4.9 ทาเรือ

ทาเรือหรือจุดขึ้นลงเรือสําหรับเรือสาธารณะและเรือสวนตัวควรแยกออกจากกัน โดยจัดที่จอดเรือไวให

เปนระเบียบและอยางเพียงพอ ทาลงเรือสาธารณะควรมีความโปรง สะอาด และกวางเพียงพอ มีการจัดระเบียบ

ภายในใหพรอมท่ีจะรับนักทองเที่ยวกลุมใหญที่จะขึ้นและลงเรือ ทาเรือบางแหงที่มีการใชงานตลอดวัน อาจ

จําเปนตองมีการแยกทาเรือสําหรับขึ้นและลงเรือออกจากกัน หรืออาจจะใชทาเรือเพียงแหงเดียว โดยให

นักทองเที่ยวในเรือขึ้นจากเรือเรียบรอยกอน จึงใหนักทองเที่ยวที่จะลงเรือเขามาท่ีทาเรือได เพื่อความเปนระเบียบ

เรียบรอยและสรางความปลอดภัยใหกับนักทองเที่ยวอีกทางหนึ่งดวย

2.4.10 ความตอเนื่องของการสัญจรทางเรือกับการสัญจรทางเทาและถนน

การจัดการบริเวณหนาทาเรือสาธารณะ ควรมีการเตรียมลานสําหรับกิจกรรมตางๆ เชน การพักรอรถ

โดยสาร หรือรถของบริษัทนําเท่ียว ซึ่งบริเวณดังกลาวควรมีลักษณะที่สะดวกคลองตัว ไมสับสนวุนวาย เปน

ระเบียบ สะอาด มีสิ่งอํานวยความสะดวก เชน เกาอ้ี หองนํ้าสาธารณะ ตูโทรศัพทสาธารณะ แผนที่สําหรับ

นักทองเที่ยว ปายขอมูล ปายบอกทาง เปนตน

2.5 นโยบายและแผนงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาการทองเที่ยวฝงธนบุรี

2.5.1 แผนแมบทอุตสาหกรรมทองเที่ยวแหงชาติ

แผนแมบทอุตสาหกรรมการทองเที่ยวแหงชาติ พ.ศ. 2544-2553 เปนกรอบการบริหารจัดการการ

ทองเที่ยวเชิงบูรณาการ โดยเสนอแนวนโยบายเชิงรุกในการบริหารอุตสาหกรรมทองเที่ยวของประเทศไทย ดังน้ี

1) พัฒนาประเทศไทยใหคงความเปนผูนําทางการทองเท่ียวในภูมิภาคเอเชียอยางตอเน่ือง เพ่ือ

กาวสูการเปนมาตรฐานสากล (World Class Destination)

2) พัฒนาการทองเที่ยวของไทยใหเปนสาขาหลักทางเศรษฐกิจที่มีความสําคัญควบคูกับสาขา

เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม

3) เรงรัดใหเกิดการกระจายตัวของนักทองเที่ยวและรายไดจากการทองเที่ยวออกสูภูมิภาคอื่นๆ

4) ปรับปรุงโครงสรางอุตสาหกรรมทองเที่ยวใหทันสมัย เพ่ือใหผูประกอบการไทยมีความพรอมใน

การแขงขันท่ีจะตามมาจากการเปดเสรีทางการคา

5) สนับสนุนใหองคกรปกครองทองถิ่นมีความพรอมและเขมแข็งในการบริหารจัดการในบริการ

ธุรกิจทองเที่ยวในพื้นท่ีอยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือผลประโยชนของทองถิ่นโดยตรง

52

Page 75: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

6) อนุรักษทรัพยากรการทองเที่ยวของไทยใหคงความเปนธรรมชาติที่สมบูรณ และสะทอนถึง

ความเปนเอกลักษณ วัฒนธรรมไทยที่ชัดเจน

2.5.2 กรอบนโยบายของคณะกรรมการ ททท. พ.ศ. 2550 – 2554

1) สงเสริมใหการทองเที่ยวมีบทบาทในการชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนทั่วทุกภูมิภาค

ของไทย และเปนเครื่องมือสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ กอใหเกิดการสรางงานและเพิ่มรายไดใหกับประเทศ 2) สงเสริมใหการทองเที่ยวของประเทศไทยเติบโตอยางยั่งยืน โดยเนนการขยายฐานตลาด

นักทองเที่ยวคุณภาพ ทั้งในพื้นท่ีใหมและในตลาดเฉพาะกลุม ภายใตการสรางความเขมแข็งของตราสินคา (Brand)

ประเทศไทยอยางตอเน่ือง 3) สงเสริมใหการทองเที่ยวเปนสวนหนึ่งของชีวิตคนไทย โดยเนนการประสานงานระหวาง

เครือขายภาครัฐกับภาคเอกชน กระตุนใหเกิดการทองเที่ยวภายในประเทศที่กอใหเกิดการเรียนรูและการสรางสรรค

ประโยชนทั้งตอสถาบันครอบครัวและตอสังคมโดยรวม อันจะนําไปสูการสรางและกระตุนจิตสํานึกรักษา

สิ่งแวดลอม รวมทั้งใหเกิดความรักและภาคภูมิใจในเอกลักษณวัฒนธรรมไทย 4) สงเสริมการทองเที่ยวใหกระจายตัวสูแหลงทองเที่ยวรองมากขึ้น เพื่อสรางสมดุลระหวางพื้นที่

ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยเนนการทองเที่ยวเชื่อมโยงระหวางกลุมจังหวัดและขามภูมิภาค 5) สงเสริมการเดินทางทองเที่ยวเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบานโดยการทําการตลาดรวมกัน เพื่อ

กระตุนใหเกิดการเดินทางทองเที่ยวทั้งภายในภูมิภาคและภายนอก อันจะนําไปสูการพัฒนาการทองเที่ยวที่ได

มาตรฐานรวมกันอยางเปนระบบ และชวยเพิ่มความสามารถทางการแขงขันของภูมิภาคในตลาดทองเที่ยวโลก 6) มุงพัฒนาองคกร ระบบบริหารจัดการ และเสริมสรางบุคลากรใหมีทักษะและขีดความสามารถ

ทางการตลาดทองเที่ยว เพื่อใหเปนองคกรแหงการขับเคลื่อน (Driving Force) ที่มีประสิทธิภาพในการดําเนินงาน

และมีศักยภาพทางการแขงขันระดับนานาชาติภายใตหลักธรรมาภิบาล รวมทั้งพัฒนาความเขมแข็งขององคกรใน

บทบาทเชิงวิชาการและองคความรูที่เกี่ยวของกับเรื่องการตลาด 7) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการทองเที่ยว เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเผยแพร

ประชาสัมพันธประเทศไทย และเสริมสรางศักยภาพในการสงเสริมการตลาดผานสื่อสารสนเทศ 8) สงเสริมการอํานวยความสะดวกและความปลอดภัยของนักทองเที่ยว โดยประสานความ

รวมมือและแกไขปญหาที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวกับหนวยงานภาครัฐและเอกชน

2.5.3 นโยบายและกลยุทธการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

วิสัยทัศนการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศในระยะ 10 ป คือ การทองเที่ยวที่มีคุณภาพ มีการจัดการ

สิ่งแวดลอม ไมมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เสริมสรางจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

53

Page 76: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

โดยการมีสวนรวมของประชาชน เพื่อใหเกิดการพัฒนาการทองเที่ยวที่ยั่งยืนสืบไป โดยมีนโยบายหลักการ

พัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ดังน้ี

1) การพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ จะตองมีการควบคุมดูแลรักษา และจัดการทรัพยากรใหคง

สภาพเดิมแทไวใหมากท่ีสุด หลีกเลี่ยงหรืองดเวนการทองเที่ยวในพื้นท่ีที่ออนไหว งายตอการถูกกระทบ และฟนตัว

ยาก

2) การจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ตองคํานึงถึงศักยภาพของทรัพยากรที่มีอยู มีการจัด

กิจกรรมที่เหมาะสม และการปรับใหเกิดความสมดุลกับรูปแบบและกิจกรรมเดิมท่ีมีอยู พึงหลีกเลี่ยงความขัดแยง

อยางรุนแรงตอการทองเที่ยวรูปแบบอื่น ๆ หากเนนในการแปรประโยชนจากการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศสูการ

จัดการทองเที่ยวโดยรวม

3) การพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ตองคํานึงถึงการพัฒนาดานการใหการศึกษา สรางจิตสํานึกท่ี

ดีในการรักษาระบบนิเวศรวมกัน มากกวาการมุงเนนความเจริญทางเศรษฐกิจ และการมีรายไดเพียงอยางเดียว

4) การจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศตองใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของประชาชน และองคกร

ทองถิ่นในการจัดการทรัพยากร การบริการ การแลกเปลี่ยนความรูและวัฒนธรรมชุมชนในกระบวนการทองเที่ยว

รวมทั้งการมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนา หรือใหประชาชนมีตัวแทนเปนคณะกรรมการรวมในทุกระดับ

5) ใหความสําคัญของการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เปนความจําเปนอันดับตน ในการ

พัฒนาการทองเที่ยวที่ยั่งยืน ทั้งน้ีใหองคการตาง ๆ กําหนดบทบาทที่ชัดเจนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

โดยมีการจัดสรรงบประมาณ บุคลากร และกําหนดวิธีการจัดการที่เหมาะสม

6) นําแผนการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศเขาสูแผนพัฒนาระดับตาง ๆ อยางมีความสําคัญ

ไดแก แผนพัฒนาทองถิ่น แผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนาภาค พรอมท้ังใหมีการจัดสรรและกระจาย

งบประมาณอยางทั่วถึงและเพียงพอ

7) สนับสนุนการศึกษา วิจัย และประเมินผลการพัฒนาอยางรอบดาน เพ่ือกําหนดแนวทางการ

จัดการ การแกไขปญหา และการปรับปรุงแผนอยางเปนขั้นตอน

8) มีการใชกฎหมายในการควบคุม ดูแล รักษาสภาพแวดลอมของแหลงทองเที่ยวอยางเครงครัด

โดยเนนการแนะนํา ตักเตือน และสรางวินัยการทองเที่ยวควบคูไปดวย

9) จัดทําแนวทางปฏิบัติ หรือคูมือการจัดการ (Code of Conduct) แกผูเกี่ยวของ เพื่อใหการมี

สวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางถูกตอง

10) จัดใหมีเครือขายการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ทั้งในแนวตั้งและแนวนอน โดยใหมีประสานงานดาน

ขอมูลขาวสารและการจัดการรวมกันทุกระดับ

54

Page 77: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

2.5.4 แผนแมบทพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

การทองเที่ยวแหงประเทศไทยไดกําหนดแนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานครและ

ปริมณฑลไว ดังน้ี 1) ศึกษาและวางแผนดานอุปสงคและการตลาดการทองเที่ยว

2) พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกสนับสนุนการทองเที่ยว

3) พัฒนาฟนฟูแหลงทองเที่ยว เนนการพัฒนาฟนฟูพื้นที่รัตนโกสินทรชั้นใน รัตนโกสินทรชั้น

กลาง รัตนโกสินทรชั้นนอก และบริเวณ 50 เขต ชั้นกลางและชั้นนอกกรุงเทพมหานคร

2.5.5 แผนแมบทเพื่อการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร

แผนแมบทเพื่อการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร ประกอบดวย 3 แผนหลัก ไดแก

1) แผนแมบทการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร (บริเวณฝงตะวันออกของแมนํ้าเจาพระยา)

เนนการปรับปรุงภูมิทัศนของเมือง โดยแผนงานกลุมท่ี 1 คือ การอนุรักษและปรับปรุงบริเวณปอมมหากาฬและ

ใกลเคียง แผนงานกลุมที่ 2 คือ การอนุรักษและพัฒนาการสัญจรทางบกและทางน้ํา บริเวณกรุงรัตนโกสินทร

ชั้นนอกและชั้นใน แผนงานกลุมท่ี 3 คือ การปรับปรุงบริเวณแมนํ้าเจาพระยา และแผนงานกลุมท่ี 4 คือ การ

ปรับปรุงบริเวณพื้นท่ีอื่น ๆ

2) แผนแมบทการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร (บริเวณฝงตะวันตกของแมนํ้าเจาพระยา)

แผนฉบับน้ีเนนการอนุรักษพื้นท่ีโบราณสถานตาง ๆ บริเวณฝงตะวันตกของแมนํ้าเจาพระยาตรงกันขามกับกรุง

รัตนโกสินทร

3) แผนแมบทเพื่อการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ระบบขนสงมวลชนทางน้ํา

ทางเดินเทา และการใชที่ดิน ประกอบดวย แผนแมบทสาธารณูปโภค แผนแมบทสาธารณูปการ และแผนแมบท

สิ่งแวดลอมและภูมิทัศนเมือง

2.5.6 วาระแหงกรุงเทพมหานคร

นอกจากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครแลว กทม. ยังมีแผนพัฒนาระยะยาวที่เรียกวา “วาระแหง

กรุงเทพมหานคร” (Bangkok Agenda) หรือ “นโยบาย 20 ปของกรุงเทพมหานคร” พ.ศ. 2545-2564 ที่มีคําม่ัน

สัญญา 10 ประการ ไดแก

1) การกําหนดยุทธศาสตรสําหรับการพัฒนากรุงเทพมหานครใหเปนเมืองนาอยูสูความยั่งยืน

2) การนําเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานครสูความยั่งยืน

3) การใชวิธีการวางผังเมืองเพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิต

55

Page 78: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

4) ปรับปรุงการจราจรและขนสงเพื่อรักษาคุณภาพอากาศ

5) การพัฒนาพื้นท่ีสีเขียวในกรุงเทพมหานคร

6) การรวมมือกันทําใหกรุงเทพมหานครเปนเมืองสะอาด

7) การมุงเนนธรรมรัฐในกรุงเทพมหานครเพื่อเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงในอนาคต

8) การทําใหประชาชนสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารของกรุงเทพมหานครไดงายและสะดวก

9) การพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหเปนเครื่องมือยุทธศาสตรในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

10) การใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนากรุงเทพมหานคร จากการศึกษานโยบายและแผนงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาการทองเที่ยวดังกลาวขางตน พบวา

แผนพัฒนาการทองเที่ยวโดยรวมจะมุงตอบสนองตอการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ทั้งในระดับนานาชาติ

ระดับประเทศ และระดับทองถิ่น

2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาในครั้งน้ี จําแนกไดเปน 5 ประเด็นหลัก ไดแก

2.6.1 ธนบุรี 2.6.2 การพัฒนาการทองเที่ยว 2.6.3 การทองเที่ยวเชิงนิเวศ

2.6.4 การทองเที่ยวทางน้ํา 2.6.5 การจัดเสนทางการทองเที่ยว

2.6.1 ธนบุรี

สุนทรีย อาสะไวย (2537) ศึกษาเรื่องพัฒนาการทางประวัติศาสตรของธนบุรีในฐานะสวนหนึ่งของดิน

ดอนสามเหลี่ยมปากแมนํ้าเจาพระยา ผลการศึกษาพบวา การเกิดและเติบโตของธนบุรีในชวงเวลาของพัฒนาการ

ทางประวัติศาสตร สามารถสะทอนใหเห็นความสัมพันธระหวางมนุษยและสภาพแวดลอมทางธรรมชาติในการ

ปรับตัวเขาหากัน ซึ่งการปรับตัวดังกลาวสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตรทางการเมือง สังคม และ

เศรษฐกิจ ทวีเดช ทองออน (2537) ศึกษาเรื่องการศึกษาคุณคาสภาพแวดลอมเมืองและชุมชนกรุงธนบุรีเพื่อการ

อนุรักษ เปนการศึกษาเพ่ือเสนอแนะแนวทางในการวางแผนอนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอมเมืองและชุมชนกรุง

ธนบุรี เพ่ือใหธนบุรีไดแสดงออกถึงคุณคาท่ีโดดเดน มีเอกลักษณ และเปนท่ีรูจักแกบุคคลทั่วไป

กิติศักด์ิ วิทยาโกมลเลิศ (2545: 190-193) ศึกษาเรื่องการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการตั้งถิ่นฐานจากชุมชน

นํ้าสูเมืองบกในพื้นท่ีเมืองฝงธนบุรี ผลการศึกษาพบวา ปจจัยที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงจากชุมชนพึ่งนํ้าสูเมืองพึ่ง

56

Page 79: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บก ประกอบดวยปจจัย 3 ประการ คือ 1) บทบาทที่เปนมาของพ้ืนท่ีทั้งจากการเชื่อมโยงในระดับที่แตกตางกัน 2)

นโยบายและคานิยมในแตละชวงยุค และ 3) ปจจัยทางกายภาพที่เปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติและโดยฝมือคน

ปจจัยท้ังหมดตางเกี่ยวเนื่องกันท้ังในชวงยุคเดียวกันและระหวางชวงยุค ซึ่งเปนกระบวนการที่สงผลตอเน่ืองมา

จนถึงปจจุบัน

จุฑามาศ ประมูลมาก (2545: 10-11) ศึกษาเรื่องการเคลื่อนไหวทางสังคมและการเมืองทองถิ่นธนบุรี

พ.ศ.2458 - 2543 เปนการศึกษาชวงเวลาที่มีเหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตรที่สงผลกระทบตอธนบุรีทั้งทางตรงและทางออม โดยศึกษาในเรื่องการเคลื่อนไหวของทองถิ่นธนบุรี 3 เหตุการณ ไดแก การเคลื่อนไหวเพื่อจัดสราง

พระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช (พ.ศ.2477 - 2497) การเคลื่อนไหวเพื่อแยกธนบุรีออกจาก

กรุงเทพมหานคร (พ.ศ.2526 และ 2536) และการเคลื่อนไหวเพื่ออนุรักษเอกลักษณทางประวัติศาสตรและ

วัฒนธรรมชุมชน ซึ่งการเคลื่อนไหวทั้งสามเหตุการณสะทอนใหเห็นสภาพอันแทจริงของเมืองและผูคนท่ีอาศัยอยูใน

พื้นท่ีฝงธนบุรีในชวงเวลาดังกลาวที่สามารถเรียกไดวา “ประวัติศาสตรธนบุรีสมัยใหม” ที่มีการเปลี่ยนแปลงและ

เรียกรองเพื่อสิทธิในดานตางๆ สุดทายแมวาบทสรุปจะมีทั้งประสบความสําเร็จและลมเหลว แตผลลัพธที่สําคัญคือ

การสรางจิตสํานึกของคนและชุมชนในทองถิ่นธนบุรีเพ่ิมมากขึ้น

เรืองศิลป หนูแกว (2546: 118-119) ศึกษาเรื่องความเปนสังคมนานาชาติของกรุงธนบุรี ระหวาง พ.ศ.

2310-2325 ผลการศึกษาพบวา กรุงธนบุรีเปนเมืองที่มีชาวตางชาติเขามาต้ังถิ่นฐานอยูเปนจํานวนมาก ไดแก จีน

มุสลิม มอญ ลาว เวียดนาม กัมพูชา และยุโรป ซึ่งมีสวนทําใหเศรษฐกิจของกรุงธนบุรีฟนตัวจากภาวะสงคราม

เพราะทําใหกรุงธนบุรีมีแรงงานและการเก็บภาษีจากการคาขาย นอกจากน้ัน ผูวิจัยยังไดกลาวถึงสังคมของธนบุรีที่

มีการพัฒนาอยางตอเน่ืองมาตั้งแตครั้งสมัยอยุธยา จากการเปนเมืองทาหนาดาน ซึ่งมีชุมชนชาวตางชาติเขามาต้ังถิ่น

ฐานอยูกอน แลวพัฒนามาเปนเมืองหลวงของไทยในป พ.ศ. 2310 ทําใหกรุงธนบุรีเปลี่ยนแปลงสูการเปนเมืองทา

นานาชาติ และเปนศูนยรวมการบริหารราชการแผนดิน กรุงธนบุรีจึงมีปรากฏการณความเปนสังคมนานาชาติ

เชนเดียวกับกรุงศรีอยุธยา

เน่ืองจากธนบุรีเปนพื้นท่ีที่มีประวัติศาสตรและความสําคัญเกี่ยวเน่ืองยาวนานคูกับประวัติศาสตรชาติ

ไทยต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน เรื่องราวของธนบุรีจึงไดรับการศึกษาอยางกวางขวางในหลายแงมุม ยกตัวอยางเชน

การศึกษาเรื่องการพัฒนาการของเมืองธนบุรีตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน การศึกษาถึงพระราชประวัติและพระราช

กรณียกิจของสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช และบทความตางๆที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมของธนบุรี แตงานวิจัยทางดาน

การทองเที่ยวกลับยังไมคอยมีผูใดใหความสนใจมากนัก จะมีก็เพียงแตหนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตรเมืองเพื่อการ

ทองเที่ยวตัวอยางเชน หนังสือ “ธนบุรี” ของสุดารา สุจฉายา หรือบทความที่เขียนถึงการทองเท่ียวและแหลง

ทองเที่ยวภายในธนบุรีเทาน้ัน ดังน้ัน ผูวิจัยจึงสนใจที่จะทําการศึกษาถึงบทบาทของธนบุรีในฐานะของการเปนแหลง

ทองเที่ยว โดยเฉพาะการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา เพ่ือประเมินศักยภาพและหาแนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวใน

พื้นท่ีฝงธนบุรีใหเกิดการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนตอไปในอนาคต

2.6.2 การพัฒนาการทองเที่ยว

57

Page 80: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

รัฐทิตยา หิรัณยหาด (2544: 80-90) ศึกษาเรื่องแนวทางการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพหมูบานวัฒนธรรม

เพื่อการทองเที่ยว กรณีศึกษาเรื่องบานหนองขาว อําเภอทามวง จังหวัดกาญจนบุรี ผลการศึกษาพบวา บานหนอง

ขาวมีศักยภาพในดานคุณคาทางการศึกษา ความปลอดภัย สาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐาน การประชาสัมพันธในการเปน

แหลงทองเที่ยว และพื้นท่ีในการรองรับการพัฒนาทางการทองเที่ยวทางวัฒนธรรมอยูในระดับสูง แตศักยภาพดาน

ความพรอมของบุคลากรและสาธารณูปโภคขั้นสูงตองมีการปรับปรุง สําหรับแนวทางการพัฒนาที่นําเสนอคือ การ

พัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน โดยใหชุมชนบริหารจัดการเองและมีองคกรภายนอกสนับสนุนใหคําปรึกษา

ดวงใจ หลอธนวณิชย และโยชิโร อิวะสะ (2545: 104-116) ศึกษาเรื่องการศึกษาเพื่อหาแนวทางการ

พัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนจังหวัดแมฮองสอน ผลการศึกษาพบวา สภาพทั่วไปดานการพัฒนาการทองเที่ยวยัง

มีปญหาในหลายดาน ไดแก การขาดความพรอมดานสาธารณูปโภคพื้นฐาน การขาดประสิทธิภาพดานการรองรับ

ของธุรกิจบริการ การขาดความตระหนักของคุณคาทรัพยากร และการไมมีการวางแผนแมบทเพื่อการกําหนด

ยุทธศาสตรแบบองครวม และไดเสนอแนวทางการพัฒนาไวดังน้ี สงเสริมการทองเที่ยวโดยจํากัดจํานวน

นักทองเที่ยว พัฒนาการทองเที่ยว ศึกษาตลาดทองเที่ยว และวิเคราะหจุดออนจุดแข็งของจังหวัดแมฮองสอนให

ชัดเจนมากขึ้น พนารัตน ไมหลงชั่ว (2545: 88-91) ศึกษาเรื่องการปรับปรุงสภาพทางกายภาพของชุมชนในเขตพื้นที่

ประวัติศาสตร กรณีศึกษา: การเปรียบเทียบความตองการระหวางนักทองเท่ียวกับผูอาศัยในชุมชนยานบางลําพู

กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบวา ทัศนคติของผูอาศัยในชุมชนแบงเปน 2 กลุม คือ กลุมท่ีเห็นดวยกับการ

ทองเที่ยว ซึ่งสวนใหญเปนกลุมท่ีเชาที่ดินเพ่ือประกอบกิจการดานการทองเที่ยว และกลุมท่ีไมเห็นดวยกับการ

ทองเที่ยว เปนกลุมที่ถือครองที่ดินโดยเปนเจาของเองและใชเพื่อการพักอาศัย สําหรับนักทองเที่ยวมีทัศนคติที่ไม

ตองการใหเปลี่ยนแปลงพื้นท่ีเพื่อการทองเที่ยว โดยรวมนักทองเที่ยวและชุมชนตองการใหอนุรักษพื้นที่ไว ถาจะมี

การพัฒนาควรเปนการพัฒนาการทองเที่ยวในเชิงอนุรักษ เพ่ือสอดคลองกับเอกลักษณพื้นท่ีทองเที่ยวทาง

ประวัติศาสตร นอกจากนั้นควรเพิ่มปริมาณถังขยะ และสิ่งอํานวยความสะดวกอื่น ๆ คือ ตนไม สวนหยอม

หองนํ้าสาธารณะ ปายบอกทาง เปนตน

สุธัญญา ทองวิชิต (2545: 163-170) ศึกษาเรื่องศักยภาพการพัฒนาทรัพยากรการทองเที่ยว:

กรณีศึกษา ตําบลบางตาเถร อําเภอสองพ่ีนอง จังหวัดสุพรรณบุรี ผลการศึกษาพบวา ศักยภาพการพัฒนา

ทรัพยากรการทองเที่ยวในตําบลบางตาเถรในภาพรวมมีศักยภาพคอนขางสูง โดยเฉพาะดานทรัพยากรทองเที่ยว

ดานตลาดทองเที่ยว และดานเศรษฐกิจและสังคม สวนดานความพรอมของทรัพยากรทองเที่ยวมีศักยภาพอยูใน

ระดับปานกลาง นอกจากน้ันผูวิจัยยังไดเสนอแนะใหมีการปรับปรุงสภาพภูมิทัศน จัดสรางสิ่งอํานวยความสะดวก

ปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานรองรับการทองเที่ยว และการสงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการจัดการการทองเที่ยว

สุพัตรา วิชยประเสริฐกุล (2545: 224-226) ศึกษาเรื่องแนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนของ

เกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ไดเสนอแนวทางไวดังน้ี 1) การพัฒนาแหลงทองเที่ยวที่มีอยูเดิมหรือจัดสรางขึ้นใหม 2)

พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวก 3) การสงเสริมดานการตลาดการทองเที่ยว รวมถึงมาตรฐาน

58

Page 81: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ของราคาสินคาและบริการ 4) สรางการมีสวนรวมของประชาชน และ 5) การจัดองคกรบริหารการทองเที่ยวภายใน

ชุมชน แลวนําเสนอเสนทางทองเที่ยวแบบใหม ในขณะที่ยังคงรักษาไวซึ่งเอกลักษณและคุณคาของเกาะเกร็ดตาม

แนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน

สุพรรณี สงวนพัฒน (2547: 85-90) ศึกษาเรื่องการพัฒนาแหลงทองเที่ยวของชุมชนไทลื้อ ตําบลหยวน

อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา ผลการศึกษาพบวา ชุมชนมีองคประกอบทางการทองเที่ยวครบทั้ง 3 ดาน คือ ดานสิ่ง

ดึงดูดใจทางการทองเที่ยว ดานสิ่งอํานวยความสะดวกทางการทองเที่ยว และดานการเขาถึงแหลงทองเที่ยว แตยังมี

จุดออนในเรื่องการรักษาความปลอดภัย สําหรับดานการมีสวนรวมของชุมชนพบวา กลุมตัวอยางมีสวนรวมในการ

วางแผนและการดําเนินกิจกรรมอยูในระดับมาก แตการลงทุนและการติดตามประเมินผลยังอยูในระดับปานกลาง

จากงานวิจัยดังกลาวขางตนจะพบวา แนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวในปจจุบันจะมุงไปสูการ

พัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (Sustainable Development) กลาวคือ องคประกอบทุกอยางของการทองเที่ยว

ก็จะตองมุงสูความยั่งยืนเชนกัน คือ กิจกรรมการทองเที่ยวจะตองสามารถดํารงอยูได มีนักทองเที่ยวมาเยือนอยู

อยางสมํ่าเสมอ การรักษาทรัพยากรการทองเที่ยวเพื่อเปนสิ่งดึงดูดใจไดตลอดไป ผูประกอบธุรกิจที่มีสวนเกี่ยวของ

กับการทองเที่ยวมีกําไร บนพื้นฐานของการดําเนินงานที่ไมทําลายธรรมชาติ ประวัติศาสตร สังคม วัฒนธรรมและ

ประเพณีอันดีงาม โดยสรุปแลวการพัฒนาการทองเที่ยวทุกรูปแบบจะตองพัฒนาไปสูจุดมุงหมายเดียวกันคือ การ

พัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน

2.6.3 การทองเที่ยวเชิงนิเวศ

นิพล เชื้อเมืองพาน (2542: 174-188) ศึกษาเรื่องแนวทางการจัดการแหลงทองเที่ยวตามหลักการการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา วนอุทยานภูชี้ฟา จังหวัดเชียงราย ผลการศึกษาพบวา ภูชี้ฟาเปนแหลงทองเที่ยวทาง

ธรรมชาติที่โดดเดนดานรูปรางทางธรณีวิทยาและพืชพรรณ และมีชาวเขาเผามงอาศัยอยู แตยังขาดกระบวนการ

บริหารและจัดการ ยังไมมีการจัดอบรมความรูแกคนในทองถิ่นและมัคคุเทศก ขาดการสื่อความหมาย รวมทั้ง

ประชาชนยังไมมีสวนรวมในการจัดการการทองเที่ยว

จินตนา พงศถิ่นทองงาม (2543: 102-108) ศึกษาเรื่องการพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมเรื่องการจัดการการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศคลองมหาสวัสด์ิและคลองโยงสําหรับสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลอําเภอพุทธมณฑล

จังหวัดนครปฐม ผลการศึกษาพบวา ผูเขารับการอบรมมีความรูและเจตคติทางบวกตอเรื่องการจัดการการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศเพิ่มขึ้น และเห็นดวยวาหลักสูตรฝกอบรมมีความเหมาะสมมากไดรับประโยชนและความรูจาก

การอบรม โดยมีขอเสนอแนะคือ ควรใหหนวยงานที่เกี่ยวของพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมและสื่อการสอนเชน วีดิ

ทัศนเรื่องการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศในลําคลองสําหรับสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล

วิทยา เกียรติวัฒน (2543: 138-143) ศึกษาเรื่องความเปนนักทองเที่ยวเชิงนิเวศของนักทองเที่ยวชาว

ไทย กรณีศึกษาอําเภออุงผาง จังหวัดตาก ผลการศึกษาพบวา นักทองเที่ยวมีพฤติกรรมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ มี

ความรูเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ และมีความเปนนักทองเที่ยวเชิงนิเวศอยูในระดับปานกลาง แตนักทองเที่ยว

59

Page 82: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ยังขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางแทจริง จึงมีขอเสนอแนะใหหนวยงานที่เกี่ยวของ

สงเสริมใหความรูเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ และจัดกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมเพื่อสรางจิตสํานึกตอการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศ

วัชณุพันธ วณิชชาภิวงศ (2543: 161-173) ศึกษาเรื่องแนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศใน

อุทยานแหงชาติภูกระดึง จากผลการศึกษาไดนําเสนอแนวทางการพัฒนาไวดังน้ี 1) การแบงพื้นที่ออกเปน 3 เขต

คือ เขตบริการ เขตทองเที่ยวเชิงนิเวศ และเขตสงวน 2) ใชมาตรการควบคุมนักทองเที่ยว 3) จัดทําหลักสูตร

ฝกอบรมดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ พัฒนาระบบสื่อความหมาย และใหความรูแกนักทองเที่ยว 4) จัดต้ังองคกร

ระดับทองถิ่น เพ่ือมีสวนรวมดานการทองเที่ยว 5) พัฒนากิจกรรมการทองเที่ยงเชิงนิเวศ 6) ประชาสัมพันธและ

สงเสริมตลาดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ และ 7) ปองกันและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับสิ่งแวดลอม

นิฐริน ไลพันธ (2544: 68-73) ศึกษาเรื่องศักยภาพและแนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

อุทยานแหงชาติภูจองนายอย จังหวัดอุบลราชธานี ผลการศึกษาพบวา อุทยานแหงชาติภูจองนายอยมีศักยภาพดาน

พื้นท่ีธรรมชาติที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศและดานการจัดการสิ่งแวดลอมและการทองเที่ยวอยางยั่งยืนสูง เหมาะสม

ตอการเปนแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศ ดานกิจกรรมการทองเที่ยวที่เปนสิ่งแวดลอมศึกษามีศักยภาพปานกลาง และ

ดานการมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการการทองเที่ยวมีศักยภาพตํ่า นอกจากน้ัน ผูวิจัยยังไดเสนอแนวทางการ

พัฒนาอุทยานแหงชาติภูจองนายอยเพื่อการทองเที่ยวเชิงนิเวศไวดังน้ี 1) การจัดการทรัพยากรการทองเที่ยว 2)

การใหการศึกษาและสรางจิตสํานึก 3) การมีสวนรวมของประชาชนทองถิ่น 4) การสงเสริมการตลาดและการนํา

เท่ียว 5) การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการบริการ และ 6) การสงเสริมการลงทุน

อิทธพล ไทยกมล (2545: 79-82) ศึกษาเรื่องศักยภาพของชุมชนทองถิ่นในการจัดการการทองเที่ยวเชิง

นิเวศ กรณีศึกษาชุมชนตําบลบางหญาแพรก จังหวัดสมุทรสาคร ผลการศึกษาพบวา ปจจัยบงชี้เกี่ยวกับศักยภาพ

ของชุมชนในการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศมี 4 ปจจัยหลัก คือ ดานลักษณะพื้นท่ี ดานการจัดการการทองเที่ยว

อยางมีความรับผิดชอบ ดานกิจกรรมและกระบวนการที่เอ้ือตอการเรียนรู และดานการมีสวนรวม จากน้ันเม่ือนํามา

ประเมินศักยภาพพบวา ชุมชนตําบลบางหญาแพรกมีศักยภาพในการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศในระดับปาน

กลาง ซึ่งขอจํากัดสําคัญที่พบคือ เรื่องการพัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกพื้นฐาน เชน ที่พัก ศูนยบริการ

นักทองเที่ยว ทางเดินศึกษาธรรมชาติ และระบบกําจัดของเสีย

ดารุณี บุญธรรม และคณะ (2546: 96-100) ศึกษาเรื่องการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรม

โดยชุมชนชาวมงบานนํ้าคะ-สานกวย ตําบลผาชางนอย อําเภอปง จังหวัดพะเยา ผลการศึกษาพบวา ชุมชนมงบาน

นํ้าคะ-สานกวยมีศักยภาพดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และมีสถานที่

ทองเที่ยวที่สําคัญหลายแหง มีกลุมคณะกรรมการที่เปนกําลังสําคัญในการขับเคลื่อนกระบวนการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

มีการจัดกระบวนการเรียนรูสรางโอกาสใหกลุมคนในสังคมทุกกลุมใหมีสวนรวมในกิจกรรมของชุมชน

รัตนะ บุลประเสริฐ (2547: 111-121) ศึกษาเรื่องแบบจําลองการประเมินศักยภาพการทองเที่ยวเชิง

นิเวศในพื้นท่ีลุมนํ้า กรณีศึกษา ลุมนํ้าเชิงเขาหวยโจ อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม โดยการสรางแบบจําลองเชิง

พื้นท่ีขึ้นมา 2 แบบจําลอง ผลการศึกษาพบวา แบบจําลองที่ 1 มีความเหมาะสมที่จะใชประเมินการจัดกลุมชั้น

60

Page 83: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ความเหมาะสมพื้นท่ีในระดับลุมนํ้า ซึ่งแบงได 2 รูปแบบคือ กลุมพ้ืนท่ีสันโดษเปนพ้ืนท่ีดานตอนบน และกลุมพ้ืนท่ี

ธรรมชาติเปนพ้ืนท่ีดานตอนลาง สวนแบบจําลองที่ 2 มีความเหมาะสมสําหรับประเมินระดับศักยภาพการ

พัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นท่ีลุมนํ้าแบบมีสวนรวมของชุมชนและลักษณะเอกลักษณทางธรรมชาติ จากผล

การประเมินศักยภาพของพื้นที่ลุมนํ้าเชิงเขาหวยโจอยูระดับที่มีศักยภาพนอยไมเหมาะสมที่จะพัฒนาการทองเที่ยว

เชิงนิเวศในระดับพื้นท่ีลุมนํ้า แตมีความเหมาะสมในระดับปานกลางที่จะพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศเฉพาะจุดหรือ

พื้นท่ีในบางสวนเทาน้ัน

โดยสรุปจากผลงานวิจัยตางๆดังกลาวขางตนจะพบวา การทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนรูปแบบของการ

ทองเที่ยวที่มุงใหเกิดการดูแลรักษาสิ่งแวดลอมของแหลงทองเที่ยวและทรัพยากรตางๆในระบบนิเวศ ซึ่งเปนสวน

หน่ึงของการทองเที่ยวเชิงอนุรักษที่มีเปาหมายสูงสุดในการพัฒนาไปสูการทองเที่ยวอยางยั่งยืน โดยองคประกอบ

พื้นฐานของการทองเที่ยวเชิงนิเวศก็มีลักษณะเหมือนกับการทองเที่ยวประเภทอื่นก็คือ ทรัพยากรแหลงทองเที่ยว

(Tourism Resource) บริการการทองเที่ยว (Tourism Service) และตลาดการทองเที่ยว (Tourism Market or

Tourist) นอกจากน้ัน การทองเที่ยวเชิงนิเวศนั้นยังตองประกอบดวยองคประกอบเฉพาะที่แสดงถึงความเปนการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศ น่ันคือ การมีทรัพยากรการทองเที่ยวที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ การจัดการดานสิ่งแวดลอมและ

การทองเที่ยวอยางยั่งยืน การสรางรูปแบบและกิจกรรมการทองเที่ยวในลักษณะของสิ่งแวดลอมศึกษา และการเปด

โอกาสใหชุมชนทองถิ่นมีสวนรวมในกระบวนการจัดการการทองเที่ยว

2.6.4 การทองเที่ยวทางน้ํา

ปญญา รอดเชื้อ (2539) ศึกษาเรื่องการศึกษาความเปนไปไดในการจัดการการทองเท่ียวทางเรือตาม

แนวคลองแสนแสบ ผลการศึกษาพบวาการจัดการทองเที่ยวทางเรือตามแนวคลองแสนแสบมีความเปนไปไดใน

ระดับปานกลางคอนขางสูง โดยมีปจจัยสนับสนุน 3 ประการ คือ ความมีศักยภาพสูงของแหลงทองเที่ยว ความ

ตองการของนักทองเที่ยวและความพรอมของชุมชน / ผูประกอบการ และผลประโยชนทางดานเศรษฐกิจที่จะ

เกิดขึ้น แตยังมีขอจํากัดในการดําเนินงานในดานตางๆ คือ ขาดการสงเสริมการลงทุน และปญหาดานผลกระทบ

สิ่งแวดลอมอยูในระดับสูง ซึ่งผูวิจัยไดใหขอเสนอแนะไว คือ การแกไขกฎหมายที่เกี่ยวของกับการใชประโยชนทาง

นํ้าและมีหนวยงานที่รับผิดชอบอยางมีเอกภาพ เชื่อมโยงการทองเที่ยวทางเรือกับการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ

(Ecotourism) สงเสริมการลงทุนและการมีสวนรวมของหนวยงานตาง ๆ พัฒนาแหลงทองเที่ยว และการสรางเรือ

ที่ไมมีสรางมลภาวะตอสิ่งแวดลอม

ประดับ เรียนประยูร (2541) ศึกษาเรื่องแนวทางการพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลงทองเที่ยวและสงเสริม

เศรษฐกิจชุมชน ตลาดนํ้าตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร จากผลการศึกษาพบวา ตลาดนํ้าตลิ่งชันมีศักยภาพดานคุณคา

ทางวัฒนธรรมสูง ซึ่งแสดงออกถึงวิถีชีวิตของชุมชนริมนํ้า แตกิจกรรมที่จัดขึ้นในตลาดน้ําน้ันสงผลเสียตอคุณภาพ

ของนํ้าในคลอง นอกจากน้ันกลุมตัวอยางยังเห็นดวยอยางยิ่งตอแผนพัฒนา โดยมีปจจัยที่มีอิทธิพลตอการยอมรับ

61

Page 84: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

และความเปนไปไดของแผนปฏิบัติการ ไดแก ดานงบประมาณ ดานนโยบายของรัฐ ดานวัฒนธรรมและการ

ทองเที่ยว ดานสิ่งแวดลอม และดานการมีสวนรวมของชุมชน

ประหยัด ตะคอนรัมย (2544: 189-190) ศึกษาเรื่อง แนวทางการจัดการการทองเที่ยวโดยชุมชน:

กรณีศึกษา ตลาดริมนํ้าดอนหวาย จังหวัดนครปฐม ผลการศึกษาพบวา ปจจัยสําคัญในการดึงดูดนักทองเที่ยวคือ

รสชาติอาหารและความเปนเอกลักษณของตลาดริมนํ้า สวนปญหาที่เกิดขึ้นในแหลงทองเที่ยว ไดแก 1) การบริการ

การทองเที่ยว 2) ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมโดยเฉพาะแหลงนํ้า 3) ขาดการบริหารจัดการที่ดีภายในชุมชน 4) การ

จัดเก็บผลประโยชนที่ไมโปรงใสและเปนธรรม 5) ขาดงบประมาณ 6) ขาดการประสานงานกับหนวยงานอื่น และ 7)

ประชาชนยังไมมีสวนรวมอยางจริงจัง ซึ่งผูวิจัยไดใหขอเสนอแนะไว ไดแก ปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารและ

จัดการการทองเที่ยวโดยชุมชนแบบใหม สงเสริมใหมีการเชื่อมโยงไปยังแหลงทองเที่ยวขางเคียง สงเสริมการพัฒนา

แหลงทองเที่ยว ภายใตหลักการการทองเที่ยวแบบยั่งยืน

วิยะดา เสรีวิชยสวัสด์ิ (2545: 53-61) ศึกษาเรื่องความพึงพอใจของนักทองเที่ยวตอการบริการของ

ธุรกิจนําเท่ียวทางเรือลองแมนํ้าโขง: กรณีศึกษา แมสลองทัวร ผลการศึกษาพบวา นักทองเที่ยวมีความพอใจตอการ

บริการในระดับปานกลาง สวนความชํานาญของกัปตันเดินเรือและประสบการณที่ไดรับระหวางเดินทางเปนสิ่งที่

นักทองเที่ยวพึงพอใจมาก และผูวิจัยไดใหขอเสนอแนะในเรื่องของการปรับลดราคาคาบริการ ปรับปรุงรสชาติของ

อาหาร การเพิ่มอุปกรณชวยชีวิต รวมถึงการปรับปรุงหองนํ้า หองพักใหสะอาดและทันสมัย

ธีระศักด์ิ ลอยศักด์ิ (2546: 132-143) ศึกษาเรื่องการวางแผนพัฒนาการทองเที่ยวและชุมชนคลองบาง

เชือกหนัง กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบวา คลองบางเชือกหนังเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาใหเปน

แหลงทองเที่ยวทางนํ้าเพ่ือรองรับตลาดการทองเที่ยวทางนํ้าที่มีแนวโนมเพ่ิมขึ้นอยางตอเน่ือง โดยผูวิจัยไดนําเสนอ

ปจจัยในการพัฒนาการทองเที่ยวและชุมชนไว 4 ประการ คือ ดานสภาพของพ้ืนที่ที่เอื้ออํานวยตอการพัฒนา ดาน

ทิศทางการพัฒนาตามนโยบายหรือกรอบการพัฒนาโดยรวม ดานความพรอมของชุมชน และดานองคกรความ

รวมมือในการพัฒนา โดยมีเปาหมายใหเกิดการพัฒนาการทองเที่ยวในชุมชนอยางยั่งยืน

มณีวรรณ ผิวน่ิม (2546: 2-8) ศึกษาเรื่องการพัฒนาการและผลกระทบของการทองเที่ยว กรณีศึกษา

ชุมชนตลาดน้ํา โดยทําการศึกษาในพื้นท่ี 2 แหง คือ ตลาดนํ้าดําเนินสะดวก จ.ราชบุรี เปนการพัฒนาจากตลาดขาย

ของทางน้ําของชาวบานสูการเปนตลาดเพื่อนักทองเที่ยว และตลาดน้ําตลิ่งชัน จ.กรุงเทพ ฯ ซึ่งไมใชตลาดด้ังเดิม

ของชาวบาน แตเกิดจากการสรางตลาดใหมในที่ดินของราชการเพื่อเปนแหลงขายสินคาทางการเกษตรใหแกชุมชน

จากผลการศึกษาพบวา การทองเที่ยวมีผลกระทบตอชุมชนทั้งสองแหงทั้งในดานบวกและดานลบ คือผลกระทบตอ

ทั้งสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมภายในชุมชน นอกจากน้ันผูวิจัยยังไดกลาวถึงศักยภาพของการ

จัดการการทองเที่ยวแบบตลาดน้ําน้ันยังมีอยูมาก เน่ืองจากเปนกิจกรรมที่มีลักษณะเฉพาะตัว เปนท่ีชื่นชอบของ

นักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ และคนในชุมชนก็ยังตองการใหมีการทองเที่ยวแบบตลาดน้ําน้ีตอไป

โดยเห็นวาตลาดนํ้าน้ันสามารถพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนได โดยเฉพาะการใหชุมชนเขาไปมีสวนรวมใน

การวางแผนและดําเนินการ รวมทั้งการสรางกิจกรรมที่มีการนําเสนอมิติทางวัฒนธรรมของวิถีชีวิตริมคลองมากกวา

เนนดานการขายของเพียงอยางเดียว

62

Page 85: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ธาดา สุทธิธรรม (2547: 122-133) ศึกษาเรื่องการพัฒนาการทองเที่ยวแหลงทรัพยากรทางวัฒนธรรม

ตามเสนทางลําแมนํ้ามูล ผลการศึกษาพบวา เสนทางทองเที่ยววัฒนธรรมทางน้ําที่มีศักยภาพสูงและปานกลางมีอยู

ใน 2 จังหวัด คือ นครราชสีมาและอุบลราชธานี ซึ่งเสนทางดังกลาวสามารถพัฒนาใหเปนการทองเที่ยวเชิงนิเวศได

เน่ืองจากมีแหลงทองเท่ียวทางวัฒนธรรมริมฝงนํ้าท่ีนาสนใจ และเปนแหลงธรรมชาติที่อุดมดวยสัตวชายนํ้าท่ียังมี

ชีวิตและแหลงซากสัตวที่สูญพันธุไปแลว แนวทางการพัฒนาควรไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐดานสิ่งอํานวยความ

สะดวกพื้นฐาน การปรับปรุงภูมิทัศน และการสรางแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมที่เหมาะสมตามศักยภาพของพื้นท่ี

จากงานวิจัยที่เกี่ยวกับการทองเที่ยวทางนํ้าสามารถกลาวไดวา การทองเที่ยวทางนํ้านับเปนรูปแบบการ

ทองเที่ยวที่กําลังไดรับความนิยมสูงขึ้น โดยเฉพาะการลองเรือชมสภาพธรรมชาติ การเที่ยวชมตลาดน้ําและสัมผัส

กับรูปแบบของวิถีชีวิตของชาวบาน ซึ่งการทองเที่ยวทางนํ้าเปนการทองเที่ยวที่มีเอกลักษณเฉพาะตัวนอกเหนือจาก

องคประกอบการทองเที่ยวทั่วไปก็คือ การใชเรือเปนพาหนะการเดินทาง โดยมีลํานํ้าตาง ๆ เชน คลอง แมนํ้า ทะเล

เปนเสนทางสัญจร ซึ่งรูปแบบการทองเที่ยวก็จะแตกตางกันออกไปตามระยะเวลา ระยะทาง เสนทางการเดินทาง

หรือจุดประสงคในการเดินทาง ดังน้ัน การพัฒนาการทองเที่ยวทางน้ําจึงตองมีการศึกษาทั้งระบบ ไดแก ดาน

กายภาพของลํานํ้าและแหลงทองเที่ยว การศึกษาทางดานการตลาด การศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ

สังคม และวัฒนธรรมของพื้นท่ีดวย

2.6.5 การพัฒนาเสนทางการทองเที่ยว

มุทิตา ปนสุนทร (2542: 143-148) ศึกษาเรื่องการวางแผนเสนทางจักรยานที่เหมาะสมเพื่อการ

ทองเที่ยวในเขตกรุงรัตนโกสินทร เพ่ือชวยแกปญหาการนํารถบัสขนาดใหญเขาไปในเขตพื้นท่ีดังกลาว ซึ่งทําใหเกิด

แรงสั่นสะเทือนท่ีเปนอันตรายตอโบราณสถาน รวมถึงปญหาการจราจรและมลพิษทางอากาศ แตเน่ืองจากการ

สงเสริมการใชจักรยานเพื่อการทองเที่ยวไดน้ันจะตองมีระบบสาธารณูปโภครองรับอยางเพียงพอ โดยเฉพาะความ

ปลอดภัยของผูใชจักรยาน จากผลการศึกษาผูวิจัยไดเสนอเสนทางจักรยานเพื่อการทองเที่ยวกรุงรัตนโกสินทร

ระยะทางประมาณ 13.5 กิโลเมตร โดยจัดทําเปนแผนที่เสนทางจักรยาน ซึ่งนักทองเท่ียวสามารถเที่ยวชมแหลง

ทองเที่ยวทางโบราณสถานและวัฒนธรรม ยานหรือชุมชน รานคาตาง ๆ ที่นาสนใจ

ศิริพร สรอยนาคพงษ (2543: 107-110) ศึกษาเรื่องการพัฒนาและทดลองใชคูมือทองเที่ยว

โบราณสถานในเขตอุทยานประวัติศาสตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผูวิจัยไดลําดับขั้นตอนการวิจัยไว 3 ขั้นตอน

ดังน้ี 1) เตรียมการสรางคูมือ 2) นําไปพัฒนาโดยใหผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบความเหมาะสม แลวนําไปทดลองใชกับ

นักทองเที่ยว 1 และ 5 คนตามลําดับ และ 3) นําคูมือท่ีสมบูรณไปทดลองใชจริงกับนักทองเที่ยว 60 คน

ผลการวิจัยพบวา กลุมตัวอยางมีความรูเพิ่มขึ้น และเห็นวาเปนคูมือที่นาสนใจ ซึ่งสวนใหญตองการคูมือทองเท่ียว

โบราณสถานเชิงอนุรักษในสถานที่ทองเที่ยวอื่น ๆ ดวย

นิตยา พัดเกาะ (2546: 111-114) ศึกษาเรื่องเสนทางและการใชจักรยาน ในเขตเทศบาลนครราชสีมา

เพื่อศึกษาเสนทางจักรยาน พฤติกรรมและความตองการของกลุมตัวอยางตอการใชจักรยาน รวมถึงการเสนอ

63

Page 86: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

โครงขายเสนทางจักรยานพรอมสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อใชในการเดินทางและทองเที่ยว ผลการศึกษาพบวา ยัง

ไมมีการจัดเสนทางจักรยานที่มีโครงขายครอบคลุมพ้ืนท่ีเขตเทศบาล และพฤติกรรมในการใชรถจักรยานของ

เปลี่ยนไป จึงจําเปนตองมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพื้นท่ีและเสนทางใหเขายุคสมัย โดยกลุมตัวอยางสวนใหญ

ตองการเสนทางจักรยานที่ปลอดภัยและมีสิ่งอํานวยความสะดวก ซึ่งเหตุผลในการใชจักรยานสวนใหญก็เพื่อออก

กําลังกาย ซื้อของ ไปโรงเรียน สวนนักทองเที่ยวจะใชเพ่ือการนันทนาการ จึงควรออกแบบเสนทางและระบบการ

เดินทางใหเอ้ือประโยชนแกกิจกรรมดังกลาว

ปนายุ ไชยรัตนานนท (2546: 213-250) ศึกษาเรื่องแนวทางการจัดเสนทางจักรยาน เพื่อสงเสริมการ

ทองเที่ยวภายในเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา เน่ืองจากปจจุบันการทองเที่ยวโดยรถจักรยานภายในเกาะเมือง

อยุธยาเริ่มเปนท่ีนิยมของนักทองเที่ยว แตยังไมมีการจัดโครงขายเสนทางจักรยานอยางเปนระบบตอเน่ืองกัน ซึ่ง

จากผลการศึกษาพบวา นักทองเที่ยวสวนใหญเห็นดวยกับการใชรถจักรยานเพื่อการทองเที่ยว โดยเสนทางจักรยาน

ที่จัดทําขึ้นน้ันสามารถรองรับนักทองเที่ยวที่เดินทางมาดวยยานพาหนะตาง ๆ ไดทุกประเภท และยังสามารถเดิน

ทางผานสถานที่ทองเที่ยวทุกแหงภายในเกาะเมืองอยุธยาไดโดยใชถนนสายหลักรวมกับสายรอง นอกจากน้ันยังได

ใหขอเสนอแนะดานนโยบาย ดานกายภาพและสิ่งอํานวยความสะดวกรวมกับเสนทางจักรยาน รวมถึงการจัดทํา

เสนทางใหสอดคลองกับระยะเวลาการมาเที่ยวของนักทองเที่ยวดวย

เสาวลักษณ จันทราสกุล (2546: 77-78) ศึกษาเรื่องการสรางและทดลองใชคูมือทองเที่ยวโบราณสถาน

ในเขตพระราชวังสนามจันท จังหวัดนครปฐม ผลการศึกษาพบวา นักทองเท่ียวไดเรียนรูเรื่องโบราณสถานในเขต

พระราชวังสนามจันทเพ่ิมขึ้นจากการอานคูมือทองเท่ียวที่ผูวิจัยไดสรางและและพัฒนาขึ้น นักทองเท่ียวสวนใหญ

เห็นวาเปนคูมือท่ีนาสนใจ มีความพึงพอใจคูมือทองเที่ยวมาก และสวนใหญระบุวามีความตองการคูมือทองเที่ยว

เชิงอนุรักษในสถานที่อื่น ๆ ดวย และเห็นวาคูมือทองเที่ยวฉบับน้ีมีคุณคาสาระที่เหมาะสมและควรเผยแพรตอไป

สมพร จรูญแสง (2546: 73-76) ศึกษาเรื่องการพัฒนาคูมือศึกษาธรรมชาติเพื่อการทองเที่ยวประจํา

เสนทางเดินปา อุทยานแหงชาติแกงกระจาน ผลการศึกษาพบวา คูมือทําใหนักทองเที่ยวมีความรูความเขาใจ

เกี่ยวกับสภาพธรรมชาติในพื้นท่ีอุทยาน ฯ มากขึ้น และนักทองเที่ยวมีความพึงพอใจคูมือมาก โดยเห็นวาควรที่จะ

พัฒนาและผลิตคูมือขึ้นเพื่อเผยแพรและจําหนายใหนักทองเที่ยวไดใชในโอกาสตอไป ผูวิจัยยังไดสรุปไววาการใช

คูมือศึกษาธรรมชาติน้ีเปนสื่อท่ีจะสามารถเพิ่มความรู ความเขาใจใหแกนักทองเท่ียวได ซึ่งชวยใหเกิดการกระตุน

จิตสํานึกที่ดีในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติตอไปในอนาคต

อภิรัตน รองโสภา (2546: 129-130) ศึกษาเรื่องการใชจักรยานเพื่อการทองเที่ยวเชิงอนุรักษในเขต

เทศบาลเมืองนครปฐม ผลการศึกษาพบวา เสนทางจักรยานที่มีศักยภาพในการใชเพ่ือการเดินทางทองเที่ยวเชิง

อนุรักษในเขตเทศบาลเมืองนครปฐมมี 4 เสนทาง ไดแก ถนนหนองขาหยั่ง-พระราชวังสนามจันท ถนนหนาพระ-

พระปฐมเจดีย ถนนราชดําเนิน-พระปฐมเจดีย-พระราชวังสนามจันท และสถานีรถไฟนครปฐม-พระปฐมเจดีย

รวมทั้งยังไดเสนอแนะใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับการทองเที่ยวเชิงอนุรักษดวยจักรยาน และมาตรการตางๆ

ที่สนับสนุนใหเกิดการเดินทางดวยรถจักรยานอยางปลอดภัย

64

Page 87: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

การวางแผนและพัฒนาเสนทางการทองเที่ยวน้ันเปนการศึกษาถึงลักษณะและรูปแบบของการใหบริการ

และการประเมินถึงสภาพการณของเสนทางการทองเที่ยวที่มีการใหบริการอยูแลว รวมทั้งการสํารวจหาเสนทาง

ทองเที่ยวใหม ปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น เพื่อเสนอแนะเสนทางการทองเที่ยวแนวใหม โดยตองคํานึงถึงปจจัย

ตาง ๆ ไดแก เปนเสนทางที่สามารถเขาถึงแหลงทองเที่ยว รวมทั้งยังสามารถติดตอเชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยว

บริเวณใกลเคียงได และตองมีสิ่งอํานวยความสะดวกพื้นฐานตามสมควรและเหมาะสมกับรูปแบบการทองเที่ยวแต

ละประเภท และที่สําคัญตองเปนเสนทางการทองเที่ยวที่มีความปลอดภัย เน่ืองจากความปลอดภัยนับเปนเหตุผล

สําคัญขอหน่ึงตอการตัดสินใจไปทองเที่ยวยังสถานที่ใด ๆ ก็ตาม

เน่ืองจากงานวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยมีกระบวนการทดลอง (Experimental Process) เปนขั้นตอนหน่ึงในการวิจัย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อตองการพัฒนารูปแบบและ

เสนทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในพื้นท่ีฝงธนบุรีในเขตบางกอกนอยและเขตบางกอกใหญ ซึ่งการวิจัยดังกลาว

น้ีนอกจากจะเปนแนวทางสําหรับนําไปใชพัฒนารูปแบบและเสนทางการทองเที่ยวทางน้ําในพื้นที่อื่น ๆ ที่มีลักษณะ

ใกลเคียงกันแลว ยังสามารถจะใชเปนแนวทางสําหรับการวิจัยอื่น ๆ ตอไปในอนาคตดวย

65

Page 88: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยเชิงทดลองเพื่อพัฒนารูปแบบการทองเท่ียวเชิงนิเวศทางน้ํา กรณีศึกษา “ยอน

รอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี” โดยผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอนตางๆ ดังน้ี 3.1 การศึกษาขอมูลเบ้ืองตน

3.2 การกําหนดประชากรและการเลือกกลุมตัวอยาง

3.3 การพัฒนาและการสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย

3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล

3.5 การจัดกระทําและการวิเคราะหขอมูล

3.1 การศึกษาขอมูลเบื้องตน

จากความมุงหมายที่ตองการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในพื้นท่ีเขตบางกอกนอย เขต

บางกอกใหญ เขตตลิ่งชัน และเขตธนบุรีน้ัน มีขั้นตอนในการศึกษาขอมูลเบ้ืองตน ดังน้ี 1) ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับประวัติศาสตรอดีตราชธานีธนบุรี วิถีชีวิต ความเปนอยู ชุมชนทองถิ่นที่

สําคัญ ประเพณีและวันสําคัญตาง ๆ จากตํารา เอกสาร หนังสือ และแหลงขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่เกี่ยวของ

2) ศึกษาการจัดการทองเที่ยวในพื้นท่ีวิจัย โดยเฉพาะการทองเที่ยวทางน้ําจากหนวยงานทั้งภาครัฐ

และเอกชน

3) ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการทองเที่ยวทางน้ําบนพื้นฐานของการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

จากตํารา เอกสารดานการทองเที่ยว และปรึกษาผูทรงคุณวุฒิเฉพาะสาขา เพ่ือนํามาเปนกรอบแนวทางในการพัฒนา

รูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา

4) ปรึกษาคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ และผูเชี่ยวชาญ ดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศและ

ดานประวัติศาสตร เพ่ือขอคําแนะนําในการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในพื้นท่ีวิจัย

3.2 การกําหนดประชากรและการเลือกกลุมตัวอยาง

3.2.1 ประชากร

1) ทรัพยากรการทองเที่ยวจํานวนทั้งหมด 118 แหง แบงเปนทรัพยากรการทองเที่ยวในเขต

บางกอกนอย 36 แหง (สํานักงานเขตบางกอกนอย. 2550: ออนไลน) เขตบางกอกใหญ 18 แหง (สํานักงานเขต

Page 89: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

67

บางกอกใหญ. 2550: ออนไลน) เขตตลิ่งชัน 34 แหง (สํานักงานเขตตลิ่งชัน. 2550: ออนไลน) และเขตธนบุรี 30

แหง (สํานักงานเขตธนบุรี. 2550: ออนไลน) 2) นักทองเที่ยว ไดแก นักทองเที่ยวที่เดินทางมาทองเที่ยวในกรุงเทพมหานคร ป 2549 รวม

ทั้งหมด 36,172,138 คน แบงเปนนักทองเที่ยวชาวไทย 23,800,757 คน และนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ

12,371,381 คน (การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. 2550: ออนไลน)

3) ประชาชนทองถิ่น ไดแก ประชาชนในเขตบางกอกนอยจํานวน 129,686 คน เขตบางกอกใหญ

จํานวน 81,743 คน เขตตลิ่งชันจํานวน 108,567 คน และเขตธนบุรีจํานวน 133,536 คน รวมทั้งหมด 453,532

คน (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2550: ออนไลน) 4) ผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว ไดแก ผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวเฉพาะที่จดทะเบียน ณ

สํานักงานทะเบียนเขตกรุงเทพมหานคร และเปนกลุมที่มีใบอนุญาตประเภทตางประเทศ-ในประเทศ มีที่ตั้งอยูใน

เขตบางกอกนอยจํานวน 14 แหง เขตบางกอกใหญจํานวน 9 แหง เขตตลิ่งชันจํานวน 9 แหง และเขตธนบุรีจํานวน

12 แหง รวมทั้งเขตพระนคร 87 แหง เน่ืองจากเปนพื้นท่ีซึ่งมีความเชื่อมโยงดานการทองเที่ยวกับพื้นท่ีฝงธนบุรี

คอนขางสูง รวมทั้งหมด 131 แหง (การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. 2550: ออนไลน)

5) มัคคุเทศก ไดแก มัคคุเทศกที่ไดรับใบอนุญาตประเภททั่วไปตางประเทศ (บัตรสีบรอนซเงิน)

และในประเทศ (บัตรสีบรอนซทอง) เฉพาะที่จดทะเบียน ณ สํานักงานทะเบียนเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน

ทั้งหมด 16,436 คน (การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. 2550: ออนไลน)

3.2.2 การเลือกกลุมตัวอยาง

1) ทรัพยากรการทองเที่ยว ใชวิธีการสุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive sampling) รวม

ทั้งหมด 36 ตัวอยาง แบงเปน ทรัพยากรการทองเที่ยวเขตบางกอกนอย 13 ตัวอยาง ไดแก วัดระฆังโฆสิตาราม

วัดอมรินทราราม วัดสุวรรณาราม วัดศรีสุดาราม วัดครุฑ วัดสุวรรณคีรี วัดปาเชิงเลน บานบุ สถานีรถไฟบางกอก

นอย บานชางหลอ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี ที่นอนบางกอกนอย วังหลังและกําแพงวังวังหลัง เขต

บางกอกใหญ 8 ตัวอยาง ไดแก วัดอรุณราชวราราม วัดโมลีโลกยาราม วัดเครือวัลย วัดหงสรัตนาราม วัดสังข

กระจาย วัดประดูฉิมพลี พระราชวังเดิม และมัสยิดตนสน เขตตลิ่งชัน 8 ตัวอยาง ไดแก วัดรัชฎาธิษฐาน วัดกาญ

จนสิงหาสน วัดปากนํ้าฝงใต วัดเกาะ วัดสะพาน ตลาดน้ําตลิ่งชัน ตลาดนํ้าคลองลัดมะยม และสวนกลวยไม เขต

ธนบุรี 7 ตัวอยาง ไดแก วัดกัลยาณมิตร วัดอินทาราม วัดราชคฤห วัดปากนํ้า วัดเวฬุราชิน วัดอัปสรสวรรค และ

ศาลเจาเกียนอันเกง

2) นักทองเที่ยว ใชวิธีการสุมกลุมตัวอยางแบบเจาะจง โดยการคัดเลือกนักทองเที่ยวเขารวมการ

ทดลองทั้งหมด 4 กลุม มีการกําหนดคุณสมบัติของกลุมตัวอยางการทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิม (กลุมควบคุม X)

และกลุมตัวอยางการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา ครั้งที่ 3 (กลุมทดลอง X3) ใหมีคุณลักษณะใกลเคียงกัน ไดแก

67

Page 90: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

68

เพศ อายุ การศึกษา การทํางาน ฯลฯ เพ่ือปองกันปญหาความแตกตางระหวางบุคคล อันจะสงผลตอผลการทดลอง

ได รวมกลุมตัวอยางทั้งหมด 27 ตัวอยาง แบงเปนกลุมตาง ๆ ดังน้ี

(1) การทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิม (กลุมควบคุม X) จํานวน 10 ตัวอยาง เน่ืองจากเปน

ขนาดของกลุมตัวอยางที่พอดีและเหมาะสมตอการทองเที่ยวทางน้ําดวยเรือขนาดบรรทุกไมเกิน 10 คนตอลํา (2) การทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา ครั้งที่ 1 (กลุมทดลอง X1) เปนการทดลองแบบรายบุคคล

จํานวน 2 ตัวอยาง

(3) การทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา ครั้งที่ 2 (กลุมทดลอง X2) เปนการทดลองแบบกลุมยอย

จํานวน 5 ตัวอยาง (4) การทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา ครั้งที่ 3 (กลุมทดลอง X3) เปนการทดลองแบบกลุมใหญ

จํานวน 10 ตัวอยาง

3) ประชาชน จํานวนทั้งหมด 100 ตัวอยาง โดยใชวิธีการสุมตัวอยางแบบงาย (Simple random

sampling)

4) ผูประกอบธุรกิจนําเท่ียวเฉพาะที่จดทะเบียน ณ สํานักงานทะเบียนเขตกรุงเทพมหานคร

จํานวนทั้งหมด 57 ตัวอยาง โดยใชวิธีการสงจดหมายเก็บขอมูล

5) มัคคุเทศก จํานวนทั้งหมด 99 ตัวอยาง โดยใชวิธีการสุมตัวอยางแบบงายสําหรับการเก็บขอมูล

3.3 การพัฒนาและการสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย

การวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยที่ตองการทราบความคิดเห็นของผูมีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาการทองเที่ยว

เชิงนิเวศทางน้ําในพื้นท่ีวิจัย ดังน้ัน ผูวิจัยจึงตองสรางเครื่องมือที่เหมาะสมกับประชากรและกลุมตัวอยาง เพื่อใหได

ผลการวิจัยท่ีสอดคลองและตรงตามวัตถุประสงคของการดําเนินการวิจัย โดยผูวิจัยไดกําหนดเครื่องมือท่ีจะใชใน

การวิจัยไว ดังน้ี 3.3.1 แบบสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยว

แบบสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยวน้ีมีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาและเก็บรวบรวมขอมูลของทรัพยากรการ

ทองเที่ยวริมแมนํ้าและลําคลองในพื้นท่ีเขตบางกอกนอย บางกอกใหญ ตลิ่งชัน และธนบุรี ซึ่งเปนการเก็บรวบรวม

ทั้งขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิรวมกัน สําหรับใชประกอบการตัดสินใจในการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ทางนํ้าฝงธนบุรีในพื้นท่ีดังกลาว โดยมีประเด็นหลักของแบบสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยว ดังน้ี

1) ลักษณะทางกายภาพ

- ที่ตั้ง : สามารถมองเห็นไดอยางงายดาย ลักษณะการใชพื้นท่ีใหเหมาะสมตามประเภทของ

แหลงทองเที่ยว เชน วัด ชุมชน และการเชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวอื่น

68

Page 91: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

69

- การเขาถึง : สามารถเขาถึงไดงายและสะดวก ความปลอดภัยในการเดินทาง คุณภาพของ

เสนทางทองเที่ยวทางน้ํา มีปายบอกเสนทางชัดเจน

- ความสมบูรณของทรัพยากร : ความอุดมสมบูรณของทรัพยากร ความมีคุณคาหรือ

เอกลักษณเฉพาะตัว มีความเปนมาทางดานประวัติศาสตรที่สืบคนได

- การจัดการดานสาธารณูปโภค ไดแก ไฟฟา ประปา โทรศัพท และการจัดการดาน

สาธารณูปการ ไดแก ถนน ทางเดิน ที่จอดรถ สุขา ที่น่ังพักผอน รานขายอาหารและเครื่องด่ืม

2) การจัดการดานสิ่งแวดลอม

- การจัดการขยะมูลฝอย : รูปแบบ ลักษณะ และจํานวนของอุปกรณรองรับขยะมูลฝอย

- ความสะอาดของน้ําบริเวณแมนํ้า / ลําคลอง

- อากาศไมมีฝุน ควัน และกลิ่นเหม็น มีการถายเทอากาศไดดี

- ไมมีเสียงดังรบกวน

3) การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น

- จัดกิจกรรมรวมกับชุมชนทองถิ่น เชน อบรมใหความรูตาง ๆ เกี่ยวกับประวัติความเปนมา

ของชุมชนของตนเอง

- เปดโอกาสสรางรายไดใหกับชุมชนทองถิ่น เชน จัดใหมีตลาดชุมชนทองถิ่น จัดให

มัคคุเทศกทองถิ่น พนักงานรักษาความปลอดภัย

4) คุณคาดานการศึกษาและการเรียนรู

- การจัดทําปายสื่อความหมาย

- มีศูนยบริการนักทองเที่ยวกอนเที่ยวชม

- แจกหรือจําหนายเอกสารเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยว

โดยมีตัวอยางแบบสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยว ดังตาราง 6

ตาราง 6 ตัวอยางแบบสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดาน

ส่ิงแวดลอม

การมีสวนรวมของ

ชุมชนทองถิ่น

คุณคาดานการศึกษา

และเรียนรู

เขตบางกอกนอย

เขตบางกอกใหญ

เขตตลิ่งชัน

เขตธนบุรี

69

Page 92: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

70

3.3.2 แบบสอบถามนกัทองเที่ยว

แบบสอบถามความคิดเห็นของนักทองเที่ยวแบงเปน 3 สวน ดังน้ี สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของนักทองเที่ยว ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด และอาชีพหลัก

จํานวนทั้งหมด 4 ขอ

สวนที่ 2 ความพึงพอใจของนักทองเที่ยวตอรูปแบบการทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิมและการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา มีลักษณะเปนคําถามแบบมาตรประเมินคา (Rating scale) ตามระดับของการประเมิน 5

ระดับ คือ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด จํานวนทั้งสิ้น 15 ขอ โดยมีเกณฑการใหคะแนน ดังน้ี

- มากท่ีสุด คิดเปนคะแนน 5 คะแนน

- มาก คิดเปนคะแนน 4 คะแนน

- ปานกลาง คิดเปนคะแนน 3 คะแนน

- นอย คิดเปนคะแนน 2 คะแนน - นอยที่สุด คิดเปนคะแนน 1 คะแนน

สวนที่ 3 ความรูความเขาใจของนักทองเที่ยวตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ มีลักษณะเปนคําถามท่ีตอง

เลือกตอบจากคําตอบ 3 ขอ คือ ถูกตอง ไมถูกตอง ไมแนใจ จํานวนทั้งสิ้น 15 ขอ ประกอบดวย

- คําถามขอความเชิงบวก จํานวน 8 ขอ คือ 9.1), 9.5), 9.7), 9.9), 9.12), 9.13), 9.14) - คําถามขอความเชิงลบ จํานวน 7 ขอ คือ 9.2), 9.3), 9.4), 9.6), 9.8), 9.10), 9.11), 9.15)

โดยมีเกณฑการใหคะแนน ดังน้ี

ขอความเชิงบวก ขอความเชิงลบ

ถูกตอง 1 -1 ไมถูกตอง -1 1 ไมทราบ 0 0

สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในพื้นท่ีฝงธนบุรี

โดยมีลักษณะเปนคําถามปลายปดและคําถามเปด จํานวนทั้งหมด 3 ขอ ตัวอยางแบบสอบถามความพึงพอใจของนักทองเที่ยว

70

Page 93: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

71

แบบประเมินความพึงพอใจของนักทองเที่ยว

โครงการวิจัย การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา กรณีศึกษา : ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี

สวนที่ 1 ขอมูลท่ัวไปของนักทองเที่ยว

1. เพศ Δ 1) ชาย Δ 2) หญิง

2. อายุ (โปรดระบุ) .................... ป

Δ 1) ต่ํากวา 20 ป Δ 2) 20 – 30 ป Δ 3) 31 – 40 ป Δ 4) 41 – 50 ป Δ 5) 51 - 60 ป Δ 6) สูงกวา 60 ปข้ึนไป

3. ..........

สวนที่ 2 ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวตอทรัพยากรการทองเที่ยวในเสนทางทองเที่ยวทางน้ําฝงธนบุรี

1. ทานมีความคิดเห็นตอภาพรวมของแหลงทองเที่ยวในเสนทางทองเที่ยวทางน้ําฝงธนบุรีอยางไรบาง

ความพึงพอใจตอสภาพแหลงทองเที่ยว เสนทางทองเที่ยวทางน้ําฝงธนบุรี

มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

1) ความสมบูรณของสภาพธรรมชาติ 2) ความสวยงามของทัศนียภาพ 3) .....

สวนที่ 2 ความรูความเขาใจของนักทองเที่ยวตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

2. ทานมีความคิดเห็นอยางไรตอขอความดังตอไปนี้ ความคิดเห็นตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ถูกตอง ไมถูกตอง ไมทราบ

1) เปนการทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวธรรมชาติหรือวัฒนธรรมของทองถ่ิน

ตางๆ ที่มีเอกลักษณเปนของตนเอง

2) เปนการทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวธรรมชาติที่มีการตกแตงและ

สรางใหม เพ่ือใหดูทันสมัยและมีความสะดวกสบายเสมือนอยูในเมือง

3) ..... สวนที่ 3 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ฝงธนบุรี

3. ทานคิดวา ปจจุบันน้ีภาพรวมของพื้นที่ฝงธนบุรีมีปญหาดานการทองเที่ยวหรือไม Δ 1) ไมมี

Δ 2) มี ไดแก

- ......................................................................................................................................................................

- ......................................................................................................................................................................

4. ทานมีขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยว โดยเฉพาะการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ฝงธนบุรีอยางไรบาง Δ 1) ...........................................................................................................................................................................

Δ 2) ..........................................................................................................................................................................

71

Page 94: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

72

3.3.3 แบบสอบถามประชาชนทองถิ่น

แบบสอบถามประชาชนทองถิ่นแบงประเด็นท่ีตองการจะสอบถามออกเปน 4 สวน ดังน้ี

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของประชาชนทองถิ่น ไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา

อาชีพหลัก / เสริม รายได ระยะเวลาการตั้งถิ่นฐาน และการเปนสมาชิกกลุมในชุมชน รวมทั้งสิ้น 9 ขอ สวนที่ 2 ความรูความเขาใจของประชาชนทองถิ่นตอการทองเท่ียวเชิงนิเวศ มีลักษณะเปนคําถาม

แบบมาตรประเมินคา (Rating scale) ตามระดับของการประเมิน 5 ระดับ คือ เห็นดวยอยางยิ่ง เห็นดวย ไมมี

ความเห็น ไมเห็นดวย และไมเห็นดวยอยางยิ่ง จํานวนทั้งสิ้น 15 ขอ ประกอบดวย - คําถามขอความเชิงบวก จํานวน 9 ขอ คือ ขอ 10.1), 10.3), 10.4), 10.8), 10.9), 10.10),

10.11), 10.14) 10.15)

- คําถามขอความเชิงลบ จํานวน 6 ขอ คือ ขอ 10.2), 10.5), 10.6), 10.7), 10.12), 10.13)

โดยมีเกณฑการใหคะแนน ดังน้ี

เกณฑการใหคะแนน

ขอความเชิงบวก ขอความเชิงลบ เห็นดวยอยางยิง่ 5 1 เห็นดวย 4 2 ไมมีความเห็น 3 3 ไมเห็นดวย 2 4

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 1 5

การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความรูความเขาใจของประชาชนทองถิ่นตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศทั้งใน

ภาพรวมและในรายขอใชเกณฑในการวิเคราะหและแปลผลขอมูล ดังน้ี - คะแนนเฉลี่ย 4.21 - 5.00 กําหนดใหอยูในเกณฑ มีความรูความเขาใจมากที่สุด - คะแนนเฉลี่ย 3.41 - 4.20 กําหนดใหอยูในเกณฑ มีความรูความเขาใจมาก - คะแนนเฉลี่ย 2.61 - 3.40 กําหนดใหอยูในเกณฑ มีความรูความเขาใจปานกลาง - คะแนนเฉลี่ย 1.81 - 2.60 กําหนดใหอยูในเกณฑ มีความรูความเขาใจนอย - คะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.80 กําหนดใหอยูในเกณฑ มีความรูความเขาใจนอยที่สุด

สวนที่ 3 ความคิดเห็นของประชาชนทองถิ่นตอการมีสวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

มีลักษณะเปนคําถามแบบมาตรประเมินคา (Rating scale) ตามระดับของการประเมิน 5 ระดับ คือ เห็นดวยอยาง

ยิ่ง เห็นดวย ไมมีความเห็น ไมเห็นดวย และไมเห็นดวยอยางยิ่ง จํานวนทั้งสิ้น 10 ขอ ประกอบดวย - คําถามขอความเชิงบวก จํานวน 6 ขอ คือ ขอ 11.1), 11.3), 11.4), 11.7), 11.9), 11.10)

72

Page 95: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

73

- คําถามขอความเชิงลบ จํานวน 4 ขอ คือ 11.2), 11.5), 11.6), 11.8) โดยเกณฑการใหคะแนน ดังน้ี

เกณฑการใหคะแนน

ขอความเชิงบวก ขอความเชิงลบ เห็นดวยอยางยิง่ 5 1 เห็นดวย 4 2 ไมมีความเห็น 3 3 ไมเห็นดวย 2 4

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 1 5

การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นตอการมีสวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศทั้ง

ในภาพรวมและในรายขอใชเกณฑในการวิเคราะหและแปลผลขอมูล ดังน้ี - คะแนนเฉลี่ย 4.21 - 5.00 กําหนดใหอยูในเกณฑ มีสวนรวมมากที่สุด - คะแนนเฉลี่ย 3.41 - 4.20 กําหนดใหอยูในเกณฑ มีสวนรวมมาก - คะแนนเฉลี่ย 2.61 - 3.40 กําหนดใหอยูในเกณฑ มีสวนรวมปานกลาง - คะแนนเฉลี่ย 1.81 - 2.60 กําหนดใหอยูในเกณฑ มีสวนรวมนอย - คะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.80 กําหนดใหอยูในเกณฑ มีสวนรวมนอยท่ีสุด

สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ โดยมีลักษณะเปน

คําถามปลายปด (Close ended question) และคําถามเปด (Open ended question) รวมทั้งสิ้น 5 ขอ

ตัวอยางแบบสอบถามของประชาชนทองถิ่น

แบบสอบถามประชาชนทองถิ่น โครงการวิจัย

การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา กรณีศึกษา : ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี

สวนที่ 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม

1. เพศ Δ 1) ชาย Δ 2) หญิง

2. อายุ (โปรดระบุ) .................... ป

Δ 1) ต่ํากวา 20 ป Δ 2) 20 – 30 ป Δ 3) 31 – 40 ป Δ 4) 41 – 50 ป Δ 5) 51 - 60 ป Δ 6) สูงกวา 60 ปข้ึนไป

73

Page 96: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

74

3. ..........

สวนที่ 2 ความรูความเขาใจของประชาชนทองถ่ินตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ 10. ทานมีความคิดเห็นอยางไรตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ดังตอไปนี้

การทองเที่ยวเชิงนิเวศ เห็นดวย

อยางย่ิง เห็นดวย

ไมมี

ความเห็น ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวย

อยางย่ิง

10.1) เปนการจัดการการทองเที่ยวที่ไมกอใหเกิดการทําลาย

ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรม

10.2) รายไดจากกิจกรรมดานการทองเที่ยวเปนเพียงรายได

เสริมของครอบครัวเทาน้ัน ไมจําเปนตองใหความสําคัญ

มากนัก

10.3) ........... สวนที่ 3 ความคิดเห็นของประชาชนทองถ่ินตอการมีสวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

11. ทานมีความคิดเห็นอยางไรตอการมีสวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ดังตอไปนี้

การมีสวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เห็นดวย

อยางย่ิง เห็นดวย

ไมมี

ความเห็น ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวย

อยางย่ิง

11.1) เม่ือเกิดปญหาในแหลงทองเท่ียวของชุมชน จะตอง

รวมกันหาแนวทางแกไขและปองกันตอไป

11.2) การดูแลพฤติกรรมของนักทองเที่ยวในแหลง

ทองเที่ยวของชุมชน เปนหนาที่ของเจาหนาที่รัฐเทาน้ัน

11.3) .......... สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ฝงธนบุรี

12. ทานคิดวา ชุมชนของทานเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศหรือไม Δ 1) เหมาะสม เพราะ ...................................................................................................................................

Δ 2) ไมเหมาะสม เพราะ ...............................................................................................................................

13. ทานคิดวา ชุมชนของทานควรมีการจัดการดานการทองเที่ยวโดยดําเนินอยางไร

Δ 1) ชุมชนดําเนินการเอง

Δ 2) บุคคลภายนอกชุมชนเขามาดําเนินการ

Δ 3) ชุมชนรวมดําเนินงานกับบุคคลภายนอก 14. ..............

74

Page 97: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

75

3.3.4 แบบสอบถามผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว

แบบสอบถามผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวแบงประเด็นท่ีตองการจะสอบถามออกเปน 4 สวน ดังน้ี

สวนที่ 1 เปนคําถามเกี่ยวกับขอมูลท่ัวไปของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว ไดแก เพศ อายุ ระดับ

การศึกษา ตําแหนง ระยะเวลาการทํางาน ประเภทของธุรกิจหลักและเสริม ลักษณะเปนคําถามปลายปด (Close

ended question) และคําถามเปด (Open ended question) รวมทั้งหมด 6 ขอ สวนที่ 2 เปนคําถามเกี่ยวกับความคิดเห็นตอการทองเที่ยวในพื้นท่ีเขตฝงธนบุรี มีลักษณะเปน

คําถามปลายปดแบบใหเลือกตามลําดับกอนหลัง (Ranking item) จํานวน 1 ขอ และ

คําถามแบบมาตรประเมินคา (Rating scale) ตามระดับของการประเมิน 5 ระดับ คือ มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด จํานวนทั้งสิ้น 13 ขอ มีเกณฑการใหคะแนน ดังน้ี

- มากท่ีสุด คิดเปนคะแนน 5 คะแนน

- มาก คิดเปนคะแนน 4 คะแนน

- ปานกลาง คิดเปนคะแนน 3 คะแนน

- นอย คิดเปนคะแนน 2 คะแนน

- นอยที่สุด คิดเปนคะแนน 1 คะแนน

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวตอความพรอมของ

ปจจัยตาง ๆ ดานการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรีทั้งในภาพรวมและในรายขอ ใชเกณฑในการวิเคราะหและแปลผล

ขอมูล ดังน้ี - คะแนนเฉลี่ย 4.21 - 5.00 กําหนดใหอยูในเกณฑ ความพรอมของปจจัยมากท่ีสุด - คะแนนเฉลี่ย 3.41 - 4.20 กําหนดใหอยูในเกณฑ ความพรอมของปจจัยมาก - คะแนนเฉลี่ย 2.61 - 3.40 กําหนดใหอยูในเกณฑ ความพรอมของปจจัยปานกลาง - คะแนนเฉลี่ย 1.81 - 2.60 กําหนดใหอยูในเกณฑ ความพรอมของปจจัยนอย - คะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.80 กําหนดใหอยูในเกณฑ ความพรอมของปจจัยนอยที่สุด

สวนที่ 3 เปนคําถามเรื่องนโยบายและความคิดเห็นตอรูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศ มีลักษณะเปน

คําถามที่ตองเลือกตอบจากคําตอบ 3 ขอ คือ ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ ไมทราบ จํานวนทั้งสิ้น 15 ขอ ประกอบดวย

- คําถามขอความเชิงบวก จํานวน 8 ขอ คือ 9.1), 9.2), 9.4), 9.6), 9.7), 9.11), 9.14), 9.15) - คําถามขอความเชิงลบ จํานวน 7 ขอ คือ 9.3), 9.5), 9.8), 9.9), 9.10), 9.12), 9.13)

สวนที่ 4 เปนคําถามเกี่ยวกับปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวเชิง

นิเวศในพื้นท่ีฝงธนบุรี โดยมีลักษณะเปนคําถามปลายเปด จํานวนทั้งหมด 3 ขอ

ตัวอยางแบบสอบถามผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว

75

Page 98: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

76

แบบสอบถามผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว

โครงการวิจัย การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา กรณีศึกษา : ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี

สวนที่ 1 ขอมูลท่ัวไป

1. เพศ Δ 1) ชาย Δ 2) หญิง

2. อายุ (โปรดระบุ) .................... ป

Δ 1) ต่ํากวา 20 ป Δ 2) 20 – 30 ป Δ 3) 31 – 40 ป Δ 4) 41 – 50 ป Δ 5) สูงกวา 50 ปข้ึนไป

3. ..........

สวนที่ 2 ความคิดเห็นตอการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรี 7. ทานคิดวา แหลงทองเที่ยวใดในฝงธนบุรีที่ไดรับความนิยมมากที่สุด (โปรดเรียงลําดับใน 5 ลําดับแรก)

Δ 1) วัดระฆังโฆษิตาราม ........... Δ 2) กําแพงวังหลัง .......... Δ 3) สถานีรถไฟบางกอกนอย .......

Δ 4) คลองบางกอกนอย .......... Δ 5) ชุมชนบานชางหลอ .......... Δ 6) พิพิธภัณฑเรือพระราชพิธี ......

Δ 7) วัดอรุณราชวราราม .......... Δ 8) พระราชวังเดิม .......... Δ 9) กุฎีเจริญพาศน .........

Δ 10) มัสยิดตนสน .......... Δ 11) วัดสุวรรณาราม .......... Δ 12) ..........

8. ทานมีความคิดเห็นอยางไรตอความพรอมของปจจัยตาง ๆ ดานการทองเที่ยวในเสนทางทองเที่ยวทางน้ําฝงธนบุรี

ความพรอมของปจจัยดานการทองเที่ยวใน

เสนทางทองเที่ยวทางน้ําฝงธนบุรี มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

8.1) ความสมบูรณของสภาพธรรมชาติ

8.2) ความสวยงามของทัศนียภาพ

8.3) ..........

สวนที่ 3 นโยบายของผูประกอบการดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

9. หนวยงานหรือองคกรของทานมีนโยบายและการดําเนินการดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางไรบาง นโยบาย ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ ไมทราบ

9.1) จดทะเบียนถูกตองตามพระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก

พุทธศักราช 2535

9.2) มีนโยบายเรื่องการประกอบธุรกิจนําเที่ยวเชิงนิเวศอยางชัดเจน

9.3) ..........

สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ฝงธนบุรี

10. ทานคิดวา พ้ืนที่ฝงธนบุรีเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศหรือไม 10.

Δ 1) เหมาะสม เพราะ....................................................................................................................................

Δ 2) ไมเหมาะสม เพราะ................................................................................................................................

76

Page 99: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

77

11. ทานคิดวา ปจจุบันน้ีภาพรวมของการทองเที่ยวในพ้ืนที่ฝงธนบุรีมีปญหาหรือไม อยางไร 11.

Δ 1) ไมมี

Δ 2) มี ไดแก

- ......................................................................................................................................................................

- ......................................................................................................................................................................

12. .............

3.3.5 แบบสอบถามมัคคุเทศก

แบบสอบถามมัคคุเทศกแบงประเด็นท่ีตองการจะสอบถามออกเปน 4 สวน ดังน้ี สวนที่ 1 เปนคําถามเกี่ยวกับขอมูลท่ัวไปของมัคคุเทศก ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได

ประเภทบัตรมัคคุเทศก ประสบการณการทํางาน จํานวนทั้งหมด 6 ขอ สวนที่ 2 เปนคําถามเกี่ยวกับความคิดเห็นตอการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรี มีลักษณะเปนคําถาม

ปลายปดแบบใหเลือกตามลําดับกอนหลัง (Ranking item) จํานวน 1 ขอ และ คําถามแบบมาตรประเมินคา (Rating scale) ตามระดับของการประเมิน 5 ระดับ คือ มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด จํานวนทั้งสิ้น 13 ขอ โดยมีเกณฑการใหคะแนน ดังน้ี

- มากท่ีสุด คิดเปนคะแนน 5 คะแนน

- มาก คิดเปนคะแนน 4 คะแนน

- ปานกลาง คิดเปนคะแนน 3 คะแนน

- นอย คิดเปนคะแนน 2 คะแนน - นอยที่สุด คิดเปนคะแนน 1 คะแนน

การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอความพรอมของปจจัยตาง ๆ ดานการ

ทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรีทั้งในภาพรวมและในรายขอ ใชเกณฑในการวิเคราะหและแปลผลขอมูล ดังน้ี - คะแนนเฉลี่ย 4.21 - 5.00 กําหนดใหอยูในเกณฑ ความพรอมของปจจัยมากท่ีสุด - คะแนนเฉลี่ย 3.41 - 4.20 กําหนดใหอยูในเกณฑ ความพรอมของปจจัยมาก - คะแนนเฉลี่ย 2.61 - 3.40 กําหนดใหอยูในเกณฑ ความพรอมของปจจัยปานกลาง - คะแนนเฉลี่ย 1.81 - 2.60 กําหนดใหอยูในเกณฑ ความพรอมของปจจัยนอย - คะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.80 กําหนดใหอยูในเกณฑ ความพรอมของปจจัยนอยที่สุด

สวนที่ 3 เปนคําถามเกี่ยวกับความคิดเห็นตอการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ มีลักษณะเปน

คําถามแบบมาตรประเมินคาตามระดับของการประเมิน 5 ระดับ คือ เห็นดวยอยางยิ่ง เห็นดวย ไมมีความเห็น ไม

เห็นดวย และไมเห็นดวยอยางยิ่ง จํานวนทั้งหมด 15 ขอ โดยประกอบดวย

77

Page 100: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

78

- คําถามขอความเชิงบวก จํานวน 8 ขอ คือ ขอ 9.1), 9.3), 9.7), 9.8), 9.10), 9.11), 9.14),

9.15) - คําถามขอความเชิงลบ จํานวน 7 ขอ คือ ขอ 9.2), 9.4), 9.5), 9.6), 9.9), 9.12), 9.13)

การวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศทั้งในภาพรวม

และในรายขอ โดยใชเกณฑในการวิเคราะหและแปลผลขอมูล ดังน้ี - คะแนนเฉลี่ย 4.21 - 5.00 กําหนดใหอยูในเกณฑ เห็นดวยมากที่สุด - คะแนนเฉลี่ย 3.41 - 4.20 กําหนดใหอยูในเกณฑ เห็นดวยมาก - คะแนนเฉลี่ย 2.61 - 3.40 กําหนดใหอยูในเกณฑ เห็นดวยปานกลาง - คะแนนเฉลี่ย 1.81 - 2.60 กําหนดใหอยูในเกณฑ เห็นดวยนอย - คะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.80 กําหนดใหอยูในเกณฑ เห็นดวยนอยที่สุด

สวนที่ 4 เปนคําถามเกี่ยวกับความคิดเห็นและขอเสนอแนะของประชาชนทองถิ่นตอการจัดการการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศ โดยมีลักษณะเปนคําถามปลายปด (Close ended question) และคําถามเปด (Open ended

question) จํานวนทั้งหมด 3 ขอ

ตัวอยางแบบสอบถามมัคคุเทศก

แบบสอบถามมัคคุเทศก

โครงการวิจัย การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา กรณีศึกษา : ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี

สวนที่ 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม

1. เพศ Δ 1) ชาย Δ 2) หญิง

2. อายุ (โปรดระบุ) .................... ป

Δ 1) ต่ํากวา 20 ป Δ 2) 20 – 30 ป Δ 3) 31 – 40 ป Δ 4) 41 – 50 ป Δ 5) 51 – 60 ป Δ 6) สูงกวา 60 ปข้ึนไป

3. ..........

สวนที่ 2 ความคิดเห็นตอการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรี 7. ทานคิดวา แหลงทองเที่ยวใดในฝงธนบุรีที่ไดรับความนิยมมากที่สุด (โปรดเรียงลําดับใน 5 ลําดับแรก)

Δ 1) วัดระฆังโฆษิตาราม ........... Δ 2) กําแพงวังหลัง .......... Δ 3) สถานีรถไฟบางกอกนอย .......

Δ 4) คลองบางกอกนอย .......... Δ 5) ชุมชนบานชางหลอ .......... Δ 6) พิพิธภัณฑเรือพระราชพิธี ......

Δ 7) วัดอรุณราชวราราม .......... Δ 8) พระราชวังเดิม .......... Δ 9) .........

78

Page 101: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

79

8. ทานมีความคิดเห็นอยางไรตอความพรอมของปจจัยตางๆดานการทองเที่ยวในเสนทางทองเที่ยวทางน้ําฝงธนบุรี

ความพรอมของปจจัยดานการทองเที่ยวใน

เสนทางทองเที่ยวทางน้ําฝงธนบุรี มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

8.1) ความสมบูรณของสภาพธรรมชาติ

8.2) ความสวยงามของทัศนียภาพ

8.3) ..........

สวนที่ 3 ความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

9. ทานมีความคิดเห็นอยางไรตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ดังตอไปนี้

การทองเที่ยวเชิงนิเวศ เห็นดวย

อยางย่ิง เห็นดวย

ไมมี

ความเห็น ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวย

อยางย่ิง

9.1) เปนการจัดการการทองเที่ยวที่ไมกอใหเกิดการ

ทําลายทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรม

9.2) รายไดจากกิจกรรมดานการทองเที่ยวเปนเพียง

รายไดเสริมของครอบครัวเทาน้ัน

9.3) .......... สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ฝงธนบุรี

10. ทานคิดวา พ้ืนที่ฝงธนบุรีเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศหรือไม 10.

Δ 1) เหมาะสม เพราะ....................................................................................................................................

Δ 2) ไมเหมาะสม เพราะ................................................................................................................................ 11. ทานคิดวา ปจจุบันน้ีภาพรวมของการทองเที่ยวในพ้ืนที่ฝงธนบุรีมีปญหาหรือไม อยางไร 11.

Δ 1) ไมมี

Δ 2) มี ไดแก - ......................................................................................................................................................................

12. ...........

วิธีการหาคุณภาพของแบบสอบถาม

วิธีการหาคุณภาพของแบบสอบถามทุกชุดใชวิธีการตรวจสอบความเปนปรนัย โดยดูจากความชัดเจน

ของขอคําถามและคําตอบ การตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา โดยการพิจารณาจากนิยามเชิงทฤษฎีและนิยามเชิง

ปฏิบัติการ โดย ดร. มนัส บุญประกอบ รศ. สุภาพร สุกสีเหลือง และ ผศ. สาวิตรี พิสณุพงศ ทําการตรวจสอบ

โดยการพิจารณาจากนิยามเชิงทฤษฎี นิยามเชิงปฏิบัติการ และตารางแสดงประเด็นหลักควบคูกับขอคําถามวา

แบบสอบถามนั้นมีความครบถวนสมบูรณ ครอบคลุมเน้ือเรื่องทั้งหมดหรือไม รวมถึงการพิจารณาความเปนปรนัย

(Objectivity) ในความชัดเจนของคําถามและคําตอบวาเขาใจตรงกันหรือไม ถายังไมสมบูรณก็จะนําขอเสนอแนะ

79

Page 102: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

80

ของผูเชี่ยวชาญมาปรับปรุงแกไขกอนจะนําไปทดลองใชในขั้นตอนตอไป เม่ือผานการพิจารณาจากผูเชี่ยวชาญแลว

จึงนําแบบสอบถามไปทดลองใช (Try out) กับกลุมตัวอยางที่มีคุณลักษณะคลายกับกลุมประชากรของงานวิจัยท่ี

ไดกําหนดไว

3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล

การเก็บรวบรวมขอมูลสําหรับการวิจัยครัง้น้ี ผูวิจัยไดดําเนินงานดังตอไปนี้

3.4.1 การเก็บขอมูลจากแบบสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยว

1) ศึกษาขอมูลทุติยภูมิของพื้นท่ีฝงธนบุรีกอนออกภาคสนามเพื่อเก็บขอมูล

2) กําหนดพื้นท่ี วัน เวลา ที่จะลงพื้นท่ีเพ่ือเก็บขอมูล

3) เม่ือถึงวันท่ีกําหนด ผูวิจัยตองลงพื้นท่ีเพื่อสังเกตการณตามวัตถุประสงคและขอบเขตที่กําหนด

ไว โดยใชการสังเกตอยางละเอียด มีขั้นตอน และเปนระบบ รวมทั้งตองขจัดอคติและความลําเอียง และระมัดระวัง

ความคลาดเคลื่อนท่ีอาจเกิดขึ้นได

4) ตรวจสอบขอมูลจากแบบสํารวจวา ครบถวนเพียงพอ และตรงตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวหรือไม

ถายังไมสมบูรณก็ทําการสํารวจเพิ่มเติม หรือถาไมสามารถเก็บขอมูลในวันน้ันได ใหนํามาพิจารณาเพื่อกําหนดวัน

ในการเก็บขอมูลสําหรับครั้งตอไป

3.4.2 การเก็บขอมูลจากแบบสอบถาม

1) เตรียมหนังสือขอความรวมมือในการวิจัย เอกสารแสดงความเปนนิสิตจากบัณฑิตวิทยาลัย

เพ่ือแสดงใหผูตอบแบบสอบถามทราบถึงหัวของานวิจัย วัตถุประสงคการวิจัย และขอมูลท่ีตองการสอบถาม

2) กําหนดวัน เวลาในการลงพื้นท่ีเพ่ือเก็บแบบสอบถาม

3) ผูวิจัยลงพื้นท่ีตามวัน เวลาที่กําหนดไว

4) ในการตอบแบบสอบถาม ผูวิจัยตองชี้แจงวิธีการตอบแบบสอบถาม พรอมทั้งชี้แจงใหผูตอบ

แบบสอบถามทราบวา การตอบแบบสอบถามจะถูกปกปดเปนความลับ และจะนําไปวิเคราะหทางวิชาการเทาน้ัน

5) ตรวจสอบคําตอบของแบบสอบถาม หากผูตอบแบบสอบถามเลือกคําตอบไมสมบูรณ คือ ตอบ

ไมได หรือไมมีคําตอบที่ตองการ หรือไมมีความคิดเห็นในเรื่องที่จะถาม ผูวิจัยตองถามผูตอบแบบสอบถามอีกครั้ง

แตถายังไมไดคําตอบที่สมบูรณอีก ผูวิจัยจะรวบรวมขอจํากัดเหลาน้ี เพ่ือนําไปปรับปรุงสําหรับการสราง

แบบสอบถามใหมีความสมบูรณมากขึ้นตอไป

6) แสดงการขอบคุณผูตอบแบบสอบถามทุกครั้งที่จบการเก็บขอมูล

80

Page 103: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

81

3.5 การจัดกระทําขอมูลและการวิเคราะหขอมูล

1) นําขอมูลที่ไดจากแบบสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยว ซึ่งเปนขอมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative

data) มาวิเคราะหเชิงเน้ือหา (Content analysis) และวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบ (Pattern matching) กับ

แนวความคิดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

2) นําขอมูลที่ไดจากแบบสอบถาม ซึ่งประกอบดวยขอมูลทั้งเชิงปริมาณ (Quantitative data)

และเชิงคุณภาพ (Qualitative data) มาวิเคราะห โดยขอมูลเชิงปริมาณจะใชเทคนิคทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล

และขอมูลเชิงคุณภาพจะใชวิธีวิเคราะหเชิงเน้ือหา

3) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

การวิจัยครั้งน้ีใชวิธีการนําเสนอขอมูล โดยใชสถิติเชิงบรรยาย (Descriptive statistics) ในการ

วิเคราะหขอมูลตาง ๆ ที่ใชในการวิจัย ซึ่งวิธีการทางสถิติที่นํามาใช ไดแก (1) การแจกแจงความถี่ (Frequency distribution) โดยนําเสนอขอมูลทั้งในแบบคําบรรยาย

(Text presentation) แบบตารางแจกแจงความถี่ (Tabular presentation) และแบบแผนภูมิ (Graphic or

chart presentation)

(2) การจัดตําแหนงเปรียบเทียบ ไดแก รอยละ (Percent)

(3) การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง (Central tendency) ไดแก มัชฌิมเลขคณิตหรือ

คาเฉลี่ย (Arithmetic mean) และฐานนิยม (Mode)

(4) การวัดการกระจาย (Measure of variation) ไดแก สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard

deviation)

4) นําผลท่ีไดจากการวิเคราะหขอมูลทั้งหมดมาสรุปและอภิปรายผล เพื่อนําเสนอแนวทาง “การ

พัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในพื้นท่ีฝงธนบุรี”

81

Page 104: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

ในบทนี้ผูวิจัยมุงที่จะนําเสนอขอมูลท่ีไดวิเคราะหแลวเปน 3 ตอน ดังน้ี

4.1 รูปแบบเสนทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา “ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี”

4.2 การเปรียบเทียบความพึงพอใจระหวางการทองเที่ยวทางนํ้ารูปแบบเดิมของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําของนักทองเที่ยวกลุมทดลอง

4.3 ขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรการทองเที่ยวในเขตบางกอกนอย บางกอกใหญ ตลิ่งชัน และธนบุรี

4.4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรีและความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศของประชาชนทองถิ่น ผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว และมัคคุเทศก

4.1 รูปแบบเสนทางการทองเทีย่วเชิงนิเวศทางน้ํา

การทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา เปนการพัฒนาและออกแบบรูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา โดยมี

องคประกอบดังตอไปนี้

1) การกําหนดเสนทางทองเที่ยว เปนเสนทางทองเที่ยวทางน้ํา บริเวณแมนํ้าเจาพระยาเริ่มตนจากวัดอรุณราชวราราม เดินทางเขาสูคลองบางกอกใหญ ผานคลองตาง ๆ ไดแก คลองมอญ คลองบางเชือกหนัง คลอง

บางนอย คลองบางพรม คลองบางระมาด คลองชักพระ คลองบางกอกนอย แลวสิ้นสุดที่แมนํ้าเจาพระยาบริเวณ

วัดระฆังโฆสิตารามและวังหลัง

2) ระยะเวลาการเดินทางทองเที่ยว ใชระยะเวลาเต็มวัน คือ ตั้งแตเวลา 09.00 น. ถึง 15.00 น. โดย

งานวิจัยครั้งน้ีเลือกจัดในวันหยุดเสาร - อาทิตย และวันหยุดนักขัตฤกษ

3) ทรัพยากรการทองเที่ยว การกําหนดจุดทองเที่ยว จะใชวิธีโดยการคัดเลือกแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพในการพัฒนาสูการเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ จากแบบสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยวที่ผูวิจัยไดจัดทํา

ขึ้น ไดแก

4) กิจกรรมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ โดยการจัดการศึกษาเรียนรูประวัติศาสตร ความเปนมาของอดีตราช

ธานีกรุงธนบุรี และการนําเที่ยวชมงานศิลปกรรมและวัฒนธรรมของชุมชนทองถิ่น รวมถึงการเปดโอกาสให

นักทองเที่ยวไดรวมศึกษาเรียนรูการผลิตของที่ระลึกหรือสินคาทองถิ่นท่ีเปนเอกลักษณของชุมชน

5) มัคคุเทศก มีการเลือกใชมัคคุเทศกที่มีประสบการณและมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ

ประวัติศาสตรความเปนมาของพื้นท่ีฝงธนบุรี รวมถึงเรื่องราวและเกร็ดความรูตางๆของประเทศไทยเปนอยางดี

Page 105: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

83

นอกจากน้ัน ยังตองเปนผูที่สามารถควบคุม สงเสริมพฤติกรรม และกระตุนใหเกิดการเรียนรูของนักทองเที่ยวตอ

การปฏิบัติตนที่เหมาะสมในแหลงทองเที่ยวและชุมชนทองถิ่นท่ีไปเยือนได

6) การใหการศึกษาและการสรางจิตสํานึก โดยการจัดพิมพ “คูมือทองเท่ียวเชิงนิเวศทางน้ํา-เสนทาง

ยอนรอยประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี” เพื่อเปนการสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

รวมถึงเรื่องราวตางๆของพื้นที่ในเขตอดีตราชธานีกรุงธนบุรี เชน ประวัติศาสตร ความเปนมา ศิลปวัฒนธรรม วิถี

ชีวิตความเปนอยูของชุมชนทองถิ่น และผลิตภัณฑสินคาของที่ระลึกตางๆ

7) การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น เปนการเปดโอกาสใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนารูปแบบ

การทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา เชน การเปนมัคคุเทศกทองถิ่น การใหนักทองเที่ยวเขารวมในกิจกรรมการผลิตสินคา

ของที่ระลึก การใหบริการเกี่ยวกับที่พักและรานอาหาร เปนตน

8) การจัดการดานสิ่งแวดลอม โดยการจัดมาตรการปองกันและลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในพื้นที่

ของแหลงทองเที่ยวและชุมชน ดังน้ี

- การใชเรือท่ีมีมาตรฐานดานความปลอดภัย ทั้งดานอุปกรณและบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ

เชน จํานวนชูชีพท่ีมีเพียงพอกับจํานวนนักทองเที่ยว คนขับเรือท่ีมีใบขับขี่เดินเรือและมีความชํานาญในพื้นท่ี

รวมถึงการปองกันปญหาดานมลภาวะทางเสียงดวยการเลือกใชเรือท่ีไมมีเสียงดังรบกวน และขับเรือดวยความเร็ว

ขนาดพอเหมาะ เพ่ือเปนการชวยลดผลกระทบของน้ําท่ีเขาไปชนตลิ่ง ทําใหตลิ่งริมนํ้าทรุดพังอยางรวดเร็ว

- การปองกันนํ้าเนาเสียและการทิ้งขยะมูลฝอยในลํานํ้า โดยการจัดใหมีภาชนะสําหรับรองรับ

ขยะในเรือใหเพียงพอ และรวบรวมขยะนําไปทิ้งในที่ที่เหมาะสม รวมถึงการสงเสริมและใหความรูกับนักทองเที่ยว

ตอการอนุรักษสภาพแวดลอมใหยั่งยืน

ตัวอยาง เสนทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา “ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี”

เสนทางทดลอง X 1

09.00 – 09.30 น. ออกเดินทางสูคลองบางกอกนอย ซึ่งอดีตเคยเปนแมนํ้าเจาพระยาสายเกา

แลวแวะชมภาพจิตรกรรมฝาผนังฝมือชั้นเอกของครูคงแปะและครูทองอยูจิตกรที่มีชื่อเสียงในสมัยรัชกาลที่ 3 ที่

วัดสุวรรณาราม 09.30 – 10.45 น. เดินเทาตอไปยังชุมชนบานบุ ชุมชนเกาแกที่มาตั้งถิ่นฐานตั้งแตเสียกรุงครั้งที่

2 ซึ่งมีอาชีพทําขันลงหินหรือขันบุ ซึ่งทําจากโลหะ 3 ชนิด คือ ทองแดง ดีบุก และทองมาลอ โดยมีขั้นตอนในการ

ผลิตที่ยุงยาก ปจจุบันจึงมีผูผลิตเหลือเพียงรายเดียวในประเทศไทยที่ จากน้ันเดินผานชุมชนบานบุไปชมที่เก็บหัว

จักรรถไฟของสถานีรถไฟธนบุรี

10.45 – 11.30 น. จากน้ัน เดินทางตอไปยังตลาดน้ําตลิ่งชัน ตลาดนํ้าแหงแรกของเขตตลิ่งชัน

เพ่ือแวะชมและเลือกซื้อสินคาผลิตภัณฑทองถิ่นของชุมชน

83

Page 106: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

84

11.30 – 12.00 น. เดินทางเขาสูคลองชักพระ เพ่ือแวะชมวัดปาเชิงเลน วัดโบราณที่มีความรมรื่น

โดยสิ่งกอสรางตาง ๆ ของวัดต้ังอยูทามกลางตนไมและบอนํ้าขนาดใหญ 12.00 – 12.30 น. ลองเรือผานคลองบางระมาด คลองบางพรม เพ่ือชื่นชมวิถีชีวิตชาวบานที่มี

ความผูกพันกับสายนํ้าตั้งแตอดีต 12.30 – 13.00 น. แวะชมและเลือกซื้อกลวยไมจากสวนกลวยไมของชาวบานในทองถิ่น 13.00 – 13.30 น. จากน้ัน เดินทางตอไปยังวัดสะพาน เพ่ือแวะนมัสการพระพุทธรูปศิลาสมัย

อยุธยา โดยสิ่งที่นาสนใจคือ พระวิหารของวัดน้ีหันดานหลังออกสูลําคลอง ซึ่งเปนลักษณะพิเศษท่ีแตกตางจากวัด

ริมนํ้าอื่น ๆ นอกจากน้ี ที่น่ียังตลาดน้ําพ้ืนบานท่ีมีความคึกคักนาสนใจใหเท่ียวชมอีกดวย 13.30 – 14.10 น. เดินทางผานคลองบางนอย คลองบางเชือกหนัง แลววนเขาสูคลองบางกอก

ใหญซึ่งเปนแมนํ้าออมเจาพระยาในสมัยอดีต แลวแวะฟงประวัติที่นาสนใจของสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีที่วัดอินทา

ราม 14.10 – 14.40 น. แวะชมพระปรางค ที่วัดอรุณราชวราราม ซึ่งเปนวัดท่ีสมเด็จพระเจาตากสิน

มหาราชเคยเสด็จชลมารคจากกรุงศรีอยุธยามาถึงวัดแหงน้ีในตอนเชา จึงทรงโปรดเกลา ฯ ใหปฏิสังขรณ แลว

เปลี่ยนชื่อใหมเปน “วัดแจง”

14.40 – 15.00 น. เดินทางกลับสูแมนํ้าเจาพระยาสายปจจุบัน

เสนทางทดลอง X 2 09.00 – 09.40 น. เดินทางเขาสูคลองบางกอกนอย แลวแวะชมความสวยงามและประวัติความ

เปนมาของพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธีซึ่งสรางขึ้นในสมัยสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช เพื่อใชเก็บเรือ

พระที่น่ังและเรือรบ 09.40 – 10.10 น. ลองเรือตอไปยังคลองบางระมาด คลองชักพระ และคลองบางพรม เพื่อชื่น

ชมวิถีชีวิตชาวบานริมนํ้าที่มีความผูกพันอยูกับสายนํ้ามาต้ังแตอดีต 10.10 – 10.40 น. แวะชมและเลือกซื้อดอกกลวยไมราคาถูกจากสวนกลวยไมของชาวบาน

ทองถิ่นเปนของฝากกลับบาน 10.40 – 11.40 น. แวะพักผอนท่ีตลาดนํ้าคลองลัดมะยม ตลาดที่มีสินคาและผลิตภัณฑ

ชาวบานทองถิ่นมาจําหนายในราคาพิเศษ รวมทั้งชม “พิพิธภัณฑเรือจําลอง” ซึ่งทานสามารถซื้อหรือฝกประกอบ

เรือจําลองไดดวยตนเองอีกดวย

11.40 – 12.10 น. ลองเรือไปตามคลองบางนอยและคลองบางเชือกหนังซึ่งเปนคลองเกาแกใน

อดีต แลวยังคงมีวิถีชีวิตริมนํ้าแบบดั้งเดิมใหพบเห็นไดอยู

12.10 – 12.50 น. เดินทางตอไปยังคลองบางกอกใหญ เพ่ือแวะชมวัดอินทาราม วัดท่ีนับไดวา

เปนวัดประจําพระองคของสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช

84

Page 107: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

85

12.50 – 13.30 น. จากน้ันเดินทางเขาไปสัมผัสวิถีชีวิตของชุมชนมุสลิมท่ีมัสยิดตนสน แลวเดิน

เทาตอไปยังวัดโมลีโลกยาราม ซึ่งเปนวัดท่ีอยูในเขตพระราชฐานและเปนท่ีเก็บฉางเกลือในสมัยกรุงธนบุรี 13.30 – 14.00 น. เดินทางเขาไปยังวัดกัลยาณมิตร เพ่ือนมัสการหลวงพอโตหรือซําปอกงซึ่งเปน

ที่นิยมอยางยิ่งของชาวจีน

14.00 – 14.45 น. แวะชมความงามของพระปรางค วัดอรุณราชวราราม ซึ่งเปนวัดท่ีอยูในเขต

พระราชฐานในสมัยกรุงธนบุรีเชนเดียวกับวัดโมลีโลกยาราม และเปนวัดแหงแรกที่ประดิษฐานพระแกวมรกต

หลังจากที่เจาพระยามหากษัตริยศึก (รัชกาลท่ี 1) อัญเชิญกลับมาจากกรุงเวียงจันทร

14.45 – 15.00 น. เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

เสนทางทดลอง X 3

09.00 – 09.40 น. เดินทางเพื่อเขาชมวัดอรุณราชวราราม วัดเกาแกตั้งแตครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา

และเปนวัดในเขตพระราชฐานในสมัยกรุงธนบุรี จึงไมมีพระสงฆจําพรรษาอยูเชนเดียวกับวัดพระแกวในปจจุบัน

09.40 – 09.50 น. ออกเดินทางสูปากคลองบางกอกใหญ

09.50 – 10.50 น. แวะนมัสการ “หลวงพอโต หรือ ซําปอกง” ที่วัดกัลยาณมิตรริมฝงแมนํ้า

เจาพระยา แลวเดินเทาเลียบริมฝงแมนํ้าเจาพระยา เพ่ือไปนมัสการ “เจาแมกวนอิม” ที่ศาลเจาเกียนอันเกง 10.50 – 11.40 น. เดินขามคลองบางกอกใหญตรงประตูกั้นนํ้าบริเวณปากคลอง ฯ ทําใหทานได

เห็นแมนํ้าเจาพระยาในมุมมองท่ีแตกตางออกไป แลวแวะเที่ยวชมวัดโมลีโลกยารามซึ่งเคยเปนวัดในเขตพระราชวัง

สมัยกรุงธนบุรี แลวเดินเทาตอไปยังมัสยิดตนสน เพื่อสัมผัสกับชีวิตของชาวมุสลิมบริเวณรอบ ๆ มัสยิด ซึ่งอยูติด

กับวัดโมลี ฯ ทําใหเห็นการใชชีวิตรวมกันของชาวไทยพุทธและไทยมุสลิมท่ีอยูรวมกันอยางมีความสุข

11.40 – 12.10 น. น่ังเรือเขาสูคลองบางกอกใหญ แวะนมัสการพระบรมอัฐิของสมเด็จพระเจา

ตากสินมหาราช และชมสถาปตยกรรมสมัยกรุงธนบุรีที่มีอยูเพียงไมกี่แหงในประเทศ ณ วัดอินทาราม 12.10 – 13.30 น. เดินทางเขาสูคลองบางเชือกหนัง คลองบางนอย คลองบางพรม เพ่ือชมวิถี

ชีวิตชาวบานทองถิ่น แลวแวะรับประทานอาหารที่ตลาดน้ําคลองลัดมะยม ตลาดนํ้าท่ีมีสินคาและอาหารพื้นบานมา

จําหนายในราคาถูก นอกจากน้ัน ทานยังสามารถเชาเรือและจางมัคคุเทศกทองถิ่นเพ่ือพายชมวิถีชีวิตชาวบาน และ

แวะชมบึงดอกบัวหลวงที่สวยงามไดอีกดวย

13.30 – 14.00 น. แวะชมสวนกลวยไม / สวนผัก / สวนผลไม โดยทานสามารถเรียนรูวิธีการ

ปลูก การเพาะพันธุ และสามารถซื้อเมล็ดพันธุและผลิตภัณฑติดไมติดมือกลับบานได

14.00 – 14.30 น. ลองเรือผานคลองบางระมาด คลองชักพระ และคลองบางกอกนอย เพื่อชื่น

ชมวิถีชีวิตชาวบานในสมัยอดีตที่มีความผูกพันกับสายนํ้า 14.30 – 15.00 น. แวะชมพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี ซึ่งสรางในสมัยสมเด็จพระ

เจาตากสินมหาราช ปจจุบันใชเปนท่ีเก็บเรือพระที่น่ังที่ใชประกอบพิธีทางน้ําหรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตรา

ชลมารค ซึ่งเปนพระราชประเพณีที่มีมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา

85

Page 108: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

86

15.00 – 15.30 น. เดินทางสูปากคลองบางกอกนอย แลววนเขาสูแมนํ้าเจาพระยา เดินทางตอไป

ยังวัดระฆังโฆสิตาราม ซึ่งในสมัยกรุงธนบุรี พระเจาตากสินมหาราชทรงอาราธนาพระเถระมาประชุมและชําระ

พระไตรปฎกที่วัดน้ี พรอมท้ังยังไดแวะชมหอไตรที่มีความสวยงาม และตําหนักทองซึ่งเคยเปนท่ีประทับของสมเด็จ

พระเจาตากสินดวย 15.30 – 16.00 น. เดินเทาตอไปยังบริเวณที่เคยเปนวังหลัง และแวะชมกําแพงวังหลังที่ยังคง

หลงเหลือใหไดเห็นกันอยู 16.00 น. เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

แผนที่เสนทางทองเที่ยว

ภาพประกอบ 7 แผนที่เสนทางทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา

86

Page 109: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

87

4.2 การเปรียบเทียบความพึงพอใจระหวางนักทองเที่ยวกลุมควบคุมดวยการทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิมและนักทองเที่ยวกลุมทดลองดวยการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา

สวนที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของนกัทองเที่ยว

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของนักทองเที่ยวในดานเพศ ปรากฏผลดังตาราง 7

ตาราง 7 แสดงจํานวนของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลองจําแนกตามสถานภาพทั่วไปในดานเพศ

เพศ นักทองเที่ยวกลุมควบคุม X (คน) นักทองเที่ยวกลุมทดลอง X3 (คน)

เพศชาย 5 5

เพศหญิง 5 5

รวมทั้งหมด 10 10

จากตาราง 7 พบวา นักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลองแตละกลุม ประกอบดวย เพศชาย

จํานวน 5 คน เพศหญิง จํานวน 5 คน รวมทั้งหมด 10 คน

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของนักทองเที่ยวในดานอายุ ปรากฏผลดังตาราง 8

ตาราง 8 แสดงจํานวนของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลองจําแนกตามสถานภาพทั่วไปในดานอายุ

อายุ นักทองเที่ยวกลุมควบคุม X (คน) นักทองเที่ยวกลุมทดลอง X3 (คน)

21 - 30 ป 2 2

31 - 40 ป 3 3

41 - 50 ป 2 2

51 - 60 ป 2 2

มากกวา 60 ปขึน้ไป 1 1

รวมทั้งหมด 10 10

จากตาราง 8 พบวา นักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลองแตละกลุมมีอายุระหวาง 20 – 30 ป

จํานวน 2 คน อายุระหวาง 31 – 40 ป จํานวน 3 คน อายุระหวาง 41 – 50 ป จํานวน 2 คน อายุระหวาง 51-60 ป

จํานวน 2 คน และอายุมากกวา 60 ป จํานวน 1 คน

87

Page 110: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

88

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของนักทองเที่ยวในดานระดับการศึกษาสูงสุด ปรากฏผล

ดังตาราง 9

ตาราง 9 แสดงจํานวนของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลองจําแนกตามสถานภาพทั่วไปในดานระดับ

การศึกษาสูงสุด

ระดับการศึกษาสูงสุด นักทองเที่ยวกลุมควบคุม X (คน) นักทองเที่ยวกลุมทดลอง X3 (คน)

ปริญญาตรี 8 8

สูงกวาปริญญาตรี 2 2

รวมทั้งหมด 10 10

จากตาราง 9 พบวา นักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลองแตละกลุมมีระดับการศึกษาสูงสุดระดับ

ปริญญาตรี 8 คน และสูงกวาปริญญาตรี 2 คน รวมทั้งหมด 10 คน

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของนักทองเท่ียวในดานอาชีพหลัก ปรากฏผลดังตาราง

10

ตาราง 10 แสดงจํานวนของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลองจําแนกตามดานอาชีพหลัก

อาชีพหลัก นักทองเที่ยวกลุมควบคุม X (คน) นักทองเที่ยวกลุมทดลอง X3 (คน)

รับราชการ / รัฐวิสาหกิจ 3 3

พนักงานรัฐ / เอกชน 3 3

นิสิต / นักศึกษา 2 2

เจาของกิจการ 1 1

ขาราชการเกษียณ 1 1

รวมทั้งหมด 10 10

จากตาราง 10 พบวา นักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลองแตละกลุมมีอาชีพเปนขาราชการ/

รัฐวิสาหกิจ จํานวน 3 คน พนักงานหนวยงานรัฐ / เอกชน จํานวน 3 คน นิสิต / นักศึกษา จํานวน 2 คน เจาของ

กิจการ จํานวน 1 คน และขาราชการเกษียณ จํานวน 1 คน

88

Page 111: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

89

สวนที่ 2 ความพึงพอใจของนักทองเที่ยวตอการทองเที่ยวทางน้ํา

ผลการวิเคราะหความพึงพอใจของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลองตอการทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิมและการทองเที่ยวทางน้ําเชิงนิเวศ ปรากฏผลดังตาราง 11

ตาราง 11 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมตอการทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิมและกลุมทดลองตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา

มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด ฐานนิยม ความพึงพอใจของนักทองเที่ยวตอ

การทองเที่ยวทางน้ําฝงธนบุรี กลุมควบคุม

(คน)

กลุมทดลอง

(คน)

กลุมควบคุม

(คน)

กลุมทดลอง

(คน)

กลุมควบคุม

(คน)

กลุมทดลอง

(คน)

กลุมควบคุม

(คน)

กลุมทดลอง

(คน)

กลุมควบคุม

(คน)

กลุมทดลอง

(คน)

กลุมควบคุม กลุมทดลอง

1. ความสมบูรณของสภาพธรรมชาติ

เชน แมน้ํา ลําคลอง ตนไม สัตวน้ํา 0 5 5 5 5 0 0 0 0 0

มาก /

ปานกลาง

มากที่สุด

/ มาก

2. ความสวยงามของทัศนียภาพ 0 6 7 4 3 0 0 0 0 0 มาก มากที่สุด

3. แหลงทองเที่ยว เชน ประวัติความ

เปนมา ความสวยงาม 0 7 7 3 3 0 0 0 0 0 มาก มากที่สุด

4. ทาเรือ เชน สภาพ ความสะอาด 0 0 0 8 8 2 2 0 0 0 ปานกลาง มาก

5. เรือ เชน ความปลอดภัย การ

เดินทางสะดวกสบาย 0 0 0 8 8 2 2 0 0 0 ปานกลาง มาก

6. การใหบริการดานขอมูลและความรู

เชน ศูนยบริการนักทองเที่ยว เอกสาร

เผยแพร 0 0 0 8 0 2 10 0 0 0 นอย มาก

7. รานอาหารและรานคา เชน สภาพ

ความสะอาด

0 0 0 5 9 5 1 0 0 0 ปานกลาง มาก /

ปานกลาง

89

89

Page 112: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

90

ตาราง 11 (ตอ)

มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด ฐานนิยม ความพึงพอใจของนักทองเที่ยวตอ

การทองเที่ยวทางน้ําฝงธนบุรี กลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมควบคุม กลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมทดลอง

(คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน)

8. หองน้ํา หองสุขา เชน ปริมาณ

ความสะอาด 0 0 0 7 8 3 2 0 0 0 ปานกลาง มาก

9. การจัดการขยะและความสะอาด

0 0 0 6 5 4 5 0 0 0

ปานกลาง

มาก / นอย

10. คุณภาพของน้ําบริเวณชายฝง

แมน้ําและลําคลอง 0 0 0 8 8 2 2 0 0 0 ปานกลาง มาก

11. ความปลอดภัยในชีวิตและ

ทรัพยสิน 0 0 0 7 10 3 0 0 0 0 ปานกลาง มาก

12. ความหลากหลายของกิจกรรม เชน

ลองเรือ ชมวิถีชีวิตทองถิ่น รวม

กิจกรรมทองถิ่น 0 3 0 7 3 0 7 0 0 0 นอย มาก

13. ระยะเวลาทั้งหมดของการ

ทองเที่ยวตลอดเสนทาง และระยะเวลา

การหยุดเที่ยวชมในแหลงทองเที่ยวแต

ละแหง 0 1 0 8 6 1 4 0 0 0 ปานกลาง มาก

2 14. มัคคุเทศกมีความรูความเขาใจตอ

แหลงทองเที่ยว

0 0 8 6 0 4 0 0 0 ปานกลาง มาก

90

90

Page 113: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

91 ตาราง 11 (ตอ)

มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด ฐานนิยม ความพึงพอใจของนักทองเที่ยวตอ

การทองเที่ยวทางน้ําฝงธนบุรี กลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมควบคุม กลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมทดลอง

(คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน)

15. ภาพรวมในความพึงพอใจตอการ

ทองเที่ยวครั้งนี้ 0 0 0 10 10 0 0 0 0 0 ปานกลาง มาก

จากตาราง 11 พบวา ภาพรวมของนักทองเที่ยวกลุมทดลองดวยการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํามีความพึงพอใจมากกวานักทองเที่ยวกลุมควบคุมดวยการทองเที่ยวทางน้ํารูป

แบบเดิม และเมื่อพิจาราณาในรายขอพบวา นักทองเที่ยวกลุมทดลองมีความพึงพอใจมากกวากลุมควบคุมเชนกัน เชน การใหบริการดานขอมูลและความรู ความหลากหลายของกิจกรรม

ระยะเวลาของการทองเที่ยว และความรูความเขาใจของมัคคุเทศก เปนตน

ตอนที่ 3 ความรูความเขาใจของนักทองเที่ยวตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความรูความเขาใจของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลองตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ปรากฏผลดังตาราง 12

ตาราง 12 เปรียบเทียบความรูความเขาใจของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลองตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ถูกตอง ไมถูกตอง ไมแนใจ ฐานนิยม

การทองเที่ยวเชิงนิเวศ กลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมทดลอง กลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมควบคุม

(คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน)

1. เปนการทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวธรรมชาติที่มีความสมบูรณและ/

หรือแหลงวัฒนธรรมของทองถิ่นตาง ๆ ที่มีเอกลักษณเปนของตนเอง

ถูกตอง 9 10 1 0 0 0 ถูกตอง 91

91

Page 114: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

92 ตาราง 12 (ตอ)

ถูกตอง ไมถูกตอง ไมแนใจ ฐานนิยม

การทองเที่ยวเชิงนิเวศ กลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมทดลอง กลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมควบคุม

(คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน)

2. เปนการทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวธรรมชาติที่มีการตกแตงและ

สรางใหม เพื่อใหดูทันสมัยและมีความสะดวกสบาย 0 0 9 10 1 0 ไมถูกตอง ไมถูกตอง

3. ไมควรจัดใหมีกิจกรรมที่แสดงออกถึงเอกลักษณ วัฒนธรรมและวิถี

ชีวิตของชุมชนทองถิ่น เพราะจะทําใหนักทองเที่ยวรูสึกวาชุมชนนั้นยัง

ไมไดรับการพัฒนา 0 0 10 10 0 0 ไมถูกตอง ไมถูกตอง

4. ใหความสําคัญกับนักทองเที่ยวมากที่สุด โดยชุมชนทองถิ่นเปน

องคประกอบสวนหนึ่งของการจัดการแสดงเพื่อทําใหนักทองเที่ยวเกิด

ความพึงพอใจสูงสุด 6 1 4 9 0 0 ถูกตอง ไมถูกตอง

5. มีการใชเครื่องมือสื่อความหมายตาง ๆ เชน ปาย แผนพับ

สัญลักษณ ฯลฯ เพื่อใหความรูและสรางจิตสํานึกดานสิ่งแวดลอมที่

ถูกตองแกนักทองเที่ยว 9 10 1 0 0 0 ถูกตอง ถูกตอง

6. ผูประกอบธุรกิจทองเที่ยวมีหนาที่ออกแบบและจัดกิจกรรมการ

ทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวของชุมชน เพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอ

การลงทุน 2 0 5 8 3 2 ไมถูกตอง ไมถูกตอง

7. การทองเที่ยวที่มีการนํารายไดมาบํารุงรักษาแหลงทองเที่ยวทองถิ่น 10 10 0 0 0 0 ถูกตอง ถูกตอง

8. สงเสริมใหมีธุรกิจบริการดานการทองเที่ยวและนักทองเที่ยวเขามาใน

แหลงทองเที่ยวใหมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได เพื่อใหเกิดการกระจาย

รายไดสูทองถิ่น

6 2 2 8 2 0 ถูกตอง ไมถูกตอง

92

92

Page 115: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

93

ตาราง 12 (ตอ)

ถูกตอง ไมถูกตอง ไมแนใจ ฐานนิยม

การทองเที่ยวเชิงนิเวศ กลุมควบคุม

(คน)

กลุมทดลอง

(คน)

กลุมควบคุม

(คน)

กลุมทดลอง

(คน)

กลุมควบคุม

(คน)

กลุมทดลอง

(คน)

กลุมควบคุม กลุมทดลอง

9. มีการสงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมในการกระบวนการการทองเที่ยว

ตั้งแตการวางแผน การดําเนินงาน และการประเมินผล 10 10 0 0 0 0 ถูกตอง ถูกตอง

10. นักทองเที่ยวเชิงนิเวศไมแตกตางจากนักทองเที่ยวทั่วไป เพราะมา

เที่ยวในแหลงทองเที่ยวเดียวกัน 3 0 5 8 2 2 ไมถูกตอง ไมถูกตอง

11. ไมจําเปนตองมีการศึกษาหาขอมูลความรูกอนเดินทาง เนื่องจากเรา

สามารถหาขอมูลไดจากมัคคุเทศกหรือภายในแหลงทองเที่ยวนั้นได 2 0 6 7 2 3 ไมถูกตอง ไมถูกตอง

12. นักทองเที่ยวเชิงนิเวศยินดีจายเงินลงในพื้นที่แหลงทองเที่ยว เพื่อ

ชวยรักษาสิ่งแวดลอม เชน คาบริการหองน้ําสาธารณะ การบริจาค 8 10 2 0 0 0 ถูกตอง ถูกตอง

13. เปนกิจกรรมที่เนนการศึกษาหาความรูในระบบนิเวศและวิถีชีวิต

วัฒนธรรมทองถิ่น ควบคูกับความเพลิดเพลิน โดยสงผลกระทบตอ

สิ่งแวดลอมนอยที่สุด 9 10 1 0 0 0 ถูกตอง ถูกตอง

14. นักทองเที่ยวคณะใหญ (Mass Tourism) หรือนักทองเที่ยวที่

จายเงินมาก หรือนักทองเที่ยวที่ตองการความสะดวกสบาย สามารถ

จัดเปนนักทองเที่ยวเชิงนิเวศได ถาสามารถปฏิบัติตัวตามแนวทางการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศ 3 8 5 1 2 1 ไมถูกตอง ถูกตอง

15. จะตองคํานึงถึงความสะดวกสบายของนักทองเที่ยวเปนสําคัญ ซึ่ง

อาจจําเปนตองตัดตนไมเพื่อปลูกสรางสิ่งอํานวยความสะดวก เชน

ศูนยบริการนักทองเที่ยว บานพัก เปนตน 1 0 9 9 0 1 ไมถูกตอง

ไมถูกตอง 93

93

Page 116: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

94

จากตาราง 12 พบวา นักทองเที่ยวกลุมทดลองดวยการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําสวนใหญมีความรูความ

เขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศมากกวานักทองเที่ยวกลุมควบคุมดวยการทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิม

ตัวอยางเชน ขอ 4) การทองเที่ยวเชิงนิเวศใหความสําคัญกับนักทองเที่ยวมากที่สุด โดยชุมชนทองถิ่นเปน

องคประกอบสวนหนึ่งของการจัดการแสดงเพื่อทําใหนักทองเที่ยวเกิดความพึงพอใจสูงสุด ขอ 8) การทองเที่ยวเชิง

นิเวศสงเสริมใหมีธุรกิจบริการดานการทองเที่ยวและนักทองเที่ยวเขามาในแหลงทองเที่ยวใหมากท่ีสุดเทาที่จะ

เปนไปได เพ่ือใหเกิดการกระจายรายไดสูทองถิ่น และ ขอ 14) นักทองเท่ียวคณะใหญ (Mass Tourism) หรือ

นักทองเที่ยวที่จายเงินมาก หรือนักทองเที่ยวที่ตองการความสะดวกสบาย สามารถจัดเปนนักทองเที่ยวเชิงนิเวศได

ถาสามารถปฏิบัติตัวตามแนวทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ตอนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในพื้นที่ฝงธนบุรี

ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมดวยการทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิมและกลุม

ทดลองดวยการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําเกี่ยวกับความเหมาะสมในการพัฒนาพื้นท่ีฝงธนบุรีใหเปนแหลงทองเที่ยว

เชิงนิเวศ ปรากฏผลดังตาราง 13

ตาราง 13 ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลองตอความเหมาะสมของการพัฒนาพื้นท่ีฝง

ธนบุรีใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ

นักทองเที่ยว การพัฒนาพื้นท่ีฝงธนบุรีใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ

กลุมควบคุม (คน) กลุมทดลอง (คน)

6 10 เหมาะสม

ไมเหมาะสม 4 0

จากตาราง 13 พบวานักทองเที่ยวกลุมควบคุมและนักทองเที่ยวกลุมทดลองมีความเห็นวาพื้นท่ีฝงธนบุรี

เหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศจํานวน 6 คน และ 10 คน ตามลําดับ เน่ืองจากธนบุรีมี

ประวัติศาสตรความเปนมายาวนาน เคยเปนเ มืองหลวงเก าของประเทศ และยังอุดมสมบูรณดวย

ทรัพยากรธรรมชาติและวัดสําคัญเกาแกตั้งแตสมัยอยุธยาตลอดเสนทางทองเที่ยวริมนํ้า สวนนักทองเที่ยวกลุม

ควบคุมที่มีความเห็นวาพื้นที่ฝงธนบุรีไมเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศจํานวน 4 คน

เน่ืองจากมีปญหาเรื่องนํ้าเนาเสีย วิถีชีวิตเปลี่ยนไป ไมมีแหลงทองเที่ยวนาสนใจ

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมดวยการทองเที่ยวทางน้ํารูป

แบบเดิมและกลุมทดลองดวยการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําตอภาพรวมของปญหาดานการทองเที่ยวทางน้ําในพื้นที่

ฝงธนบุรี ปรากฏผลดังตาราง 14

94

Page 117: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

95

ตาราง 14 ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลองตอภาพรวมของปญหาดานการทองเที่ยวทาง

นํ้าในพื้นท่ีฝงธนบุรี

นักทองเที่ยว ภาพรวมของปญหาดานการทองเที่ยวทางน้ําในพื้นท่ีฝงธนบุรี

กลุมควบคุม (คน) กลุมทดลอง (คน)

มีปญหา 9 1 ไมมีปญหา 7 3

จากตาราง 14 พบวา นักทองเที่ยวกลุมควบคุมจํานวน 9 คน และนักทองเที่ยวกลุมทดลองจํานวน 7

คน คิดวาพ้ืนท่ีฝงธนบุรียังมีปญหาดานการทองเที่ยวทางน้ํา ไดแก ปญหาเกี่ยวกับเรือทองเที่ยวที่ขับเร็วและมีเสียง

ดังเกินไป คนขับเรือไมคอยมีมารยาทและไมมีความรูเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยว ลําคลองคอนขางสกปรก มีกลิ่น

เหม็น และการเอาเปรียบของผูประกอบการทองเที่ยวทางนํ้าบางราย เชน เสนทางหรือสถานที่ทองเที่ยวไมเปนไป

ตามขอตกลง แหลงทองเที่ยวบางแหงยังไมเปนท่ีรูจัก

ผลการวิเคราะหเกี่ยวกับขอเสนอแนะของนักทองเท่ียวกลุมควบคุมและกลุมทดลองเรื่องการทองเที่ยว

ทางน้ําในพื้นท่ีฝงธนบุรี ไดแก การดูแลรักษาความสะอาดของแมนํ้าลําคลอง จัดอบรมใหกับคนขับเรือเกี่ยวกับ

วิธีการเปนผู นําเที่ยวที่ ดี สรางมาตรฐานทั้งดานคุณภาพและราคาของผูประกอบธุรกิจทองเที่ยวทางน้ํา

ประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวใหเปนท่ีรูจัก

95

Page 118: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

96

4.3 ขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรการทองเที่ยว

ตาราง 15 แบบสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยวเขตบางกอกนอย

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

- สถา นีรถ ไฟบางกอกน อย กํ า ลั งกอสราง

- มีทาเรือขามฟากจากทาพระจันทรมาจอดที่ทาเรือสถานีรถไฟบางกอกนอย

- ตั้งอยูใกลแมน้ําเจาพระยาริมคลองบางกอกนอย

- ไมมีปายสื่อความหมาย 1) สถานีรถไฟบางกอกนอย

- ปจจุบันถูกมอบใหกับโรงพยาบาลศิริราช โดยมีแผนการกอสรางศูนยการแพทยขนาดใหญ (ป

พ.ศ. 2551)

- สภาพพื้นที่โดยรวมสะอาดดี - ไมมีปายสื่อความหมาย - เปนชุมชนอยูริมปากคลองบางกอกนอย - แตละครอบครัวในชุมชนจะทําหนาที่ในการผลิตแตกตางกันและมีความ

ชํานาญเฉพาะในแตละกระบวนการ

ผลิตที่นอน เชน ยัดนุน เย็บปลอกที่

นอน

2) ที่นอนบางกอกนอย

- การเดินทางเขาถึงตองใชทางเดินเทาเขาไปภายในชุมชน เนื่องจากไมมีทาเรือสําหรับเรือให

นักทองเที่ยวเขาเที่ยวชม

- บริเวณที่ทําที่นอนเปนหองคอนขางเล็กและแคบ

- ปจจุบันมีจํานวนผูผลิตเหลือเพียงไมกี่ราย และผลิตตามคําสั่งซื้อเทานั้น

- น้ําบริเวณคลองดานหนาพิพิธภัณฑสะอาด บรรยากาศภายในก็โลงโปรง

- เป ดร านค า จํ าหน ายอาหารและเครื่องดื่ม

- ตั้ งอยู เ ชิงสะพานอรุณอมรินทรริมคลอง

บางกอกนอย สามารถเขาถึงได 2 ทาง คือ

ทางเดินเทาซึ่งตองเดินผานชุมชนและทางเรือซึ่ง

สะดวกสบายกวา

- มีปายสื่อความหมายเกี่ยวกับเรือพระที่นั่งแตละลํา

3) พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ

เรือพระราชพิธี

96

96

Page 119: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

97 ตาราง 15 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

3) พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ

เรือพระราชพิธี (ตอ)

- เปนสถานที่เก็บเรือพยุหยาตราชลมารคที่มีความสําคัญมาแตโบราณ มีความสวยงามของ

ฝมือชาง และทรงคุณคาตองานศิลปกรรมมาก

- มีบริการโทรศัพท ที่นั่งพักผอน หองน้ํา ราน

ขายเครื่องดื่มและของที่ระลึก

- บริ เ วณด าน ในค อนข า งมื ด ทํ า ให มอง

รายละเอียดไดไมชัดเจน

- มีก า รจั ด มุม ให คว ามรู เ กี่ ย ว กับพิพิธภัณฑและพระราชพิธี ฯ ผานวีดี

ทัศนโดยบรรยายเปนภาษาไทยและ

พิมพคําบรรยายภาษาอังกฤษไวใตภาพ

- ประชาชนสามารถมีสวนรวมในงานเทศกาลประจําปของวัดโดยการตั้งราน

จําหนายสินคาหรือการเดินทางเขามา

ทองเที่ยว

- มีปายสื่อความหมายของ กทม. 4) วัดอมรินทราราม - สามารถเขาถึงไดทั้งทางถนนสุทธาวาสและทางน้ําบริเวณทาเรือฝงตรงขามพิพิธภัณฑเรือ

พระราชพิธี แตไมคอยมีผูนิยม เนื่องจากตอง

เดินขามถนนเพื่อเขาไปในวัด

- มี ถังขยะรองรับอยู โดยรอบของบริเวณวัด

- ท า ง เ ข า วั ด บ ริ เ ว ณ ติ ด กั บ

โรงพยาบาลศิ ริ ร าชมี ฝุ นควันและ

คอนขางวุนวาย เนื่องจากกําลังมีการ

กอสรางตึกของโรงพยาบาล (พ.ศ.

2551)

- มีหลวงพอโบสถนอยเปนที่เลื่อมใสศรัทธาของประชาชนชาวบางกอกนอย

- สภาพบรรยากาศโดยรวมดูแลไดคอนขางดี - บริ เวณเตาไฟที่ ใชหลอมเนื้ อ ขัน

คอนขางรอน

- มีปายสื่อความหมายของ กทม. และ

ปายบอกเสนทางเดินกอนถึงชุมชนบาน

บุทั้งเสนทางจากวัดสุวรรณารามและวัด

อมรินทราราม

5) ชุมชนบานบุ - ตั้งอยูในชุมชน เปนทางเดินคอนขางเล็กมี

เพียงจักรยานหรือรถจักรยานยนตที่สามารถ

ผานได เทา นั้น หากจะเดินทางโดยทางเรือ

สามารถขึ้นเรือไดที่ทาเรือ 2 ทา คือ ทาเรือวัด

- ชาวบานบางคนในพื้นที่และนอกพื้นที่สามารถหารายไดจากการรับจาง

ผลิต โดยทํ าตามความ ชํานาญใน

กระบวนการผลิต เชน ชางตี ชางเจียร

ชางขัด ชางกลึง ชางเขียนลาย

- มีเสียงดังจากการตีขันใหเขารูป

97

97

Page 120: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

98 ตาราง 15 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

- ที่บานคุณเจียม แสงสัจจา มีหอง

แสดงผลงานและเจาหนาที่ใหความรู

ค ว า ม เ ข า ใ จ เ กี่ ย ว กั บ ขั้ น ต อ น

กระบวนการผลิต

- การปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตจากขันลงหิน มาเปนการผลิตสแตนเลสแทนที่

ซึ่งเปนที่ตองการของตลาดมากกวา

เ นื่ อ งจ ากร าคา ถูกกว า ผ ลิตภัณฑ

ประเภทขันลงหิน

5) ชุมชนบานบุ (ตอ) อมรินทรารามแลวเดินผานโรงเก็บหัวรถจักรของ

การรถไฟ ฯ เขาสูชุมชน หรือขึ้นเรือที่ทาเรือวัด

สุวรรณารามแลวเดินผานสํานักงานเขตบางกอก

นอยเขาสูชุมชน ผานตลาดบานบุก็จะถึงบาน

เจียม แสงสัจจา บานหลังสุดทายที่ยังคงผลิตขัน

ลงหินอยู

- มีงานผลิตขันลงหินเพียงแหงเดียวในประเทศไทย

- สภาพแวดลอมของชุมชนเริ่มเปลี่ยนแปลงไป

- ปญหาเรื่องการปรับภูมิทัศนของชุมชนกับหนวยงานราชการที่ไมสามารถตกลงและปฏิบัติ

ตามนโยบายได

- จัดสถานที่ใหประชาชนทองถิ่นขายของขบเคี้ยวและเครื่องดื่ม

- มีปายสื่อความหมายของ กทม. ทั้ง

เฉพาะของวัดเอง และแหลงทองเที่ยว

ของเขตบางกอกนอยดวย

- บริเวณที่จัดเก็บขยะรวมอยูริมคลองบางกอกนอยใกลทาขึ้นเรือ ทําใหเสีย

บรรยากาศการเที่ยวชมบาง

6) วัดสุวรรณาราม - อยูริมฝงคลองบางกอกนอย และสามารถ

เดินทางทองเที่ยวตอไปยังชุมชนบานบุได

- สามารถเขาถึงไดทางถนนบริ เวณตัดกัน

ระหวางถนนบางขุนนนทและถนนจรัญสนิทวงศ

- หารายไดโดยการจัดที่จอดรถสําหรับผูที่มาวัดและมาติดตอราชการเขต

บางกอกนอย เนื่องจากอยูติดกัน

- มีหองสมุดประชาชนใหเขามาศึกษาหาความรูได

- น้ํ าบริ เวณคลองหนาวัดคอนข าง

สะอาด - เปนวัดโบราณที่มีภาพจิตรกรรมฝาผนังของจิตรกรชื่อดังในสมัยรัชกาลที่ 3 คือ อาจารย

ทองอยูและอาจารยคงแปะ

98

98

Page 121: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

99 ตาราง 15 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

6) วัดสุวรรณาราม (ตอ) - หองน้ําสําหรับนักทองเที่ยวไมสะอาดและไมเพียงพอ

- เนื่องจากเปนพื้นที่เปดโลง ทําใหเกิดมลภาวะเรื่องกลิ่น ควันของขี้เถา และ

เปลวไฟจากการหลอ

7) ชุมชนบานชางหลอ - ซอยบานชางหลออยูริมถนนพรานนก ซึ่ง

ปจจุบันไมมี โรงหลอเหลืออยู ในชุมชนแลว

เนื่องจากมีการออกกฎหมายใหบริเวณบางชาง

หลอ เปน พื้นที่อ ยูอาศัย หากจะทํ า โรงงาน

อุตสาหกรรมตองทํากําแพงอยางมิดชิด ซึ่งตอง

ใชเงินลงทุนอยางสูง ทําใหโรงหลอเดิมจึงเหลือ

เพียงสํานักงานติดตอเทานั้น

- ชุมชนทองถิ่นในปจจุบันไมตองการใหมีโรงหลออยูภายในชุมชน เนื่องจาก

กอใหเกิดมลภาวะดานตาง ๆ

- ไมมีปายสื่อความหมาย แตผูที่ดูแล

โรงงานสามารถใหความรูเกี่ยวกับการ

ผลิตในกระบวนการหลอพระได

- ซอยตรงขามซอยบานชางหลอพบวา มีโรงงานหลอพระ 1 แหง ซึ่งยังคงรับผลิตพระและรูป

หลออื่น ๆ ตามคําสั่งผลิต สภาพภายในพื้นที่

เปดโลง

- มีถังขยะรองรับอยูโดยรอบวัด 8) วัดศรีสุดาราม - ตั้งอยูริมคลองบางกอกนอย สามารถเดินทาง

เขาถึงไดทั้ งทางถนนบางขุนนนทและคลอง

บางกอกนอย

- ประชาชนทองถิ่นสามารถเชาที่วัด

เพื่อจําหนายของขบเคี้ยว เครื่องดื่ม

และอาหารปลาสํ าหรับจํ าหน ายให

นักทองเที่ยวได

- มีปายสื่อความหมายของ กทม.

- น้ําในคลองหนาวัดสะอาด

- มีจุดเดนที่นาสนใจคือ รูปหลอสมเด็จพระ

พุฒาจารย (โต) ขนาดใหญอยูติดริมฝงคลอง

และมีเขตอภัยทานใหอาหารปลาบริเวณหนาวัด 99

99

Page 122: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

100 ตาราง 15 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

8) วัดศรีสุดาราม (ตอ) ริมคลองบางกอกนอย จึงมีเรือนักทองเที่ยวแวะ

ใหอาหารปลาอยูเสมอ

- มีที่จอดรถกวางขวาง - มีหองน้ําจํานวนมากและสะอาด

- การดูแลความสะอาดในบริเวณวัดดี - เด็ก ๆ ในชุมชนรวมกันทําความ

สะอาดบริเวณวัดเปนประจํา

9) วัดสุวรรณคีรี - ตั้งอยูบริ เวณทางสามแพรงแยกริมคลองบางกอกนอย คลองสายหนึ่งแยกไปยังคลองชัก

พระ อีกเสนหนึ่งไปยังคลองบางกรวย และ

สามารถเขาถึงไดทางถนนชัยพฤกษ

- มีปายสื่อความหมายเกี่ยวกับวัดและคลองบางกอกนอยที่จัดทําโดย กทม. - คลองบริเวณหนาวัดสะอาดดี ไมมี

ขยะมูลฝอย

- มีพระพุทธรูปปางหามสมุทรเปนเครื่องกันอาถรรพณสําหรับทางสามแพรง

10) วัดปาเชิงเลน - ประชาชนที่อยูบริเวณรอบวัดซึ่งมีเรือ สามารถรับจางจัดการทองเที่ยวทางเรือ

ได

- มีการจัดอบรมวิปสสนากรรมฐานและ เทศนาสั่ งสอนประชาชนและ

นักทองเที่ยวทั่วไป

- อยูริมฝงคลองชักพระ สามารถเดินทางเขาถึงไดเพียงทางเรือ หากจะเดินทางดวยรถยนต

จะตองจอดรถและเดินเทาผานที่สวนบุคคล

- ความสะอาดของน้ําบริเวณคลองหนาวัดและภายในวัดสะอาดดี

- มีการจัดการดานขยะมูลฝอยเปนอยางดี - บรรยากาศในวัดรมรื่นเต็มไปดวยตนไม จึง

เหมาะแกการพักผอนทางใจเปนอยางมาก

- หองน้ําสําหรับฆราวาสแยกเปนสัดสวนสะอาด

11) วัดครุฑ - ตั้งอยูริมคลองมอญ สามารถเขาถึงทางน้ํา

และทางถนนอิสรภาพโดยผานเขาทางวัดชิโนรสา

ราม

- ความสะอาดของลําคลองบริเวณหนาวัดคอนขางสะอาด

- เปนทางเขาของชุมชนวัดครุฑ จึงเปน

สวนหนึ่งของชุมขน

- ไ ม มี ป า ย สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ห รื อศูนยบริการนักทองเที่ยว

100

100

Page 123: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

101 ตาราง 15 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

- บ ริ เ ว ณ ห น า วั ด เ ป น ที่ ตั้ ง ข อ ง

อาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัยหนวย

วัดครุฑ

11) วัดครุฑ (ตอ)

- มีรานจําหนายอาหารและเครื่องดื่มของชาวบานทองถิ่น

- มีการจัดสถานที่ ข ายของให กับประชาชนทองถิ่น

- มีถังขยะรองรับตั้งอยูบริเวณตาง ๆ - มีปายสื่อความหมายของ กทม. และ

ของวัด

- อยูริมฝงแมน้ําเจาพระยาจึงสามารถมองเห็นไดงาย และอยูใกลกับแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ

อื่น ๆ เชน วังหลังและกําแพงวังหลัง

12) วัดระฆังโฆสิตาราม

- แมน้ํ า เ จ าพระยาบริ เ วณหน า วั ด

คอนขางสะอาด และเปนเขตอภัยทาน - ประชาชนสามารถหารายไดจากการใหบริการที่จอดรถ - บริ เ วณสถานที่ ข ายของคอนข า ง

วุนวายและอึดอัด

- สามารถเขาถึงไดงายและสะดวกโดยทางถนนอรุณอมรินทรและทางแมน้ําเจาพระยา

- เปนวัดเกาแกตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา และมีโบราณสถานและโบราณวัตถุที่สําคัญ เชน หอ

พระไตรปฎก

- มี ก า ร จั ด ก า รด า นส า ธ า รณู ป โ ภคแล ะสาธารณูปการคอนขางดี

- ตั้งอยูในซอยเล็ก ๆ ระหวางภัทราวดีเธียเตอร

และโรงพยาบาลศิริราช

- สภาพทั่วไปยังคงถูกรักษาไวอยางดี แตบางครั้งจะมีรถเข็นขายสินคามาตั้งอยู

ดานหนาบริเวณกําแพงบาง เชน รถเข็น

ขายไกยาง ซึ่งทําลายทัศนียภาพและ

13) กําแพงวังหลัง - มีป าย สื่อความหมายของ กทม .

เกี่ยวกับเสนทางทองเที่ยวบริเวณวัง

หลัง - มีลักษณะเปนกําแพงอิฐสีแดงเกา ๆ ยาว

ประมาณ 10 เมตร สันนิษฐานวานาจะมีความ 101

101

Page 124: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

102 ตาราง 15 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

13) กําแพงวังหลัง (ตอ) เ กี่ยวของกับพระตําหนักที่ประทับของกรม

พระราชวังบวรสถานพิมุข กรมพระราชวังหลัง

ทําใหเกิดควันจากเตายาง

- บริเวณที่เปนบานเรือน รานคา และ

ตลาดนัดเปนชุมชนที่มีความหนาแนน

และมีผูคนเดินทางผานไปมาจํานวน

มาก จึงคอนขางวุนวาย แออัด และ

เสียงดัง

- ประชาชนไดใชประโยชนจากพื้นที่ของชุมชนวังหลังในหลายดาน เชน การ

เดินทาง การจับจายใชสอย ที่พักอาศัย

- โรงพยาบาลศิริราชมีพิพิธภัณฑศิริราชที่ใหความรู เ กี่ยวกับรางกายของ

มนุษยและดานการแพทย

- ตั้งอยูบริเวณริมฝงแมน้ําเจาพระยา สามารถเดินทางเขาถึงไดทั้งทางถนนพรานนกและทาง

แมน้ําเจาพระยา

14) วังหลัง

- ปจจุบันเปนที่ตั้งของบานเรือน รานคา ตลาด

นัด และโรงพยาบาลศิริราช

- โรงพยาบาลศิริราชนับเปนศูนยกลางทางการแพทยที่สําคัญของประชาชนใน

พื้นที่ฝงธนบุรี - หลายพื้นที่ ในโรงพยาบาลศิริราช กําลังมีการกอสรางอาคารเพิ่มเติม ทํา

ใหมีดัง และมีฝุนควัน

ตาราง 16 แบบสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยวเขตบางกอกใหญ

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

- ตั้งอยูริมแมน้ําเจาพระยา สามารถเขาถึงไดทั้งทางถนนอรุณอมรินทรและทางแมน้ําเจาพระยา

- มีป าย สื่อความหมายของ กทม .

ไดแก ปายเกี่ยวกับวัด และปายแสดง

เสนทางทองเที่ยวทางแมน้ําเจาพระยา

- การจัดการดานความสะอาดภายในวัดดี มีการจัดเตรียมถังรองรับขยะไว

โดยรอบ

- ชาวบานสามารถเชาที่ภายในวัด เพื่อ

เปดรานขายอาหาร เครื่องดื่ม ของที่

ระลึก หรือรับถายรูปใหกับนักทองเที่ยว

1) วัดอรุณราชวราราม

102

102

Page 125: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

103 ตาราง 16 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

1) วัดอรุณราชวราราม (ตอ) - แมน้ํ า เ จ าพระยาบริ เ วณหน าวัด

สะอาด ไมขยะมูลฝอย

- ทรัพยากรภายในวัดอรุณ ฯ มีความสมบูรณ

มาก เชน พระอุโบสถ พระอรุณหรือพระแจง

ซุมประตูยอดมงกุฎ รูปปนยักษยืน มณฑปพระ

พุทธบาทจําลอง

- ชาวบานที่ตั้ งบานเรือนอยูบริ เวณขางเคียงวัด ก็สามารถสรางรายไดดวย

การเปดรานขายอาหารและเครื่องดื่ม

- อากาศภายในวัดถายเทดี ไมมีฝุน

ควัน

- มีพระปรางคที่ประดับดวยกระเบื้องเคลือบ

จานชามเบญจรงค และเปลือกหอยซึ่งมีความสูง

ถึง 67 เมตร เปนสัญลักษณโดดเดนตั้งอยูริมฝง

แมน้ําเจาพระยา

- ก า ร จั ด ก า ร ด า น ส า ธ า ร ณู ป โ ภ ค แ ล ะสาธารณูปการภายในวัดอรุณ ฯ ดี เชน ไฟฟา

ประปา ทางเดิน หองน้ํา ที่นั่งพักผอน รานขาย

อาหาร-เครื่องดื่ม-ของชํารวย

- มีปอมตํารวจทองเที่ยวอยูภายในวัด

- สภาพแวดลอมภายในวัดคอนขางสะอาด

- ช า วบ า น เ ป ด ร า น ข ายขนมและเครื่องดื่ม

2) วัดโมลีโลกยาราม ตั้งอยูหลังพระราชวังเดิม (กองทัพเรือ) ริมปาก

คลองบางกอกใหญ สามารถเดินทางเขาถึงไดทั้ง

ทางถนนอรุณอมรินทรใตสะพานขามคลอง

บางกอกใหญและทางคลองบางกอกใหญ

- มีปายสื่อความหมายของ กทม.

- สามารถเดินขามประตูน้ําปากคลองบางกอกใหญหรือนั่งเรือขามคลองบางกอกใหญไปยังวัด 1

03

103

Page 126: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

104 ตาราง 16 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

2) วัดโมลีโลกยาราม (ตอ) กัลยาณมิตร นอกจากนั้นตรงถนนทางเขาวัดก็

เปนถนนเดียวกับทางเขามัสยิดตนสน

- บรรยากาศภายในวัดเงียบสงบ ไมวุนวาย

- ภายในวัดสะอาดเรียบรอยดี - เปนฌาปนสถานของกองทัพเรือ - มีป าย สื่อความหมายของ กทม .

ตั้งอยูบริเวณริมถนนหนาวัด

- สามารถเดินทางเข า ถึงไดทางถนนอรุณอมรินทรและริมคลองมอญ

3) วัดเครือวัลย

- คลองมอญที่ติดกับวัดสะอาดดี ไมมีขยะมูลฝอย

- มี ก า ร จั ด ก า รด า นส า ธ า รณู ป โ ภคแล ะสาธารณูปการดี เนื่องจากเปนฌาปนสถานของ

กองทัพเรือ เชน ที่จอดรถสะดวกสบาย

4) วัดหงสรัตนาราม - ตั้งอยูริมคลองบางกอกใหญ สามารถเดินทางเขาถึงไดทั้งทางคลองบางกอกใหญและทางถนน

อรุณอมรินทร รวมทั้งยังสามารถทางเดินตอไป

ยังกุฎีเจริญพาศนได

- การจัดการความสะอาดภายในวัดดําเนินการไดดี

- ชาวบานที่อยูบริเวณโดยรอบ มีการ

จําหนายอาหารและเครื่องดื่มใหกับ

ประชาชนและนักทองเที่ยว

- มีปายสื่อความหมายของ กทม.

- บรรยากาศภายในวัดเงียบสงบ

- มี “หลวงพอแสน” เปนพระพุทธรูปโลหะเนื้อ

สัมฤทธิ์ ประทับนั่งขัดสมาธิราบปางมารวิชัย ซึ่ง

- มี “ศาลสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี มหาราช” - มีปายสื่อความหมายของ กทม. - มีชุมชนวัดสังขกระจายตั้งอยูบริเวณ

ปากทางเขาวัดดานที่ติดกับถนน

5) วัดสังขกระจาย - ตั้งอยูริมคลองบางกอกใหญ สามารถเดินทางเขาถึงไดทั้งทางเรือและทางรถยนตผานถนนขาง

วิหาร (ซอยตรงขามกุฎีเจริญพาศน)

- สภาพแวดลอมภายในวัดสะอาดดี - มีหองสมุดประชาชนซึ่งเปนสวนหนึ่งของศาลาการเปรียญ

- บรรยากาศเงียบสงบ

- ชาวบานที่เชาที่วัดเพื่อพักอาศัย ตั้ง

รานขายสินคา อาหาร เครื่องดื่มใหกับ

- คลองบางกอกใหญบริเวณหนาวัดสะอาดดี - มี “พระสังกัจจายน” ที่ขุดพบเมื่อครั้งขุดพระ 1

04

104

Page 127: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

105 ตาราง 16 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

5) วัดสังขกระจาย (ตอ) อุโบสถ ซึ่งไดเก็บไวรักษาไวอยางดี ประชาชนและนักทองเที่ยวทั่วไป

- ภายในวัดสะอาดเรียบรอย 6) วัดประดูฉิมพลี - ตั้งอยูริมคลองบางกอกใหญ สามารถเดินทางเขาถึงไดทั้งทางคลองบางกอกใหญและทางถนน

เพชรเกษม จากวัดประดูฉิมพลีสามารถเดินผาน

สะพานขามคลองบางกอกใหญไปยังวัดปากน้ํา

ได

- ประชาชนที่มีบานเรือนอยูขางวัด มี

การตั้งรานขายอาหารและเครื่องดื่ม

- ไมมีปายสื่อความหมาย - คลองหนาวัดสะอาด ไมมีขยะมูล

ฝอย - มีชาวบานทั้งที่รางกายปกติและพิการนําสลากกินแบงรัฐบาลมาขาย

- มี “หลวงปูโตะ” อดีตเจาอาวาสที่ประชาชนใหความเคารพนับถืออยางสูง

- ไมไดเปดโอกาสใหชุมชนทองถิ่นเขามามีสวนรวมในการจัดการภายใน

พระราชวังเดิม แตมีการจัดตั้ ง เปน

“มู ล นิ ธิ อ นุ รั ก ษ โ บ ร าณ ส ถ า น ใ น

พระราชวังเดิม” โดยมีสมเด็จพระเทพ

รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีเปน

องคประธานที่ปรึกษา

- มีหองสมุดมูลนิธิ ฯ สําหรับสืบคน

ขอมูลใหกับนักเรียน นักศึกษา และ

ประชาชนทั่วไป

7) พระราชวังเดิม - ตั้ ง อ ยู ภ า ย ในกอ งทั พ เ รื อ ริ มฝ ง แม น้ํ าเจาพระยา ปากคลองบางกอกใหญ สามารถ

เดินทางเขาถึงโดยถนนอรุณอมรินทร และทาเรือ

ของกองทัพเรือ

- สถานที่ภายในสะอาด เ งียบสงบ

เนื่องจากอยูภายในบริเวณกองทัพเรือ

ซึ่งเปนสถานที่ราชการ

- แ ม น้ํ า เ จ า พ ร ะ ย า บ ริ เ ว ณ ห น า

กองทัพเรือสะอาดดี

- มีการจัดพิมพหนังสือเกี่ยวกับพระราชประวัติของสมเด็จพระเจาตากสิน

และประวัติศาสตรความเปนมากของ

กรุงธนบุรีเพื่อหารายไดใหมูลนิธิ

- การเขาชมภายในพระราชวังเดิมตองแจงเปนหนังสือลวงหนาอยางนอย 1 สัปดาห และมา

เปนกลุมอยางนอย 30 คน

- มี “ปอมวิไชยประสิทธิ์” เปนสัญลักษณที่มองเห็นไดจากแมน้ําเจาพระยา

8) มัสยิดตนสน - ตั้งอยูใกลปากคลองบางกอกใหญ สามารถเดินทางเขาถึงไดทางคลองบางกอกใหญและทาง

- สภาพพื้นที่ภายนอกโดยรวมสะอาดดี

- เปนศูนยกลางสําคัญทางศาสนาของชุมชนชาวมุสลิมในยานนั้น

- มีป าย สื่อความหมายของ กทม .

ตั้งอยูบริเวณริมถนนกอนทางเขามัสยิด 105

105

Page 128: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

106 ตาราง 16 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

- ชาวบานเปดรานขายอาหาร ขนม

และเครื่องดื่มอยูรอบ ๆ

8) มัสยิดตนสน (ตอ) ถนนอรุณอมรินทรใตสะพานขามคลองบางกอก

ใหญ ซึ่งเปนทางเขาเดียวกับวัดโมลีโลกยาราม

- มัสยิดเปนอาคารกออิฐถือปูน โดมเปนทรง

อียิปตสีเขียว สามารถมองเห็นไดอยางชัดเจน

ตาราง 17 แบบตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยวเขตตลิ่งชัน

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

- ประชาชนเข ามานั่ ง เลน พักผอนบริเวณริมน้ํา

- ไมมีปายสื่อความหมาย 1) วัดรัชฎาธิษฐาน (วัดเงิน) - ตั้งอยูริมคลองบางพรม ตรงขามวัดกาญจน

สิงหาสน สามารถเดินทางเขาถึงทั้งทางคลองบาง

พรม และทางถนนชัยพฤกษเขาถนนวัดแกว-

พุทธมณฑลสาย 1 เสนทางเดียวกับวัดกาญจน

สิงหาสน

- บริเวณภายในวัดมีการรักษาความสะอาดเปนอยางดี

- คลองบริเวณหนาวัดสะอาด ไมมีเศษ

ขยะ

- เปนวัดใหญโตและโออ าในยานนั้น พระ

อุโบสถและพระวิหารมีมาแตสมัยโบราณ ตั้ง

ขนานอยูกับคลองบางพรม

- หอไตรมีขนาดใหญตั้งอยูบนสระน้ํา มี

106

106

Page 129: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

107 ตาราง 17 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

1) วัดรัชฎาธิษฐาน (ตอ) ลักษณะเปนเรือนใหญ 4 หองมีชอฟา ใบระกา

หนาบันเขียนลายทอง

- การจัดการดานความสะอาดภายในวัดดี

- ประชาชนเข ามานั่ ง เลน พักผอนบริเวณริมน้ํา

- ไมมีปายสื่อความหมาย - ตั้งอยูริมคลองบางพรม สามารถเดินขาม

สะพานขามคลองไปยังวัดรัชฎาธิษฐานได การ

เดินทางเขาถึงไดทั้งทางคลองบางพรมและทาง

ถนนชัยพฤกษเขาถนนวัดแกว-พุทธมณฑลสาย

1

2) วัดกาญจนสิงหาสน (วัด

ทอง)

- พระอุโบสถมีความเกาแกตั้งแตสมัยอยุธยา และมีปรางคใหญตั้งอยูในมุมกําแพงแกวทั้ง 4

มุม มีเจดียรายดานละ 2 องค รวม 12 องค

- มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมขนาดใหญตั้งขนานอยูกับริมคลองบางพรม

- ภายในบริเวณวัดสะอาดเรียบรอยดี - ชาวบานสามารถมาชวยขายอาหารปลาใหกับนักทองเที่ยวและประชาชน

เพื่อหารายไดบํารุงวัด

- ตั้งอยูริมคลองมอญใกลสถานีตํารวจบางเสาธง ตรงขามวัดปากน้ําฝงเหนือ สามารถเดินทาง

เขาถึงไดทั้งทางคลองมอญและทางถนนจรัญ

สนิทวงศ 13

- ไมมีปายสื่อความหมาย 3) วัดปากน้ําฝงใต

- พระอุโบสถตั้งอยูบนเนินสูง ขนานกับลําคลอง หันหนาสูทิศตะวันออก พระประธานและ

ใบเสมาเปนลักษณะชางสมัยอยุธยาตอนปลาย 107

107

Page 130: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

108 ตาราง 17 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

3) วัดปากน้ําฝงใต (ตอ) - มีพระวิหารเล็กประดิษฐานพระพุทธรูปสมัยรัตนโกสินทร

บริเวณวัดที่ติดกับคลองเปนที่ใหอาหารปลา

สําหรับนักทองเที่ยวและประชาชนทั่วไป

- ไมมปีายสื่อความหมาย - ชาวบานทองถิ่นเขามาชวยทําความสะอาดสถานที่ สถูป เจดีย

- เ นื่องจากวัดอยูหางไกลจากถนน

และภายในบริเวณวัดก็มีตนไมจํานวน

มาก จึงไมมีมลพิษของฝุนควันและ

เสียงอึกทึกใด ๆ เขามารบกวน

4) วัดเกาะ ตั้งอยูบริเวณคลองมอญ เชื่อมตอกับคลองบาง

นอยและคลองบางเชือกหนัง การเดินทางเขาถึง

สามารถทําไดโดยทางเรือหรือเดินผานตรอกใน

ชุมชนเขาไป ไมสามารถนํารถยนตเขาไปถึงได

- ชาวบ านตั้ ง ร านขายอาหารและเครื่องดื่มบริเวณทางเขาวัด

- บรรยากาศภายในวัดรมรื่น เนื่องจากมีตนไม

ขนาดใหญนอยจํานวนมาก รวมทั้งยังมีสถานที่

นั่งพักผอนที่จัดไวตอนรับประชาชนทั่วไปดวย

- มี เ จ าหน าที่ ของวั ด เล า เ รื่ อ ง ร าวเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของวัด

ความศัก ดิ์ สิทธิ์ ของพระพุทธรูปที่

ชาวบานนับถือให กับประชาชนและ

นักทองเที่ยวทั่วไปไดฟงผานเสียงตาม

สาย แตขอมูลยังไมละเอียดเทาใดนัก

- เสียงของลําโพงที่ใชประกาศเชิญชวนนักทอง เที่ ยวมี เ สียงดั งมาก ทํ า ให

ทําลายบรรยากาศที่ดีภายในวัด

- ความรวมมือกันระหว างวัดและชาวบานทองถิ่นในการจัดตลาดน้ําเปน

ประจําทุกวันเสารและอาทิตย

5) วัดสะพาน - ตั้งอยูริมคลองบางนอย สามารถเดินทาง

เขาถึงไดทั้งทางเรือและทางถนนจรัญสนิทวงศ

31 หรือถนนพรานนก-พุทธมณฑลสาย 4

- มีการจัดกิจกรรมตามเทศกาล งาน

ประเพณี และงานสงเสริมการทองเที่ยว

อื่น ๆ เชน งานประกวดกลวยไม

- มีพระวิหาร 3 หลังตั้งเรียงกันอยู หันหนาไปทางทิศตะวันออก สวนดานหลังหันออกสูลํา

คลอง พระพุทธรูปในพระวิหารทั้งสามหลังเปน

ศิลาสมัยอยุธยาทั้งหมด สวนพระวิหารหลังสุด

ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยที่มีพระ 108

108

Page 131: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

109 ตาราง 17 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

5) วัดสะพาน (ตอ) องคุลีเสมอกัน เปนพระศิลาศักดิ์สิทธิ์มีคนนับ

ถือกันมาก

- แม ว า จ ะ มี ก า ร ข า ย อ าห า ร แล ะเครื่องดื่มบริเวณริมน้ํา แตในลําคลองก็

ยังคงสะอาด ไมมีการทิ้งเศษอาหารหรือ

ขยะลงในลําคลอง

- ชาวบานไดมีสวนรวมในการนําผักหรือผลไมพื้นบานมาจําหนาย

- จัดใหมีกิจกรรมการทองเที่ยวทางน้ําในพื้นที่ เขตตลิ่งชันโดยมีมัคคุเทศก

บรรยายตลอดเสนทางทองเที่ยว

- ตั้งอยูริมคลองชักพระ ติดกับสํานักงานเขตตลิ่งชัน สามารถเดินทางเขาถึงไดทั้งทางเรือและ

ทางถนนชัยพฤกษแลวเขาถนนสุขาภิบาล 3

6) ตลาดน้ําตลิ่งชัน

- สามารถเขารวมกิจกรรมตาง ๆ ที่

สํานักงานเขตตลิ่งชันจัดขึ้น เชน การ

ประกวดพันธุไม ดนตรีในสวน การจัด

นิทรรศการ

- จัดนิทรรศการและการบรรยายวิชาการดานการเกษตร

- เปนตลาดน้ําที่บริเวณดานหนาสํานักงานเขตขายสินคาอุปโภคบริโภคทั่วไป แลวบริเวณที่เปน

สวนก็มีการจัดกิจกรรมตาง ๆ ที่นาสนใจ

- หัวหน า ชุมชนตลาดน้ํ าคลองลัดมะยมใช แนว คิดทฤษฎี เศรษฐกิ จ

พอเพียงรวมกับการดําเนินงานภายใต

แนวคิดการจัดการอยางยั่งยืน ทําให

บริเวณตลาดน้ําคลองลัดมะยมมีความ

สะอาดดี การคัดเลือกสินคามาจําหนาย

ก็จะเลือกสินคาที่ดี มีคุณภาพ

- ชาวบานในชุมชนสามารถนําพืช ผัก ผลไม และสินคาพื้นบานที่ผลิตเองใน

ครัวเรือนมาจําหนายในราคายอมเยา

7) ตลาดน้ําคลองลัดมะยม - ตั้งอยูริมคลองลัดมะยม สามารถเดินทาง

เขาถึงไดทั้งทางเรือและทางถนน

- มีหองสมุดประชาชนสําหรับชาวบาน

ประชาชนทั่วไป และนักทองเที่ยวเขามา

คนควาหาขอมูลที่มีประโยชนได - เปนตลาดน้ําที่ เกิดจากการรวมตัวกันของชาวบาน ซึ่งมีการพัฒนามาโดยตลอด - อาหารและเครื่องดื่มที่นํามาจําหนาย

ตองมีคุณภาพดี สะอาด และปลอดภัย

- ปญหาเรื่องน้ําที่ใชเพาะปลูก บางปน้ํา

นอยไมพอใช แตบางปน้ําทวมจนพืชผัก

ผลไมเนาเสีย

- ชาวสวนจะรวบรวมกิ่งพันธุมาสงรวมไวที่คนกลาง แลวก็จึงจัดสงจําหนาย

- บางสวนมีชื่อพันธุกลวยไม ดอกไมติดไวใหนักทองเที่ยวไดรูจัก

8) สวนกลวยไม - สวนกลวยไมตั้งอยูริมคลองตาง ๆ จะมีการ

ตัดดอกและเพาะพันธุจําหนาย สวนพันธุไมดอก

ของไทย เชน จันทนกะพอ สารภี กระดังงาไทย

ปป - พื้นที่การทําสวนเริ่มลดลง เนื่องจาก 109

109

Page 132: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

110 ตาราง 17 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

8) สวนกลวยไม (ตอ) ถูกเปลี่ยนแปลงไปเปนหมูบานจัดสรร

- ปญหาน้ําเนาเสียที่ถูกปลอยออกมาจากหมูบานจัดสรร

ตาราง 18 แบบตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยวเขตธนบุรี

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

- ภายในวัดมีการรักษาความสะอาด

อยางดี

- ชาวบานสามารถเขามาขายอาหารและเครื่องดื่มภายในและรอบ ๆ บริเวณวัด

ได เชน เฉากวย น้ํ า ดื่ม น้ํ า อัดลม

นอกจากนั้น ยังมีอาหารปลา อาหารนก

ไวจําหนายสําหรับทําทานอีกดวย

- ไมมีปายสื่อความหมาย 1) วัดกัลยาณมิตร - ตั้งอยูริมปากคลองบางกอกใหญ สามารถเขาถึงไดทั้งทางเรือและทางถนนอรุณอมรินทร

- มี “พระพุทธไตรรัตนนายก หรือ หลวงพอโต

หรือ ซําปอกง” เปนพระประธานในวิหารหลวง

ซึ่งเปนพระพุทธรูปปางปาเลไลยเพียงวัดเดียวใน

ประเทศไทย

- ชาวบานทองถิ่นสามารถนําอาหาร เครื่องดื่ม รวมทั้งดอกไมที่ใชในการ

สักการะบูชามาจําหนายบริเวณภายใน

และรอบ ๆ วัดได

- การดูแลรักษาความสะอาดภายในวัดดี

- มีป าย สื่อความหมายของ กทม .

เกี่ยวกับวัดอินทารามและศาลสมเด็จ

พระเจาตากสิน

- ตั้งอยูริมคลองบางกอกใหญ สามารถเขาถึงไดทั้งทางเรือและทางถนนเทอดไทย

2) วัดอินทาราม

- น้ําบริเวณคลองหนาวัดสะอาด ไมมี

ขยะและกลิ่นเหม็น

- เปนวัดสําคัญในสมัยกรุงธนบุรี เนื่องจากพระเจาตากสินมหาราชมีพระราชศรัทธาและ - มีหนังสือประวัติวัดอินทารามแจกอยู

110

110

Page 133: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

111 ตาราง 18 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

- การชวยดูแล ทําความสะอาดภายใน

วัด

ภายในวิหารเล็ก โดยสามารถรวมกัน

บริจาคเงินเพื่อจัดพิมพหนังสือดังกลาว

ตอไปตามจิตศรัทธา

2) วัดอินทาราม (ตอ) บูรณปฏิสังขรณใหมทั้งวัด แลวสถาปนาเปน

พระอารามหลวงชั้นเอกพิเศษ และพระองคยัง

เสด็จมาทรงศีลบําเพ็ญพระกรรมฐาน ณ พระ

ตําหนักในวัดนี้ดวย

- มีเจดียเหลี่ยมยอมุม 20 ขนาดใหญ สามองค

เรียงกันสวยงามมาก เปนศิลปะสมัยรัชกาลที่ 3

ดานขางของโบสถมีปรางคสูง ตั้งอยูบนฐานสูงมี

พาไลรอบ

- พระวิหารหลังเล็กที่ตั้งอยูขางพระวิหารใหญ เปนลักษณะของสถาปตยกรรมสมัยพระเจากรุง

ธนบุรี คือ หนาบันกออิฐเปนผนังสามเหลี่ยม ทํา

ลวดลายเครือเถา ประดับดวยจานเคลือบของ

จีน เปนลักษณะของอยุธยาตอนปลาย ในพระ

วิหารมีพระแทนบรรทมของสมเด็จพระเจาตาก

สินทําดวยไม ลวดลายที่พนักพระแทนแกะดวย

งาชาง ลายดอกพุดตานประกอบใบ งดงามมาก

- มีเจดียยอมุม 12 คูหนึ่งขนาดใหญ กลาวกัน

วาเปนที่บรรจุพระบรมอัฐิของพระเจากรุงธนบุรี

และพระมเหสี 111

111

Page 134: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

112 ตาราง 18 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

- บริ เ วณวิ ห า ร ใหญ และภู เ ข า ที่ มี

มณฑปมี ขยะ เศษขวด เศษแกวไมนา

ชม

3) วัดราชคฤห - ตั้งอยูริมฝงคลองบางกอกใหญ สามารถเขาถึงไดทั้งทางเรือและทางถนนเทอดไทย

- บริเวณวัดที่ติดกับคลองจัดใหเปนสนามเด็ก เลนและที่นั่ ง พักผอนให

ชาวบานทองถิ่น

- ไมมีปายสื่อความหมาย

- พระอุโบสถทรงแบบอยุธยา ฐานเสมาและใบเสมาเปนของสมัยอยุธยาตอนกลาง - ชาวบานสามารถเขามาจําหนายขนม

ผลไม เครื่องดื่มภายในบริเวณวัดได - ดานหนาวัดที่ติดกับถนนมีภูเขากอขึ้นใหญโตและทําเปนมณฑปทรงยอดปราสาทจัตุรมุข ลาย

หนาบันรูปสลักไมนารายณทรงครุฑ

- มีชาวบานมาตั้งรานขายอาหารปลาที่บริเวณริมฝงคลองใหกับนักทองเที่ยว

- ไมมีทาเรือสําหรับขึ้นเรือที่วัดนี้

- การดูแลรักษาความสะอาดดี - มีพุทธศาสนิกชนจํานวนมาก - มีปายสื่อความหมายของวัดปากน้ําและคลองภาษีเจริญอยูบริเวณถนน

ทางเขาวัด

4) วัดปากน้ํา - เปนวัดที่ลอมรอบไปดวยน้ําถึง 3 ดานคือ

ตั้งอยูบริเวณปากคลองดานที่แยกจากคลอง

บางกอกใหญ ดานตะวันตกติดคลองภาษีเจริญ

และทางดานใตมีคลองขนาดเล็กแสดงอาณาเขต

ของวัด

- การเดินทางสามารถไปไดทั้งทางเรือและทางถนนเพชรเกษม 23

- มีหอพระไตรปฎกและตูพระไตรปฎกทรงบุษบกเปนฝมือชางสมัยสมเด็จพระนารายณ

- ป จจุ บั น มีกา รปรั บปรุ งทั ศ นียภาพและบูรณปฏิสังขรณหลายครั้ง เชน พระอุโบสถ 1

12

112

Page 135: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

113

113

ตาราง 18 (ตอ)

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

4) วัดปากน้ํา (ตอ) พระวิหาร จนกลายเปนรูปแบบของศิลปะสมัย

กรุงรัตนโกสินทรไปแลว

- มีสุขาจํานวนมากเพียงพอสําหรับรองรับผูที่มาเยี่ยมเยือนวัด

มีตูเอทีเอ็มตั้งอยูในบริเวณวัดดวย

5) วัดเวฬุราชิน - ตั้งอยูริมคลองบางกอกใหญ สามารถเดินทางเขาถึงไดทางถนนเทิดไทย

- เ นื่องจากวัดใชลานกวางเปนที่ เขาสําหรับเอกชนใหนําสินคาขึ้น บริเวณทาเรือจึงคอนขาง

วุนวาย

- มีพระพุทธรูปปางหามสมุทรอยูบริเวณริมคลองบางกอใหญ นอกจากนั้นยังมีศาลสมเด็จ

พระเจากรุงธนบุรีตั้งอยูบริเวณทางเขาดานที่ติด

กับถนน

- ไมคอยเรียบรอยเทาใดนัก เนื่องจากเปนที่ เช า สํ าหรับขนถ ายสินค าของ

เอกชน

- มีชาวบานทองถิ่นนั่งดื่มเหลาบริเวณฐานของพระพุทธรูปปางหามสมุทร ทํา

ใหเสื่อมเสียตอพุทธศาสนา

- มีปายสื่อความหมายของวัดอยูที่ดานหนาติดถนน

- มีปายสื่อความหมายตั้งอยูบริเวณดานหนาศาลริมฝงแมน้ําเจาพระยา

- เปนสวนหนึ่งของชุมชนกุฎีจีน มี

ความสําคัญมาแตอดีต

- มีการจัดการดูแลเรื่องความสะอาดเปนอยางดี

- บรรยากาศภายในศาลเจาเงียบสงบ

6) ศาลเจาเกียนอันเกง - ตั้งอยูริมแมน้ําเจาพระยา สามารถเดินเทามาจ ากวั ด กัลย าณมิ ต รและทา ง เ รื อที่ ท า วั ด

กัลยาณมิตรหรือทาเรือขามฟาก

113

Page 136: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

114

4.4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรีและความรูความเขาใจตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศของประชาชนทองถิ่น ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว และมัคคุเทศก

4.4.1 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรีและความรูความเขาใจตอการทองเที่ยวเชิง

นิเวศของประชาชนทองถิ่น

สวนที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของประชาชนทองถิ่น

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพทางเพศของประชาชนทองถิ่น ปรากฏผลดังตาราง 19

ตาราง 19 แสดงคารอยละสถานภาพทางเพศของประชาชนทองถิ่น

เพศ จํานวน (คน) รอยละ

เพศชาย 38 38.0

เพศหญิง 62 62.0

รวมทั้งหมด 100 100.0

จากตาราง 19 พบวา ประชาชนทองถิ่นสวนใหญเปนเพศหญิงคิดเปนรอยละ 62 ที่เหลือเปนเพศชายคิด

เปนรอยละ 38

ผลการวิเคราะหขอมูลดานอายุของประชาชนทองถิ่น ปรากฏผลดังตาราง 20

ตาราง 20 แสดงคารอยละดานอายุของประชาชนทองถิ่น

อายุ จํานวน (คน) รอยละ

ต่ํากวา 20 ป 5 5.0

21 - 30 ป 34 34.0

31 - 40 ป 34 34.0

41 - 50 ป 16 16.0

51 - 60 ป 5 5.0

มากกวา 60 ปขึน้ไป 6 6.0

รวมทั้งหมด 100 100.0

114

Page 137: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

115

จากตาราง 20 พบวา ประชาชนทองถิ่นสวนใหญจะมีอายุระหวาง 21 - 30 ป และ 31 - 40 ป คิดเปน

รอยละ 34 เทากัน รองลงมาไดแก อายุระหวาง 41 - 50 ป คิดเปนรอยละ 16 อายุมากกวา 60 ปขึ้นไป คิดเปน

รอยละ 6 และอายุที่มีจํานวนนอยที่สุดไดแกอายุต่ํากวา 20 ป และอายุระหวาง 51 - 60 ป คิดเปนรอยละ 5

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับระดับการศึกษาสูงสุดของประชาชนทองถิ่น ปรากฏผลดังตาราง 21

ตาราง 21 แสดงคารอยละระดับการศึกษาสูงสุดของประชาชนทองถิ่น

ระดับการศึกษาสูงสุด จํานวน (คน) รอยละ

ประถมศึกษา 11 11.0

มัธยมศึกษาตอนตน 9 9.0

มัธยมศึกษาตอนปลาย 5 5.0

ปวช. 8 8.0

ปวส. / อนุปริญญา 20 20.0

ปริญญาตรี 40 40.0

สูงกวาปริญญาตรี 7 7.0

รวมทั้งหมด 100 100.0

จากตาราง 21 พบวา ประชาชนทองถิ่นสวนใหญมีการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเปนรอยละ 40

รองลงมาไดแก ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง / อนุปริญญา คิดเปนรอยละ 20 ระดับประถมศึกษา คิดเปน

รอยละ 11 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน คิดเปนรอยละ 9 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นตน คิดเปนรอยละ 8

ระดับสูงกวาปริญญาตรี คิดเปนรอยละ 7 และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คิดเปนรอยละ 5 ตามลําดับ

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับอาชีพหลักของประชาชนทองถิ่น ปรากฏผลดังตาราง 22

ตาราง 22 แสดงคารอยละอาชีพหลักของประชาชนทองถิ่น

อาชีพหลัก จํานวน (คน) รอยละ

เกษตรกรรม 1 1.0

เลี้ยงสัตว 2 2.0

ประมง 1 1.0

รับราชการ / รัฐวิสาหกิจ 14 14.0

คาขาย 37 37.0

115

Page 138: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

116

ตาราง 22 (ตอ)

อาชีพหลัก จํานวน (คน) รอยละ

รับจางทั่วไป 24 24.0

อื่น ๆ 21 21.0

รวมทั้งหมด 100 100.0

จากตาราง 13 พบวา ประชาชนสวนใหญมีอาชีพหลักคือคาขาย คิดเปนรอยละ 37 รองลงมา ไดแก

รับจางทั่วไป คิดเปนรอยละ 24 สวนอาชีพอื่น ๆ ที่ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญระบุคือ นักเรียน นักศึกษา ซึ่งคิด

เปนรอยละ 21 นอกจากน้ัน ยังประกอบดวยอาชีพรับราชการ / รัฐวิสาหกิจ คิดเปนรอยละ 14 ที่เหลือประกอบ

อาชีพเลี้ยงสัตว คิดเปนรอยละ 2 อาชีพเกษตรกรรม คิดเปนรอยละ 1 และอาชีพประมง คิดเปนรอยละ 1

ตามลําดับ

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับอาชีพเสริมของประชาชนทองถิ่น ปรากฏผลดังตาราง 23

ตาราง 23 แสดงคารอยละอาชีพเสริมของประชาชนทองถิ่น

อาชีพเสริม จํานวน (คน) รอยละ

ไมไดประกอบอาชีพเสริม 77 77.0

บริการสถานพักแรม 2 2.0

บริการรานอาหาร / รานคา / รานเชา 12 12.0

บริการดานการสื่อสาร เชน อินเทอรเน็ต 1 1.0

มัคคุเทศก / นําเที่ยว 2 2.0

ขายสินคา / ของที่ระลึก 2 2.0

อื่น ๆ 4 4.0

รวมทั้งหมด 100 100.0

จากตาราง 23 พบวา ประชาชนทองถิ่นสวนใหญไมไดประกอบอาชีพเสริม คิดเปนรอยละ 77 รองลงมา

ประกอบอาชีพเสริมดานการบริการรานอาหาร / รานคา คิดเปนรอยละ 12 นอกจากน้ันยังประกอบอาชีพเสริมอื่น

ๆ เชน รับจางทั่วไป คิดเปนรอยละ 4 สวนที่เหลือประกอบอาชีพเสริมดานบริการสถานพักแรม คิดเปนรอยละ 2

การเปนมัคคุเทศก / นําเที่ยว คิดเปนรอยละ 2 การขายสินคา / ของที่ระลึก คิดเปนรอยละ 2 และการใหบริการ

ดานการสื่อสาร เชน อินเทอรเน็ต คิดเปนรอยละ 2

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับรายไดตอเดือนของประชาชนทองถิ่น ปรากฏผลดังตาราง 24

116

Page 139: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

117

ตาราง 24 แสดงคารอยละรายไดตอเดือนของประชาชนทองถิ่น

รายไดตอเดือน จํานวน (คน) รอยละ

ต่ํากวา 5,000 บาท 10 10.0

5,001 - 10,000 บาท 38 38.0

10,001 - 15,000 บาท 15 15.0

15,001 - 20,000 บาท 16 16.0

20,001 - 25,000 บาท 11 11.0

25,001 - 30,000 บาท 2 2.0

มากกวา 30,000 บาทขึ้นไป 8 8.0

รวมทั้งหมด 100 100.0

จากตาราง 24 พบวา ประชาชนทองถิ่นสวนใหญมีรายได 5,000 - 10,000 บาทตอเดือน คิดเปนรอยละ

38 รองลงมามีรายได 15,001 - 20,000 บาทตอเดือน คิดเปนรอยละ 16 ลําดับถัดมาคือมีรายได 10,001 - 15,000

บาทตอเดือน คิดเปนรอยละ 15 รายได 20,001 - 25,000 บาทตอเดือน คิดเปนรอยละ 11 และรายไดต่ํากวา

5,000 บาทตอเดือน คิดเปนรอยละ 10 สวนที่เหลือมีรายไดมากกวา 30,000 บาทตอเดือน คิดเปนรอยละ 8 และมี

รายได 25,001 - 30,000 บาทตอเดือน คิดเปนรอยละ 2 ตามลําดับ

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับระยะเวลาการตั้งถิ่นฐานในพื้นท่ีฝงธนบุรีของประชาชนทองถิ่น ปรากฏผล

ดังตาราง 25

ตาราง 25 แสดงคารอยละระยะเวลาการตั้งถิ่นฐานในพื้นท่ีฝงธนบุรีของประชาชนทองถิ่น

ระยะเวลาการตัง้ถิ่นฐาน จํานวน (คน) รอยละ

ต่ํากวา 1 ป 8 8.0

1 - 5 ป 22 22.0

6 - 10 ป 24 24.0

11 - 20 ป 16 16.0

21 - 30 ป 10 10.0

มากกวา 30 ปขึ้นไป 20 20.0

รวมทั้งหมด 100 100.0

117

Page 140: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

118

จากตาราง 25 พบวา ประชาชนทองถิ่นสวนใหญจะตั้งถิ่นฐานอยูในพื้นที่ฝงธนบุรีตั้งแต 6 - 10 ป คิด

เปนรอยละ 24 รองลงมาอยูในพื้นท่ีตั้งแต 1 - 5 ป คิดเปนรอยละ 22 และมากกวา 30 ปขึ้นไป คิดเปนรอยละ 20

สวนที่เหลือตั้งถิ่นฐานอยูในพื้นท่ีตั้งแต 11 - 20 ป คิดเปนรอยละ 16 ตั้งแต 21 - 30 ป คิดเปนรอยละ 10 และต่ํา

กวา 1 ป คิดเปนรอยละ 8 ตามลําดับ

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการเปนสมาชิกกลุมกิจกรรมตาง ๆ ในชุมชนของประชาชนทองถิ่น

ปรากฏผลดังตาราง 26

ตาราง 26 แสดงคารอยละการเปนสมาชิกกลุมกิจกรรมในชุมชนของประชาชนทองถิ่น

การเปนสมาชิกกลุมกิจกรรม จํานวน (คน) รอยละ

ไมเปนสมาชิก 97 97.0

เปนสมาชิก 3 3.0

รวมทั้งหมด 100 100.0

จากตาราง 26 พบวา ประชาชนทองถิ่นสวนใหญไมไดเปนสมาชิกของกลุมกิจกรรมในชุมชน คิดเปนรอย

ละ 97 สวนที่เหลือเปนสมาชิกกลุมกิจกรรมของชุมชนมีเพียงรอยละ 3 เทาน้ัน

สวนที่ 2 ความรูความเขาใจของประชาชนทองถิ่นตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ผลการวิเคราะหขอมูลความรูความเขาใจของประชาชนทองถิ่นตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยแสดงเปน

ภาพรวม ปรากฏผลดังตาราง 27

ตาราง 27 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความรูความเขาใจตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศของ

ประชาชนทองถิ่นโดยแสดงเปนภาพรวม

ระดับความรูความเขาใจ ความรูความเขาใจตอการทองเทีย่วเชิงนิเวศ

X S.D. แปลผล

ความรูความเขาใจโดยภาพรวม 3.803 0.353 มาก

1. เปนการจัดการการทองเที่ยวที่ไมกอใหเกิดการทําลาย

ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม 4.63 0.485 มากท่ีสุด

2. รายไดจากกจิกรรมดานการทองเที่ยวเปนเพียงรายไดเสริม

ของครอบครัวเทาน้ัน ไมจําเปนตองใหความสําคัญมาก 2.74 0.917 ปานกลาง

118

Page 141: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

119

ตาราง 27 (ตอ)

ระดับความรูความเขาใจ ความรูความเขาใจตอการทองเทีย่วเชิงนิเวศ

X S.D. แปลผล

3. ทําใหเกิดการกระจายรายไดอยางเปนธรรม และลงสู

ทองถิ่นโดยตรง 4.05 0.672 มาก

4. ชุมชนมีสวนรวมกับการทองเที่ยวไดโดยดําเนินการสํารวจ

และกําหนดเสนทางทองเที่ยว 4.16 0.677 มาก

5. ชุมชนไมมีสวนเกี่ยวของในกระบวนการจัดการการ

ทองเที่ยวเปนหนาท่ีของภาครัฐและเอกชนเทาน้ัน 3.58 0.890 มาก

6. การแสดงประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนทองถิ่นจะจัด

ขึ้นตามความตองการของนักทองเที่ยว 2.93 0.998 ปานกลาง

7. การเดินศึกษาธรรมชาติและวัฒนธรรมในชุมชน

นักทองเที่ยวสามารถเดินเขาไปทองเที่ยวดวยตนเอง 3.84 0.982 มาก

8. ชุมชนสามารถติดตอประสานงานกับบริษัททองเที่ยวให

จัดสงนักทองเทีย่วเขามาทองเที่ยวยงัชุมชนไดเองโดยตรง 3.69 0.837 มาก

9. การจัดอบรมเรื่องภาษาใหกับชุมชนจะชวยลดปญหาดาน

การสื่อสารกับนักทองเที่ยวชาวตางชาติได 4.44 0.574 มากท่ีสุด

10. รายไดจากการทองเที่ยวสามารถนํามาพัฒนาทองถิ่น ซึ่ง

เปนประโยชนตอสวนรวมได 4.38 0.663 มากท่ีสุด

11. การสงเสริมการทองเที่ยวทําใหเกิดประโยชนตอการ

พัฒนาดานตางๆ เชน ไฟฟา ประปา ถนน ฯลฯ 4.22 มากท่ีสดุ 0.746

12. นักทองเที่ยวไดจายเงินคาทองเที่ยวและบริการแลว จงึ

สามารถทําอะไรก็ไดตามความตองการ 3.72 1.036 มาก

13. การสงเสริมการทองเที่ยวไมจําเปนตองมีการศึกษา

ผลกระทบตอระบบนิเวศสิ่งแวดลอม เน่ืองจากเปนหนาท่ีของ

ภาครัฐ 3.55 1.306 มาก

14. มัคคุเทศกทองถิ่นสามารถใหความรูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม

วิถีชวีิตวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่นไดเปนอยางดี 4.35 0.609 มากท่ีสุด

15. การวางแผนพฒันาการทองเที่ยวควรใหตัวแทนชาวบาน

เขามามีสวนรวม 4.42 0.535 มากท่ีสุด

119

Page 142: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

120

จากตาราง 27 พบวา ความรูความเขาใจตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยภาพรวม อยูในระดับมาก โดยมี

คาคะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.803 สําหรับการพิจารณาเปนรายขอมีคาคะแนนเฉลี่ยอยูระหวาง 2.74 - 4.63

สวนที่ 3 ความคิดเห็นของประชาชนทองถิ่นตอการมีสวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ผลการวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นตอการมีสวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยแสดงเปน

ภาพรวม ปรากฏผลดังตาราง 28

ตาราง 28 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นตอการมีสวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยว

เชิงนิเวศของประชาชนทองถิ่นโดยแสดงเปนภาพรวม

ระดับความคิดเห็น ความคิดเห็นตอการมีสวนรวม

ในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ X S.D. แปลผล

การมีสวนรวมในภาพรวม 3.992 0.491 มาก

1. เม่ือเกิดปญหาในแหลงทองเที่ยวของชุมชน จะตอง

รวมกันหาแนวทางแกไขและปองกันตอไป 4.54 0.521 มากท่ีสุด

2. การดูแลพฤติกรรมของนักทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยว

ของชุมชน เปนหนาท่ีของเจาหนาท่ีรัฐเทาน้ัน 3.71 1.018 มาก

3. ทานสนใจเขารวมประชุมเพื่อวางแผนการพฒันาการ

ทองเที่ยวในชุมชนทองถิ่นของตนเอง 3.98 0.738 มาก

4. ชุมชนควรรวมกลุมกัน เพ่ือรวมกันจัดกิจกรรมที่สงเสริม

และสนับสนุนการทองเที่ยวในชมุชน 4.40 0.532 มากท่ีสุด

5. โครงการดานการทองเที่ยวทีท่างภาครัฐจัดขึ้นใหกับ

ชุมชนน้ัน ทานไมจําเปนตองสนใจ เพราะเปนหนาท่ีของสวน

ราชการในการตดัสินใจ 3.63 1.169 มาก

6. การบริจาคเงินทุนเพื่อใชในการทองเที่ยว เปนหนาท่ีของ

ภาครัฐเทาน้ัน มิใชหนาท่ีของประชาชนทองถิ่น 3.31 1.061 ปานกลาง

7. ประชาชนทองถิ่นควรติดตามการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่

เกิดขึ้นในแหลงทองเที่ยวของชมุชนอยูเสมอ 4.25 0.557 มากท่ีสุด

8. การเขารวมประชุมในการพัฒนาการทองเที่ยวของชุมชน

น้ัน ไมควรกระทํา เม่ือทานไมมีความรูเพียงพอ 2.95 1.242 ปานกลาง

120

Page 143: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

121

ตาราง 28 (ตอ)

ระดับความคิดเห็น ความคิดเห็นตอการมีสวนรวม

ในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ X S.D. แปลผล

9. เม่ือมีการบุกรุกทําลายสิง่แวดลอมหรือแหลงทองเที่ยวใน

ชุมชนตองรีบแจงใหเจาหนาท่ีรับทราบทันที 4.59 0.552 มากท่ีสุด

10. ประชาชนทองถิ่นตองชวยกนัดูแลรักษาสิ่งแวดลอม

และปาย/สัญลกัษณสื่อความหมายตาง ๆ ใหอยูในสภาพดี

และพรอมใชงาน 4.56 0.641 มากท่ีสุด

จากตาราง 28 พบวา ความคิดเห็นตอการมีสวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยภาพรวม

อยูในระดับการมีสวนรวมมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.992 สําหรับผลการพิจารณาเปนรายขอ มีคาคะแนนเฉลี่ย

อยูระหวาง 2.95 - 4.59

สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะของประชาชนทองถิ่นตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นตอการพัฒนาชุมชนของตนเองใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิง

นิเวศ ปรากฏผลดังตาราง 29

ตาราง 29 แสดงคารอยละของความคิดเห็นตอการพัฒนาชุมชนใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ความคิดเห็น จํานวน (คน) รอยละ

เหมาะสม 61 61.0

ไมเหมาะสม 39 39.0

รวมทั้งหมด 100 100.0

จากตาราง 29 พบวา ประชาชนทองถิ่นสวนใหญคิดวาชุมชนของตนเองเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปน

แหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ คิดเปนรอยละ 61 โดยใหเหตุผลวาเน่ืองจากพื้นท่ีฝงธนบุรีมีทรัพยากรจํานวนมากและ

หลากหลายซึ่งสามารถพัฒนาใหเกิดการทองเที่ยวได ตัวอยางเชน วัดโบราณที่มีมาตั้งแตสมัยอยุธยา คลองเกาแก

อยางเชนคลองบางกอกนอย สวนผลไม สวนกลวยไม นอกจากนั้น พื้นที่ดังกลาวยังมีวิถีชีวิต วัฒนธรรมทองถิ่น

ของชาวไทยในอดีตที่มีเอกลักษณโดดเดน เชน ชุมชนบานขันลงหิน ซึ่งหากมีการสงเสริมดานการทองเที่ยวในพื้นท่ี

แลว จะทําใหเกิดรายไดหมุนเวียนในชุมชนดวย

121

Page 144: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

122

ประชาชนสวนที่เหลือคิดวาชุมชนของตนไมเหมาะสมตอการพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ คิดเปน

รอยละ 39 เน่ืองจากเหตุผลเรื่องในพื้นท่ีไมมีแหลงทองเที่ยวที่นาสนใจไมวาจะเปนโบราณสถานหรือแหลงทองเที่ยว

เชิงนิเวศ เหตุผลเรื่องมลภาวะตาง ๆ เชน อากาศเปนพิษ นํ้าเนาเสีย การจราจรคับค่ัง ตรอกและซอยภายในชุมชน

คับแคบ รวมถึงความไมพรอมของชุมชนเรื่องความไมตองการใหเกิดการทองเที่ยวในชุมชน และปญหาดานภาษา

ในการสื่อสารกับชาวตางชาติ

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นตอรูปแบบการดําเนินการจัดการทองเที่ยวในชุมชนของ

ประชาชนทองถิ่น ปรากฏผลดังตาราง 30

ตาราง 30 แสดงคารอยละของความคิดเห็นตอรูปแบบการดําเนินการจัดการทองเที่ยวในชุมชน

รูปแบบการดําเนินการจัดการทองเที่ยว จํานวน (คน) รอยละ

ชุมชนดําเนินการเอง 23 23.0

บุคคลภายนอกชุมชนเขามาดําเนินการ 8 8.0

ชุมชนดําเนินการรวมกับบุคคลภายนอก 69 69.0

รวมทั้งหมด 100 100.0

จากตาราง 30 พบวา ประชาชนทองถิ่นสวนใหญมีความเห็นวา รูปแบบการดําเนินการจัดการการ

ทองเที่ยวภายในชุมชนของตนเองนั้นควรใหชุมชนทองถิ่นรวมดําเนินการกับบุคคลภายนอก คิดเปนรอยละ 69

รองลงมาคิดวาชุมชนทองถิ่นควรเปนผูดําเนินการจัดการการทองเที่ยวภายในชุมชนเอง คิดเปนรอยละ 23 สวนที่

เหลือคิดวา ควรใหบุคคลภายนอกเปนผูดําเนินการจัดการการทองเที่ยวภายในชุมชน คิดเปนรอยละ 8

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความสนใจเขารวมกิจกรรมดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศของประชาชน

ทองถิ่น ปรากฏผลดังตาราง 31

ตาราง 31 แสดงคารอยละของความสนใจเขารวมกิจกรรมดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศของประชาชนทองถิ่น

ความสนใจเขารวมกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ จํานวน (คน) รอยละ

ยินดีเขารวม 85 85.0

ไมยินดีเขารวม 15 15.0

รวมทั้งหมด 100 100.0

จากตาราง 31 พบวา ประชาชนทองถิ่นสวนใหญยินดีเขารวมกิจกรรมดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ คิดเปน

รอยละ 85 โดยมีเหตุผลวา เน่ืองจากการทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนการทองเที่ยวที่ไมทําลายระบบนิเวศและ

122

Page 145: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

123

สิ่งแวดลอม รวมทั้งประชาชนยังไดมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายทองถิ่นของตนเอง เพื่อเปนการพัฒนาแหลง

ทองเที่ยวของชุมชนใหมีศักยภาพทางดานการทองเที่ยวมากขึ้น ซึ่งจะสงผลดีตอชุมชนท้ังในดานการรักษา

สิ่งแวดลอมและการกระตุนเศรษฐกิจของชุมชนอีกดวย ประชาชนสวนที่เหลือไมยินดีเขารวมกิจกรรมดานการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศ คิดเปนรอยละ 15 เน่ืองจากไมมีเวลา ตองทํางานทุกวัน

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของประชาชนทองถิ่นตอภาพรวมของปญหาดานการ

ทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรี ปรากฏผลดังตาราง 32

ตาราง 32 แสดงคารอยละของความคิดเห็นของประชาชนทองถิ่นตอภาพรวมของปญหาดานการทองเที่ยวในพื้นที่

ฝงธนบุรี

ภาพรวมของปญหา จํานวน (คน) รอยละ

ไมมีปญหา 62 62.0

มีปญหา 38 38.0

รวมทั้งหมด 100 100.0

จากตาราง 32 พบวา ประชาชนทองถิ่นท่ีคิดวาพ้ืนท่ีฝงธนบุรีไมมีปญหาดานการทองเท่ียว คิดเปนรอย

ละ 62 สวนที่เหลือคิดวาพ้ืนท่ีฝงธนบุรีมีปญหาดานการทองเที่ยว คิดเปนรอยละ 38 ไดแก ปญหาดานมลภาวะตาง

ๆ เชน อากาศเปนพิษ ขยะตามลําคลองและถนน ปญหาดานชุมชน ไดแก ยาเสพติด อาชญากรรม นักเรียนตีกัน

ความขัดแยงระหวางผูนําชุมชน ประชาชนไมใหความรวมมือหรือไมมีความรูความเขาใจเรื่องการทองเที่ยวอยาง

ถูกตอง ดานจริยธรรมตอคนตางถิ่น เชน การโกงราคาคารถ คาเรือ และสินคาตาง ๆ ปญหาดานสาธารณูปโภคของ

แหลงทองเที่ยว เชน จํานวนและความสะอาดของหองนํ้า เปนตน นอกจากน้ัน ยังมีการรุกล้ําแมนํ้าลําคลองของ

ชาวบาน การขยายพ้ืนท่ีเมืองและการปลูกสรางสิ่งกอสรางขนาดใหญ ซึ่งเปนการทําลายรูปแบบการใชชีวิตแบบ

ด้ังเดิม สวนปญหาในระดับบนไดแก ขาดการสนับสนุนจากภาครัฐอยางจริงจังในดานการวางแผนและ

ประชาสัมพันธเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวและการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ทําใหแหลงทองเที่ยวของชุมชนไมเปนท่ีรูจักหรือ

รูจักในวงแคบ ปญหาในสวนของมัคคุเทศก เน่ืองจากบางครั้งนํานักทองเที่ยวเขาไปไมถึงแหลงทองเที่ยวภายใน

ชุมชน หรือเขาถึงแลวแตไมไดแนะนําจุดทองเที่ยวที่สําคัญ รวมทั้งการไมไดแนะนําการทองเที่ยวที่ถูกวิธีและถูก

กาลเทศะใหกับนักทองเที่ยวดวย

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับขอเสนอแนะของประชาชนทองถิ่นตอการจัดการการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝง

ธนบุรี มีดังนี้ ควรมีการพัฒนาเรื่องสาธารณูปโภค สาธารณูปการตาง ๆ เชน ถนน ไฟฟา ปายบอกเสนทาง หองนํ้า

ฯลฯ และปรับปรุงมลภาวะตาง ๆ เชน นํ้าเสีย อากาศเปนพิษ เสียงดังของเรือ ทัศนียภาพริมฝงแมนํ้า เปนตน ใน

สวนของภาครัฐควรมีการวางแผนนโยบายดานการทองเที่ยวใหชัดเจน รวมทั้งเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมใน

123

Page 146: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

124

กระบวนการวางแผนและพัฒนาการทองเที่ยวภายในชุมชนของตนเอง พรอมท้ังจัดใหมีเงินกองทุนเพื่อพัฒนาการ

ทองเที่ยวของชุมชน สงเสริมและประชาสัมพันธการทองเที่ยวในชุมชนใหกับนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาว

ตางประเทศ การจัดใหมีศูนยบริการขอมูลดานการทองเที่ยวและจัดทําเอกสารเกี่ยวกับขอมูลแหลงทองเที่ยวภายใน

ชุมชน รวมทั้งควรประสานความรวมมือกับตํารวจเรื่องความปลอดภัยของนักทองเที่ยว และดูแลปองกันมัคคุเทศก

นอกระบบที่บอนทําลายการทองเท่ียว นอกจากน้ัน ควรสงเสริมใหมีการจัดกิจกรรมตาง ๆ สําหรับประชาชนใน

ทองถิ่น เชน การอบรมความรูเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศและความสําคัญของแหลงทองเที่ยวภายในชุมชน การ

อบรมภาษาตางประเทศ เชน ภาษาอังกฤษ เพ่ือใหสามารถติดตอสื่อสารกับนักทองเที่ยวชาวตางชาติได การจัด

กิจกรรมดานการทองเที่ยวภายในชุมชน เชน ที่พักแบบโฮมสเตย การพายเรือชมวิถีชีวิต การเดินชมสวนผักและ

ผลไมตาง ๆ สงเสริมใหมีการสรางตลาดน้ําใหม ๆ ภายในชุมชน

4.4.2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรีและความรูความเขาใจตอการทองเที่ยวเชิง

นิเวศของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว

สวนที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพทางเพศของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว ปรากฏดังตาราง 33

ตาราง 33 แสดงคารอยละสถานภาพทางเพศของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว

เพศ จํานวน (คน) รอยละ

เพศชาย 30 52.6

เพศหญิง 27 47.4

รวมทั้งหมด 57 100.0

จากตาราง 33 พบวา ผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวสวนใหญเปนเพศชายคิดเปนรอยละ 52.6 ที่เหลือเปน

เพศหญิงคิดเปนรอยละ 47.4

ผลการวิเคราะหขอมูลดานอายุของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว ปรากฏผลดังตาราง 34

124

Page 147: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

125

ตาราง 34 แสดงคารอยละดานอายุของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว

อายุ จํานวน (คน) รอยละ

21 - 30 ป 18 31.6

31 - 40 ป 18 31.6

41 - 50 ป 15 26.3

มากกวา 60 ปขึน้ไป 6 10.5

รวมทั้งหมด 57 100.0

จากตาราง 34 พบวา ผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวสวนใหญจะมีอายุระหวาง 21 - 30 ป และ 31 - 40 ป

คิดเปนรอยละ 31.6 เทากัน รองลงมาไดแก อายุระหวาง 41 - 50 ป คิดเปนรอยละ 26.3 และกลุมอายุที่มีจํานวน

นอยที่สุดไดแกอายุมากกวา 60 ปขึ้นไป คิดเปนรอยละ 10.5

ผลการวิเคราะหขอมูลดานระดับการศึกษาสูงสุดของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว ปรากฏผลดังตาราง

35

ตาราง 35 แสดงคารอยละระดับการศึกษาสูงสุดของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว

ระดับการศึกษาสูงสุด จํานวน (คน) รอยละ

ประถมศึกษา 3 5.3

มัธยมศึกษาตอนตน 3 5.3

มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 5.3

ปวส. / อนุปริญญา 3 5.3

ปริญญาตรี 42 73.7

สูงกวาปริญญาตรี 3 5.3

รวมทั้งหมด 57 100.0

จากตาราง 35 พบวา ผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวสวนใหญมีการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเปนรอยละ

73.7 ที่เหลือมีการศึกษาระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง / อนุปริญญา และระดับสูงกวาปริญญาตรี คิดเปนรอยละ 5.3 เทากัน

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับตําแหนงปจจุบันของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว ปรากฏผลดังตาราง 36

125

Page 148: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

126

ตาราง 36 แสดงคารอยละตําแหนงปจจุบันของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว

ตําแหนงปจจุบัน จํานวน (คน) รอยละ

เจาของกิจการ 9 15.8

กรรมการผูจัดการ 6 10.5

ผูจัดการ 27 47.4

ผูชวยผูจัดการ 3 5.3

เจาหนาท่ีทัวรภายในประเทศ 6 10.5

เจาหนาท่ีฝายขายและการตลาด 6 10.5

รวมทั้งหมด 57 100.0

จากตาราง 36 พบวาผูประกอบธุรกิจนําเท่ียวสวนใหญอยูในตําแหนงผูจัดการ คิดเปนรอยละ 47.4

รองลงมาเปนเจาของกิจการเอง คิดเปนรอยละ 15.8 สวนที่เหลือมีตําแหนงกรรมการผูจัดการ เจาหนาท่ีทัวร

ภายในประเทศ และเจาหนาที่ฝายขายและการตลาด คิดเปนรอยละ 10.5 เทากัน และตําแหนงผูชวยผูจัดการ คิด

เปนรอยละ 3

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับระยะเวลาการทํางานในตําแหนงปจจุบันของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว

ปรากฏผลดังตาราง 37

ตาราง 37 แสดงคารอยละระยะเวลาการทํางานในตําแหนงปจจุบันของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว

อายุ จํานวน (คน) รอยละ

ต่ํากวา 5 ป 34 59.6

6 - 10 ป 14 24.6

11 - 20 ป 3 5.3

มากกวา 20 ปขึน้ไป 6 10.5

รวมทั้งหมด 57 100.0

จากตาราง 37 พบวา ผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวสวนใหญมีระยะเวลาการทํางานในตําแหนงปจจุบันตํ่า

กวา 5 ป คิดเปนรอยละ 59.6 รองลงมาไดแก ระยะเวลาทํางาน 6 - 10 ป คิดเปนรอยละ 24.6 ระยะเวลาทํางาน

มากกวา 20 ปขึ้นไป คิดเปนรอยละ 10.5 และชวงระยะเวลาทํางานที่มีจํานวนนอยที่สุดไดแกระยะเวลา 11 - 20 ป

คิดเปนรอยละ 5.3

126

Page 149: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

127

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับระยะเวลาของการประกอบธุรกิจขององคกรของผูประกอบการธุรกิจนํา

เท่ียว ปรากฏผลดังตาราง 38

ตาราง 38 แสดงคารอยละระยะเวลาการประกอบธุรกิจขององคกรผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว

จํานวน (คน) อายุ รอยละ

ต่ํากวา 5 ป 21 36.8

6 - 10 ป 15 26.3

11 - 20 ป 12 21.1

มากกวา 20 ปขึน้ไป 9 15.8

รวมทั้งหมด 57 100.0

จากตาราง 38 พบวา ผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวสวนใหญมีระยะเวลาของการประกอบธุรกิจของ

องคกร ต่ํากวา 5 ป คิดเปนรอยละ 36.8 รองลงมาไดแก ระยะเวลาประกอบธุรกิจ 6 - 10 ป คิดเปนรอยละ 26.3

ระยะเวลาประกอบธุรกิจ 11 - 20 ป คิดเปนรอยละ 21.1 และระยะเวลาประกอบธุรกิจที่มากกวา 20 ปขึ้นไป คิด

เปนรอยละ 15.8

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับรูปแบบการนําเท่ียวของผูประกอบการธุรกิจทองเที่ยว ปรากฏผลดัง

ตาราง 39

ตาราง 39 แสดงคารอยละรูปแบบการนําเท่ียวของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว

รูปแบบการนําเท่ียว ความถี่ รอยละ

นํานักทองเที่ยวชาวไทยทองเที่ยวในประเทศไทย (Domestic) 26 44.8

นํานักทองเที่ยวชาวไทยทองเที่ยวตางประเทศ (Out bound) 10 17.2

นํานักทองเที่ยวชาวตางประเทศเขามาทองเที่ยวในประเทศไทย (In bound) 16 27.6

อื่น ๆ 6 10.3

รวมทั้งหมด 58 100.0

จากตาราง 39 พบวา ผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวสวนใหญมีรูปแบบการนําเที่ยวที่นํานักทองเที่ยวชาว

ไทยทองเที่ยวในประเทศไทย คิดเปนรอยละ 44.8 รองลงมาไดแก รูปแบบการทองเที่ยวที่นํานักทองเที่ยวชาว

ตางประเทศเขามาทองเท่ียวในประเทศไทย คิดเปนรอยละ 27.6 การนํานักทองเที่ยวชาวไทยไปทองเที่ยวใน

127

Page 150: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

128

ตางประเทศ คิดเปนรอยละ 17.2 และรูปแบบการนําเที่ยวที่มีจํานวนนอยท่ีสุดไดแก การนําเที่ยวในรูปแบบอื่น คิด

เปนรอยละ 10.3 ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับจํานวนพนักงานในองคกรของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว ปรากฏผลดัง

ตาราง 40

ตาราง 40 แสดงคารอยละจํานวนพนักงานในองคกรของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว

จํานวนพนักงาน จํานวน (คน) รอยละ

นอยกวา 10 คน 45 78.9

21 - 30 คน 6 10.5

31 - 40 คน 3 5.3

มากกวา 200 คนขึ้นไป 3 5.3

รวมทั้งหมด 57 100.0

จากตาราง 40 พบวา ผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญมีจํานวนพนักงานใน

องคกรนอยกวา 10 คน คิดเปนรอยละ 78.9 รองลงมาไดแก มีจํานวนพนักงาน 21 - 30 คน คิดเปนรอยละ 10.5

ที่เหลือมีจํานวนพนักงานในองคกร 31 - 40 คน และมากกวา 200 คนขึ้นไป คิดเปนรอยละ 5.3 เทากัน

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับประเภทธุรกิจเสริมของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว ปรากฏผลดังตาราง

41

ตาราง 41 แสดงคารอยละประเภทธุรกิจเสริมของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว

ประเภทธุรกิจเสริม ความถี่ (คน) รอยละ

ไมมีธุรกิจเสริม 27 47.4

รานอาหาร / รานคา 4 7.0

สถานพักแรม เชน โรงแรม รีสอรต เกสทเฮาส 7 12.3

อินเทอรเน็ต / โทรศัพททางไกล / โทรสาร 2 3.5

ใหเชาอุปกรณและยานพาหนะ เชน เรือ จักรยาน รถยนต 11 19.3

สปา / นวด / เสริมสวย 4 7.0

อื่น ๆ 2 3.5

รวมทั้งหมด 57 100.0

128

Page 151: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

129

จากตาราง 41 พบวา ผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวสวนใหญไมมีธุรกิจเสริม คิดเปนรอยละ 47.4

รองลงมามีธุรกิจเสริมดานการใหเชาอุปกรณและยานพาหนะ เชน เรือ จักรยาน รถยนต คิดเปนรอยละ 19.3 ธุรกิจ

เสริมดานบริการสถานพักแรม เชน โรงแรม รีสอรท เกสทเฮาส คิดเปนรอยละ 12.3 สวนที่เหลือเปนธุรกิจเสริม

ดานรานอาหาร / รานคา และดานสปา / นวด / เสริมสวย คิดเปนรอยละ 7.0 เทากัน ธุรกิจเสริมดานอินเทอรเนต

/ โทรศัพททางไกล / โทรสาร และดานอื่น ๆ คิดเปนรอยละ 3.5 เทากัน

สวนที่ 2 ความคิดเห็นของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวตอการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรี

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวตอแหลงทองเที่ยวในพื้นที่

ฝงธนบุรีที่ไดรับความนิยมมากท่ีสุด โดยเรียงลําดับใน 5 ลําดับแรก ดังน้ี

ลําดับที่ 1 ไดแก วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร

ลําดับที่ 2 ไดแก พิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี

ลําดับที่ 3 ไดแก วัดระฆังโฆสิตาราม พระราชวังเดิม วัดกัลยาณมิตร

ลําดับที่ 4 ไดแก ขันลงหินบานบุ สถานีรถไฟบางกอกนอย พิพิธภัณฑศิริราช

ลําดับที่ 5 ไดแก ตลาดนํ้าตลิ่งชัน มัสยิดตนสน

ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวตอความพรอมของปจจัยตาง ๆ ดานการ

ทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรีโดยแสดงเปนภาพรวมและรายขอ ปรากฏผลดังตาราง 42

ตาราง 42 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวตอความ

พรอมของปจจยัตาง ๆ ดานการทองเที่ยวในพืน้ท่ีฝงธนบุรี

ระดับความคิดเห็น ความคิดเห็นของผูประกอบการตอ

ความพรอมของปจจัยการทองเที่ยว X S.D. แปลผล

ความพรอมของปจจัยโดยรวม 2.83 0.62 ปานกลาง

1. ความสมบูรณของสภาพธรรมชาติ เชน แมนํ้า ลําคลอง 3.05 0.769 ปานกลาง

2. ความสวยงามของทัศนียภาพ 3.34 0.815 ปานกลาง

3. การเดินทางสะดวกสบาย 3.39 0.595 ปานกลาง

4. การใหบริการดานขอมูลและความรู เชน ศูนยบริการ

นักทองเที่ยว เอกสารเผยแพร 2.71 0.927 ปานกลาง

5. สถานที่พักแรม เชน รูปแบบ ลักษณะ สภาพ 2.45 0.828 นอย

129

Page 152: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

130

ตาราง 42 (ตอ)

ระดับความคิดเห็น ความคิดเห็นของผูประกอบการตอ

ความพรอมของปจจัยการทองเที่ยว X S.D. แปลผล

6. รานอาหารและรานคา เชน จํานวน รูปแบบ ความ

สะอาด 3.11 0.606 ปานกลาง

7. บริษัทนําเท่ียวและมัคคุเทศก เชน จํานวน มาตรฐาน 2.87 1.018 ปานกลาง

8. หองนํ้าหองสขุา เชน จํานวน ความสะอาด 2.53 0.893 นอย

9. นํ้าด่ืม เชน ความเพียงพอ ความสะอาด 2.84 0.886 ปานกลาง

10. การจัดการขยะและความสะอาด 2.61 1.028 ปานกลาง

11. คุณภาพของนํ้าบริเวณแมนํ้าและลําคลอง 2.47 0.979 นอย

12. ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 2.79 0.664 ปานกลาง

13. ความหลากหลายของกิจกรรม เชน ลองเรือ พาย

คายัค ขี่จักรยาน 2.58 1.154 นอย

จากตาราง 42 พบวา ความคิดเห็นของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวตอความพรอมของปจจัยตาง ๆ ดาน

การทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรีโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.83 สําหรับผลการ

พิจารณาเปนรายขอ มีคาคะแนนเฉลี่ยอยูระหวาง 3.39 - 2.45

130

Page 153: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

131 สวนที่ 3 นโยบายดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินนโยบายดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศของของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว ปรากฏผลดังตาราง 43

ตาราง 43 แสดงคารอยละของการดําเนินนโยบายดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว

ใช ไมใช ไมทราบ

การดําเนินนโยบายดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศขององคกรผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว จํานวน

(แหง)

จํานวน

(แหง)

จํานวน

(แหง) รอยละ รอยละ รอยละ

1. จดทะเบียนถูกตองตามพระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก 51 89.5 0 0.0 6 10.5

2. มีนโยบายเรื่องการประกอบธุรกิจนําเที่ยวเชิงนิเวศอยางชัดเจน 24 42.1 28 49.1 5 8.8

3. มีกิจกรรมการทองเที่ยวทุกรูปแบบ เชน ช็อปปง ทองราตรี 30 52.6 19 33.3 8 14.0

4. มีโครงการอนุรักษฟนฟูสิ่งแวดลอมและสังคมในพื้นที่แหลงทองเที่ยวที่เขาไปใชประโยชน เชน ปรับปรุงถนน

แมน้ํา / ลําคลอง 24 42.1 28 49.1 5 8.8

5. บางครั้งมีการใชมัคคุเทศกที่ไมมีใบอนุญาต เนื่องจากความจําเปนบางประการ เชน มัคคุเทศกที่มีใบอนุญาตคิด

ราคาแพงหรือปวย 15 26.3 34 60.5 8 13.2

6. เปนการนําเที่ยวที่ไมเกี่ยวของกับสิ่งผิดกฎหมายและผิดจารีตประเพณีทุกประการ 42 73.7 6 10.5 9 15.8

7. กิจกรรมที่ดําเนินการตองไมมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ วัฒนธรรม และสังคม 48 84.2 9 15.8 0 0.0

8. เปนการทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวที่มีความเปราะบางทางระบบนิเวศ เพื่อที่จะไดเรียนรูวาควรจะรักษาและดูแล

พื้นที่ไดอยางไร 33 57.9 21 36.8 3 5.3

9. ไมมีรายการนําเที่ยวที่มีแนวโนมจะคุกคามหรือทารุณชีวิตพืชและสัตว 48 84.2 6 10.5 3 5.3

11. มีการจางงานชุมชนในทองถิ่น เพื่อใหเกิดการกระจายรายไดสูชุมชน 33 57.9 12 21.1 12 21.1

131

131

Page 154: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

132

132

15.8

ตาราง 43 (ตอ)

ใช ไมใช ไมทราบ

การดําเนินนโยบายดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศขององคกรผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว จํานวน

(แหง) รอยละ

จํานวน

(แหง) รอยละ

จํานวน

(แหง) รอยละ

12. การบริหารจัดการนําเที่ยวบางครั้งบริษัทไมสามารถทําเองไดทั้งหมด จึงใชวิธีตัดคาหัวคิวใหมัคคุเทศกบริหาร

จัดการเอง 15 26.3 33 57.9 9

13. การจัดโครงการพัฒนาบุคลากรในองคกรเรื่องการทองเที่ยวเชิงนิเวศจะใหรัฐเปนผูกําหนดเทานั้น 21 36.8 18 31.6 18 31.6

10.5

10.5

14. ประชาสัมพันธเรื่องการทองเที่ยวเชิงนิเวศใหเปนที่รูจักและเขาใจ ทั้งความหมาย รูปแบบ และกิจกรรม 24 42.1 27 47.4 6

15. มีการติดตามประเมินผลขอมูลของนักทองเที่ยวในเรื่องตาง ๆ หลังจากการทองเที่ยว เชน ความพึงพอใจจากการ

ทองเที่ยว รวมถึงการสงขอมูลขาวสารดานการทองเที่ยวที่นาสนใจใหอยางสม่ําเสมอ 33 57.9 18 31.6 6

จากตาราง 43 พบวา ผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวสวนใหญจดทะเบียนถูกตองตามพระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก คิดเปนรอยละ 89.5 สวนการดําเนินนโยบาย

เรื่องการทองเที่ยวเชิงนิเวศและมีโครงการอนุรักษฟนฟูสิ่งแวดลอมและสังคมในพื้นที่แหลงทองเที่ยวที่เขาไปใชประโยชน เชน ปรับปรุงถนน แมน้ํา / ลําคลอง นั้นมีเพียงรอยละ 42.1

เทากัน ซึ่งกิจกรรมสวนใหญที่ดําเนินการจะไมมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ วัฒนธรรม และสังคม รวมทั้งไมมีรายการนําเที่ยวที่มีแนวโนมจะคุกคามหรือทารุณชีวิตพืชและ

สัตว คิดเปนรอยละ 84.2 เทากัน สวนการจางงานชุมชนในทองถิ่น เพื่อใหเกิดการกระจายรายไดสูชุมชนนั้นมีการดําเนินงานคิดเปนรอยละ 57.9 โดยมีการประชาสัมพันธใหรูจักและ

เขาใจความหมายของการทองเที่ยวเชิงนิเวศเพียงรอยละ 42.1

132

Page 155: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

133

สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะของผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวตอการจัดการการทองเที่ยวเชิง

นิเวศในพื้นที่ฝงธนบุรี

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวเรื่องความเหมาะสมตอการ

พัฒนาพื้นท่ีฝงธนบุรีใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ ปรากฏผลดังตาราง 44

ตาราง 44 แสดงคารอยละของความคิดเห็นของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวเรื่องความเหมาะสมตอการพัฒนาพื้นท่ี

ฝงธนบุรีใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ความคิดเห็น จํานวน (คน) รอยละ

เหมาะสม 49 86.0

ไมเหมาะสม 8 14.0

รวมทั้งหมด 57 100.0

จากตาราง 44 พบวา ผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวสวนใหญคิดวาพื้นที่ฝงธนบุรีเหมาะสมตอการพัฒนา

ใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ คิดเปนรอยละ 86.0 เน่ืองจากพื้นท่ีน้ีเปนชุมชนเกาแกและเมืองหลวงเกาในอดีต

ของประเทศ และมีทรัพยากรดานการทองเที่ยวที่หลากหลายทั้งทางธรรมชาติ เชน คลองบางกอกนอย

โบราณสถาน เชน วัดอรุณราชวราราม และวิถีชีวิตริมนํ้าของคนไทยในอดีต นอกจากนั้น พื้นที่ดังกลาวยังสามารถ

เดินทางไดสะดวกทั้งทางน้ําและทางบก และยังอยูใกลแหลงทองเที่ยวที่สําคัญอื่น ๆ เชน วัดพระแกว ถนนขาวสาร

เปนตน สวนที่เหลือคิดวาไมเหมาะสมตอการพัฒนาพื้นท่ีใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ คิดเปนรอยละ 14.0

เน่ืองจากขาดการสงเสริมและการจัดการดานการทองเที่ยวจากภาครัฐอยางจริงจัง รวมทั้งในพื้นที่ยังมีปญหาเรื่อง

ความปลอดภัยและความสกปรกในแหลงชุมชนตาง ๆ อีกดวย

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวเรื่องภาพรวมของปญหา

ดานการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรี ปรากฏผลดังตาราง 45

ตาราง 45 แสดงคารอยละความคิดเห็นของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวเรื่องภาพรวมของปญหาดานการทองเที่ยว

ในพื้นท่ีฝงธนบุรี

ความคิดเห็น จํานวน (คน) รอยละ

ไมมีปญหา 18 31.6

มีปญหา 39 68.4

รวมทั้งหมด 57 100.0

133

Page 156: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

134

จากตาราง 45 พบวา ผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญคิดวาพ้ืนท่ีฝงธนบุรีมี

ปญหาดานการทองเที่ยว คิดเปนรอยละ 68.4 โดยมีภาพรวมของปญหาคือ รัฐขาดการสงเสริมและพัฒนาการ

ทองเที่ยวในพื้นท่ี เชน เรื่องความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน เรื่องการปรับปรุงเมืองและคลองใหสวยงาม เรื่อง

การดูแลความสะอาดบริเวณรอบ ๆ แหลงทองเที่ยวทั้งบนบกและในแมนํ้าลําคลองท่ีมีนํ้าเนาเสีย เรื่องปญหา

การจราจรทางน้ํา เชน ตองเสียเวลารอการเปดปดประตูนํ้าบางแหง เรื่องการประชาสัมพันธเกี่ยวกับสถานท่ี

ทองเที่ยวตาง ๆ ใหเปนท่ีรูจัก รวมทั้งเรื่องการจัดนําเที่ยวยังไมตอเน่ือง โดยเฉพาะชวงฤดูนํ้าแลง นํ้านอย นํ้าไม

สะอาด นอกจากน้ัน ยังมีปญหาเกี่ยวกับบริษัทนําเท่ียวตาง ๆ เชน การใหคาหัวคิวแกนายหนาท่ีหาลูกคาใหกับ

บริษัททองเที่ยว โดยไมคํานึงถึงความพึงพอใจของนักทองเที่ยว การจัดนําเที่ยวทางเรือโดยมีเด็กคุมเรือ แตไมมี

มัคคุเทศก อาจทําใหนักทองเที่ยวไมไดรับขอมูลท่ีถูกตองได การนํานักทองเที่ยวไปซื้อของในราคาที่ไมยุติธรรม

นอกจากน้ัน ยังมีปญหาดานการบริหารจัดการภายในพื้นท่ีแหลงทองเที่ยว เชน การไมมีทาเทียบเรือหรือมีแตไม

พรอมตอการรองรับนักทองเที่ยว การคิดคาบริการทาเทียบเรือตามแหลงทองเที่ยวตาง ๆ การวางขายสินคาใน

รานคาและรานอาหารไมเปนระเบียบเรียบรอย สุดทายเปนปญหาของชาวบานภายในชุมชนท่ีไมใหความรวมมือ

หรือไมสนใจทํากิจกรรมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ สวนผูประกอบการที่เหลือคิดวาพื้นที่ฝงธนบุรีไมมีปญหาดานการ

ทองเที่ยว คิดเปนรอยละ 31.6

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับขอเสนอแนะของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวตอการจัดการการทองเที่ยว

ในพื้นที่ฝงธนบุรี ไดแก การชวยดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของชุมชน เชน การปองกันการทิ้ง

ขยะลงสูแมนํ้าลําคลอง การจัดวางถังขยะไวในบริเวณที่เหมาะสม รวมทั้งควรมีการจัดอบรมความรูตาง ๆ ใหกับ

ชาวบานในชุมชน เชน ความสําคัญของการทองเที่ยวและทรัพยากรการทองเที่ยวในพื้นท่ีของตน เพ่ือสงเสริมใหเกดิ

มัคคุเทศกทองถิ่น การอบรมภาษาตางประเทศ นอกจากน้ัน ควรมีการปรับปรุงภูมิทัศนของแหลงทองเที่ยว เชน

ปลูกตนไม การจัดระเบียบรานขายอาหารและสินคาใหสะอาด มีคุณภาพ และราคาเหมาะสม ควรมีการจัด

งบประมาณและวางแผนเพื่อพัฒนาการทองเที่ยวทางน้ํา รวมทั้งออกกฎระเบียบเกี่ยวกับการเดินทางทางน้ําให

ปลอดภัยและรัดกุม เพิ่มจุดรับสงของทาเรือ และปรับปรุงใหไดมาตรฐานระดับสากล รวมทั้งเพิ่มสิ่งอํานวยความ

สะดวกตาง ๆ ในแหลงทองเที่ยว เชน หองน้ํา ที่น่ังพักผอน รานขายอาหารและเครื่องด่ืม ควรมีการเพิ่มปริมาณ

และคุณภาพของเรือบริการทองเที่ยวทางนํ้า แตตองปองกันการเอารัดเอาเปรียบจากบริษัทเอกชนที่ดําเนินธุรกิจ

บริการทองเที่ยวทางน้ํา รวมทั้งรวมมือกับตํารวจชวยกันปองกันและปราบปรามอาชญากรรม เพ่ือสรางปลอดภัย

ใหกับนักทองเที่ยวและชาวบาน นอกจากน้ี ควรสงเสริมการจัดกิจกรรมงานเทศกาลทางน้ํา เพื่อเปนการ

ประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวในพื้นท่ี เชน จัดตลาดน้ําคลองบางกอกใหญ

134

Page 157: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

135

4.4.3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรีและความรูความเขาใจตอการทองเที่ยวเชิง

นิเวศของมัคคุเทศก

สวนที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของมัคคุเทศก

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพทางเพศของมัคคุเทศก ปรากฏผลดังตาราง 46

ตาราง 46 แสดงคารอยละสถานภาพทางเพศของมัคคุเทศก

เพศ จํานวน (คน) รอยละ

เพศชาย 47 47.5

เพศหญิง 52 52.5

รวมทั้งหมด 99 100.0

จากตาราง 46 พบวา มัคคุเทศกสวนใหญเปนเพศหญิงคิดเปนรอยละ 52.5 ที่เหลือเปนเพศชายคิดเปน

รอยละ 47.5

ผลการวิเคราะหขอมูลดานอายุของมัคคุเทศก ปรากฏผลดังตาราง 47

ตาราง 47 แสดงคารอยละดานอายุของมัคคุเทศก

อายุ จํานวน (คน) รอยละ

21 - 30 ป 36 36.4

31 - 40 ป 35 35.4

41 - 50 ป 24 24.2

51 - 60 ป 3 3.0

มากกวา 60 ปขึน้ไป 1 1.0

รวมทั้งหมด 99 100.0

จากตาราง 47 พบวา มัคคุเทศกสวนใหญจะมีอายุระหวาง 21 - 30 ป คิดเปนรอยละ 36.4 รองลงมาอยู

ในชวงอายุระหวาง 31 - 40 ป คิดเปนรอยละ 35.4 จากน้ันก็อยูในชวงอายุ 41 - 50 ป คิดเปนรอยละ 24.2 สวนที่

เหลืออยูในชวงอายุ 51 - 60 ป คิดเปนรอยละ 3 และชวงอายุที่มากกวา 60 ป ขึ้นไป คิดเปนรอยละ 1 ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับระดับการศึกษาสูงสุดของมัคคุเทศก ปรากฏผลดังตาราง 48

135

Page 158: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

136

ตาราง 48 แสดงคารอยละระดับการศึกษาสูงสุดของมัคคุเทศก

ระดับการศึกษาสูงสุด จํานวน (คน) รอยละ

มัธยมศึกษาตอนปลาย 6 6.1

ปวส. / อนุปริญญา 5 5.0

ปริญญาตรี 68 68.7

สูงกวาปริญญาตรี 18 18.2

อื่น ๆ 2 2.0

รวมทั้งหมด 99 100.0

จากตาราง 48 พบวา มัคคุเทศกสวนใหญมีการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเปนรอยละ 68.7 รองลงมา

ไดแก ระดับสูงกวาปริญญาตรี คิดเปนรอยละ 18.2 สวนที่เหลือเปน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คิดเปนรอยละ

6.1 ระดับ ปวส. / อนุปริญญา คิดเปนรอยละ 5 และอื่น ๆ อีก คิดเปนรอยละ 2

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับรายไดเฉลี่ยตอเดือนของมัคคุเทศก ปรากฏผลดังตาราง 49

ตาราง 49 แสดงคารอยละรายไดเฉลี่ยตอเดือนของมัคคุเทศก

รายไดเฉลี่ยตอเดือน จํานวน (คน) รอยละ

5,000 - 10,000 บาท 11 11.1

10,001 - 15,000 บาท 42 42.4

15,001 - 20,000 บาท 15 15.2

20,001 - 30,000 บาท 22 22.2

สูงกวา 30,001 บาทขึ้นไป 9 9.1

รวมทั้งหมด 99 100.0

จากตาราง 49 พบวา มัคคุเทศกสวนใหญมีรายไดเฉลี่ย 10,001 - 15,000 บาทตอเดือน คิดเปนรอยละ

42.4 รองลงมามีรายไดเฉลี่ย 20,001 - 30,000 บาทตอเดือน คิดเปนรอยละ 22.2 รายไดเฉลี่ย 15,001 - 20,000

บาทตอเดือน คิดเปนรอยละ 15.2 ที่เหลือมีรายไดเฉลี่ย 5,000 10,000 บาทตอเดือน คิดเปนรอยละ 11.1 และ

รายไดเฉลี่ยสูงกวา 30,000 บาทตอเดือน คิดเปนรอยละ 9.1

ผลการวิ เคราะหขอมูลเกี่ยวกับประเภทของบัตรมัคคุเทศกที่ ใชประกอบอาชีพ ปรากฏผลดัง

ภาพประกอบ 50

136

Page 159: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

137

ตาราง 50 แสดงคารอยละประเภทของบัตรมัคคุเทศก

ประเภทของบัตรมัคคุเทศก จํานวน (คน) รอยละ

ทั่วไป (ตางประเทศ) - สีบรอนซเงิน 94 94.9

เฉพาะ (ตางประเทศ - เฉพาะพื้นท่ี) - สีชมพู 2 2.0

เฉพาะ (ไทย - เฉพาะพื้นท่ี) - สีฟา 1 1.0

อื่น ๆ 2 2.0

รวมทั้งหมด 99 100.0

จากตาราง 50 พบวา มัคคุเทศกสวนใหญมีบัตรมัคคุเทศกประเภททั่วไป (ตางประเทศ) บัตรสีบรอนซ

เงิน คิดเปนรอยละ 94.9 ที่เหลือเปนบัตรมัคคุเทศกประเภทเฉพาะ (ตางประเทศ - เฉพาะพื้นที่) บัตรสีชมพู และ

บัตรประเภทอื่น ๆ อีก คิดเปนรอยละ 2 เทากัน และบัตรมัคคุเทศกประเภทเฉพาะ (ไทย - เฉพาะพ้ืนท่ี) บัตรสีฟา

คิดเปนรอยละ 1

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับประสบการณในการทํางานเปนมัคคุเทศกของผูตอบแบบสอบถาม

ปรากฏผลดังตาราง 51

ตาราง 51 แสดงคารอยละเกี่ยวกับประสบการณในการทํางานเปนมัคคุเทศก

ประสบการณการทํางานเปนมัคคุเทศก จํานวน (คน) รอยละ

1 - 5 ป 49 49.5

6 - 10 ป 23 23.2

11 - 20 ป 23 23.2

21 - 30 ป 4 4.0

รวมทั้งหมด 99 100.0

จากตาราง 51 พบวา มัคคุเทศกสวนใหญมีประสบการณในการทํางานเปนมัคคุเทศกระหวาง 1 - 5 ป

คิดเปนรอยละ 49.5 รองลงมามีประสบการณระหวาง 6 - 10 ป และระหวาง 11 - 20 ป คิดเปนรอยละ 23.2

เทากัน ที่เหลือมีประสบการณทํางานเปนมัคคุเทศกระหวาง 21 - 30 ป คิดเปนรอยละ 4

137

Page 160: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

138

สวนที่ 2 ความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรี

ความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอแหลงทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรีที่ไดรับความนิยมมากท่ีสุด โดย

เรียงลําดับใน 5 ลําดับแรก ดังน้ี

ลําดับที่ 1 ไดแก วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร

ลําดับที่ 2 ไดแก พิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี

ลําดับที่ 3 ไดแก วัดระฆังโฆสิตาราม วัดกัลยาณมิตร

ลําดับที่ 4 ไดแก พระราชวังเดิม พิพิธภัณฑศิริราช และวัดศรีสุดาราม

ลําดับที่ 5 ไดแก พระราชวังหลัง สถานีรถไฟบางกอกนอย และวัดสุวรรณาราม

ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอความพรอมของปจจัยตาง ๆ ดานการทองเที่ยวในพื้นที่

ฝงธนบุรีโดยแสดงเปนภาพรวมและรายขอ ปรากฏผลดังตาราง 52

ตาราง 52 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอความพรอมของ

ปจจัยตาง ๆ ดานการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรี

ระดับความคิดเห็นตอปจจัยทองเที่ยว ความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอ

ความพรอมของปจจัยการทองเที่ยว X S.D. แปลผล

ความพรอมของปจจัยโดยรวม 2.92 0.630 ปานกลาง

1. ความสมบูรณของสภาพธรรมชาติ เชน แมนํ้า ลําคลอง 3.11 0.978 ปานกลาง

2. ความสวยงามของทัศนียภาพ 3.35 0.918 ปานกลาง

3. การเดินทางสะดวกสบาย 3.41 0.833 มาก

4. การใหบริการดานขอมูลและความรู เชน ศูนยบริการ

นักทองเที่ยว เอกสารเผยแพร 2.63 0.910 ปานกลาง

5. สถานที่พักแรม เชน รูปแบบ ลักษณะ สภาพ 2.44 0.798 นอย

6. รานอาหารและรานคา เชน จํานวน รูปแบบ ความสะอาด 2.80 0.880 ปานกลาง

7. บริษัทนําเท่ียวและมัคคุเทศก เชน จํานวน มาตรฐาน 3.31 0.816 ปานกลาง

8. หองนํ้าหองสขุา เชน จํานวน ความสะอาด 2.62 0.889 ปานกลาง

9. นํ้าด่ืม เชน ความเพียงพอ ความสะอาด 3.21 0.907 ปานกลาง

10. การจัดการขยะและความสะอาด 2.83 0.915 ปานกลาง

11. คุณภาพของนํ้าบริเวณแมนํ้าและลําคลอง 2.42 1.031 นอย

138

Page 161: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

139

ตาราง 52 (ตอ)

ระดับความคิดเห็นตอปจจัยทองเที่ยว ความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอ

ความพรอมของปจจัยการทองเที่ยว X S.D. แปลผล

12. ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 3.16 0.779 ปานกลาง

13. ความหลากหลายของกิจกรรม เชน ลองเรือ พายคายัค

ขี่จักรยาน 2.68 0.978 ปานกลาง

จากตาราง 52 พบวา ความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอความพรอมของปจจัยตาง ๆ ดานการทองเที่ยวใน

พื้นที่ฝงธนบุรีโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.92 สําหรับผลการพิจารณาเปนรายขอ มี

คาคะแนนเฉลี่ยอยูระหวาง 3.41 - 2.42

สวนที่ 3 ความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ผลการวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยแสดงเปน

ภาพรวมและรายขอ ปรากฏผลดังตาราง 53

ตาราง 53 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอการจัดการการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ระดับความคิดเห็นตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอ

การจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ X S.D. แปลผล

ความคิดเห็นโดยภาพรวม 4.00 0.332 มาก

1. เปนการจัดการการทองเที่ยวที่ไมกอใหเกิดการทําลาย

ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม 4.63 0.507 มากท่ีสุด

2. รายไดจากกจิกรรมดานการทองเที่ยวเปนเพียงรายไดเสริมของ

ครอบครัวเทาน้ัน ไมจําเปนตองใหความสําคัญมากนัก 3.43 1.230 มาก

3. ทําใหเกิดการกระจายรายไดอยางเปนธรรม และลงสูทองถิ่น

โดยตรง 4.14 0.783 มาก

4. ชุมชนมีสวนรวมกับการทองเที่ยวไดเพียงแคการสํารวจและ

กําหนดเสนทางทองเที่ยว

3.48 1.073 มาก

139

Page 162: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

140

ตาราง 53 (ตอ)

ระดับความคิดเห็นตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอ การจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ X S.D. แปลผล

5. ภาครัฐเปนหนวยงานเดียวทีมี่หนาท่ีในการวางแผนจัดการการ

ทองเที่ยวของชมุชน เน่ืองจากมีเจาหนาที่ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน 3.75 1.100 มาก

6. การแสดงประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนทองถิ่นจะจัดขึน้

ตามความตองการของนักทองเที่ยว 3.29 1.163 ปานกลาง

7. ชุมชนสามารถติดตอประสานงานกับบริษัททองเที่ยวใหจัดสง

นักทองเที่ยวเขามาทองเที่ยวยังชุมชนไดเองโดยตรง 3.56 1.022 มาก

8. การจัดอบรมเรื่องภาษาใหกับชุมชนจะชวยลดปญหาดานการ

สื่อสารกับนักทองเที่ยวชาวตางชาติได 4.37 0.527 มากท่ีสุด

9. การเดินศึกษาธรรมชาติและวัฒนธรรมในชุมชน นักทองเที่ยว

สามารถเดินเขาไปทองเที่ยวดวยตนเอง 3.19 1.218 ปานกลาง

10. รายไดจากการทองเที่ยวสามารถนํามาพัฒนาทองถิ่น ซึ่งเปน

ประโยชนตอสวนรวมได 4.49 0.522 มากท่ีสุด

11. การสงเสริมการทองเที่ยวทําใหเกิดประโยชนตอการพัฒนา

ดานตางๆ เชน ไฟฟา ประปา ถนน ฯลฯ 4.30 0.692 มากท่ีสุด

12. นักทองเที่ยวไดจายเงินคาทองเที่ยวและบริการแลว จงึ

สามารถทําอะไรก็ไดตามความตองการ 4.29 0.895 มากท่ีสุด

13. การสงเสริมการทองเที่ยวไมจําเปนตองมีการศึกษาผลกระทบ

ตอระบบนิเวศสิ่งแวดลอม เน่ืองจากเปนหนาท่ีของภาครัฐ 4.38 0.976 มากท่ีสุด

14. มัคคุเทศกทองถิ่นสามารถใหความรูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม วิถี

ชีวิตวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่นไดเปนอยางดี 4.10 0.851 มาก

15. การวางแผนพัฒนาการทองเที่ยวควรใหตัวแทนชาวบานเขามา

มีสวนรวม 4.53 0.578 มากท่ีสุด

จากตาราง 53 พบวา ความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยภาพรวมอยูใน

ระดับมาก โดยมีคาคะแนนเฉลี่ยเทากับ 4.00 สําหรับการพิจารณาเปนรายขอ มีคาเฉลี่ยอยูระหวาง 3.19 - 4.63

140

Page 163: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

141

สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ฝงธนบุรี

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของมัคคุเทศกเรื่องความเหมาะสมของการพัฒนาพื้นท่ีฝง

ธนบุรีใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ ปรากฏผลดังตาราง 54

ตาราง 54 แสดงคารอยละของความคิดเห็นของมัคคุเทศกเรื่องความเหมาะสมตอการพัฒนาพื้นที่ฝงธนบุรีใหเปน

แหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ความคิดเห็น จํานวน (คน) รอยละ

เหมาะสม 92 92.9

ไมเหมาะสม 7 7.1

รวมทั้งหมด 99 100.0

จากตาราง 54 พบวา มัคคุเทศกสวนใหญคิดวาพื้นท่ีฝงธนบุรีเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลง

ทองเที่ยวเชิงนิเวศ คิดเปนรอยละ 92.9 เน่ืองจากเปนยานประวัติศาสตรที่มีความสมบูรณทั้งสภาพธรรมชาติ

สิ่งแวดลอม วิถีชีวิตวัฒนธรรม ประเพณีทองถิ่น และยังมีภูมิทัศนที่สวยงาม สามารถพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยว

เชิงนิเวศได เชน การใหความรูเกี่ยวกับการทําเกษตรกรรมและทําสวน ซึ่งเปนอาชีพเกาแกของชุมชนในพื้นท่ีน่ัน

ดวย สวนมัคคุเทศกที่เหลือคิดวาพื้นที่ฝงธนบุรีไมเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ คิดเปน

รอยละ 7.1 เน่ืองจากมีคนอาศัยอยูจํานวนมาก และรูปแบบของวิถีชีวิตก็ไดเปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งระบบนิเวศตาง

ๆ ซึ่งเสียหายจนไมสามารถปรับปรุงใหดีเหมือนเดิม

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของมัคคุเทศกเรื่องภาพรวมของปญหาดานการทองเที่ยวใน

พื้นท่ีฝงธนบุรี ปรากฏผลดังตาราง 55

ตาราง 55 แสดงคารอยละความคิดเห็นของมัคคุเทศกเรื่องภาพรวมของปญหาดานการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรี

ความคิดเห็น จํานวน (คน) รอยละ

ไมมีปญหา 18 18.2

มีปญหา 81 81.8

รวมทั้งหมด 99 100.0

จากตาราง 55 พบวา มัคคุเทศกสวนใหญคิดวาพื้นที่ฝงธนบุรีมีปญหาดานการทองเที่ยว คิดเปนรอยละ

81.8 จากเหตุผลตาง ๆ ไดแก การขาดความรวมมือกันระหวางภาครัฐบาล เอกชน และประชาชนทองถิ่น การขาด

141

Page 164: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

142

งบประมาณในการพัฒนาแหลงทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวก เชน หองนํ้า ปายบอกทาง ทาจอดเรือ ปญหา

เรื่องมลภาวะตาง ๆ เชน แมนํ้าลําคลองเนาเสีย เรือหางยาวขับเร็วและเสียงดัง ปญหาดานความปลอดภัยในชีวิต

และทรัพยสิน รวมถึงปญหาเรื่องขาดการประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวใหเปนที่รูจัก นอกจากน้ัน ยังมีปญหาจาก

ผูประกอบการเรือรับจางที่เอาเปรียบนักทองเที่ยว ไมสุภาพ และไมสามารถติดตอสื่อสารกับนักทองเที่ยว

ชาวตางชาติ สวนมัคคุเทศกที่เหลือคิดวาไมมีปญหาดานการทองเที่ยว คิดเปนรอยละ 18.2

ผลการวิเคราะหขอมูลของมัคคุเทศกเรื่องขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรี

ไดแก การสงเสริมใหเกิดความรวมมือกันระหวางภาครัฐบาล เอกชน และประชาชนทองถิ่นใหมีสวนรวมในการ

พัฒนาการทองเที่ยวภายในชุมชน พัฒนาแหลงทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ รวมทั้งแกไขปญหาเรื่อง

ความปลอดภัยและการหลอกลวงนักทองเที่ยว สงเสริมใหมีการประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวใหเปนท่ีรูจัก และจัด

ใหมีกิจกรรมการทองเที่ยวรูปแบบอื่น ๆ เพ่ิมเติม เชน ขี่จักรยานชมสวน พายเรือชมวิถีชีวิต ที่พักแบบโฮมสเตย

การจัดการเรื่องสิ่งแวดลอม เชน แกปญหาเรื่องนํ้าเนาเสียในแมนํ้าลําคลอง การควบคุมและจํากัดความเร็วและ

เสียงของเรือหางยาว นอกจากน้ัน ควรจัดใหมีการอบรมความรูเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยว ภาษาตางประเทศ และสิ่งที่

ควรปฏิบัติในฐานะเจาบานท่ีดี

142

Page 165: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

ปจจุบันแหลงทองเที่ยวและเสนทางการทองเที่ยวทางนํ้าบางแหงเริ่มประสบปญหาความเสื่อมโทรมจาก

การขาดการจัดการที่ดี ฝงธนบุรีซึ่งในอดีตเคยไดชื่อวาเวนิสตะวันออกก็เปนพื้นท่ีอีกแหงหนึ่งที่กําลังประสบปญหาน้ี

เชนกัน ผูวิจัยจึงสนใจที่จะทําการศึกษาเรื่อง การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา: กรณีศึกษา ยอนรอย

เสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี โดยมีวัตถุประสงค 3 ประการ คือ 1) เพ่ือสํารวจทรัพยากรการทองเทีย่วในพื้นท่ีฝงธนบุรีที่เหมาะสมตอรูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทาง

นํ้าในเสนทาง “ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี”

2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักทองเที่ยว ผูประกอบการ มัคคุเทศก และประชาชนทองถิ่น เกี่ยวกับ

การทองเที่ยวทางน้ําในพื้นท่ีฝงธนบุรี และความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

3) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจตอการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมตอการทองเที่ยวทางนํ้ารูปแบบเดิมและนักทองเที่ยวกลุมทดลองตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา

ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งน้ีแบงออกเปน 5 กลุม คือ 1) ทรัพยากรการทองเที่ยวที่ติดลํานํ้าในพื้นที่

เขตบางกอกนอย บางกอกใหญ ตลิ่งชัน และธนบุรี 2) นักทองเท่ียว 3) ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว 4) มัคคุเทศก

และ 5) ประชาชนทองถิ่น โดยทรัพยากรการทองเที่ยวและนักทองเที่ยวใชวิธีการสุมตัวอยางแบบเจาะจงจํานวน

แหง และ คน ตามลําดับ ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวใชวิธีการสุมตัวอยางแบบเจาะจงจํานวน แหง มัคคุเทศกใช

วิธีการสุมตัวอยางแบบงายจํานวน คน และประชาชนทองถิ่นใชวิธีการสุมตัวอยางแบบโควตาจํานวน คน สวน

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลมี 4 ประเภท ไดแก แบบสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยว แบบสอบถาม

สําหรับกลุมตัวอยางนักทองเที่ยว ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว มัคคุเทศก และประชาชนทองถิ่น แบงเปน 4 สวน

ไดแก ขอมูลทั่วไป ความคิดเห็นเกี่ยวกับการทองเที่ยวทางน้ําภายในพื้นท่ีฝงธนบุรี ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการ

ทองเท่ียวเชิงนิเวศ และขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวทางน้ําภายในพื้นที่ฝงธนบุรี รวมทั้งแบบประเมิน

ความพึงพอใจของนักทองเที่ยวตอการทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิมและการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา ขอมูลที่ไดจาก

การศึกษาจะนํามาประมวลผลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS 14 โดยสถิติที่ใชในการวิเคราะหไดแก คารอยละ

คาเฉลี่ย คาฐานนิยม และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน

Page 166: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

144

5.1 สรุปผลการศึกษา

5.1.1 รูปแบบเสนทางการทองเที่ยว

รูปแบบเสนทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา โดยการลองเรือผานคลองบางกอกใหญ คลองบางเชือก

หนัง คลองบางนอย คลองบางพรม คลองบางระมาด คลองชักพระ คลองบางกอกนอย และแมนํ้าเจาพระยา

ระหวางคลองบางกอกนอยถึงคลองบางกอกใหญ ใชระยะเวลาการเดินทางตั้งแต 09.00 - 16.00 น. โดยเลือก

ทรัพยากรการทองเที่ยวที่มีความเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศและประวัติศาสตร การเลือกใชมัคคุเทศกที่มี

ประสบการณ และกระตุนใหเกิดการเรียนรูของนักทองเที่ยวตอการปฏิบัติตนที่เหมาะสมในแหลงทองเที่ยวและ

ชุมชนทองถิ่น รวมทั้งการเปดโอกาสใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา เชน การเปนมัคคุเทศกทองถิ่น นอกจากน้ัน ยังมีมาตรการปองกันและลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในพื้นท่ีของ

แหลงทองเที่ยวและชุมชน เชน การใชเรือหางยาวที่มีมาตรฐานดานความปลอดภัย การปองกันนํ้าเนาเสียและการ

ทิ้งขยะมูลฝอยในลํานํ้าเตรียมถุงขยะสําหรับนักทองเที่ยวทุกคน

5.1.2 นักทองเที่ยว

จากผลการวิเคราะหความพึงพอใจตอการทองเที่ยวทางนํ้าของนักทองเที่ยว พบวา ในภาพรวม

นักทองเที่ยวกลุมทดลองดวยการทองเท่ียวเชิงนิเวศทางน้ําที่มีความพึงพอใจในระดับมาก ซึ่งมากกวานักทองเที่ยว

กลุมควบคุมดวยการทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิมท่ีมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง โดยปจจัยดานความอุดม

สมบูรณของสภาพธรรมชาติ ความสวยงามของทัศนียภาพ และสภาพของแหลงทองเที่ยว นักทองเที่ยวทั้งสองกลุม

มีความพึงพอใจใกลเคียงกันคืออยูในระดับมากและมากที่สุด สวนปจจัยท่ีนักทองเที่ยวทั้งสองกลุมมีความคิดเห็น

แตกตางกันมาก คือ การใหบริการดานขอมูลและความรู การจัดการขยะและความสะอาด ความหลากหลายของ

กิจกรรม ซึ่งนักทองเที่ยวกลุมควบคุมมีความพึงพอใจในระดับนอย สวนนักทองเที่ยวกลุมทดลองมีความพึงพอใจ

ในระดับมาก

ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความรูความเขาใจตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศของนักทองเที่ยวกลุมควบคุม

และกลุมทดลองสวนใหญเขาใจไดถูกตอง แตมีความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศท่ีนักทองเที่ยวกลุม

ควบคุมเขาใจไมถูกตอง แตนักทองเที่ยวกลุมทดลองตอบไดถูกตองจํานวน 3 ขอ ไดแก 1) การทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ใหความสําคัญกับนักทองเที่ยวมากที่สุด โดยชุมชนทองถิ่นเปนองคประกอบสวนหนึ่งของการจัดการแสดงเพื่อทํา

ใหนักทองเที่ยวเกิดความพึงพอใจสูงสุด 2) การทองเที่ยวเชิงนิเวศสงเสริมใหมีธุรกิจบริการดานการทองเที่ยวและ

นักทองเที่ยวเขามาในแหลงทองเท่ียวใหมากท่ีสุดเทาที่จะเปนไปได เพื่อใหเกิดการกระจายรายไดสูทองถิ่น และ 3)

นักทองเที่ยวคณะใหญ (Mass Tourism) หรือนักทองเที่ยวที่จายเงินมาก หรือนักทองเท่ียวที่ตองการความ

สะดวกสบาย สามารถจัดเปนนักทองเที่ยวเชิงนิเวศได ถาสามารถปฏิบัติตัวตามแนวทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

นักทองเที่ยวกลุมควบคุมและนักทองเที่ยวกลุมทดลองมีความเห็นวาพื้นท่ีฝงธนบุรีเหมาะสมตอการ

พัฒนาใหเปนแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศจํานวน 6 คน และ 10 คน ตามลําดับ เน่ืองจากฝงธนบุรีมีประวัติศาสตร

144

Page 167: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

145

ความเปนมายาวนาน เคยเปนเมืองหลวงเกาของประเทศ และยังอุดมสมบูรณดวยทรัพยากรธรรมชาติและวัด

สําคัญเกาแกตั้งแตสมัยอยุธยาตลอดเสนทางทองเที่ยวริมนํ้า แตยังคงมีปญหาดานการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรี

ไดแก ปญหาเกี่ยวกับเรือทองเที่ยวที่ขับเร็วและมีเสียงดังเกินไป คนขับเรือไมคอยมีมารยาทและไมมีความรู

เกี่ยวกับแหลงทองเท่ียว ลําคลองคอนขางสกปรก มีกลิ่นเหม็น และการเอาเปรียบของผูประกอบการทองเที่ยวทาง

นํ้าบางราย เชน เสนทางหรือสถานที่ทองเที่ยวไมเปนไปตามขอตกลง แหลงทองเที่ยวบางแหงยังไมเปนที่รูจัก โดย

นักทองเที่ยวทั้งสองกลุมไดใหขอเสนอแนะตอการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรี ไดแก การดูแลรักษาความสะอาดของ

แมนํ้าลําคลอง จัดอบรมใหกับคนขับเรือเกี่ยวกับวิธีการเปนผูนําเท่ียวที่ดี สรางมาตรฐานทั้งดานคุณภาพและราคา

ของผูประกอบธุรกิจทองเที่ยวทางน้ํา ประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวใหเปนท่ีรูจัก

5.1.3 ทรัพยากรการทองเที่ยว

จากการสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยวริมลํานํ้าของพื้นท่ีเขตบางกอกนอย บางกอกใหญ ตลิ่งชัน และ

ธนบุรี พบวา แหลงทองเที่ยวที่เหมาะสมสําหรับรูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําเสนทาง “ยอนรอยเสนทาง

ประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี” เน่ืองจากยังคงมีทรัพยากรภายในแหลงทองเที่ยวคอนขางสมบูรณ มีการ

จัดการดานสิ่งแวดลอมอยางดี เปดโอกาสใหประชาชนทองถิ่นมีสวนรวมในกระบวนการทองเที่ยว และมีคุณคาดาน

การศึกษาเรียนรู ซึ่งประกอบไปดวย เขตบางกอกนอย ไดแก พิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี วัดระฆังโฆสิ

ตาราม วังหลังและกําแพงวังหลัง เขตบางกอกใหญ ไดแก วัดอรุณราชวราราม วัดโมลีโลกยาราม และมัสยิดตนสน

เขตตลิ่งชัน ไดแก ตลาดนํ้าคลองลัดมะยม และสวนกลวยไม และเขตธนบุรี ไดแก วัดกัลยาณมิตร ศาลเจาเกียน

อันเกง และวัดอินทาราม

5.1.4 ประชาชนทองถิ่น

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความรูความเขาใจของประชาชนทองถิ่นตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดย

ภาพรวมอยูในระดับมาก โดยมีความรูความเขาใจตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศในระดับมากที่สุด เชน เปนการจัดการ

การทองเที่ยวที่ไมกอใหเกิดการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม, มัคคุเทศกทองถิ่นสามารถ

ใหความรูเกี่ยวกับสื่อแวดลอม วิถีชีวิตวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่นไดเปนอยางดี และการวางแผนพัฒนาการ

ทองเที่ยวควรใหตัวแทนชาวบานเขามามีสวนรวม การมีความรูความเขาใจตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศในระดับมาก

เชน ทําใหเกิดการกระจายรายไดอยางเปนธรรม และลงสูทองถิ่นโดยตรง ชุมชนมีสวนรวมกับการทองเที่ยวไดโดย

ดําเนินการสํารวจและกําหนดเสนทางทองเที่ยว

จากผลการวิเคราะหเกี่ยวกับความคิดเห็นของประชาชนทองถิ่นตอการมีสวนรวมในการพัฒนาการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยภาพรวมอยูในระดับการมีสวนรวมมาก โดยมีระดับความคิดเห็นตอการมีสวนรวมมากท่ีสุด

เชน ชุมชนควรรวมกลุมกันเพื่อรวมกันจัดกิจกรรมที่สงเสริมและสนับสนุนการทองเที่ยวในชุมชน ประชาชนทองถิ่น

ตองชวยกันดูแลรักษาสิ่งแวดลอมและปาย/สัญลักษณสื่อความหมายตาง ๆ ใหอยูในสภาพดีและพรอมใชงาน และ

145

Page 168: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

146

ระดับความคิดเห็นตอการมีสวนรวมมาก เชน สนใจเขารวมประชุมเพื่อวางแผนการพัฒนาการทองเที่ยวในชุมชน

ทองถิ่นของตนเอง

ประชาชนทองถิ่นสวนใหญมีความคิดเห็นวา ชุมชนของตนเองเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลง

ทองเที่ยวเชิงนิเวศ เน่ืองจากยังมีทรัพยากรการทองเที่ยวจํานวนมากและหลากหลาย รวมทั้งยังมีวิถีชีวิต

วัฒนธรรมทองถิ่นท่ีมีเอกลักษณโดดเดน สวนประชาชนที่คิดวาชุมชนของตนเองไมเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปน

แหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ เน่ืองจากไมมีแหลงทองเที่ยวที่นาสนใจ ปญหาเรื่องมลภาวะตาง ๆ รวมทั้งชุมชนไม

ตองการใหเกิดการทองเที่ยวในชุมชน สําหรับความสนใจในการเขารวมกิจกรรมดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศพบวา

ประชาชนทองถิ่นสวนใหญยินดีเขารวมกิจกรรมดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เน่ืองจากการทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนการ

ทองเที่ยวที่ไมทําลายระบบนิเวศและสิ่งแวดลอม ประชาชนยังไดมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายทองถิ่นของ

ตนเอง สวนที่เหลือไมยินดีเขารวมกิจกรรมดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ คิดเปนรอยละ 15 เน่ืองจากไมมีเวลา

จากการวิเคราะหความคิดเห็นของประชาชนทองถิ่นตอภาพรวมของปญหาดานการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝง

ธนบุรี พบวา ประชาชนสวนใหญคิดวาพ้ืนท่ีฝงธนบุรีไมมีปญหาดานการทองเที่ยว แตมีบางสวนที่คิดวาพ้ืนท่ีฝง

ธนบุรียังมีปญหาดานการทองเที่ยว ไดแก ปญหาดานมลภาวะตาง ๆ ปญหาดานชุมชน ประชาชนไมใหความ

รวมมือหรือไมมีความรูความเขาใจเรื่องการทองเที่ยวอยางถูกตอง ปญหาดานสาธารณูปโภค รวมทั้งการขาดการ

สนับสนุนจากภาครัฐอยางจริงจัง ขาดการประชาสัมพันธเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวและการทองเที่ยวเชิงนิเวศ โดย

ประชาชนทองถิ่นไดใหขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรี ไดแก การพัฒนาเรื่อง

สาธารณูปโภค สาธารณูปการ การปรับปรุงมลภาวะตาง ๆ สวนภาครัฐควรมีการวางแผนนโยบายดานการทองเที่ยว

ใหชัดเจน รวมทั้งเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการกระบวนการวางแผนและพัฒนาการทองเที่ยวภายใน

ชุมชนของตนเอง ประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวในชุมชน จัดกิจกรรมสงเสริมการทองเที่ยวใหกับชุมชน เชน การ

อบรมภาษาตางประเทศ การจัดท่ีพักแบบโฮมสเตย

5.1.5 ผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว

จากการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวตอแหลงทองเที่ยวในพื้นท่ี

ฝงธนบุรีที่ไดรับความนิยมมากท่ีสุดใน 5 ลําดับแรก ไดแก ลําดับที่ 1 วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร ลําดับที่

2 พิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี ลําดับที่ 3 วัดระฆังโฆสิตาราม พระราชวังเดิม วัดกัลยาณมิตร ลําดับที่

4 ขันลงหินบานบุ สถานีรถไฟบางกอกนอย พิพิธภัณฑศิริราช และลําดับที่ 5 ตลาดนํ้าตลิ่งชัน มัสยิดตน

สวนผลการวิเคราะหความคิดเห็นของผูประกอบการตอความพรอมของปจจัยตาง ๆ ดานการทองเที่ยว

ในพื้นท่ีฝงธนบุรีโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง โดยความพรอมของปจจัยการทองเที่ยวที่อยูในระดับปานกลาง

เชน ความสมบูรณของสภาพธรรมชาติ ความสวยงามของทัศนียภาพ สวนความพรอมของปจจัยการทองเที่ยวที่อยู

ในระดับนอย ไดแก สถานที่พักแรม หองนํ้า คุณภาพของนํ้าบริเวณแมนํ้าลําคลอง และความหลากหลายของ

กิจกรรม

146

Page 169: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

147

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินนโยบายดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศของผูประกอบการธุรกิจนํา

เท่ียว เชน กิจกรรมที่ดําเนินการตองไมมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ วัฒนธรรม และสังคม คิดเปน

รอยละ 84.2 แตมีนโยบายเรื่องการจางงานชุมชนในทองถิ่น เพื่อใหเกิดการกระจายรายไดสูชุมชน รอยละ 57.9

การประกอบธุรกิจนําเที่ยวเชิงนิเวศอยางชัดเจน การมีโครงการอนุรักษฟนฟูสิ่งแวดลอมและสังคมในพื้นท่ีแหลง

ทองเที่ยวที่เขาไปใชประโยชน และมีการประชาสัมพันธเรื่องการทองเที่ยวเชิงนิเวศใหเปนท่ีรูจักและเขาใจ ทั้ง

ความหมาย รูปแบบ และกิจกรรม เพียงรอยละ 42.1 เทาน้ัน

นอกจากนั้น ผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวสวนใหญคิดวาพ้ืนท่ีฝงธนบุรีเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปน

แหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ คิดเปนรอยละ 86.8 และไมเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ คิด

เปนรอยละ 13.2 โดยคิดวาพ้ืนท่ีฝงธนบุรียังมีปญหาดานการทองเที่ยว คิดเปนรอยละ 68.4 ไดแก ปญหาเรื่องขาด

การสงเสริมและพัฒนาการทองเที่ยวและแหลงทองเที่ยวจากภาครัฐ ปญหาการจราจรทางน้ํา ขาดการ

ประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวใหเปนท่ีรูจัก ปญหาดานการบริหารจัดการภายในแหลงทองเที่ยว ปญหาเกี่ยวกับ

บริษัทนําเท่ียว และปญหาภายในชุมชนทองถิ่นเอง สวนขอเสนอแนะของผูประกอบการตอการจัดการการทองเที่ยว

ในพื้นท่ีฝงธนบุรี ไดแก การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของชุมชน การปรับปรุงภูมิทัศนของ

แหลงทองเที่ยว การปองกันการเอารัดเอาเปรียบจากบริษัทที่ดําเนินธุรกิจบริการทองเที่ยวทางน้ํา และจัดอบรม

ความรูตาง ๆ ใหกับชาวบานในชุมชน

5.1.6 มัคคุเทศก

ความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอแหลงทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรีที่ไดรับความนิยมมากที่สุดใน 5 ลําดับ

แรก ไดแก ลําดับที่ 1 วัดอรุณราชวรารามวรมหาวิหาร ลําดับที่ 2 พิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี ลําดับที่

3 วัดระฆังโฆสิตาราม วัดกัลยาณมิตร ลําดับที่ 4 พระราชวังเดิม พิพิธภัณฑศิริราช วัดศรีสุดาราม และลําดับที่ 5

พระราชวังหลัง สถานีรถไฟบางกอกนอย วัดสุวรรณาราม

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอความพรอมของปจจัยตาง ๆ ดานการ

ทองเท่ียวในพื้นที่ฝงธนบุรีโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง โดยมีความพรอมของปจจัยท่ีอยูในระดับมาก ไดแก

การเดินทางสะดวกสบาย สวนความพรอมของปจจัยที่อยูในระดับปานกลาง เชน ความสมบูรณของสภาพธรรมชาติ

ความสวยงามของทัศนียภาพ การใหบริการดานขอมูลและความรู การจัดการขยะและความสะอาด และความ

หลากหลายของกิจกรรม สวนความพรอมของปจจัยท่ีอยูในระดับนอย ไดแก สถานที่พักแรม และคุณภาพของน้ํา

บริเวณแมนํ้าและลําคลอง

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความรูความเขาใจของมัคคุเทศกตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดย

ภาพรวมอยูในระดับมาก โดยมีความรูความเขาใจตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศในระดับมากที่สุด เชน การ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนการจัดการการทองเที่ยวที่ไมกอใหเกิดการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และ

วัฒนธรรม การวางแผนพัฒนาการทองเที่ยวที่ควรใหตัวแทนชาวบานเขามามีสวนรวม สวนความความรูความเขาใจ

147

Page 170: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

148

ตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศในระดับมาก เชน มัคคุเทศกทองถิ่นสามารถใหความรูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม วิถี

ชีวิตวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่นไดเปนอยางดี

ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอความเหมาะสมในการพัฒนาพื้นที่ฝงธนบุรีใหเปนแหลง

ทองเที่ยวเชิงนิเวศ พบวา มัคคุเทศกสวนใหญคิดวาเหมาะสม คิดเปนรอยละ 92.9 เน่ืองจากความอุดมสมบูรณ

ของทรัพยากรการทองเที่ยวทั้งสภาพธรรมชาติ สิ่งแวดลอม วิถีชีวิตวัฒนธรรม ประเพณีทองถิ่น และภูมิทัศนที่

สวยงาม ซึ่งสามารถพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศได แตมัคคุเทศกสวนใหญถึงรอยละ 81.8 คิดวาพื้นท่ีฝง

ธนบุรีมีปญหาดานการทองเที่ยว เน่ืองจากการขาดความรวมมือระหวางภาครัฐ เอกชน และประชาชนทองถิ่น การ

ขาดงบประมาณในการพัฒนาแหลงทองเที่ยว ปญหาเรื่องมลภาวะตาง ๆ ปญหาดานความปลอดภัย ขาดการ

ประชาสัมพันธแหลงทองเท่ียว การเอาเปรียบนักทองเที่ยวของผูประกอบการ และปญหาเรื่องการติดตอสื่อสารกับ

นักทองเท่ียวชาวตางชาติ โดยมีขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรี ไดแก การสงเสริมความ

รวมมือกันระหวางหนวยงานตาง ๆ พัฒนาแหลงทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวก แกปญหาเรื่องความ

ปลอดภัยและหลอกลวงนักทองเที่ยว สงเสริมใหมีการประชาสัมพันธ จัดกิจกรรมการทองเที่ยวรูปแบบอื่น ๆ

เพ่ิมเติม การจัดการเรื่องสิ่งแวดลอม และจัดอบรมความรูเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวและภาษา

5.2 การอภิปรายผล

5.2.1 ทรัพยากรการทองเที่ยว

จากผลการสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยวในพื้นท่ีบางกอกนอย บางกอกใหญ ตลิ่งชัน และธนบุรี เพื่อ

คัดเลือกแหลงทองเที่ยวที่เหมาะสมตอเสนทางทองเที่ยวทางน้ํา “ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุง

ธนบุรี” มีเหตุผลในการเลือกแหลงทองเท่ียวดังกลาวเน่ืองจากมีปจจัยตาง ๆ ตรงหรือใกลเคียงกับลักษณะเฉพาะ

ของแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ ดวยลักษณะโดดเดน มีความดึงดูดใจของแหลงทองเที่ยวแตละแหง ซึ่งสอดคลองกับ

ผลงานวิจัยของ ทวีเดช ทองออน (2537) ไดเสนอแนวทางการวางแผนอนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอมเมืองและ

ชุมชนกรุงธนบุรี เพื่อแสดงออกถึงคุณคาสภาพแวดลอมเมืองและชุมชนกรุงธนบุรีที่มีความโดดเดน มีเอกลักษณ

นอกจากนั้น แหลงทองเที่ยวดังกลาวยังมีลักษณะขององคประกอบแหลงทองเที่ยวทางนํ้าท่ีเหมาะสมตอการเที่ยว

ชมท่ีนอกจากจะตองมีลักษณะโดดเดนแลว ยังตองมีบรรยากาศและทัศนียภาพเสนทางการทองเที่ยวทางน้ําที่ทําให

นักทองเที่ยวไดสามารถสัมผัสวิถีชีวิตของชาวบานริมนํ้า และรูสึกประทับใจกับทัศนียภาพของสองฟากฝงริมลํานํ้า

ไดดวย ไดแก

- พิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี เปนแหลงทองเท่ียวที่สําคัญแหงหนึ่งที่จะสามารถสื่อใหเห็น

ถึงความสําคัญของสายนํ้ากับคนไทยตั้งแตอดีต เน่ืองจากพิพิธภัณฑ ฯ เปนแหลงทองเที่ยวที่มีทรัพยากรการ

ทองเที่ยวสมบูรณ มีสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ เชน หองนํ้า ตูโทรศัพท รานขายเครื่องด่ืมและของที่ระลึก

นอกจากน้ันชาวบานทองถิ่นท่ีอยูใกลเคียงยังสามารถหารายไดจากการจําหนายอาหารและเครื่องด่ืมไดอีกดวย การ

148

Page 171: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

149

จัดการดานสิ่งแวดลอมในพื้นที่ดีทั้งบริเวณริมคลองบางกอกนอยและภายในอูจอดเรือของพิพิธภัณฑ ฯ มีการกัน

ไมใหผักตบชวาและขยะจากภายนอกเขามาภายในบริเวณพิพิธภัณฑ ฯ เพ่ือรักษาทัศนียภาพไวไดอยางดี

- วัดระฆังโฆสิตาราม เน่ืองจากมีความสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติดี มีสิ่งอํานวยความสะดวก

เชน ถังรองรับขยะ หองนํ้า ที่จอดรถ ถนนภายในวัดสะอาด นอกจากนั้น ยังมีการเปดโอกาสใหชุมชนเขามามีสวน

รวมในการจําหนายถังสังฆทานและสัตวสําหรับปลอยเพื่อทําทาน แตการปลอยสัตวเหลาน้ีมีแงมุมท่ีไมเหมาะสม

เน่ืองจากเมื่อประชาชนหรือนักทองเที่ยวปลอยสัตวนํ้าลงแมนํ้าแลว ยังไมไดออกไปไกลจากฝง ก็จะมีเด็กไปจับสัตว

เหลาน้ันกลับมาขายอีก

- วังหลังและกําแพงวังหลัง เน่ืองจากเคยมีความสําคัญในอดีต เปนที่ประทับของกรมพระราชวังหลัง

ซึ่งเปนองคแรกและองคเดียวแหงกรุงรัตนโกสินทร แตเดิมเปนพื้นท่ีขนาดกวางใหญตั้งแตเหนือวัดระฆังโฆสิตาราม

ไปจนจรดปากคลองบางกอกนอยหรือโรงพยาบาลศิริราชในปจจุบัน รองรอยที่ยังพอใหเห็นอยูไดในปจจุบันคือ

กําแพงวังหลัง

- วัดอรุณราชวราราม เปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญและสวยงามมากที่สุดแหงหนึ่งของฝงธนบุรี และมี

ความพรอมตอการเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ เน่ืองจากมีองคประกอบตาง ๆ ของแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ ไดแก

ทรัพยากรการทองเที่ยวที่เปนแหลงทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตรและวัฒนธรรมที่สําคัญตั้งแตสมัยอยุธยา ผานสมัย

กรุงธนบุรี จนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทรในปจจุบัน รวมทั้งยังมีสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ ที่มีความพรอมอยาง

มาก ยกตัวอยางเชน ที่จอดรถ หองนํ้า ถังรองรับขยะ เปนตน สวนปอมตํารวจทองเที่ยวซึ่งตั้งอยูภายในบริเวณวัด

ทําใหเกิดความมั่นใจตอนักทองเที่ยว แตจากการสังเกตพบวา บางครั้งก็ไมมีเจาหนาท่ีอยูประจําสถานี สวนการ

จัดการดานสิ่งแวดลอมพบวา สภาพภายในวัดสะอาด ไมมีเศษขยะหรือใบไมทําลายทัศนียภาพ นอกจากน้ัน ทาง

วัดยังเปดโอกาสใหชุมชนหารายไดจากการเชาพื้นที่เพื่อจําหนายสินคา ของท่ีระลึก รับถายรูป ซึ่งทางวัดควรจะเขา

มาดูแลเรื่องราคาของสินคาเพื่อปองกันการเอาเปรียบนักทองเท่ียว สวนเรื่องการใหความรูกับนักทองเที่ยวน้ัน ทาง

วัดมีปายสื่อความหมายของวัดอรุณราชวรารามและปายบอกเสนทางและแหลงทองเที่ยวของแมนํ้าเจาพระยาและ

พื้นท่ีใกลเคียง ซึ่งจัดทําโดยกรุงเทพมหานคร

- วัดโมลีโลกยาราม แมจะมีทรัพยากรการทองเที่ยวไมโดดเดนมากนัก แตเน่ืองจากเปนวัดสําคัญใน

สมัยกรุงธนบุรี คือ เปนวัดสําคัญในเขตพระราชวัง จึงไมมีพระสงฆจําพรรษาคลายกับวัดพระแกวในปจจุบัน มีการ

สันนิษฐานวาพระวิหารของวัดโมลีโลกยารามเคยเปนฉางเกลือในสมัยกรุงธนบุรีดวย จึงมีความเกี่ยวของโดยตรง

กับกรุงธนบุรี และภายในวัดโมลีโลกยารามมีพระบรมรูปของสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีตั้งอยูระหวางพระวิหารและ

พระอุโบสถดวย นอกจากน้ัน การเดินทางทองเที่ยวจากวัดโมลี ฯ ยังสามารถเชื่อมโยงไปยังแหลงทองเที่ยวอื่นได

อีก คือ มัสยิดตนสน ซึ่งมีทางเขาทางถนนอยูบริเวณเดียวกัน และวัดกัลยาณมิตร ซึ่งสามารถนั่งเรือขามฟาก หรือ

เดินทางขามสะพานประตูกั้นนํ้าบริเวณปากคลองบางกอกใหญ ซึ่งจะเปนประสบการณที่นาสนใจสําหรับ

นักทองเที่ยว ที่จะสามารถมองเห็นคลองบางกอกใหญและแมนํ้าเจาพระยาในมุมมองที่ตางไป และเหตุผลในการ

เลือกวัดโมลีเปนแหลงทองเที่ยวในเสนทางทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําครั้งน้ีอีกอยางหนึ่ง คือ เปนพ้ืนท่ีที่มีความ

149

Page 172: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

150

หลากหลายของชุมชนท่ีมีทั้งชาวไทยพุทธและไทยมุสลิม ซึ่งแมจะแตกตางกันดานศาสนา แตชาวบานก็สามารถอยู

รวมกันไดเปนอยางสงบสุข

- มัสยิดตนสน เปนทรัพยากรการทองเที่ยวที่มีความเปนเอกลักษณโดดเดนในฐานะที่เปนศูนยรวม

จิตใจของผูนับถือศาสนาอิสลามในพ้ืนที่น้ัน แมการทองเที่ยวที่มัสยิดตนสนจะสามารถทําไดเพียงแคสัมผัสความ

งามจากภายนอก ไมสามารถเขาไปภายในมัสยิดได แตเพียงเรื่องเลาเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของชุมชนมุสลิม

ตนสน ก็ทําใหเกิดความรูสึกรวมไดเปนอยางดี

- ตลาดน้ําคลองลัดมะยม เปนแหลงทองเที่ยวที่สามารถสะทอนวิถีชีวิตความเปนอยูแบบชาวบาน

ชุมชนทองถิ่นอยางแทจริง เน่ืองจากตลาดน้ําคลองลัดมะยมเปนการรวมตัวกันของชาวบานในชุมชนคลองลัดมะยม

ชาวบานเปนเจาของรวมกัน โดยมีประธานตลาดน้ําเปนผูดูแลระบบการบริหารจัดการภายในตลาด ซึ่งผลิตภัณฑ

สินคา อาหาร ขนม และเครื่องด่ืมตาง ๆ ที่นํามาจําหนายเปนผลิตภัณฑทองถิ่นท่ีชาวบานทําขึ้นเองหรือเปนของใน

บาน มีการดูแลเรื่องความสะอาดภายในตลาดน้ําเปนอยางดี นอกจากน้ี นักทองเที่ยวยังสามารถเชาเรือเพื่อเที่ยวชม

วิถีชีวิตริมคลองแถบนั้นไดอีกดวย

- สวนกลวยไม เน่ืองจากดอกกลวยไมมีการออกดอกตลอดป และการเลือกทองเที่ยวในสวนกลวยไม

ก็เปนการสรางความหลากหลายใหกับเสนทางทองเที่ยวทางนํ้าเชิงนิเวศ สําหรับในดานการใหความรูและการศึกษา

น้ัน เจาของสวนกลวยไมจะมีการอธิบายใหความรูเกี่ยวกับการปลูกและเพาะพันธุกลวยไมสําหรับผูที่สนใจศึกษา

หรือลองซื้อกลับไปปลูกเองอีกดวย ซึ่งเปนการกระจายรายไดลงสูทองถิ่นอยางแทจริง

- วัดกัลยาณมิตร เปนสวนหนึ่งที่เรียกวา กุฎีจีน และเนื่องจากมีประชาชนและนักทองเที่ยวมาเคารพ

สักการะหลวงพอโตในแตละวันเปนจํานวนมาก ทําใหบางครั้งการดูแลเรื่องความสะอาดยังไมทั่วถึง รวมทั้งบริเวณ

ลานกวางหนาพระวิหาร ควรจะมีการจัดระเบียบที่จอดรถและปรับปรุงภูมิทัศน เชน ปลูกตนไม เพื่อเพิ่มศักยภาพ

ใหเหมาะสมตอการเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศมากยิ่งขึ้น ขอดีของสถานที่ตั้งวัดกัลยาณมิตรคือใกลแหลง

ทองเที่ยวอื่น สามารถเดินเทาถึงไดอีกหลายแหง ทั้งศาลเจาเกียนอันเกง วัดโมลีโลกยาราม และมัสยิดตนสน

นอกจากน้ี ชุมชนทองถิ่นที่อยูบริเวณรอบ ๆ วัดยังสามารถสรางรายไดจากการจําหนายอาหารและเครื่องดื่ม เพื่อ

เปนการสรางรายไดใหกับครอบครัวดวย

- ศาลเจาเกียนอันเกง เปนสวนหนึ่งของชุมชนกุฎีจีนเชนเดียวกับวัดกัลยาณมิตร เม่ือประชาชนหรือ

นักทองเท่ียวมาไหวสักการะหลวงพอโตที่วัดกัลยาณมิตรแลว สวนใหญก็จะเดินทางมาไหวเจาแมกวนอิมท่ีศาลเจา

เกียนอันเกงดวย ซึ่งทําใหการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํามีความหลากหลายของแหลงทองเที่ยวมากขึ้น นอกจากน้ัน

สถาปตยกรรมภายในศาลเจายังคงถูกรักษาไวเปนอยางดี เน่ืองจากตระกูลของผูที่ดูแลศาลเจาน่ีตั้งแตอดีตยังคงสืบ

ทอดการดูแลศาลเจาแหงน้ีตอมาโดยตลอด

- วัดอินทาราม เปนวัดท่ีสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีทรงบูรณปฏิสังขรณมากท่ีสุด และพระองคยังเสด็จ

มาทรงศีลบําเพ็ญพระกรรมฐาน ณ พระตําหนักในวัดน้ีดวย นับเปนวัดประจําพระองคก็วาได ดังน้ันจึงมี

ความสัมพันธกับสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีอยางมาก ทรัพยากรการทองเที่ยวภายในวัดยังสมบูรณอยูมาก

ตัวอยางเชน เจดียคูหนาพระวิหารหลังเกา ที่กลาวกันวาใชบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีและพระ

150

Page 173: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

151

มเหสี พระวิหารหลังเล็กขางพระวิหารหลังใหญซึ่งสันนิษฐานวาเปนตําหนักที่พระองคใชสําหรับฝกพระกรรมฐานนั้น

นับเปนสถาปตยกรรมของสมัยกรุงธนบุรีซึ่งไมสามารถหาชมไดทั่วไป เน่ืองจากมีระยะเวลาของราชธานีเพียง 15 ป

โดยมีลักษณะเฉพาะ คือ หนาบันกออิฐเปนผนังสามเหลี่ยม ทําลวดลายเครือเถา ประดับดวยจานเคลือบของจีน

และหนาพระวิหารหลังน้ีมีพระบรมรูปทรงมาต้ังอยูเปนท่ีสักการบูชาของผูที่นับถือทั่วไป การจัดการเรื่องสิ่งแวดลอม

ภายในวัดดี ไมมีเศษขยะ หรือฝุนควันรบกวน นอกจากน้ันชุมชนทองถิ่นสามารถหารายไดจากการขายดอกไมและ

เครื่องด่ืมใหประชาชนและนักทองเที่ยวที่มายังวัดดวย สําหรับเรื่องการใหการศึกษาน้ันทางวัดมีปายสื่อความหมาย

ของกรุงเทพมหานครติดตั้งไวอยูบริเวณหนาวัดที่ติดกับถนน รวมทั้งยังมีการแจกหนังสือประวัติวัดอินทารามเปน

วิทยาทานในพระวิหารหลังเล็ก โดยตั้งกลองรับบริจาคตามกําลังศรัทธาเพื่อผลิตหนังสือน้ีตอไป

5.2.2 ประชาชนทองถิ่น

จากผลการวิเคราะหความรูความเขาใจของประชาชนทองถิ่นตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยภาพรวมอยูใน

ระดับมาก ซึ่งตรงกับคําจํากัดความของการทองเที่ยวแหงประเทศไทยเกี่ยวกับ การทองเที่ยวเชิงนิเวศวาเปนการ

จัดการการทองเที่ยวที่ไมกอใหเกิดการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมอยูในระดับความรู

ความเขาใจมากที่สุด หมายความวาอยางนอยที่สุดประชาชนทองถิ่นก็เขาใจในความหมายพื้นฐานของการทองเที่ยว

เชิงนิเวศ

สวนความรูความเขาใจตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศในระดับมาก เชน ทําใหเกิดการกระจายรายไดอยางเปน

ธรรม และลงสูทองถิ่นโดยตรง, ชุมชนมีสวนรวมกับการทองเที่ยวไดโดยดําเนินการสํารวจและกําหนดเสนทาง

ทองเที่ยว, ชุมชนสามารถติดตอประสานงานกับบริษัททองเที่ยวใหจัดสงนักทองเที่ยวเขามาทองเที่ยวยังชุมชนได

เองโดยตรง, การจัดอบรมเรื่องภาษาใหกับชุมชนจะชวยลดปญหาดานการสื่อสารกับนักทองเที่ยวชาวตางชาติได,

รายไดจากการทองเที่ยวสามารถนํามาพัฒนาทองถิ่น ซึ่งเปนประโยชนตอสวนรวมได, การสงเสริมการทองเที่ยวทํา

ใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาดานตาง ๆ, มัคคุเทศกทองถิ่นสามารถใหความรูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม วิถีชีวิต

วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่นไดเปนอยางดี และการวางแผนพัฒนาการทองเที่ยวควรใหตัวแทนชาวบานเขามา

มีสวนรวม

ความรูความเขาใจตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศในระดับมาก แตเปนขอความเชิงลบ ไดแก ชุมชนไมมีสวน

เกี่ยวของในกระบวนการจัดการการทองเท่ียวเปนหนาที่ของภาครัฐและเอกชนเทาน้ัน, การเดินศึกษาธรรมชาติและ

วัฒนธรรมในชุมชน นักทองเที่ยวสามารถเดินเขาไปทองเที่ยวดวยตนเอง, นักทองเที่ยวไดจายเงินคาทองเที่ยวและ

บริการแลว จึงสามารถทําอะไรก็ไดตามความตองการ และการสงเสริมการทองเที่ยวไมจําเปนตองมีการศึกษา

ผลกระทบตอระบบนิเวศสิ่งแวดลอม เน่ืองจากเปนหนาท่ีของภาครัฐ เหตุผลที่ประชาชนทองถิ่นมีความเขาใจเรื่อง

ดังกลาวในแงที่ผิด อาจเน่ืองมาจากการขาดความรูเรื่องการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางถูกตอง

จากผลการวิเคราะหพบวา ความคิดเห็นของประชาชนทองถิ่นตอการมีสวนรวมในการพัฒนาการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยภาพรวมอยูในระดับการมีสวนรวมมาก สําหรับผลการพิจารณาเปนรายขอพบวา ระดับความ

คิดเห็นตอการมีสวนรวมมากท่ีสุด ไดแก เม่ือเกิดปญหาในแหลงทองเที่ยวของชุมชน จะตองรวมกันหาแนว

151

Page 174: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

152

ทางแกไขและปองกันตอไป, เม่ือมีการบุกรุกทําลายสิ่งแวดลอมหรือแหลงทองเที่ยวในชุมชนตองรีบแจงใหเจาหนาที่

รับทราบทันที และประชาชนทองถิ่นตองชวยกันดูแลรักษาสิ่งแวดลอมและปาย/สัญลักษณสื่อความหมายตาง ๆ ให

อยูในสภาพดีและพรอมใชงาน, ทานสนใจเขารวมประชุมเพ่ือวางแผนการพัฒนาการทองเท่ียวในชุมชนทองถิ่นของ

ตนเอง และชุมชนควรรวมกลุมกัน เพื่อรวมกันจัดกิจกรรมที่สงเสริมและสนับสนุนการทองเที่ยวในชุมชน ซึ่งความ

คิดเห็นเหลาน้ีสอดคลองกับแนวความคิดเรื่องการทองเที่ยวเชิงนิเวศที่ตองการใหชุมชนทองถิ่นมีสวนรวมใน

กระบวนการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศภายในชุมชนตั้งแตการใหขอมูลของทองถิ่น การเตรียมการ การวางแผน

การควบคุมดูแลการใชทรัพยากร การมีสวนรวมในการบริการ และการไดประโยชนจากการบริการ โดยชุมชน

จะตองตระหนักถึงความสําคัญของทรัพยากรและสิ่งแวดลอม มีกิจกรรมในการอนุรักษและการใชประโยชนที่

จะตองไมเปนการเบียดบังและทําลายสิ่งแวดลอม อยางไรก็ตาม ยังมีความคิดเห็นท่ีประชาชนทองถิ่นยังไมเขาใจเกี่ยวกับการมีสวนรวมในกระบวนการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศ ตัวอยางเชน ความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลพฤติกรรมของนักทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวของ

ชุมชนเปนหนาที่ของเจาหนาที่ของรัฐเทาน้ัน, โครงการดานการทองเที่ยวที่ทางภาครัฐจัดขึ้นใหกับชุมชนน้ัน ทานไม

จําเปนตองสนใจ เพราะเปนหนาท่ีของสวนราชการในการตัดสินใจ และการบริจาคเงินทุนเพื่อใชในการทองเที่ยว

เปนหนาท่ีของภาครัฐเทาน้ัน มิใชหนาท่ีของประชาชนทองถิ่น จะพบวาประชาชนทองถิ่นยังไมเขาใจบทบาทหนาท่ี

ของรัฐและชุมชนทองถิ่นตอการทองเที่ยวภายในชุมชนอยางแทจริง จึงควรมีการสงเสริมสนับสนุนใหเกิดความ

เขาใจถึงบทบาทขององคกรในชุมชน ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของประชาชนในชุมชนและมีสวนสําคัญในการ

ผลักดันใหองคกรดังกลาวเปนตัวแทนของประชาชนในชุมชนอยางแทจริง ดังงานวิจัยของ ดารุณี บุญธรรม และ

คณะ (2546: 96-100) ที่ศึกษาเรื่องการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรมของชุมชนชาวมงบานนํ้าคะ

สานกวย ที่มีคณะกรรมที่เปนสวนผลักดันกระบวนการทองเที่ยวเชิงนิเวศ มีการจัดกระบวนการเรียนรู สรางโอกาส

ใหกลุมตาง ๆ ในสังคมทุกกลุมใหมีสวนรวมในกิจกรรมของชุมชน ซึ่งผลประโยชนที่ชุมชนจะไดรับจากการมีสวน

รวมนั้นจะเกิดขึ้นอยางมากมาย ทั้งผลประโยชนทางเศรษฐกิจและสังคม การเกิดจิตสํานึกตอการรักษาสิ่งแวดลอม

และความภาคภูมิใจตอทรัพยากรการทองเที่ยวในทองถิ่นของตนเอง

5.2.3 ผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว

จากผลการวิเคราะหขอมูลของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว พบวา ผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวใหความ

คิดเห็นสอดคลองกับแหลงทองเที่ยวที่คัดเลือกใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา 5 แหง จากท้ังหมด 10 แหง

ไดแก วัดอรุณราชวราราม พิพิธภัณฑเรือพระราชพิธี วัดระฆังโฆสิตาราม วัดกัลยาณมิตรวรวิหาร และมัสยิดตน

สน ซึ่งเปนเหตุผลเดียวกับการคัดเลือกทรัพยากรการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา สวนแหลงทองเที่ยวที่ไมไดถูก

คัดเลือก ไดแก พระราชวังเดิม ขันลงหินบานบุ สถานีรถไฟบางกอกนอย พิพิธภัณฑศิริราช และตลาดน้ําตลิ่งชัน

ดวยเหตุผลตาง ๆ ดังน้ี

152

Page 175: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

153

- พระราชวังเดิม เน่ืองจากอยูในกองทัพเรือ ซึ่งเปนสถานที่ราชการ จึงมีขอจํากัดในการเขาชม คือ ตอง

แจงความประสงคในการเที่ยวชมเปนหนังสือกอนอยางนอย 7 วัน และตองเดินทางมาเปนกลุมอยางนอย 30 คน

ทําใหเกิดปญหาในการเขาชม

- ขันลงหินบานบุ ตองเขาไปทองเที่ยวในวันธรรมดา เน่ืองจากวันเสาร-อาทิตยเปนวันหยุดทํางาน แต

การทดลองเสนทางทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําจัดขึ้นในวันเสารหรืออาทิตย ซึ่งเปนวันทํางานที่ไมสอดคลองกัน

- สถานีรถไฟบางกอกนอย เน่ืองจากปจจุบันการรถไฟแหงประเทศไทยไดมอบพื้นท่ีบริเวณสถานีรถไฟ

บางกอกนอยใหกับโรงพยาบาลศิริราชเพื่อกอสรางศูนยการแพทยนานาชาติระดับประเทศ และกําลังกอสรางอยู จึง

ไมสามารถเขาชมได

- พิพิธภัณฑศิริราช เน่ืองจากอยูในโรงพยาบาลศิริราช ซึ่งเปนสถานท่ีราชการ ทําใหการเขาไปเที่ยวชม

คอนขางลําบาก และไมไดอยูติดริมแมนํ้ามากนัก

- ตลาดน้ําตลิ่งชัน เปนตลาดน้ําท่ีมีผูนิยมและรูจักอยางกวางขวาง สอดคลองกับงานวิจัยของ ประดับ

เรียนประยูร (2541) ซึ่งพบวา ตลาดนํ้าตลิ่งชันมีศักยภาพดานคุณคาทางวัฒนธรรมสูง ซึ่งแสดงออกถึงวิถีชีวิตของ

ชุมชนริมนํ้า แตกิจกรรมที่จัดขึ้นในตลาดน้ําน้ันสงผลเสียตอคุณภาพของนํ้าในคลอง ผูวิจัยจึงตองการนําเสนอ

ตลาดนํ้าท่ีเพ่ิงเปดใหมไดไมนาน และยังไมเปนท่ีรูจักมากนักแทน เพ่ือเปนการสงเสริมแหลงทองเที่ยวใหม ๆ

ผูประกอบการและมัคคุเทศกมีความเห็นเรื่องภาพรวมของความพรอมของปจจัยตาง ๆ ดานการ

ทองเที่ยวภายในพื้นท่ีฝงธนบุรีอยูในระดับปานกลาง และระดับความคิดเห็นรายขอเหมือนกันทุกขอ ซึ่งปญหาที่ทั้ง

สองกลุมเห็นวามีระดับความพรอมของปจจัยนอย คือ ที่พักและคุณภาพของนํ้าบริเวณแมนํ้าลําคลอง ในสวนของที่

พักที่มีจํานวนนอย อาจเน่ืองมาจากพื้นท่ีฝงธนบุรีสวนใหญเปนชุมชนเกาแก ด้ังเดิม นักลงทุนอาจจะไมสนใจลงทุน

เพื่อสรางที่พักเพื่อการทองเที่ยว เพราะกลัวจะไมคุมคา เน่ืองจากนักทองเที่ยวสวนใหญที่มาทองเที่ยวในพื้นท่ีฝง

ธนบุรีจะมาเที่ยวแบบวันเดียว ไมมีการพักคางคืน สวนเรื่องคุณภาพของนํ้าบริเวณแมนํ้าลําคลองเนาเสีย

โดยเฉพาะเสนทางคลองบางกอกนอย คลองชักพระ และคลองบางกอกใหญ เน่ืองจากเปนท่ีตั้งของโรงงาน

อุตสาหกรรมหลายแหงที่ปลอยของเสียลงแมนํ้าลําคลอง

สวนความคิดเห็นของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวตอการดําเนินนโยบายดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศสวน

ใหญยังไมชัดเจน ดูไดจากผลการวิเคราะห เชน การดําเนินนโยบายในเรื่องการประกอบธุรกิจนําเท่ียวเชิงนิเวศมี

เพียงรอยละ 42.1 ซึ่งยังนอยมาก อาจเน่ืองมาจากเหตุผลตอเน่ืองจากเรื่องปจจัยความพรอมดานการทองเที่ยวที่อยู

ในระดับปานกลาง ตัวอยางเชน ความสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ ความสวยงามของทัศนียภาพ การใหบริการ

ดานความรู เชน ศูนยบริการนักทองเที่ยว หรือปจจัยความพรอมดานการทองเที่ยวที่อยูในระดับนอย ตัวอยางเชน

คุณภาพของน้ําบริเวณแมนํ้าลําคลอง ปจจัยดานความพรอมตาง ๆ เหลาน้ีอาจะสงผลทําใหผูประกอบการธุรกิจนํา

เท่ียวไมมีนโยบายการประกอบธุรกิจในพื้นท่ีฝงธนบุรี แตถาเปนนโยบายเรื่องการทองเที่ยวที่ไมมีผลกระทบตอ

สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ วัฒนธรรม และสังคม จะมีความชัดเจนมาก คือ มีผูตอบแบบสอบถามเรื่องน้ีถึงรอยละ

84.2 อาจจะเนื่องมาจากเปนการดําเนินงานที่สามารถปฏิบัติไดงายและชัดเจนไมวาจะเปนการทองเที่ยวรูปแบบใด

สวนการดําเนินนโยบายอื่นท่ีเปนองคประกอบของการทองเที่ยวเชิงนิเวศ คือ เรื่องการมีโครงการอนุรักษฟนฟู

153

Page 176: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

154

สิ่งแวดลอมและสังคมในพื้นที่แหลงทองเที่ยวที่เขาไปใชประโยชน การจางงานในชุมชนทองถิ่น และการ

ประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศใหเปนท่ีรูจัก คําตอบที่ไดสวนใหญจะมีการดําเนินนโยบายเรื่องเหลาน้ีไม

มากนัก อาจเน่ืองมาจากนโยบายเหลาน้ีเปนองคประกอบยอยของการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ซึ่งทําไดยากและทําใหการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศแตกตางจากการทองเที่ยวรูปแบบอื่น วิธีการดําเนินงานจึงตองอาศัยความรูความเขาใจใน

กระบวนการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางแทจริง

สวนความคิดเห็นของผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวที่คิดวาพ้ืนท่ีฝงธนบุรีเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปน

แหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ แมวายังคิดวาพ้ืนท่ีฝงธนบุรีเองก็ยังมีปญหาดานการทองเที่ยว อาจจะหมายความวา พื้นท่ี

ฝงธนบุรียังมีศักยภาพในการพัฒนาทรัพยากรการทองเที่ยวของพื้นที่ เน่ืองจากพื้นท่ีฝงธนบุรีเปนชุมชนเกาแกและ

เปนเมืองหลวงเกาในอดีต และมีทรัพยากรการทองเที่ยวที่หลากหลายทั้งทางธรรมชาติ โบราณสถาน โบราณวัตถุ

และวิถีชีวิตทองถิ่น สวนปญหาที่เกิดขึ้นผูประกอบการธุรกิจทองเที่ยวอาจมองวาเปนปญหาที่สามารถหาทางแกไข

ได 5.2.4 มัคคุเทศก

จากผลการวิเคราะหขอมูลของมัคคุเทศกตอแหลงทองเที่ยวที่ไดรับความนิยมสูงสุดซึ่งสอดคลองกับ

แหลงทองเที่ยวที่ผูวิจัยคัดเลือกใหเปนแหลงทองเที่ยวในเสนทางทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา 5 แหง ไดแก วัดอรุณ

ราชวราราม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี วัดระฆังโฆสิตาราม วัดกัลยาณมิตร และพระราชวังหลัง ซึ่งก็

เปนไปในทิศทางเดียวกับแหลงทองเที่ยวที่ไดรับความนิยมสูงสุดของผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว จะมีเพิ่มเติมมา

คือ พระราชวังหลัง หรือปจจุบันคงเหลือเพียงวังหลังและกําแพงวังหลัง อาจเน่ืองดวยเหตุผลของความเชื่อมโยง

ดานการทองเที่ยวกับแหลงทองเที่ยวอยางวัดระฆังโฆสิตารามและบวกกับประวัติความเปนมาท่ีเกาแกและนาคนหา

สวนแหลงทองเที่ยวที่มัคคุเทศกใหความนิยมเพิ่มเติมจากผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว แตผูวิจัยไมไดเลือกใชใน

เสนทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําน้ัน ไดแก วัดศรีสุดาราม และวัดสุวรรณาราม ดวยเหตุผลวาวัดศรีสุดารามท่ี

มัคคุเทศกกลาวถึงไมไดหมายความถึงการหยุดเขาชมภายในวัด แตเปนเพียงการแวะใหอาหารปลาบริเวณหนาวัดท่ี

ติดกับคลองบางกอกนอยเทาน้ัน สวนวัดสุวรรณารามยังขาดความพรอมในดานสาธารณูปการ เชน หองนํ้า ที่มีนอย

และไมสะอาดเพียงพอ

สวนผลการวิเคราะหความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอความพรอมของปจจัยตาง ๆ ดานการทองเที่ยวใน

พื้นท่ีฝงธนบุรีโดยภาพรวม อยูในระดับปานกลาง เชน ปจจัยดานความสมบูรณของสภาพธรรมชาติ ความสวยงาม

ของทัศนียภาพ การใหบริการดานขอมูลและความรู หองนํ้าหองสุขา การจัดการขยะและความสะอาด และความ

หลากหลายของกิจกรรม สวนความพรอมของปจจัยท่ีอยูในระดับนอย ไดแก สถานที่พักแรม และคุณภาพของน้ํา

บริเวณแมนํ้าลําคลอง จะเห็นวาปจจัยดานการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรีอยูในระดับปานกลางถึงต่ํา อาจ

เน่ืองมาจากเสนทางทองเที่ยวที่มัคคุเทศกนํานักทองเที่ยวไปเที่ยวน้ัน เปนเสนทางที่มีความเจริญของสังคมสมัยใหม

เขามาสูชุมชนดังกลาวแลว ดังงานวิจัยของ กิติศักด์ิ วิทยาโกมลเลิศ (2545: 190-193) ที่กลาวถึงการเปลี่ยนแปลง

รูปแบบการตั้งถิ่นฐานจากชุมชนนํ้าสูเมืองบกในพื้นท่ีเมืองฝงธนบุรี ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางธรรมชาติและ

154

Page 177: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

155

โดยฝมือมนุษย ยกตัวอยางเชน การตั้งโรงงานริมแมนํ้าลําคลอง ทําใหมีการปลอยนํ้าเสียลงสูแหลงนํ้า ซึ่งเปนการ

ทําลายคุณภาพของนํ้าบริเวณแมนํ้าลําคลองใหหมดสิ้นไป สวนการสรางหมูบานหรืออาคารสูงริมลํานํ้าก็นับเปนการ

ทําลายทัศนียภาพของวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมไป โดยในสวนของปจจัยดานการทองเที่ยว เชน การใหบริการดานขอมูล

และความรู ความหลากหลายของกิจกรรม และสถานที่พักแรม เหลาน้ีนาจะเปนผลมาจากการขาดความรวมมือกัน

ของผูมีสวนเกี่ยวของกับกระบวนการพัฒนาการทองเที่ยวอยางเปนระบบ

สวนความรูความเขาใจของมัคคุเทศกตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยภาพรวมอยูในระดับมาก ซึ่งระดับ

ความรูความเขาใจที่มีระดับความเขาใจมากที่สุดมี 2 ขอ ไดแก การทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนการจัดกาการทองเที่ยวที่

ไมกอใหเกิดการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม อาจเน่ืองมาจากเหตุผลวา การทองเที่ยวที่

ดีทุกรูปแบบไมวาจะเปนการทองเที่ยวรูปแบบใด จะตองอยูบนพื้นฐานดังกลาวขางตน เชนเดียวกับเรื่องการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศที่กระบวนการวางแผนพัฒนาการทองเที่ยวน้ัน ควรใหตัวแทนของชาวบานเขามามีสวนรวม นาจะ

มาจากเหตุผลวาปจจุบันน้ีกระแสของเรื่องการรวมตัวเพื่อสรางความเขมแข็งของชุมชนมีมาก จึงสงผลตอความรู

ความเขาใจเรื่องดังกลาวน้ีก็ได สวนความรูความเขาใจของมัคคุเทศกตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศที่อยูในระดับปาน

กลางและนาสนใจ คือ เรื่องการแสดงประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนจะจัดขึ้นตามความตองการของ

นักทองเที่ยว ซึ่งหากมีการปฏิบัติดังกลาว อาจจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการแสดงอยางแทจริง จน

อาจกลายเปนการแสดงเพื่อสรางความพึงพอใจและประทับใจใหกับนักทองเที่ยวเพียงอยางเดียว ทําใหการแสดง

ขาดเสนหและความเปนธรรมชาติ รวมทั้งความเปนเอกลักษณที่แทจริงของแหลงทองเที่ยว ดังน้ันควรจะสรางความ

เขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับเรื่องน้ีใหมากขึ้น เน่ืองจากมัคคุเทศกเปนตัวกลางที่จะประสานความเขาใจระหวาง

นักทองเท่ียวและชุมชนทองถิ่น ซึ่งจะทําใหเกิดการพัฒนาการทองเที่ยวไปในทิศทางที่ถูกตอง สวนความรูความ

เขาใจเรื่องการเดินศึกษาธรรมชาติและวัฒนธรรมในชุมชนทองถิ่นน้ัน นักทองเที่ยวสามารถเดินเขาไปทองเที่ยวดวย

ตนเอง เน่ืองจากมัคคุเทศกมักคิดวาตนมีความรูเพียงพอในการนําเที่ยวชมแหลงทองเท่ียวตาง ๆ ได แตการเที่ยว

ชมและศึกษาธรรมชาติและวัฒนธรรมของชุมชนทองถิ่นแตละแหงจะมีจุดเดนเฉพาะตัว การใชมัคคุเทศกทองถิ่น

จะทําใหไดความรูเฉพาะทองถิ่น และเปนการชวยกระจายรายไดสูชุมชนทองถิ่นโดยตรงดวย

5.2.5 นักทองเที่ยว

จากผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความพึงพอใจตอการทองเที่ยวและความรูความเขาใจเกี่ยวกับการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศระหวางนักทองเที่ยวกลุมควบคุมและนักทองเที่ยวกลุมทดลอง พบวา นักทองเที่ยวกลุมทดลอง

ดวยการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํามีความพึงพอใจตอการทองเที่ยวและมีความรูความเขาใจตอการทองเที่ยวเชิง

นิเวศเพิ่มมากขึ้น เน่ืองจากผูวิจัยไดปรับปรุงองคประกอบตาง ๆ ของการทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิมมาเปนการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํา โดยใชการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักทองเที่ยวทั่วไปใหกลายมาเปนนักทองเที่ยวเชิง

นิเวศแบบคอยเปนคอยไป แทรกซึมความเปนนักทองเที่ยวเชิงนิเวศเขาไปในกระบวนการทองเที่ยว

นักทองเที่ยวเชิงนิเวศนอกจากจะเที่ยวเพื่อพักผอนหยอนใจแลว ยังคงตองการหาความรูและ

ประสบการณเพ่ิมเติม เพ่ือเสริมสรางจิตสํานึกในการอนุรักษธรรมชาติ ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม วิถีชีวิตที่เปน

155

Page 178: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

156

เอกลักษณของแหลงทองเที่ยวที่เขาไปเยี่ยมเยือน ซึ่งทําใหกระบวนการในการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวกลุม

ทดลองดวยการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําแตกตางไปจากนักทองเที่ยวกลุมควบคุมดวยการทองเที่ยวทางน้ํารูป

แบบเดิม ดังตอไปนี้

- กอนการเดินทาง จะมีการใหความรูและขอมูลเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวกอนเดินทาง รวมทั้งมีการ

เตรียมคูมือนําเท่ียวเพื่อใหนักทองเที่ยวสามารถหาความรูไดระหวางการเดินทาง และถุงขยะเพื่อปองกันการทิ้งขยะ

ในแหลงทองเที่ยว

- ขณะเดินทาง นักทองเที่ยวจะตองสนใจใฝหาความรูขณะมัคคุเทศกบรรยายใหความรูเกี่ยวกับแหลง

ทองเที่ยวและการทองเที่ยวเชิงนิเวศ นอกจากน้ันจะตองสนใจและใหความสําคัญกับขอมูล กิจกรรม และการสื่อ

ความหมายตาง ๆ รวมทั้งตองใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับการบริจาคหรือจายคาบริการ เชน หองนํ้า วาควรเปน

การจายลงสูพื้นท่ีทองเที่ยวโดยตรง

- หลังการเดินทาง จะมีการใหความรูเพิ่มเติมอยางตอเน่ืองสมํ่าเสมอ ซึ่งจะเปนการเผยแพรขอมูล

ความรูที่ไดรับสงตอไปยังผูอื่นไดอีกดวย เชน อี-เมลล

จากกระบวนการดังกลาวซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ วิทยา เกียรติวัฒน (2543: 138-143) ที่ศึกษา

เรื่องความเปนนักทองเที่ยวเชิงนิเวศของนักทองเที่ยวชาวไทย กรณีศึกษาอําเภออุงผาง จังหวัดตาก ที่พบวา

นักทองเที่ยวมีพฤติกรรมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ มีความรูเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ และมีความเปน

นักทองเที่ยวอยูระดับปานกลาง แตยังขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศจึงเสนอแนะใหมีการ

สงเสริมใหความรูเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศและจัดกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมเพื่อสรางจิตสํานึกตอการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศ ซึ่งงานวิจัยในครั้งน้ีนําเสนอการแกปญหาที่เกิดขึ้นกับนักทองเที่ยวเชิงนิเวศ โดยจะเห็นไดจาก

ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจตอการทองเที่ยวทางน้ําและความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศของ

นักทองเที่ยวกลุมควบคุมและนักทองเที่ยวกลุมทดลองดังกลาวขางตน

นักทองเที่ยวกลุมควบคุมมีความเห็นวาพ้ืนท่ีฝงธนบุรีมีความเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลง

ทองเที่ยวเชิงนิเวศจํานวน 6 คน ขณะที่คิดวาไมเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศจํานวน 4

คน อาจจะเนื่องมากจากเสนทางการทองเที่ยวทางน้ํารูปแบบเดิมของนักทองเที่ยวกลุมควบคุมเปนเสนทางที่ไมมี

ทรัพยากรการทองเที่ยวที่หลากหลาย ทัศนียภาพไมคอยสวยงาม เชน การมีอาคารโรงงานริมลําคลอง ขาดการ

จัดการดานสิ่งแวดลอม เชน การปลอยนํ้าเสียลงแมนํ้าลําคลอง สวนนักทองเที่ยวกลุมทดลองทั้งหมดมีความเห็นวา

พื้นท่ีฝงธนบุรีมีความเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ อาจเน่ืองมาจากเสนทางการทองเที่ยว

ทางน้ําเชิงนิเวศมีความหลากหลายของทรัพยากรการทองเที่ยว ทั้งทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร วิถีชีวิตริมนํ้า เชน

สวนกลวยไม วัดอรุณราชวราราม นอกจากนี้พื้นที่ของเสนทางทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ํายังเปนพื้นที่ที่อยูลึกเขาไป

ดานในของพื้นท่ีฝงธนบุรี จึงยังคงมีวิถีชีวิตแบบชาวบานด้ังเดิมใหพบเห็น แมนํ้าลําคลองยังสะอาด ดังน้ัน จึงนาจะ

เปนเหตุผลที่ทําใหนักทองเที่ยวกลุมทดลองเห็นความสําคัญและความโดดเดนท่ีจะสามารถพัฒนาใหพื้นท่ีฝงธนบุรี

ใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศได

156

Page 179: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

157

นักทองเที่ยวกลุมควบคุมและกลุมทดลองมีความคิดเห็นวาพื้นท่ีฝงธนบุรีมีปญหาดานการทองเที่ยวทาง

นํ้าจํานวน 9 และ 7 คน ตามลําดับ ภาพรวมของปญหาจะใกลเคียงกัน จะแตกตางกันในบางเรื่อง ซึ่งนาจะเปน

เพราะเสนทางและรูปแบบการทองเที่ยวที่แตกตางกัน ปญหาที่นักทองเที่ยวทั้งสองกลุมมีความเห็นเหมือนกัน คือ

ปญหาเกี่ยวกับเรือหางยาวนําเท่ียวเรื่องขับเร็วและมีเสียงดัง แมวานักทองเที่ยวกลุมทดลองดวยการทองเที่ยวเชิง

นิเวศทางน้ําจําเปนตองใชเรือหางยาวในการทองเที่ยว เน่ืองจากเรือหางยาวเหมาะสมสําหรับการทองเที่ยวในคลอง

สายเล็ก ๆ ดังน้ัน รูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําจึงมีลักษณะเฉพาะ โดยเปนการขับเรือท่ีทําใหเกิดผล

กระทบหรือมลภาวะนอยที่สุด คือ การขับเรือดวยความเร็วต่ําและเบา เพื่อไมใหสรางความรําคาญและทําลายตลิ่ง

ริมนํ้า สวนปญหาของนักทองเที่ยวกลุมควบคุม ไดแก ลําคลองคอนขางสกปรก มีกลิ่นเหม็น การเอาเปรียบของ

ผูประกอบการทางน้ําบางราย เชน ใชเสนทางทองเที่ยวไมเปนไปตามที่ตกลงกันไว และปญหาของนักทองเที่ยวกลุม

ทดลองพบ ไดแก แหลงทองเที่ยวบางแหงยังไมเปนท่ีรูจัก

5.3 ขอเสนอแนะ

ผลงานการวิจัยทําใหไดขอเสนอแนะ 3 ดาน ไดแก

5.3.1 ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย

1) การสรางความรูความเขาใจและจิตสํานึกท่ีดีเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศแกทุกฝายท่ี

เกี่ยวของทั้งภาครัฐ เอกชน รวมทั้งประชาชนทองถิ่นใหมีสวนรวมในกระบวนการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

2) รัฐควรจัดงบประมาณใหกับผูมีหนาท่ีรับผิดชอบในแหลงทองเที่ยว เพื่อประชาสัมพันธแหลง

ทองเที่ยวผานสื่อตาง ๆ รวมทั้งพัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกภายในแหลงทองเที่ยว เชน ถนน หองนํ้า ที่จอดรถ ที่

น่ังพักผอน รานขายอาหาร เครื่องด่ืม ของที่ระลึก

3) ควรสงเสริมใหประชาชนทองถิ่นเห็นคุณคาและความสําคัญของทรัพยากรการทองเที่ยวในพื้นท่ี

ของตนเอง โดยการประชาสัมพันธผานสื่อท่ีเขาใจงาย เพื่อใหประชาชนมีความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศและการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น รวมทั้งอธิบายใหทราบถึงประโยชนที่จะไดรับจากการ

จัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

4) สนับสนุนใหมีการควบคุมคุณภาพของมัคคุเทศก โดยออกประกาศนียบัตรรับรองความรูความสามารถของมัคคุเทศกในการนําเท่ียว และการปฏิบัติตนรวมทั้งการแนะนํานักทองเที่ยวในการรักษา

สิ่งแวดลอมในแหลงทองเที่ยวที่เขาไปทองเที่ยว รวมทั้งจัดใหมีการขึ้นทะเบียนมัคคุเทศกสําหรับการทองเที่ยวเชิง

นิเวศ

157

Page 180: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

158

5) เปดโอกาสใหประชาชนทองถิ่นมีสวนรวมในกระบวนการของการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ตั้งแตการคนหาสาเหตุของปญหา การวางแผน การปฏิบัติ การประเมินผล และการดูแลรักษาแหลงทองเที่ยว

ภายในทองถิ่น

5.3.2 ขอเสนอแนะเชิงปฏิบัติ

1) การสงเสริมใหมีการกระจายรายไดลงสูชุมชนทองถิ่นโดยตรง เชน การจางมัคคุเทศกทองถิ่น

การบริจาคเงินใหกับแหลงทองเที่ยว การซื้อสินคาและผลิตภัณฑของชุมชน เปนตน

2) จัดต้ังองคกรทองถิ่น เพ่ือสรางความเขมแข็งใหกับชุมชน เชน ชมรมทองเที่ยวเชิงนิเวศ /

อนุรักษ เพื่อชวยกันตรวจสอบดูแลแหลงทองเที่ยวในชุมชน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และรวมกันแกไขปญหาที่

เกิดขึ้นภายในแหลงทองเที่ยวของชุมชน

3) สงเสริมการพัฒนาบุคลากรในทองถิ่นเพื่อรองรับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เชน การจัดอบรมให

ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ประวัติความเปนมาของแหลงทองเที่ยวในทองถิ่น การจัดอบรม

ภาษาตางประเทศ เชน ภาษาอังกฤษ

4) จัดอบรมและเปดใหมีเจาหนาท่ีอาสาสมัครประจําทองถิ่น เพื่อดูแลตรวจสอบแหลงทองเที่ยว

และแจงใหเจาหนาท่ีที่รับผิดชอบทราบ เม่ือเกิดการบุกรุกหรือทําลายทรัพยากรการทองเที่ยว

5) ควรจัดกิจกรรมการทองเที่ยวที่สอดคลองกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

เชน การลองเรือชมวิถีชีวิตริมคลอง การเขียนคําขวัญเกี่ยวกับการอนุรักษธรรมชาติ

5.3.3 ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป

1) ควรขยายขอบเขตการวิจัยไปยังกลุมนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ เพื่อนําขอมูลท่ีไดมาใชใน

การนําเสนอการทองเที่ยวรูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศที่เหมาะสมกับนักทองเที่ยวชาวตางประเทศตอไป

2) ควรขยายขอบเขตการสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรีเพิ่มเติม เพื่อนําเสนอ

เสนทางการทองเที่ยวที่นาสนใจอื่น ๆ อีก เชน เสนทางทองเที่ยวทางน้ําเพิ่มเติม เสนทางเดินเทาทองเที่ยว เสนทาง

ทองเที่ยวดวยจักรยาน และเสนทางทองเที่ยวดวยรถยนต เน่ืองจากพื้นท่ีฝงธนบุรียังมีแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพ

เหลืออยูอีกจํานวนมาก

3) ควรขยายขอบเขตของการวิจัยในหัวขออ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เชน การ

พัฒนาทรัพยากรการทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ พฤติกรรมการจัดนําเท่ียวของผูประกอบการเรือ

ทองเที่ยว พฤติกรรมการทองเที่ยวเชิงนิเวศของนักทองเที่ยว ความคิดเห็นของผูนําชุมชนเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิง

นิเวศ

158

Page 181: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

บรรณานุกรม

Page 182: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

160

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). ธนบุรีศรีมหาสมุทร. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงฯ. กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา. (2547). ยุทธศาสตรการทองเที่ยว พ.ศ. 2547 – 2551. กรุงเทพฯ: กระทรวงฯ.

การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. (2531). คูมือพัฒนาภูมิทัศนเมืองเพื่อการทองเที่ยว. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภูมิ

สถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ------------. (2533). รายงานขั้นสุดทาย การดําเนินการเพื่อกําหนดนโยบายการทองเที่ยวเชิงนิเวศ. กรุงเทพฯ:

------------. (2533). รายงานขั้นสุดทาย การศึกษาแนวทางการพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวทางน้ํา ประเภท

แมนํ้าลําคลอง 1. กรุงเทพฯ: กองเศรษฐกิจเทคโนโลยี.

------------. (2533). รายงานขั้นสุดทาย การศึกษาแนวทางการพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวทางน้ํา ประเภท

แมนํ้าลําคลอง 2. กรุงเทพฯ: กองเศรษฐกิจเทคโนโลยี.

------------. (2533). รายงานขั้นสุดทาย การศึกษาแนวทางการพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวทางน้ํา ประเภท

แมนํ้าลําคลอง 3. กรุงเทพฯ: กองเศรษฐกิจเทคโนโลยี.

------------. (2545). เอกสารการประชุมเชิงปฏิบัติการดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ภายใตโครงการสงเสริมและ

พัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ 2545. กรุงเทพฯ: กองอนุรกัษ การทองเที่ยวฯ.

------------. (2547). แผนการตลาดการทองเที่ยว ป 2548. กรุงเทพฯ: การทองเที่ยวฯ.

------------. (2547). เสนหแหงสายนํ้าแดนสยาม ลองเรือทองถิ่นไทย เขาใจผูคนและแผนดิน. กรุงเทพฯ:

คณะทํางานสงเสริมการทองเที่ยวทางน้ํา การทองเที่ยวฯ.

กิติศักด์ิ วิทยาโกมลเลิศ. (2545). การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการตั้งถิ่นฐานจากชุมชนนํ้าสูเมืองบกในพื้นท่ีเมืองฝง

ธนบุรี. วิทยานิพนธ ผ.ม. (การวางผังเมือง). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ถายเอกสาร.

คีตติ้ง, ไมเคิล. (2537). แผนปฏิบัติการ 21 เพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน. แปลโดย มานพ เมฆประยูรทอง.

กรุงเทพฯ: กระทรวงการตางประเทศ และสมาคมเพื่อชีวิตและสิ่งแวดลอม.

จินตนา พงศถิน่ทองงาม. (2543). การพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมเรื่อง การจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศคลอง

มหา–สวัสด์ิและคลองโยงสําหรบัสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลอําเภอพุทธมณฑล จังหวัด

นครปฐม. วิทยานิพนธ ศษ.ม. (สิ่งแวดลอมศึกษา). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

ถายอกสาร.

จุฑามาศ ประมูลมาก. (2545). การเคลื่อนไหวทางสังคมและการเมืองทองถิน่ธนบุรี พ.ศ.2458-2543.

วิทยานิพนธ ศศ.ม. (ประวัติศาสตร). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร. ถาย

เอกสาร.

ฉันทัช วรรณถนอม. (2547). การวางแผนและจัดรายการนําเท่ียว. กรุงเทพฯ: เฟองฟาพริ้นต้ิง.

160

Page 183: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

161

ณรงศเดช นวลมีชื่อ. (2540, ตุลาคม-ธันวาคม). [อีโคทัวรริซึม] Ecotourism ทางออกฤาเพียงแคกระแส.

จุลสารการทองเที่ยว. 16(4): 56-63.

ณัฐพันธ ลอประดิษฐพงษ. (2546, กรกฎาคม-สิงหาคม). ดัชนีชี้วัดการพัฒนาอยางยั่งยืน. นิตยสาร [โปรดักทิ-

วิตี้ เวิลด] Productivity World. 8(45): 51-57).

ดวงใจ หลอธนวณิชย; และ โยชิโร อิวะสะ. (2545). การศึกษาเพื่อหาแนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวอยาง

ยั่งยืน จังหวัดแมฮองสอน. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ดารุณี บุญธรรม. (2543). การจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรม โดยชุมชนบานนํ้าคะ-สานกวย ตําบลผา

ชางนอย อําเภอปง จังหวัดพะเยา. วิทยานิพนธ ศศ.ม. (วิชาการจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม).

เชียงใหม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ถายเอกสาร.

ธาดา สุทธิธรรม. (2547). รายงานการวิจยัฉบับสมบูรณ การพัฒนาการทองเที่ยวแหลงทรัพยากรทางวฒันธรรม

ตามเสนทางลําแมนํ้ามูล. ขอนแกน: คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. ขอนแกน:

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน.

ธีระศักด์ิ ลอยศักด์ิ. (2546). การวางแผนพฒันาการทองเที่ยวและชุมชนคลองบางเชือกหนัง กรุงเทพมหานคร.

วิทยานิพนธ ผ.ม. (การวางผงัเมือง). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ถาย

เอกสาร.

น ณ ปากนํ้า. (2542). ศิลปกรรมในบางกอก. กรุงเทพฯ: องคการคาของคุรุสภา.

นิฐริน ไลพันธ. (2544). ศักยภาพและแนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศอุทยานแหงชาติภูจองนายอย

จังหวัดอุบลราชธานี. ปริญญานิพนธ ศษ.ม. (การจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม). เชียงใหม: บัณฑิต

วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ถายเอกสาร.

นิตยา กมลวัทนนิศา. (2546, พฤษภาคม – มิถุนายน). บริบทไทย วาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารเศรษฐกิจ

และสงัคม. 40(2): 14-20.

นิตยา พัดเกาะ. (2546). การศึกษาเสนทางและการใชจักรยาน ในเขตเทศบาลนครราชสีมา. วิทยานิพนธ คอ.ม.

(สถาปตยกรรม). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง.

ถายเอกสาร.

นิธิ เอียวศรีวงศ. (2548). การเมืองไทยสมัยพระเจากรุงธนบุรี. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: มติชน.

------------. (2548). กรุงแตก, พระเจาตากฯ และประวัติศาสตรไทย. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: มติชน.

นิพล เชื้อเมืองพาน. (2542). แนวทางการจดัการแหลงทองเที่ยวตามหลักการทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา :

วน-อุทยานภูชี้ฟา จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ วท.ม. (เทคโนโลยีการบริหารสิ่งแวดลอม). นครปฐม:

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. ถายอกสาร. บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2542). การวางแผนพฒันาการทองเที่ยวแบบยั่งยืน. เชียงใหม: คณะมนุษยศาสตร

มหาวิทยาลัยเชยีงใหม.

161

Page 184: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

162

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การขนสงผูโดยสารเพื่อการทองเที่ยว. กรุงเทพฯ: ศูนยวิชาการทองเที่ยวแหง

ประเทศไทย.

------------. (2548). การพัฒนาการทองเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ศูนยวิชาการทองเที่ยวแหงประเทศไทย.

------------. (2548). อุตสาหกรรมการทองเที่ยว ธุรกิจที่ไมมีวันตายของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ซี.พี.บุค

สแตนดารด.

ปนายุ ไชยรัตนานนท. (2546). การศึกษาแนวทางการจัดเสนทางจักรยาน เพ่ือสงเสริมการทองเที่ยวภายในเกาะ

เมืองพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ ผ.ม. (การวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดลอม). กรุงเทพฯ:

บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. ถายเอกสาร.

ประดับ เรียนประยูร. (2554). การศึกษาแนวทางพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลงทองเที่ยวและสงเสริมเศรษฐกิจชุมชน

ตลาดนํ้าตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ วท.ม. (เทคโนโลยีการวางแผนสิ่งแวดลอมเพื่อพัฒนา

ชนบท). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. ถายเอกสาร.

ประหยัด ตะคอนรัมย. (2544). แนวทางการจัดการการทองเที่ยวโดยชุมชน: กรณีศึกษา ตลาดริมนํ้าดอนหวาย

จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ ผ.ม. (การวางผังเมือง). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร.

ปรีชา แดงโรจน. (2544). อุตสาหกรรมทองเที่ยวสูศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: คณะอุตสาหกรรมการบริการ

มหาวิทยาลัยรังสิต.

ปญญา รอดเชื้อ. (2539). การศึกษาความเปนไปไดในการจดัการทองเที่ยวทางเรือตามแนวคลองแสนแสบ.

ภาคนิพนธ พ.ม. (วิชาการจัดการการพัฒนาสังคม). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันบัณฑิตพัฒน

บริหารศาสตร. ถายเอกสาร.

พนารัตน ไมหลงชัว่. (2545). การปรับปรุงสภาพทางกายภาพของชุมชนในเขตพื้นท่ีประวัติศาสตร กรณีศึกษา:

การเปรียบเทียบความตองการระหวางนักทองเที่ยวกับผูอาศัยในชุมชนยานบางลําพู กรุงเทพมหานคร.

วิทยานิพนธ ผ.ม. (การวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดลอม). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน

เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. ถายเอกสาร.

มณีวรรณ ผิวน่ิม; และ ปรารถนา จันทรุพันธุ. (2546). การพัฒนาการและผลกระทบของการทองเที่ยว

กรณีศึกษาชุมชนตลาดน้ํา. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

มุทิตา ปนสุนทร. (2542). การวางแผนเสนทางจักรยานที่เหมาะสมเพื่อการทองเที่ยวในเขตกรุงรัตนโกสินทร.

วิทยานิพนธ วท.ม. (เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการพัฒนาทรัพยากร). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหิดล. ถายเอกสาร.

มูลนิธิสิ่งแวดลอมไทย. (2548). รางแผนแมบทเพื่อพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2548-

2552). กรุงเทพฯ: กรุงเทพมหานคร.

มูลนิธิอนุรักษโบราณสถานในพระราชวงัเดิม. (2543). สาระนารูกรุงธนบุรี. กรุงเทพฯ: มูลนิธิฯ.

รัฐกิจ. (2546, สิงหาคม). ดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนของไทย. หนังสือพิมพอีคอนนิวส. 13(436): 28–35.

162

Page 185: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

163

รัฐทิตยา หิรัณยหาด. (2544). แนวทางการพัฒนาเพื่อเพ่ิมศักยภาพหมูบานวัฒนธรรมเพื่อการทองเที่ยว :

กรณีศึกษาบานหนองขาว อําเภอทามวง จังหวดักาญจนบุรี. ปริญญานิพนธ ศษ.ม. (การจัดการ

อุตสาหกรรมการทองเที่ยว). เชียงใหม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ถายเอกสาร.

รัตนะ บุญประเสริฐ. (2547). แบบจําลองการประเมินศักยภาพการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นท่ีลุมนํ้า กรณีศึกษา

ลุมนํ้าเชิงเขาหวยโจ อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม. วิทยานิพนธ วท.ม. (วิชาการจัดการทรัพยากร

การเกษตรและสิ่งแวดลอม). เชียงใหม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแมโจ. ถายเอกสาร.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน. สืบคนเม่ือ 18 มกราคม 2549, จาก

http://rirs3.royin.go.th/ridictionary/lookup.html

เรืองศิลป หนูแกว. (2546). ความเปนสังคมนานาชาติของกรุงธนบุรี ระหวาง พ.ศ.2310-2325. วิทยานิพนธ

ศศ.ม. (ประวัติศาสตรไทย). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครนิทรวิโรฒ. ถาย

เอกสาร.

วงศกร ภูทอง; และ อลงกต ศรีเสน. (254?). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545–

2549). กรุงเทพฯ:

วรรณพร วณิชชานุกร; และสถาบันราชภัฏสวนดุสิต. (2540). การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ : ECOTOURISM.

กรุงเทพฯ: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย.

วิทยา เกียรติวฒัน. (2543). ความเปนนักทองเที่ยวเชิงนิเวศของนักทองเที่ยวชาวไทย อําเภออุงผาง จงัหวัดตาก.

วิทยานิพนธ วท.ม. (เทคโนโลยีการวางแผนสิ่งแวดลอมเพื่อพฒันาชนบท). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหิดล. ถายเอกสาร.

วิทยาลัยครูธนบุรี. (2521). ธนบุรี ถิ่นของเรา. กรุงเทพฯ: ศูนยชุมชนสงเสรมิวัฒนธรรมไทย วิทยาลัยครูฯ.

วิยะดา เสรีวิชยสวสัด์ิ. (2545). ความพึงพอใจของนักทองเที่ยวตอการบริการของธุรกิจนําเท่ียวทางเรือลองแมนํ้า

โขง: กรณีศึกษา แมสลองทวัร. วิทยานิพนธ ศศ.ม. (การจัดการอุตสาหกรรมการทองเที่ยว).

เชียงใหม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ถายเอกสาร.

ศรัญยา วรากุลวิทย. (2546). ปฐมนิเทศอุตสาหกรรมการทองเที่ยว. กรุงเทพฯ: ศูนยหนังสือจฬุาลงกรณ

มหาวิทยาลัย.

ศิริพร สรอยนาคพงษ. (2543). การพัฒนาและทดลองใชคูมือทองเที่ยวโบราณสถานในเขตอุทยานประวัติศาสตร

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ ศษ.ม. (สิ่งแวดลอมศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.

ถายเอกสาร.

ศูนยสงเสริมการทองเที่ยวกรงุเทพมหานคร. (2545). ของดีกรุงเทพฯ. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: ศูนยสงเสริม

การทองเที่ยวฯ.

สกายบุกส. (254?). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545–2549). กรุงเทพฯ: ฝาย

วิชาการ สกายบุกส.

สกุณี ณัฐพูลวฒัน. (2542). คลองและเสนทางเดินเรือในอดีต. กรุงเทพฯ: เอิรนเอ็ดดูเคชั่น.

163

Page 186: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

164

สถาบันราชภัฏธนบุรี. (2542). ประวัติศาสตรกรุงธนบุรี. กรุงเทพฯ: สํานักศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏฯ.

------------. (2543). การประชุมสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง ศิลปวัฒนธรรมในชุมชนธนบุรีกับการทองเที่ยวเชงิ

อนุรักษ. กรุงเทพฯ: สํานักศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏฯ.

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย. (2533). รายงานขั้นสุดทาย การศึกษาแนวทางการ

พัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวทางน้ํา ประเภทแมนํ้าลําคลอง 1. กรุงเทพฯ: การทองเที่ยวแหง

ประเทศไทย.

------------. (2533). รายงานขั้นสุดทาย การศึกษาแนวทางการพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวทางน้ํา ประเภท

แมนํ้าลําคลอง 2. กรุงเทพฯ: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย.

------------. (2533). รายงานขั้นสุดทาย การศึกษาแนวทางการพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวทางน้ํา ประเภท

แมนํ้าลําคลอง 3. กรุงเทพฯ: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย.

------------. (2542). รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาเพื่อจัดทําดัชนีวัดคุณภาพมาตรฐานแหลงทองเที่ยว.

พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย.

สมบัติ กาญจนกิจ. (2544). นันทนาการและอุตสาหกรรมทองเที่ยว. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย.

สมพร จรูญแสง. (2546). การพัฒนาคูมือศึกษาธรรมชาติเพ่ือการทองเที่ยวประจําเสนทางเดินปา อุทยาน

แหงชาติแกงกระจาน. วิทยานิพนธ ศษ.ม. (สิ่งแวดลอมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหิดล. ถายเอกสาร.

สาระ มีผลกิจ. (2547). บทบาทของสิง่แวดลอมทางวัฒนธรรมที่สงผลกระทบตอการทองเที่ยวบริเวณเกาะ

รัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2546). รายงานสรุปผลการประชุมประจําป

2546 ของ สศช. เรื่อง การพัฒนาอยางยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สํานักงานฯ.

สํานักนโยบายและยุทธศาสตร; และคนอื่นๆ. (2547). การประชุมเชิงปฏิบัติการ ทองเที่ยวโดยชุมชน : ทางเลือก

เครือขาย และธรุกิจของทองถิ่น. เชียงใหม: โครงการประสานงานวิจัยและพัฒนาเครือขายการ

ทองเที่ยวโดยชมุชน.

สินธุ สโรบล; และคนอื่นๆ. (2546). การทองเที่ยวโดยชมุชน แนวคิดและประสบการณพื้นท่ีภาคเหนือ.

เชียงใหม: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

สุจิตต วงศเทศ. (2545). เวียงวงัฝงธนฯ ชมุชนชาวสยาม. กรุงเทพฯ: มติชน.

------------. (2548). กรุงเทพฯ มาจากไหน?. กรุงเทพฯ: มติชน.

สุดารา สุจฉายา. (2543). ธนบุรี. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สารคดี.

สุธัญญา ทองวชิิต. (2545). ศักยภาพการพัฒนาทรัพยากรการทองเที่ยว : ศึกษากรณีตําบลบางตาเถร อําเภอ

สอง-พี่นอง จังหวัดสุพรรณบุร.ี ภาคนิพนธ ศษ.ม. (พัฒนาสังคม). กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ

หารศาสตร. ถายเอกสาร.

164

Page 187: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

165

สุนทรีย อาสะไวย. (2537, กนัยายน–ธันวาคม). พัฒนาการทางประวัติศาสตรของธนบุรีในฐานะสวนหนึ่งของดิน

ดอนสามเหลี่ยมปากแมนํ้าเจาพระยา. วารสารธรรมศาสตร. 20: 108–128.

สุพรรณี สงวนพัฒน. (2547). การพัฒนาแหลงทองเที่ยวของชุมชนไทลื้อ ตําบลหยวน อําเภอเชียงคํา จังหวัด

พะเยา. วิทยานิพนธ ศศ.ม. (สงัคมศึกษา). พิษณุโลก: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร. ถาย

เอกสาร.

สุพัตรา วิชยประเสริฐกุล. (2545). แนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนของเกาะเกรด็ จังหวัดนนทบุรี.

วิทยานิพนธ ผ.ม. (การวางผงัเมือง). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ถาย

เอกสาร.

เสาวลักษณ จันทราสกุล. (2546). การสรางและทดลองใชคูมือทองเที่ยวโบราณสถานในเขตพระราชวงัสนาม

จันทร จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ ศษ.ม. (สิ่งแวดลอมศึกษา). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหิดล. ถายเอกสาร.

อภิรัตน รองโสภา. (2546). การใชรถจกัรยานเพื่อการทองเที่ยวเชิงอนุรักษในเขตเทศบาลเมืองนครปฐม.

วิทยานิพนธ (สถาปตยกรรม). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ

ทหาร-ลาดกระบัง. ถายเอกสาร.

อิทธิพล ไทยกมล. (2545). ศักยภาพของชมุชนทองถิ่นในการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษาชุมชน

ตําบลบางหญาแพรก จังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ วท.ม. (การบริหารทรัพยากรปาไม). กรุงเทพฯ:

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ถายเอกสาร.

Cambridge University. (2004). Cambridge Advanced Learner’s Dictionary. Retrieved January

18, 2006, from http://dictionary.cambridge.org/

Compact Oxford English Dictionary. (2005). Retrieved January 18, 2006, from

http://www.askoxford.com/concise_oed/integrate?view=uk

Elliott, Jennifer A. (1994). An Introduction to Sustainable Development : The Developing world.

London: Routledge.

Hall, C. Michael; & Lew, Alan A. (1998). Sustainable Tourism : A Geographical Perspective.

New York: Addison Wesley Longman.

Mawhinney, Mark. (2002). Sustainable Development : Understanding the green debates.

Oxford: Blackwell.

Moutinho, Luiz. (2000). Strategic management in tourism. London. York House Typographic.

Norman, Douglas; Ngaire Douglas; & Ros., Derrett. (2001). Special Interest Tourism. Singapore:

John Wiley & Sons Australia.

Samang Hiranburana; Vallipan Stithyudhakarn; & Payom Dhamabutra. (1995). Proceeding Eco-

tourism : Concept, Design and Strategy. Bangkok: Srinakharinwirot University.

165

Page 188: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

166

166

Page 189: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ภาคผนวก

Page 190: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

167

ภาคผนวก ก

การกําหนดขนาดของกลุมตัวอยาง

การกําหนดขนาดของกลุมตัวอยาง

1. ทรัพยากรการทองเที่ยว 1) ทรัพยากรการทองเที่ยวเขตบางกอกนอย (สํานักงานเขตบางกอกนอย. 2550: ออนไลน)

วัด จํานวน 21 แหง ไดแก วัดโพธิ์เรียง วัดครุฑ วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร วัดอมรินทราราม

วัดวิเศษการ วัดสุวรรณาราม วัดมะลิ วัดปาเชิงเลน วัดรวกสุทธาราม วัดเจาอาม วัดไชยทิศ วัดภาวนาภิรตาราม

วัดศรีสุดาราม วัดบางขุนนนท วัดชิโนรสาราม วัดพระยาทํา วัดดงมูลเหล็ก วัดยางสุทธาราม วัดละครทํา วัดสี

หไกรสร และวัดอมรทายิการาม อื่น ๆ จํานวน 15 แหง ไดแก ขันลงหินบานบุ ที่นอนบางกอกนอย เรือกสวนไรนา นิวาสสถานเดิม

ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย กําแพงวังหลัง ศาลหลวงพอปู ศาลาแดงบางชางหลอ สถานีรถไฟ

ธนบุรี วังหลัง คลองบางกอกนอย โรงพยาบาลศิริราช ตรอกขาวเมา ศาลาตนจันทน สุนทรภู พิพิธภัณฑสถาน

แหงชาติเรือพระราชพิธี

2) ทรัพยากรการทองเที่ยวเขตบางกอกใหญ (สํานักงานเขตบางกอกใหญ. 2550: ออนไลน) วัด จํานวน 14 แหง ไดแก วัดอรุณราชวราราม วัดหงสรัตนาราม วัดโมลีโลกยาราม วัดเครือวัลย

วรวิหาร วัดนาคกลาง วัดใหมพิเรนทร วัดราชสิทธาราม วัดสังขกระจาย วัดทาพระ วัดดีดวด วัดเจามูล วัดประดู

ฉิมพลี วัดประดูในทรงธรรม และวัดใหมวิเชียร มัสยิด จํานวน 3 แหง ไดแก มัสยิดตนสน มัสยิดดิลฟลลาห และมัสยิดผดุงธรรมอิสลาม อื่น ๆ จํานวน 1 แหง ไดแก พระราชวังเดิม

3) ทรัพยากรการทองเที่ยวเขตตลิ่งชัน (สํานักงานเขตตลิ่งชัน. 2550: ออนไลน) วัด จํานวนทั้งสิ้น 29 แหง ไดแก วัดชัยพฤกษมาลา วัดนอยใน วัดไกเตี้ย วัดนครปาหมาก วัดตลิ่ง

ชัน วัดพุทธจักรมงคลชยาราม วัดชางเหล็ก วัดเรไร วัดมณฑป วัดสมรโกฏิ วัดทอง (ฉิมพลี) วัดกระจัง วัดจําปา

วัดมะกอก วัดโพธิ์ วัดอินทราวาส (ประดู) วัดกาญจนสิงหาสน วัดรัชฎาธิษฐาน วัดประสาท วัดแกว วัดศิริวัฒนา

ราม วัดใหมเทพพล วัดเพลงกลางสวน วัดพิกุล วัดสะพาน วัดกระโจมทอง วัดทอง (บางเชือกหนัง) วัดเกาะ วัด

ปากนํ้าฝงเหนือ ตลาดนํ้า จํานวน 3 แหง ไดแก ตลาดนํ้าตลิ่งชัน ตลาดนํ้าคลองลัดมะยม และตลาดน้ําวัดสะพาน อื่น ๆ จํานวน 2 แหง ไดแก บานจักรยาน สวนผัก / ผลไม / ดอกไม

4) ทรัพยากรการทองเที่ยวเขตธนบุรี (สํานักงานเขตธนบุรี. 2550: ออนไลน) วัด จํานวน 25 แหง ไดแก วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร วัดประยูรวงศาวาสวรวิหาร วัดบุปผาราม

วรวิหาร วัดประดิษฐาราม วัดราษฎรศรัทธาธรรม วัดใหญศรีสุพรรณ วัดหิรัญรูจีวรวิหาร วัดเวฬุราชิณ วัดอินทา

Page 191: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

168

รามวรวิหาร วัดราชคฤห วัดจันทารามวรวิหาร วัดโพธินิมิตรสถิตมหาสีมาราม วัดกันตทาราราม วัดบางสะแกนอก

วัดกระจับพินิจ วัดบางสะแกใน วัดใหมยายนุย วัดราชวรินทร วัดสุทธาวาส วัดสันติธรรมาราม วัดบางน้ําชน วัด

บุคคโล วัดกลางดาวคะนอง และวดัดาวคะนอง

คริสตจักร จํานวน 2 แหง ไดแก วัดซางตาครูส (โบสถคริสตกุฎีจีน) และคริสจักรที่ 1 สําเหร

มัสยิด จํานวน 3 แหง ไดแก มัสยิดกุฎีขาว (บางหลวง) มัสยิดนูรุลมูบีล (ยานสมเด็จ) และมัสยิด

สวนพลู

2. ประชาชนทองถิ่น

การคํานวณขนาดกลุมตัวอยางจากสูตร (ทาโร ยามาเน. 1960: 1088-1089; อางอิงจาก สุวิมล ติร

กานันท. 2546. หนา 172-173)

N n =

1 + N(e)2

เม่ือ n คือ ขนาดของกลุมตัวอยาง N คือ ขนาดของประชากรที่ใชในการวิจัย e คือ คาเปอรเซ็นตความคลาดเคลื่อนจากกการสุมตัวอยาง จากจํานวนประชากรที่เปนประชาชนในเขตบางกอกนอย บางกอกใหญ ตลิ่งชัน และธนบุรี รวมทั้งหมด

453,532 คน และกําหนดใหคาความคลาดเคลื่อนจากการสุมกลุมตัวอยางได 10% หรือ 0.10 ขนาดของกลุม

ตัวอยางจะคํานวณได ดังน้ี

453,532 n =

1 + 453,532 (0.10)2

= 99.97 หรือ 100 ตัวอยาง

3. ผูประกอบธุรกิจทองเที่ยว

การคํานวณขนาดกลุมตัวอยางจากสูตร

N n =

1 + N(e)2

Page 192: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

169

จากจํานวนผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวเฉพาะที่จดทะเบียน ณ สํานักงานทะเบียนเขตกรุงเทพมหานคร

เฉพาะในพื้นที่เขตบางกอกนอย บางกอกใหญ ตลิ่งชัน ธนบุรี และพระนคร จํานวนทั้งหมด 131 แหง โดย

กําหนดใหคาความคลาดเคลื่อนจากการสุมกลุมตัวอยางได 10% หรือ 0.10 ขนาดของกลุมตัวอยางจะคํานวณได

ดังน้ี

131 n =

1 + 131(0.10)2

= 56.95 หรือ 57 ตัวอยาง

จากการคํานวณจะไดกลุมตัวอยางของผูประกอบธุรกิจนําเท่ียว รวมทั้งหมด 57 ตัวอยาง การสงจดหมายเก็บขอมูล คํานวณจากอัตราการสงจดหมายตอบกลับคิดเปนรอยละ 50 ดังน้ัน ตองสง

จดหมายเก็บขอมูลถึงผูประกอบธุรกิจนําเท่ียว ดังน้ี

57 X 100 n =

50

= 114 แหง

จากการคํานวณจะได จํานวนจดหมายที่ตองสงถึงผูประกอบการทั้งสิ้น 114 ฉบับ จากการคํานวณอัตรา

การสงจดหมายตอบกลับรอยละ 50 ซึ่งจะไดจํานวนตอบกลับของกลุมตัวอยางผูประกอบธุรกิจนําเท่ียวรวม 57

ตัวอยาง

4. มัคคุเทศก การคํานวณขนาดกลุมตัวอยางจากสูตร

N n =

1 + N(e)2

จากจํานวนมัคคุเทศกที่ไดรับใบอนุญาตประเภททั่วไปตางประเทศ (บัตรสีบรอนซเงิน) และในประเทศ

(บัตรสีบรอนซทอง) เฉพาะที่จดทะเบียน ณ สํานักงานทะเบียนเขตกรุงเทพมหานคร จํานวนทั้งหมด 16,436 คน

โดยกําหนดใหคาความคลาดเคลื่อนจากการสุมกลุมตัวอยางได 10% หรือ 0.10 ขนาดของกลุมตัวอยางจะคาํนวณ

ได ดังน้ี

Page 193: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

170

16,436 n =

1 + 16,436 (0.10)2

= 99.39 หรือ 99 ตัวอยาง

จากการคํานวณจะไดกลุมตัวอยางของมัคคุเทศกที่ไดรับใบอนุญาตประเภททั่วไปตางประเทศ (บัตรสี

บรอนซเงิน) และในประเทศ (บัตรสีบรอนซทอง) เฉพาะท่ีจดทะเบียน ณ สํานักงานทะเบียนเขตกรุงเทพมหานคร

รวมทั้งหมด 99 ตัวอยาง

Page 194: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

171

ภาคผนวก ข แบบประเมินความพึงพอใจของนักทองเที่ยว

งานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในเสนทางการทองเที่ยว

“ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี”

คําชี้แจง

1. แบบประเมินความพึงพอใจฉบับน้ีแบงเปน 3 สวน

สวนที่ 1 ขอมูลท่ัวไปของนักทองเที่ยว

สวนที่ 2 ความพึงพอใจตอรูปแบบ เสนทาง และสภาพแหลงทองเที่ยวทางน้ํา สวนที่ 3 ความรูความเขาใจของนักทองเที่ยวตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

2. กรุณาทําเครื่องหมาย ลงใน Δ ที่ตรงกับคําตอบของทาน และเติมขอความลงในชองวางที่กําหนดให

(สําหรับเจาหนาที่) ชุดที่

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของนักทองเที่ยว

(สําหรับเจาหนาที่)

1. เพศ 1.

Δ 1) ชาย Δ 2) หญิง

2. อายุ 2.

Δ 1) ต่ํากวา 20 ป Δ 2) 20 – 30 ป

Δ 3) 31 – 40 ป Δ 4) 41 – 50 ป

Δ 5) 50 – 60 ป Δ 6) สูงกวา 60 ปข้ึนไป

3. สถานภาพสมรส 3.

Δ 1) โสด Δ 2) สมรส

Δ 3) หยา Δ 4) หมาย

Δ 5) แยกกันอยู

4. ระดับการศึกษาสูงสุด 4.

Δ 1) ประถมศึกษา Δ 2) มัธยมศึกษาตอนตน

Δ 3) มัธยมศึกษาตอนปลาย Δ 4) ปวช.

Δ 5) ปวส. / อนุปริญญา Δ 6) ปริญญาตรี

Δ 7) สูงกวาปริญญาตรี Δ 8) อื่น ๆ (โปรดระบุ) ..................

Page 195: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

172

6. รายไดตอเดือน 6.

Δ 1) 5,000 – 10,000 บาท Δ 2) 10,001 – 15,000 บาท

Δ 3) 15,001 – 20,000 บาท Δ 4) 20,001 – 25,000 บาท

Δ 5) 25,001 – 30,000 บาท Δ 6) มากกวา 30,000 บาท

7. ทานมีภูมิลําเนาอยูในจังหวัดใด 7.

Δ 1) กรุงเทพฯและปริมณฑล .................. Δ 2) ภาคกลาง (โปรดระบุ) ..................

Δ 3) ภาคเหนือ (โปรดระบุ) .................. Δ 4) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (โปรดระบุ) .................. Δ 5) ภาคตะวันตก (โปรดระบุ) .................. Δ 6) ภาคตะวันออก (โปรดระบุ) ..................

Δ 7) ภาคใต (โปรดระบุ) .................. Δ 8) ตางประเทศ (โปรดระบุ) ..................

8. ทานมีอาชีพอะไร 8.

Δ 1) นักเรียน / นักศึกษา Δ 2) ขาราชการ / อาจารย

Δ 3) พนักงานหนวยงานรัฐ / เอกชน Δ 4) นักธุรกิจ

Δ 5) ลูกจาง Δ 6) แมบาน

Δ 7) เกษียณ Δ 8) อื่นๆ (โปรดระบุ) ..................

สวนที่ 2 ความพึงพอใจของนักทองเที่ยวตอสภาพแหลงทองเที่ยวทางน้ําในเสนทางการทองเที่ยว “ยอนรอย

เสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี”

11. ทานมีความคิดเห็นตอภาพรวมของรูปแบบ เสนทาง และแหลงทองเที่ยวในเสนทางการทองเที่ยว “ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี” อยางไรบาง

11.

ความพึงพอใจตอรูปแบบ/เสนทาง/แหลงทองเที่ยวในเสนทาง

“ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี” มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

11.1) ความสมบูรณของสภาพธรรมชาติ เชน แมน้ํา ลําคลอง

ตนไม สัตวน้ํา

11.1)

11.2) ความสวยงามของทัศนียภาพ 11.2)

11.3) แหลงทองเที่ยว เชน ประวัติความเปนมา ความสวยงาม 11.3) 11.4) ทาเรือ เชน สภาพ ความสะอาด 11.4) 11.5) เรือ เชน ความปลอดภัย การเดินทางสะดวกสบาย 11.5) 11.6) การใหบริการดานขอมูลและความรู เชน ศูนยบริการ

นักทองเที่ยว เอกสารเผยแพร 11.6)

11.7) รานอาหารและรานคา เชน สภาพ ความสะอาด 11.7) 11.8) หองน้ําหองสุขา เชน ปริมาณ ความสะอาด 11.8)

11.9) การจัดการขยะและความสะอาด 11.9)

Page 196: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

173

ความพึงพอใจตอรูปแบบ/เสนทาง/แหลงทองเที่ยวในเสนทาง

“ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี” มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

11.10) คุณภาพของน้ําบริเวณชายฝงแมน้ําและลําคลอง 11.10)11.11) ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 11.11)

11.12) ความหลากหลายของกิจกรรม เชน ลองเรือ ชมวิถีชีวิต

ชาวบาน รวมกิจกรรมทองถิ่น

11.12)

11.13) ระยะเวลาทั้งหมดของการทองเที่ยวตลอดเสนทาง และ

ระยะเวลาการหยุดเที่ยวชมในแหลงทองเที่ยวแตละแหง

11.13)

11.14) มัคคุเทศก มีความรูความเขาใจตอแหลงทองเที่ยว 11.14)11.15) ภาพรวมในความพึงพอใจตอการทองเที่ยวครั้งนี้ 11.15)

สวนที่ 3 ความรูความเขาใจของนักทองเที่ยวตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

12. ทานมีความคิดเห็นเก่ียวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางไรบาง 11.

การทองเที่ยวเชิงนิเวศ ถูกตอง ไมถูกตอง ไมแนใจ

12.1 เปนการทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวธรรมชาติที่มีความสมบูรณและ/หรือแหลง

วัฒนธรรมของทองถิ่นตางๆ ที่มีเอกลักษณเปนของตนเอง

12.1

12.2 เปนการทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวธรรมชาติที่มีการตกแตงและสรางใหม

เพ่ือใหดูทันสมัยและมีความสะดวกสบาย

12.2

12.3 ไมควรจัดใหมีกิจกรรมที่แสดงออกถึงเอกลักษณ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตของ

ชุมชนทองถิ่น เพราะจะทําใหนักทองเที่ยวรูสึกวาชุมชนน้ันยังไมไดรับการพัฒนา

12.3

12.4 ใหความสําคัญกับนักทองเที่ยวมากที่สุด โดยชุมชนทองถ่ินเปนองคประกอบ

สวนหนึ่งของการจัดการแสดงเพ่ือทําใหนักทองเที่ยวเกิดความพึงพอใจสูงสุด

12.4

12.5 มีการใชเครื่องมือส่ือความหมายตางๆ เชน ปาย แผนพับ สัญลักษณ ฯลฯ

เพ่ือใหความรูและสรางจิตสํานึกดานส่ิงแวดลอมที่ถูกตองแกนักทองเที่ยว

12.5

12.6 ผูประกอบธุรกิจการทองเที่ยวมีหนาท่ีออกแบบและจัดกิจกรรมการทองเที่ยวใน

แหลงทองเที่ยวของชุมชน เพ่ือกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอการลงทุน

12.6

12.7 เปนการทองเที่ยวที่มีการนํารายไดมาบํารุงรักษาแหลงทองเที่ยวในทองถิ่น 12.7

12.8 สงเสริมใหมีธุรกิจบริการดานการทองเท่ียวและนักทองเที่ยวเขามาในแหลง

ทองเที่ยวใหมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได เพ่ือใหเกิดการกระจายรายไดสูทองถิ่น

12.8

12.9 มีการสงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมในกระบวนการการทองเที่ยวตั้งแตการวางแผน

การดําเนินงาน และการประเมินผล

12.9

12.10 นักทองเที่ยวเชิงนิเวศไมแตกตางจากนักทองเที่ยวทั่วไป เพราะมาเที่ยวใน

แหลงทองเที่ยวเดียวกัน

12.10

Page 197: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

174

การทองเที่ยวเชิงนิเวศ ถูกตอง ไมถูกตอง ไมแนใจ

12.11 ไมจําเปนตองมีการศึกษาหาขอมูลความรูกอนเดินทาง เน่ืองจากเราสามารถหา

ขอมูลไดจากมัคคุเทศกหรือภายในแหลงทองเที่ยวนั้นเอง

12.11

12.12 นักทองเที่ยวเชิงนิเวศยินดีจะจายเงินลงในพ้ืนที่แหลงทองเที่ยว เพ่ือชวยรักษา

ส่ิงแวดลอม เชน คาบริการหองน้ําสาธารณะ การบริจาค

12.12

12.13 เปนกิจกรรมที่เนนการศึกษาหาความรูในระบบนิเวศและวิถีชีวิตวัฒนธรรม

ทองถิ่น ควบคูกับความเพลิดเพลิน โดยสงผลกระทบตอส่ิงแวดลอมนอยที่สุด

12.13

12.14 นักทองเท่ียวคณะใหญ (Mass Tourism) หรือนักทองเท่ียวที่จายเงินมาก

หรือนักทองเที่ยวที่ตองการความสะดวกสบาย สามารถจัดเปนนักทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ได ถาสามารถปฏิบัติตัวตามแนวทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

12.14

12.15 จะตองคํานึงถึงความสะดวกสบายของนักทองเที่ยวเปนสําคัญ ซึ่งอาจ

จําเปนตองตัดตนไมเพ่ือปลูกสรางอํานวยความสะดวก เชน ศูนยบริการนักทองเที่ยว

บานพัก เปนตน

12.15

สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในพื้นที่ฝงธนบุรี

13. ทานคิดวา พ้ืนที่ฝงธนบุรีเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศหรือไม 13.

Δ 1) เหมาะสม เพราะ....................................................................................................................

Δ 2) ไมเหมาะสม เพราะ.................................................................................................................. 14. ทานคิดวา ปจจุบันน้ีภาพรวมของการทองเที่ยวทางน้ําในพ้ืนที่ฝงธนบุรีมีปญหาหรือไม อยางไร 14.

Δ 1) ไมมี

Δ 2) มี ไดแก

- ......................................................................................................................................................................

- ......................................................................................................................................................................

- ......................................................................................................................................................................

15. ทานมีขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยว โดยเฉพาะการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในพ้ืนที่ฝงธนบุรีอยางไรบาง

Δ 1) ...........................................................................................................................................................................

Δ 2) ..........................................................................................................................................................................

Δ 3) ..........................................................................................................................................................................

Δ 4) ..........................................................................................................................................................................

Δ 5) ..........................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณที่ใหความรวมมือและเสียสละเวลาในการตอบแบบสอบถาม

Page 198: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

166

ภาคผนวก ค แบบสํารวจทรัพยากรการทองเที่ยว

ประเด็นการตรวจสอบทรัพยากรการทองเที่ยว ทรัพยากรการทองเที่ยว

ลักษณะทางกายภาพ การจัดการดานสิ่งแวดลอม การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น คุณคาดานการศึกษาและเรียนรู

เขตบางกอกนอย

เขตบางกอกใหญ

เขตตลิ่งชัน

เขตธนบุรี

175

Page 199: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

176

ภาคผนวก ง แบบสอบถามประชาชนทองถิ่น

งานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในเสนทางการทองเที่ยว

“ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี”

คําช้ีแจง 3. แบบสอบถามฉบับนี้แบงเปน 4 สวน

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของประชาชนทองถิ่น

สวนที่ 2 ความรูความเขาใจของประชาชนประชาชนทองถิ่นตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ สวนที่ 3 ความคิดเห็นของประชาชนทองถิ่นตอการมีสวนรวมการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ฝงธนบุรี

4. กรุณาทําเครื่องหมาย ลงใน Δ ที่ตรงกับคําตอบของทาน และเติมขอความลงในชองวางที่กําหนดให

(สําหรับเจาหนาที่) ชุดที่

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของประชาชนทองถ่ิน

(สําหรับเจาหนาที่)

1. เพศ 1.

Δ 1) ชาย Δ 2) หญิง 2. อายุ 2.

Δ 1) ต่ํากวา 20 ป Δ 2) 20 – 30 ป

Δ 3) 31 – 40 ป Δ 4) 41 – 50 ป

Δ 5) 51 - 60 ป Δ 6) สูงกวา 60 ปข้ึนไป

3. สถานภาพสมรส 3.

Δ 1) โสด Δ 2) สมรส

Δ 3) แยกกันอยู Δ 4) หยาราง

Δ 5) มาย

4. ระดับการศึกษาสูงสุด 4.

Δ 1) ประถมศึกษา Δ 2) มัธยมศึกษาตอนตน

Δ 3) มัธยมศึกษาตอนปลาย Δ 4) ปวช.

Δ 5) ปวส. / อนุปริญญา Δ 6) ปริญญาตรี

Δ 7) สูงกวาปริญญาตรี Δ 8) อื่นๆ (โปรดระบุ) ..................

Page 200: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

177

5. อาชีพหลักของทาน 5.

Δ 1) เกษตรกรรรม (ทําไร / ทํานา / ทําสวน) Δ 2) เล้ียงสัตว (โปรดระบุ) ..................

Δ 3) ประมง Δ 4) รับราชการ / รัฐวิสาหกิจ

Δ 5) คาขาย Δ 6) รับจางทั่วไป

Δ 7) อื่นๆ (โปรดระบุ) .................... 6. ทานประกอบอาชีพเสริมดานการทองเที่ยวประเภทใด 6.

Δ 1) ไมไดประกอบอาชีพเสริม Δ 2) บริการสถานพักแรม

Δ 3) บริการรานอาหาร / รานคา / รานเชา Δ 4) บริการดานการขนสง เชน ขับรถสองแถว / เรือ

Δ 5) บริการดานการส่ือสาร เชน อินเตอรเนต Δ 6) มัคคุเทศก / นําเที่ยว

Δ 7) ขายสินคา / ของที่ระลึก / OTOP Δ 8) อื่นๆ (โปรดระบุ) ....................

7. รายไดทั้งหมดตอเดือน (กอนหักคาใชจาย) 7.

Δ 1) ต่ํากวา 5,000 บาท Δ 2) 5,000 – 10,000 บาท

Δ 3) 10,001 – 15,000 บาท Δ 4) 15,001 – 20,000 บาท

Δ 5) 20,001 – 25,000 บาท Δ 6) 25,001 – 25,000 บาท

Δ 7) 25,001 – 30,000 บาท Δ 8) มากกวา 30,000 บาท 8. ระยะเวลาที่ทานเขามาตั้งถิ่นฐานอยูในพ้ืนที่ 8.

Δ 1) ต่ํากวา 1 ป Δ 2) 1 – 5 ป

Δ 3) 5 – 10 ป Δ 4) 11 – 20 ป

Δ 5) 21 – 30 ป Δ 6) มากกวา 30 ป

9. ทานเปนสมาชิกของกลุมกิจกรรมตางๆในชุมชนบางหรือไม 9.

Δ 1) ไมเปน

Δ 2) เปนสมาชิก (โปรดระบุ) กลุม....................................................

Page 201: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

178

สวนที่ 2 ความรูความเขาใจของประชาชนทองถ่ินตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ 10. ทานมีความคิดเห็นอยางไรตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ดังตอไปนี้ 10.

การทองเที่ยวเชิงนิเวศ เห็นดวย

อยางย่ิง เห็นดวย

ไมมี

ความเห็น ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวย

อยางย่ิง

10.1) เปนการจัดการการทองเที่ยวที่ไมกอใหเ กิดการทําลาย

ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรม

10.1)

10.2) รายไดจากกิจกรรมดานการทองเที่ยวเปนเพียงรายไดเสริม

ของครอบครัวเทาน้ัน ไมจําเปนตองใหความสําคัญมากนัก

10.2)

10.3) ทําใหเกิดการกระจายรายไดอยางเปนธรรม และลงสูทองถ่ิน

โดยตรง

10.3)

10.4) ชุมชนมีสวนรวมกับการทองเท่ียวไดเพียงแคการสํารวจและ

กําหนดเสนทางทองเที่ยว

10.4)

10.5) ภาครัฐเปนหนวยงานเดียวที่มีหนาท่ีในการวางแผนจัดการการ

ทองเที่ยวของชุมชน เน่ืองจากมีเจาหนาที่ผูเช่ียวชาญเฉพาะดาน

10.5)

10.6) การแสดงประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนทองถ่ินจะจัดข้ึน

ตามความตองการของนักทองเที่ยว

10.6)

10.7) ชุมชนสามารถติดตอประสานงานกับบริษัททองเที่ยวใหจัดสง

นักทองเที่ยวเขามาทองเที่ยวยังชุมชนไดเองโดยตรง

10.8)

10.8) การจัดอบรมเรื่องภาษาใหกับชุมชนจะชวยลดปญหาดานการ

ส่ือสารกับนักทองเที่ยวชาวตางชาติได

10.9)

10.9) การเดินศึกษาธรรมชาติและวัฒนธรรมในชุมชน นักทองเที่ยว

สามารถเดินเขาไปทองเที่ยวดวยตนเอง

10.7)

10.10) รายไดจากการทองเที่ยวสามารถนํามาพัฒนาทองถิ่น ซึ่งเปน

ประโยชนตอสวนรวมได

10.10)

10.11) การสงเสริมการทองเที่ยวทําใหเกิดประโยชนตอการพัฒนา

ดานตางๆ เชน ไฟฟา ประปา ถนน ฯลฯ

10.11)

10.12) นักทองเที่ยวไดจายเงินคาทองเที่ยวและบริการแลว จึง

สามารถทําอะไรก็ไดตามความตองการ

10.12)

10.13) การสงเสริมการทองเที่ยวไมจําเปนตองมีการศึกษาผลกระทบ

ตอระบบนิเวศสิ่งแวดลอม เน่ืองจากเปนหนาที่ของภาครัฐ 10.13)

10.14) มัคคุเทศกทองถ่ินสามารถใหความรูเก่ียวกับส่ิงแวดลอม วิถี

ชีวิตวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่นไดเปนอยางดี

10.14)

10.15) การวางแผนพัฒนาการทองเที่ยวควรใหตัวแทนชาวบานเขา

มามีสวนรวม

10.15)

Page 202: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

179

สวนที่ 3 ความคิดเห็นของประชาชนทองถ่ินตอการมีสวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ 11. ทานมีความคิดเห็นอยางไรตอการมีสวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ดังตอไปนี้ 11.

การมีสวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เห็นดวย

อยางย่ิง เห็นดวย

ไมมี

ความเห็น ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวย

อยางย่ิง

11.1) เม่ือเกิดปญหาในแหลงทองเที่ยวของชุมชน จะตองรวมกันหา

แนวทางแกไขและปองกันตอไป

11.1)

11.2) การดูแลพฤติกรรมของนักทองเท่ียวในแหลงทองเท่ียวของ

ชุมชน เปนหนาที่ของเจาหนาที่รัฐเทาน้ัน

11.2)

11.3) ทานสนใจเขารวมประชุมเพ่ือวางแผนการพัฒนาการทองเที่ยว

ในชุมชนทองถิ่นของตนเอง

11.3)

11.4) ชุมชนควรรวมกลุมกัน เพ่ือรวมกันจัดกิจกรรมที่สงเสริมและ

สนับสนุนการทองเที่ยวในชุมชน

11.4)

11.5) โครงการดานการทองเที่ยวที่ทางภาครัฐจัดข้ึนใหกับชุมชนน้ัน

ทานไมจําเปนตองเขาใจ เพราะชุมชนมีหนาที่ปฏิบัติตามเทาน้ัน

11.5)

11.6) การบริจาคเงินทุนเพ่ือใชในการทองเที่ยว เปนหนาที่ของ

ภาครัฐและเอกชน มิใชหนาที่ของประชาชนทองถิ่น

11.6)

11.7) ประชาชนทองถิ่นควรติดตามการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่เกิดข้ึน

ในแหลงทองเที่ยวของชุมชนอยูเสมอ

11.7)

11.8) การเขารวมประชุมในการพัฒนาการทองเท่ียวของชุมชนน้ัน

ทานไมจําเปนตองเขารวม เม่ือทานมีความรูเพียงพออยูแลว

11.8)

11.9) เมื่อมีการบุกรุกทําลายส่ิงแวดลอมหรือแหลงทองเที่ยวใน

ชุมชนของทาน ทานไมจําเปนตองทําอะไร เน่ืองจากเปนหนาที่

โดยตรงของเจาหนาที่ภาครัฐ

11.9)

11.10) ประชาชนทองถิ่นตองชวยกันดูแลรักษาส่ิงแวดลอม และปาย

/ สัญลักษณส่ือความหมายตาง ๆ ใหอยูในสภาพดีและพรอมใชงาน

11.10)

Page 203: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

180

สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ 12. ทานคิดวา ชุมชนของทานเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศหรือไม 12.

Δ 1) เหมาะสม เพราะ ...................................................................................................................................

Δ 2) ไมเหมาะสม เพราะ ...............................................................................................................................

13. ทานคิดวา ชุมชนของทานควรมีการจัดการดานการทองเที่ยวโดยดําเนินอยางไร 13.

Δ 1) ชุมชนดําเนินการเอง

Δ 2) บุคคลภายนอกชุมชนเขามาดําเนินการ

Δ 3) ชุมชนรวมดําเนินงานกับบุคคลภายนอก 14. ถามีการจัดกิจกรรมดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ทานจะเขารวมหรือไม 14.

Δ 1) ยินดีเขารวม เพราะ ...............................................................................................................................

Δ 2) ไมยินดีเขารวม เพราะ ........................................................................................................................... 15. ทานคิดวา ปจจุบันน้ีภาพรวมของพื้นที่ฝงธนบุรีมีปญหาดานการทองเที่ยวหรือไม อยางไร 15.

Δ 1) ไมมี

Δ 2) มี ไดแก - ...................................................................................................................................................................... - ...................................................................................................................................................................... - ...................................................................................................................................................................... - ...................................................................................................................................................................... - ......................................................................................................................................................................

16. ทานมีขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยว โดยเฉพาะการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ฝงธนบุรีอยางไรบาง

Δ 1) ..........................................................................................................................................................................

Δ 2) ..........................................................................................................................................................................

Δ 3) ..........................................................................................................................................................................

Δ 4) ..........................................................................................................................................................................

Δ 5) ..........................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณที่ใหความรวมมือและเสียสละเวลาของทานในการตอบแบบสอบถาม

Page 204: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

181

ภาคผนวก จ แบบสอบถามผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว

งานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในเสนทางการทองเที่ยว

“ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี”

คําชี้แจง

5. แบบสอบถามฉบับน้ีแบงเปน 4 สวน

สวนที่ 1 ขอมูลท่ัวไปของผูประกอบการ

สวนที่ 2 ความคิดเห็นของผูประกอบการตอการทองเที่ยวในพื้นฝงธนบุรี

สวนที่ 3 นโยบายของผูประกอบการดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นท่ีฝงธนบุรี

6. กรุณาทําเครื่องหมาย ลงใน Δ ที่ตรงกับคําตอบของทาน และเติมขอความลงในชองวางที่กําหนดให

(สําหรับเจาหนาที่) ชุดท่ี

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูประกอบการ

(สําหรับเจาหนาที่)

1. เพศ 1.

Δ 1) ชาย Δ 2) หญิง

2. อายุ 2.

Δ 1) ต่ํากวา 20 ป Δ 2) 20 – 30 ป

Δ 3) 31 – 40 ป Δ 4) 41 – 50 ป

Δ 5) 51 – 60 ป Δ 6) สูงกวา 60 ปข้ึนไป

3. ระดับการศึกษาสูงสุด 3.

Δ 1) ประถมศึกษา Δ 2) มัธยมศึกษาตอนตน

Δ 3) มัธยมศึกษาตอนปลาย Δ 4) ปวช.

Δ 5) ปวส. / อนุปริญญา Δ 6) ปริญญาตรี

Δ 7) สูงกวาปริญญาตรี Δ 8) อื่นๆ (โปรดระบุ) ..................

4. ตําแหนงปจจุบัน......................................................................................................... ระยะเวลาทํางานในตําแหนงปจจุบัน ....................... ป

4.

5. องคกรของทานประกอบธุรกิจนําเที่ยวมาเปนเวลา .......................... ป

5.

Page 205: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

182

6. องคกรของทานมีรูปแบบการนําเที่ยวในลักษณะใด (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) 6.

Δ 1) การนํานักทองเที่ยวชาวไทยไปทองเที่ยวในประเทศไทย (Domestic)

Δ 2) การนํานักทองเที่ยวชาวไทยไปทองเที่ยวในตางประเทศ (Out bound)

Δ 3) การนํานักทองเที่ยวชาวตางประเทศเขามาทองเที่ยวในประเทศไทย (In bound)

Δ 4) อื่นๆ (โปรดระบุ) .........................................

7. องคกรของทานมีพนักงานจํานวนเทาใด 7.

Δ 1) นอยกวา 10 คน Δ 2) 11 – 20 คน

Δ 3) 21 – 30 คน Δ 4) 31 – 40 คน

Δ 5) 41 – 50 คน Δ 6) 51 – 100 คน

Δ 7) 101 – 200 คน Δ 8) มากกวา 201 คนข้ึนไป

8. ประเภทของธุรกิจเสริม (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) 8.

Δ 1) ไมมี Δ 2) นําเที่ยว

Δ 3) รานอาหาร / รานคา Δ 4) สถานพักแรม เชน โรงแรม รีสอรท เกสทเฮาส บังกะโล

Δ 5) อินเทอรเนต / โทรศัพททางไกล / โทรสาร Δ 6) ใหเชาอุปกรณและยานพาหนะ เชน เรือ จักรยาน รถยนต

Δ 5) สปา นวด เสริมสวย Δ 7) อื่นๆ (โปรดระบุ) ..................

สวนที่ 2 ความคิดเห็นของผูประกอบการตอการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรี

9. ทานคิดวา แหลงทองเที่ยวใดในพื้นที่ฝงธนบุรีที่ไดรับความนิยมมากที่สุด (โปรดเรียงลําดับใน 5 ลําดับ

แรก)

9.

Δ 1) วัดระฆังโฆสิตาราม ....... Δ 2) วัดอมรินทราราม ....... Δ 3) วัดสุวรรณาราม .......

Δ 4) วัดปาเชิงเลน ....... Δ 5) วัดศรีสุดาราม ....... Δ 6) วังหลัง .......

Δ 7) สถานีรถไฟบางกอกนอย ....... Δ 8) วัดราชคฤห ....... Δ 9) ชุมชนบานชางหลอ .......

Δ 10) ขันลงหินบานบุ ....... Δ 11) วัดอินทาราม ....... Δ 12) ที่นอนบางกอกนอย .......

Δ 13) พิพิธภัณฑเรือราชพิธี....... Δ 14) พิพิธภัณฑเขตบางกอกนอย Δ 15) พิพิธภัณฑศิริรราช .......

Δ 16) วัดอรุณราชวราราม ....... Δ 17) วัดกัลยาณมิตร Δ 18) พระราชวังเดิม .......

Δ 19) วัดหงสรัตนาราม ....... Δ 20) วัดประดูฉิมพลี ....... Δ 21) วัดโมลีโลกยาราม .......

Δ 22) วัดเครือวัลย ....... Δ 23) กุฎีเจริญพาศน ....... Δ 24) มัสยิดตนสน .......

Δ 25) ศาลเจาเกียนอันเกง ............. Δ 26) ตลาดน้ําตล่ิงชัน................. Δ 27) อื่นๆ (โปรดระบุ) .................

Page 206: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

183

10. ทานมีความคิดเห็นอยางไรตอความพรอมของปจจัยตาง ๆ ดานการทองเที่ยวในพ้ืนที่ฝงธนบุรี 10.

ความพรอมของปจจัยดานการทองเที่ยว

ในพื้นที่ฝงธนบุรี มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

10.1) ความสมบูรณของสภาพธรรมชาติ เชน แมน้ํา ลําคลอง

สวนสาธารณะ

10.1)

10.2) ความสวยงามของทัศนียภาพ 10.2)

10.3) การเดินทางสะดวกสบาย 10.3)

10.4) มีการใหบริการดานขอมูลและความรู (เชน ศูนยบริการ

นักทองเที่ยว เอกสารเผยแพร)

10.4)

10.5) สถานที่พักแรม เชน รูปแบบ ลักษณะ สภาพ 10.5)

10.6) รานอาหารและรานคา เชน จํานวน รูปแบบ ความสะอาด 10.6)

10.7) บริษัทนําเที่ยวและมัคคุเทศก เชน จํานวน มาตรฐาน 10.7)

10.8) หองน้ําหองสุขา เชน จํานวน ความสะอาด 10.8)

10.9) น้ําด่ืม เชน ความเพียงพอ ความสะอาด 10.9)

10.10) การจัดการขยะและความสะอาด 10.10)

10.11) คุณภาพของน้ําบริเวณแมน้ําและลําคลอง 10.11)

10.12) ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 10.12)

10.13) ความหลากหลายของกิจกรรม (เชน ลองเรือ พายคายัค

ข่ีจักรยาน ทํากิจกรรมรวมกับชุมชน)

10.13)

สวนที่ 3 นโยบายของผูประกอบการดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

11. หนวยงานหรือองคกรของทานมีนโยบายและการดําเนินการดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางไรบาง 11.

การดําเนินนโยบายขององคกร ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ ไมทราบ

11.1) จดทะเบียนถูกตองตามพระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก พุ.ศ. 2535 11.1)

11.2) มีนโยบายเรื่องการประกอบธุรกิจนําเที่ยวเชิงนิเวศอยางชัดเจน 11.2)

11.3) มีกิจกรรมการทองเที่ยวทุกรูปแบบ เชน ช็อปปง ทองราตรี 11.3)

11.4) มีโครงการอนุรักษฟนฟูส่ิงแวดลอมและสังคมในพ้ืนที่แหลงทองเที่ยวที่เขาไปใช

ประโยชน เชน ปรับปรุงถนน แมน้ํา-ลําคลอง

11.4)

11.5) บางครั้งมีการใชมัคคุเทศกที่ไมมีใบอนุญาต เน่ืองจากความจําเปนบางประการ เชน

มัคคุเทศกที่มีใบอนุญาตคิดราคาแพงหรือปวย

11.5)

11.6) เปนการนําเที่ยวที่ไมเก่ียวของกับส่ิงผิดกฎหมายและผิดจารีตประเพณีทุกประเภท 11.6)

Page 207: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

184

การดําเนินนโยบายขององคกร ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ ไมทราบ

11.7) กิจกรรมที่ดําเนินการตองไมมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติ วัฒนธรรม

และสังคม

11.7)

11.8) เปนการทองเที่ยวในแหลงทองเท่ียวที่มีความเปราะบางทางระบบนิเวศ เพ่ือที่จะได

เรียนรูวาควรจะรักษาและดูแลพ้ืนที่ไดอยางไร

11.8)

11.9) ไมมีรายการนําเที่ยวที่มีแนวโนมจะคุกคามหรือทารุณชีวิตพืชและสัตว 11.9)

11.10) การทําประกันภัยใหนักทองเที่ยวไมจําเปนตองทําทุกครั้ง หากตองทําก็มีวงเงินเอา

ประกันภัยรายละไมเกิน 50,000 บาท

11.10)

11.11) มีการจางงานชุมชนในทองถิ่น เพ่ือใหเกิดการกระจายรายไดสูชุมชน 11.11)

11.12) การบริหารจัดการนําเที่ยวบางครั้งบริษัทไมสามารถทําเองทั้งหมด จึงใชวิธีระบบตัด

คาหัวคิวใหมัคคุเทศกบริหารจัดการเอง

11.12)

11.13) การจัดโครงการพัฒนาบุคลากรในองคกรเรื่องการทองเที่ยวเชิงนิเวศจะใหรัฐเปนผู

กําหนดเทาน้ัน

11.13)

11.14) ประชาสัมพันธเรื่องการทองเท่ียวเชิงนิเวศใหเปนที่รูจักและเขาใจ ทั้งความหมาย

รูปแบบ และกิจกรรม

11.14)

11.15) มีการติดตามประเมินผลขอมูลของนักทองเที่ยวในเรื่องตาง ๆ หลังจากการ

ทองเที่ยว (เชน ขอมูลสวนตัว ความพึงพอใจจากการนําเที่ยว) รวมถึงการสงขอมูลขาวสาร

ดานการทองเที่ยวที่นาสนใจใหอยางสม่ําเสมอ

11.15)

สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นฝงธนบุรี

12. ทานคิดวา พ้ืนที่ฝงธนบุรีเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศหรือไม 12.

Δ 1) เหมาะสม เพราะ....................................................................................................................................

....................................................................................................................................

Δ 2) ไมเหมาะสม เพราะ................................................................................................................................

....................................................................................................................................

13. ทานคิดวา ปจจุบันน้ีภาพรวมของการทองเที่ยวในพ้ืนที่ฝงธนบุรีมีปญหาหรือไม อยางไร 13.

Δ 1) ไมมี

Δ 2) มี ไดแก

- ......................................................................................................................................................................

- ......................................................................................................................................................................

- ......................................................................................................................................................................

- ......................................................................................................................................................................

- ......................................................................................................................................................................

14. ทานมีขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยว โดยเฉพาะการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ฝงธนบุรีอยางไรบาง

Page 208: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

185

Δ 1) ...........................................................................................................................................................................

Δ 2) ..........................................................................................................................................................................

Δ 3) ..........................................................................................................................................................................

Δ 4) ..........................................................................................................................................................................

Δ 5) ..........................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณที่ใหความรวมมือและเสียสละเวลาในการตอบแบบสอบถาม

Page 209: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

186

ภาคผนวก ฉ แบบสอบถามมัคคุเทศก

งานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ําในเสนทางการทองเที่ยว

“ยอนรอยเสนทางประวัติศาสตรอดีตราชธานีกรุงธนบุรี”

คําชี้แจง

7. แบบสอบถามฉบับน้ีแบงเปน 4 สวน

สวนที่ 1 ขอมูลท่ัวไปของมัคคุเทศก

สวนที่ 2 ความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอการทองเที่ยวในพื้นท่ีฝงธนบุรี

สวนที่ 3 ความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นท่ีฝงธนบุรี

8. กรุณาทําเครื่องหมาย ลงใน Δ ที่ตรงกับคําตอบของทาน และเติมขอความลงในชองวางที่กําหนดให

(สําหรับเจาหนาที่) ชุดที่

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของมัคคุเทศก

(สําหรับเจาหนาที่)

1. เพศ 1.

Δ 1) ชาย Δ 2) หญิง

2. อายุ 2.

Δ 1) ต่ํากวา 20 ป Δ 2) 20 – 30 ป

Δ 3) 31 – 40 ป Δ 4) 41 – 50 ป

Δ 5) 51 – 60 ป Δ 6) สูงกวา 60 ปข้ึนไป

3. ระดับการศึกษาสูงสุด 3.

Δ 1) มัธยมศึกษาตอนตน Δ 2) มัธยมศึกษาตอนปลาย

Δ 3) ปวส. / อนุปริญญา Δ 4) ปริญญาตรี

Δ 5) สูงกวาปริญญาตรี Δ 6) อื่นๆ (โปรดระบุ) ..................

4. รายไดเฉล่ียตอเดือน 4.

Δ 1) ต่ํากวา 5,000 บาท Δ 2) 5,000 – 10,000 บาท

Δ 3) 10,001 – 15,000 บาท Δ 4) 15,001 – 20,000 บาท

Δ 5) 20,001 – 30,000 บาท Δ 6) สูงกวา 30,001 ข้ึนไป

Page 210: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

187

5. ประเภทของบัตรมัคคุเทศก 5.

Δ 1) มัคคุเทศกทั่วไป (ตางประเทศ) - บัตรสีบรอนซเงิน

Δ 2) มัคคุเทศกทั่วไป (ไทย) - บัตรสีบรอนซทอง

Δ 3) มัคคุเทศกเฉพาะ (ตางประเทศ-เฉพาะพ้ืนที่) - บัตรสีชมพู

Δ 4) มัคคุเทศกเฉพาะ (ไทย-เฉพาะพ้ืนที่) - บัตรสีฟา

Δ 5) อื่นๆ (โปรดระบุ) .................

6. ประสบการณในการทํางานเปนมัคคุเทศก............................................ป 6.

สวนที่ 2 ความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรี

7. ทานคิดวา แหลงทองเที่ยวใดในพื้นที่ฝงธนบุรีที่ไดรับความนิยมมากที่สุด (โปรดเรียงลําดับใน 5 ลําดับ

แรก)

7.

Δ 1) วัดระฆังโฆสิตาราม ....... Δ 2) วัดอมรินทราราม ....... Δ 3) วัดสุวรรณาราม .......

Δ 4) วัดปาเชิงเลน ....... Δ 5) วัดศรีสุดาราม ....... Δ 6) วังหลัง .......

Δ 7) สถานีรถไฟบางกอกนอย ....... Δ 8) วัดอินทาราม ....... Δ 9) ชุมชนบานชางหลอ .......

Δ 10) ขันลงหินบานบุ ....... Δ 11) ศาลเจาเกียนอันเกง ....... Δ 12) ที่นอนบางกอกนอย .......

Δ 13) พิพิธภัณฑเรือราชพิธี....... Δ 14) พิพิธภัณฑเขตบางกอกนอย Δ 15) พิพิธภัณฑศิริรราช .......

Δ 16) วัดอรุณราชวราราม ....... Δ 17) วัดกัลยาณมิตร................... Δ 18) พระราชวังเดิม .......

Δ 19) วัดหงสรัตนาราม ....... Δ 20) วัดประดูฉิมพลี ....... Δ 21) วัดโมลีโลกยาราม .......

Δ 22) วัดเครือวัลย ....... Δ 23) กุฎีเจริญพาศน ....... Δ 24) มัสยิดตนสน .......

Δ 25) วัดราชคฤห ................. Δ 26) ตลาดน้ําตล่ิงชัน ................. Δ 27) อื่นๆ (โปรดระบุ) .................

8. ทานมีความคิดเห็นอยางไรตอความพรอมของปจจัยตาง ๆ ดานการทองเที่ยวในพ้ืนที่ฝงธนบุรี 8.

ความพรอมของปจจัยดานการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรี มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

8.1) ความสมบูรณของสภาพธรรมชาติ เชน แมน้ํา ลําคลอง

สวนสาธารณะ

8.1)

8.2) ความสวยงามของทัศนียภาพ 8.2)

8.3) การเดินทางสะดวกสบาย 8.3)

8.4) มีการใหบริการดานขอมูลและความรู (เชน ศูนยบริการ

นักทองเที่ยว เอกสารเผยแพร)

8.4)

8.5) สถานที่พักแรม เชน รูปแบบ ลักษณะ สภาพ 8.5)

8.6) รานอาหารและรานคา เชน จํานวน รูปแบบ ความสะอาด 8.6)

8.7) บริษัทนําเที่ยวและมัคคุเทศก เชน จํานวน มาตรฐาน 8.7)

Page 211: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

188

ความพรอมของปจจัยดานการทองเที่ยวในพื้นที่ฝงธนบุรี มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

8.8) หองนํ้าหองสุขา เชน จํานวน ความสะอาด 8.8)

8.9) น้ําด่ืม เชน ความเพียงพอ ความสะอาด 8.9)

8.10) การจัดการขยะและความสะอาด 8.10)

8.11) คุณภาพของน้ําบริเวณแมน้ําและลําคลอง 8.11)

8.12) ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 8.12)

8.13) ความหลากหลายของกิจกรรม (เชน เดินทองเที่ยว ลองเรือ

พายคายัค ข่ีจักรยาน ทํากิจกรรมรวมกับชุมชน)

8.13)

สวนที่ 3 ความคิดเห็นของมัคคุเทศกตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

9. ทานมีความคิดเห็นอยางไรตอการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ดังตอไปนี้ 9.

การทองเที่ยวเชิงนิเวศ เห็นดวย

อยางย่ิง เห็นดวย

ไมมี

ความเห็น ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวย

อยางย่ิง

9.1) เปนการจัดการการทองเที่ยวที่ ไมกอให เ กิดการทําลาย

ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรม

9.1)

9.2) รายไดจากกิจกรรมดานการทองเที่ยวเปนเพียงรายไดเสริมของ

ครอบครัวเทาน้ัน ไมจําเปนตองใหความสําคัญมากนัก

9.2)

9.3) ทําใหเกิดการกระจายรายไดอยางเปนธรรม และลงสูทองถ่ิน

โดยตรง

9.3)

9.4) ชุมชนมีสวนรวมกับการทองเที่ยวไดเพียงแคการสํารวจและ

กําหนดเสนทางทองเที่ยว 9.4)

9.5) ภาครัฐเปนหนวยงานเดียวที่มีหนาที่ในการวางแผนจัดการการ

ทองเที่ยวของชุมชน เน่ืองจากมีเจาหนาที่ผูเช่ียวชาญเฉพาะดาน

9.5)

9.6) การแสดงประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนทองถ่ินจะจัดข้ึน

ตามความตองการของนักทองเที่ยว

9.6)

9.7) ชุมชนสามารถติดตอประสานงานกับบริษัททองเท่ียวใหจัดสง

นักทองเที่ยวเขามาทองเที่ยวยังชุมชนไดเองโดยตรง

9.8)

9.8) การจัดอบรมเรื่องภาษาใหกับชุมชนจะชวยลดปญหาดานการ

ส่ือสารกับนักทองเที่ยวชาวตางชาติได

9.9)

9.9) การเดินศึกษาธรรมชาติและวัฒนธรรมในชุมชน นักทองเท่ียว

สามารถเดินเขาไปทองเที่ยวดวยตนเอง

9.7)

9.10) รายไดจากการทองเที่ยวสามารถนํามาพัฒนาทองถ่ิน ซึ่งเปน

ประโยชนตอสวนรวมได

9.10)

Page 212: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

189

การทองเที่ยวเชิงนิเวศ เห็นดวย

อยางย่ิง เห็นดวย

ไมมี

ความเห็น ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวย

อยางย่ิง

9.11) การสงเสริมการทองเที่ยวทําใหเกิดประโยชนตอการพัฒนา

ดานตางๆ เชน ไฟฟา ประปา ถนน ฯลฯ

9.11)

9.12) นักทองเที่ยวไดจายเงินคาทองเที่ยวและบริการแลว จึง

สามารถทําอะไรก็ไดตามความตองการ

9.12)

9.13) การสงเสริมการทองเที่ยวไมจําเปนตองมีการศึกษาผลกระทบ

ตอระบบนิเวศสิ่งแวดลอม เน่ืองจากเปนหนาที่ของภาครัฐ 9.13)

9.14) มัคคุเทศกทองถ่ินสามารถใหความรูเก่ียวกับส่ิงแวดลอม วิถี

ชีวิตวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่นไดเปนอยางดี

9.14)

9.15) การวางแผนพัฒนาการทองเที่ยวควรใหตัวแทนชาวบานเขามา

มีสวนรวม

9.15)

สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ฝงธนบุรี

10. ทานคิดวา พ้ืนที่ฝงธนบุรีเหมาะสมตอการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศหรือไม 10.

Δ 1) เหมาะสม เพราะ....................................................................................................................................

Δ 2) ไมเหมาะสม เพราะ................................................................................................................................

11. ทานคิดวา ปจจุบันน้ีภาพรวมของการทองเที่ยวในพ้ืนที่ฝงธนบุรีมีปญหาหรือไม อยางไร 11.

Δ 1) ไมมี

Δ 2) มี ไดแก

- ......................................................................................................................................................................

- ......................................................................................................................................................................

- ......................................................................................................................................................................

12. ทานมีขอเสนอแนะตอการจัดการการทองเที่ยว โดยเฉพาะการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ฝงธนบุรีอยางไรบาง

Δ 1) ...........................................................................................................................................................................

Δ 2) ..........................................................................................................................................................................

Δ 3) ..........................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณที่ใหความรวมมือและเสียสละเวลาในการตอบแบบสอบถาม

Page 213: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

190

ภาคผนวก ช

1. ทรัพยากรการทองเที่ยวเขตบางกอกนอย

1) วัดระฆังโฆสิตาราม

ภาพประกอบ 8 ปายสื่อความหมายและบรรยากาศริมแมนํ้าเจาพระยาของวัดระฆังโฆสิตาราม

ภาพประกอบ 9 บรรยากาศริมแมนํ้าเจาพระยาและเขตอภัยทานของวัดระฆังโฆสิตาราม

ภาพประกอบ 10 บรรยากาศสถานที่ขายสัตวนํ้าเพ่ือทําทานสําหรับปลอยลงแมนํ้า

Page 214: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

191

ภาพประกอบ 11 ถังรองรับขยะและปายบอกทางไปหองนํ้าภายในวัดระฆังโฆสิตาราม

ภาพประกอบ 12 เสนทางเดินบริเวณรอบวัดระฆังโฆสิตาราม

ภาพประกอบ 13 หอระฆังจัตุรมุขพรอมระฆัง 5 ลูก และพระปรางคภายในวดัระฆังโฆสิตาราม

Page 215: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

192

ภาพประกอบ 14 พระอุโบสถภายและพระประธานยิ้มรับฟาภายในพระอุโบสถวัดระฆังโฆสิตาราม

ภาพประกอบ 15 หอพระไตรปฎกหรือตําหนักจันทรภายในวัดระฆังโฆสิตาราม

2) วัดอมรินทรารามวรวิหาร

ภาพประกอบ 16 ปายสื่อความหมายวัดอินทรารามวรวิหารของกรุงเทพมหานคร

Page 216: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

193

ภาพประกอบ 17 ทาเรือและทางเขาวัดอินทรารามวรวิหาร

ภาพประกอบ 18 ถนนทางเขาวัดอินทรารามวรวิหาร

ภาพประกอบ 19 แสดงประตูทางเขาวัดในดานตาง ๆ

Page 217: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

194

ภาพประกอบ 20 บรรยากาศของวัดอินทรามวรวิหารในวันปกตแิละชวงวันจัดงานประจําป

ภาพประกอบ 21 ที่รองรับขยะและหองนํ้าภายในวัดอินทรามรามวรวิหาร

ภาพประกอบ 22 พระอุโบสถและหลวงพอโบสถนอยวัดอินทารามวรวิหาร

Page 218: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

195

3) วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร

ภาพประกอบ 23 ปายสื่อความหมาย ปายชื่อ และทาเรือวัดสวุรรณารามริมคลองบางกอกนอย

ภาพประกอบ 24 พระอุโบสถ พระประธานในพระอุโบสถ และพระวิหาร วัดสุวรรณาราม

ภาพประกอบ 25 ภาพเขียนฝาผนังที่มีชื่อเสียงของวัดสุวรรณารามราชวรวิหาร

Page 219: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

196

4) วัดศรีสุดาราม

ภาพประกอบ 26 ปายสื่อความหมายและถนนทางเขาวัดศรีสุดาราม

ภาพประกอบ 27 บรรยากาศภายในวัดศรีสุดาราม

ภาพประกอบ 28 หองนํ้าและถงัรองรับขยะของวัดศรีสุดาราม

ภาพประกอบ 29 รูปหลอสมเด็จพระพุฒาจารยโตริมฝงคลองบางกอกนอยของวัดศรีสุดาราม

Page 220: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

197

5) วัดครุฑ

ภาพประกอบ 30 ถนนทางเขาวัดครุฑผานซอยวัดชิโนรสาราม

ภาพประกอบ 31 ทานํ้าวัดครุฑบริเวณคลองมอญและทางเดินเขาสูชุมชนวัดครุฑ

ภาพประกอบ 32 พระพุทธรูปดานหนาทางเขาวัดและที่ตั้งของอาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัยหนวยวัดครุฑ

Page 221: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

198

ภาพประกอบ 33 พระอุโบสถภายในวัดครุฑ

6) วัดสุวรรณคีรี

ภาพประกอบ 34 ปายสื่อความหมายและปายชือ่วัดสุวรรณคีรี

ภาพประกอบ 35 ทาเรือและพระพุทธรูปปางหามสมุทรตั้งอยูบริเวณทางแยกของคลอง 3 สาย หนาวัดสุวรรณคีรี

Page 222: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

199

ภาพประกอบ 36 พระอุโบสถและบรรยากาศภายในวัดสวุรรณคีรี

7) บานบุ

ภาพประกอบ 37 ปายสื่อความหมายชุมชนบานบุของกรุงเทพมหานคร

ภาพประกอบ 38 ทางเดินจากสํานักงานเขตบางกอกนอยสูชุมชนขันลงหินบานบุ

Page 223: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

200

ภาพประกอบ 39 ทางเดินจากสถานีโรงรถจกัรของการรถไฟแหงประเทศไทยสูชุมชนบานบุ

ภาพประกอบ 40 ผลิตภัณฑอลูมิเนียมที่ถูกนํามาทดแทนผลิตภัณฑขันลงหินในปจจุบัน

ภาพประกอบ 41 ขั้นตอนการผลิตขันลงหิน

Page 224: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

201

ภาพประกอบ 42 บรรยากาศภายในบานขันลงหนิบานบุ

ภาพประกอบ 43 ผลิตภัณฑขันลงหิน

8) สถานีรถไฟบางกอกนอย

ภาพประกอบ 44 ทาเรือสถานีรถไฟธนบุรี

Page 225: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

202

ภาพประกอบ 45 สถานีรถไฟบางกอกนอยกอนถูกรื้อถอนเพื่อกอสรางศูนยการแพทยของโรงพยาบาลศิริราช

ภาพประกอบ 46 สถานีรถไฟบางกอกนอยขณะกําลังถกูรื้อถอนเพื่อกอสรางศูนยการแพทยของโรงพยาบาลศิริราช

9) บานชางหลอ

ภาพประกอบ 47 ซอยบานชางหลอในปจจุบันท่ีไมมีโรงหลอเหลืออีกแลว

Page 226: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

203

ภาพประกอบ 48 โรงหลอที่ตั้งอยูในซอยฝงตรงขามซอยบานชางหลอที่ยังหลงเหลือใหเห็นอยูบาง

ภาพประกอบ 49 รูปหลอที่อยูในกระบวนการผลิต

ภาพประกอบ 50 รูปหลอที่ใกลเสร็จสมบูรณแลว

Page 227: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

204

10) พิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือราชพิธี

ภาพประกอบ 51 ดานหนาและทาเรือของพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธีริมฝงคลองบางกอกนอย

ภาพประกอบ 52 เรือพระที่น่ังภายในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรอืพระราชพิธ ี

ภาพประกอบ 53 เรืออนันตนาคราชภายในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี

Page 228: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

205

ภาพประกอบ 54 เรือพระที่น่ังภายในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรอืพระราชพิธ ี

ภาพประกอบ 55 เรือครุฑเหินเห็จและเรือพระที่น่ังนารายณทรงสุบรรณในพิพธิภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี

ภาพประกอบ 56 เรือพระที่น่ังสพุรรณหงสภายในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธ ี

Page 229: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

206

ภาพประกอบ 57 เรือกระบี่ปราบเมืองมารภายในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธ ี

ภาพประกอบ 58 เรือพระที่น่ังภายในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรอืพระราชพิธ ี

ภาพประกอบ 59 มุมใหความรูเกี่ยวกับพระราชพิธีกระบวนพยหุยาตราชลมารคผานสื่อวีดีทัศนโดยบรรยายเปน

ภาษาไทยและมคํีาบรรยายใตภาพเปนภาษาอังกฤษ

Page 230: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

207

ภาพประกอบ 60 สิ่งอํานวยความสะดวกภายในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเรือพระราชพิธี ไดแก มุมขายสินคาและ

น่ังพักผอน หองนํ้า และโทรศัพท ตามลําดับ

11) ที่นอนบางกอกนอย

ภาพประกอบ 61 ทางเดินเขาสูชุมชนที่นอนบางกอกนอย

ภาพประกอบ 62 หองบรรจุนุนและนุนสําหรับใสที่นอน

Page 231: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

208

ภาพประกอบ 63 ที่นอนบางกอกนอยของแท

12) วังหลังและกําแพงวังหลัง

ภาพประกอบ 64 วังหลงัเม่ือมองจากฝงทาพระจันทร

ภาพประกอบ 65 บริเวณตรอกวังหลงั

Page 232: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

209

ภาพประกอบ 66 แผนที่วังหลงัและกําแพงวงัหลังของกรงุเทพมหานคร

ภาพประกอบ 67 บริเวณกําแพงวังหลัง

2. เขตบางกอกใหญ

1) วัดอรุณราชวราราม

ภาพประกอบ 68 ปายสื่อความหมายวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร

Page 233: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

210

ภาพประกอบ 69 ทาเรือทองเที่ยว ทาเรือขามฟาก และพระปรางควัดอรุณราชวรารามบริเวณริมฝงแมนํ้าเจาพระยา

ภาพประกอบ 70 บรรยากาศภายในวัดอรุณราชวราราม

ภาพประกอบ 71 สิ่งอํานวยความสะดวกภายในวัดอรุณราชวราราม – ที่จอดรถ หองนํ้า และที่รองรับขยะ

Page 234: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

211

ภาพประกอบ 72 แผนที่ทองเที่ยวทางน้ําและสถานีตํารวจทองเที่ยวประจําวัดอรุณราชวราราม

ภาพประกอบ 73 บรรยากาศรานคาภายในวัดอรุณราชวราราม

ภาพประกอบ 74 พระปรางค มณฑป และพระพุทธบาทจําลองของวัดอรุณราชวราราม

Page 235: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

212

ภาพประกอบ 75 พระอุโบสถ ซุมประตูยอดมงกุฎ และพระอรณุหรือพระแจงภายในวัดอรุณราชวราราม

ภาพประกอบ 76 พระระเบียงหรือพระวิหารคด และรูปปนยักตสหัสเดชะภายในวัดอรุณราชวราราม

2) วัดโมลีโลกยาราม

ภาพประกอบ 77 ปายสื่อความหมายวัดโมลีโลกยารามราชวรวหิารของกรงุเทพมหานคร

Page 236: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

213

ภาพประกอบ 78 ถนนทางเขาสูวัดโมลีโลกยาราม

ภาพประกอบ 79 ทาเรือมัสยิดตนสนและวัดโมลีโลกยารามบริเวณริมคลองบางกอกใหญ

ภาพประกอบ 80 พระวิหาร และพระบรมรูปสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีภายในวัดโมลีโลกยาราม

Page 237: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

214

3) วัดเครือวัลย

ภาพประกอบ 81 ปายสื่อความหมายวัดเครือวัลยวรวิหารของกรุงเทพมหานคร

ภาพประกอบ 82 ทาเรือและทางเขาวัดจากทาเรือของวัดเครือวัลยวรวิหาร

ภาพประกอบ 83 พระอุโบสถภายในวัดเครือวลัย

Page 238: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

215

ภาพประกอบ 84 พระวิหารและพระเจดีย 3 องคภายในวัดเครือวัลย

4) วัดหงสรัตนารามราชวรวิหาร

ภาพประกอบ 85 ปายสื่อความหมายของกรงุเทพมหานครและปายชื่อวัดหงสรัตนารามริมคลองบางกอกใหญ

ภาพประกอบ 86 ทาเรือและพระอุโบสถวัดหงสรัตนารามเม่ือมองจากทาเรือ

Page 239: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

216

ภาพประกอบ 87 ทางเขา ศาลเดิม และศาลใหมของศาลสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีมหาราช บริเวณวัดหงสรัตนาราม

ภาพประกอบ 88 บรรยากาศภายในวัดหงสรัตนาราม

5) วัดสังขกระจาย

ภาพประกอบ 89 ปายสื่อความหมายและทาเรือ วัดสังขกระจาย

Page 240: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

217

ภาพประกอบ 90 ถนนทางเขาและบรรยากาศภายในวัดสังขกระจาย

ภาพประกอบ 91 หลวงพอพระกัจจายนและหอพระไตรปฎก

6) วัดประดูฉิมพลี

ภาพประกอบ 92 ทาเรือ พระอุโบสถ และรูปหลอหลวงปูโตะภายในวัดประดูฉิมพลีบริเวณริมคลองบางกอกใหญ

Page 241: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

218

ภาพประกอบ 93 พระเจดียทรงรามัญ

7) พระราชวังเดิม

ภาพประกอบ 94 ทาเรือและปอมวิชัยประสิทธิภ์ายในของกองทัพเรือบริเวณปากคลองบางกอกใหญ

ภาพประกอบ 95 รูปหลอสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีหนาพิพิธภัณฑพระราชวังเดิมภายในกองทัพเรือ

Page 242: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

219

8) มัสยิดตนสน

ภาพประกอบ 96 ปายสื่อความหมายและทาเรือมัสยิดตนสนริมคลองบางกอกใหญ

ภาพประกอบ 97 ถนนทางเขามัสยิดตนสน

ภาพประกอบ 98 มัสยิดตนสนจากมุมตาง ๆ

Page 243: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

220

3. เขตตลิ่งชัน

1) วัดรัชฎาธิษฐานราชวรวิหาร

ภาพประกอบ 99 ประตูถนนทางเขา พระอุโบสถ และหอไตรกลางน้ํา วัดรัชฎาธิษฐานราชวรวหิาร

ภาพประกอบ 100 บรรยากาศภายในวัดรัชฎาธิษฐานราชวรวหิาร

Page 244: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

221

2) วัดกาญจนสิงหาสน

ภาพประกอบ 101 ประตูทางเขาและพระอุโบสถ วัดกาญจนสิงหาสน

ภาพประกอบ 102 บานประตูพระอุโบสถ ใบเสมา และพระปรางคภายในกําแพงแกว วัดกาญจนสิงหาสน

ภาพประกอบ 103 โรงเรียนพระปริยัติธรรม และทานํ้าวัดกาญจนสิงหาสนซึ่งตัง้อยูริมคลองมอญ

Page 245: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

222

3) วัดปากน้ําฝงใต

ภาพประกอบ 104 สะพานทางเชื่อมระหวางวัดปากน้ําฝงเหนือ-วัดปากน้ําฝงใต และประตูทางถนนเขา

วัดปากน้ําฝงใต

ภาพประกอบ 105 ศาสนสถานสําคัญภายในวัดปากน้ําฝงใต

ภาพประกอบ 106 วัดปากน้ําฝงใตบริเวณริมคลองมอญ

Page 246: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

223

4) วัดเกาะ

ภาพประกอบ 107 วัดเกาะที่ลอมรอบไปดวยคลองมอญ คลองบางเชือกหนัง และคลองบางนอย

ภาพประกอบ 108 ปายชื่อวัดและบรรยากาศภายในวัดเกาะ

ภาพประกอบ 109 วิหารหลวงพอดําและเจดียภายในวัดเกาะ

Page 247: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

224

5) วัดสะพาน

ภาพประกอบ 110 พระพุทธรูปศักด์ิสิทธิ์ประจําวัดสะพาน

ภาพประกอบ 111 บรรยากาศภายในตลาดน้ําวัดสะพาน

6) ตลาดน้ําตลิ่งชัน

ภาพประกอบ 112 ตลาดนํ้าตลิ่งชัน

Page 248: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

225

ภาพประกอบ 113 บรรยากาศภายในตลาดน้ําตลิ่งชัน

7) คลาดน้ําคลองลัดมะยม

ภาพประกอบ 114 ทางเขาตลาดน้ําคลองลัดมะยม และบานหัตถกรรมเรือจําลอง

ภาพประกอบ 115 บรรยากาศภายในตลาดน้ําคลองลัดมะยม

Page 249: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

226

ภาพประกอบ 116 สินคาพ้ืนบานที่ชาวบานนํามาจําหนายดวยตนเอง

8) สวนกลวยไม

ภาพประกอบ 117 บรรยากาศภายในสวนกลวยไม

4. ทรัพยากรการทองเที่ยวในเขตธนบุรี

1) วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร

ภาพประกอบ 118 ปายสื่อความหมายวัดกัลยาณมิตรวรวิหารของกรงุเทพมหานคร

Page 250: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

227

ภาพประกอบ 119 ทาเรือและถนนทางเขาวัดกัลยาณมิตรวรวหิารริมคลองบางกอกใหญ

ภาพประกอบ 120 พระอุโบสถวัดกัลยาณมิตร กอสรางเลียนแบบศิลปะจีน

ภาพประกอบ 121 พระวิหารหลวง และหลวงพอโต หรือ ซําปอกง หรือ พระพุทธไตรัตนายก พระประธานภายใน

วิหารหลวงวัดกลัยาณมิตร

Page 251: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

228

ภาพประกอบ 122 ศิลปะจีนบริเวณทางเขาพระวิหารหลวง วัดกัลยาณมิตร

ภาพประกอบ 123 เจดียเหลี่ยมยอมุม 12 ตั้งบนฐาน 8 เหลี่ยม เปนท่ีบรรจุอัฐิของเจาพระยานกิรบดินทร (โต)

ผูสรางวัดกัลยาณมิตร

ภาพประกอบ 124 “ถะ” หรือเจดียหินทําจากเมืองจีนมีความสวยงามมาก

Page 252: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

229

ภาพประกอบ 125 ทาเรือและทีใ่หอาหารนกของวัดกัลยาณมิตรริมฝงแมนํ้าเจาพระยา

2) วัดอินทาราม

ภาพประกอบ 126 ปายสื่อความหมายวัดอินทารามและประตูทางเขาวัดอินทาราม

ภาพประกอบ 127 ทาเรือวัดอินทาราม

Page 253: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

230

ภาพประกอบ 128 ปายสื่อความหมายศาลสมเด็จพระเจาตากสินภายในวัดอนิทาราม พระเจดียกูชาติ เจดียองค

ขวาบรรจุพระบรมอัฐิสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี องคซายบรรจุพระบรมอัฐิพระอัครมเหสี บริเวณหนาพระอุโบสถหลัง

เกาวัดอินทาราม

ภาพประกอบ 129 พระรูปทรงมาสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีหนาพระวิหารสมเด็จพระเจาตากสนิ พระพุทธรูปและ

พระแทนบรรทมภายในพระวิหารสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช วัดอินทาราม

ภาพประกอบ 130 พระมาลา พระบรมรูปสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี และพระขรรคที่ประดิษฐานอยูในพระแทน

บรรทมภายในพระวิหารสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช วัดอินทาราม

Page 254: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

231

ภาพประกอบ 131 พระบรมรูปจําลองสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีทรงวิปสสนากรรมฐานในพระวิหารสมเด็จพระเจา

ตากสิน วัดอินทาราม

ภาพประกอบ 132 พระอุโบสถภายในวัดอินทาราม

ภาพประกอบ 133 พระวิหารใหญกอทึบมีหนาตางโดยรอบ เปนศิลปะสมัยธนบุรี สังเกตไดจากหนาบันมีการเจาะ

เปนหนาตาง

Page 255: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

232

ภาพประกอบ 134 เจดียเหลี่ยมยอมุม 20 ขนาดใหญ สามองคเรียงกันสวยงามมาก เปนศิลปะสมัยรัชกาลที่ 3

และปรางคสงู ตั้งบนฐานสูงมีพาไลรอบในวัดอินทาราม

3) วัดราชคฤห

ภาพประกอบ 135 ทานํ้าวัดราชคฤหบริเวณริมคลองบางกอกใหญ

ภาพประกอบ 136 พระวิหารใหญ และภูเขาจําลองเปนท่ีตั้งของพระมณฑป ประดิษฐานพระพุทธบาทจําลอง

วัดราชคฤห

Page 256: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

233

4) วัดปากน้ํา

ภาพประกอบ 137 ปายสื่อความหมายวัดปากน้ําและคลองภาษีเจริญ

ภาพประกอบ 138 ทาเรือวัดปากน้ํา ภาษีเจริญ

ภาพประกอบ 139 ถนนทางเขาสูวัดปากน้ํา ภาษีเจริญ

Page 257: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

234

ภาพประกอบ 140 ที่ประดิษฐานศพหลวงพอสด วัดปากน้ํา

ภาพประกอบ 141 พระอุโบสถและพระปรางคที่กําลังมีการกอสรางตอเติม วัดปากน้ํา ภาษีเจริญ

ภาพประกอบ 142 ที่จอดรถและหองนํ้าภายในวัดปากน้ํา ภาษีเจริญ

Page 258: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

235

5) วัดเวฬุราชิน

ภาพประกอบ 143 ปายสื่อความหมายวัดเวฬุราชิน

ภาพประกอบ 144 ทาเรือและพระพุทธรูปปางหามสมุทรบริเวณริมคลองบางกอกใหญ วัดเวฬุราชิน

ภาพประกอบ 145 บรรยากาศภายในวัดเวฬุราชิน

Page 259: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

236

ภาพประกอบ 146 พระอุโบสถ และเจดียสมัยรชักาลท่ี 4 วัดเวฬุราชิน

ภาพประกอบ 147 ศาลสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี วัดเวฬุราชิน

6) วัดอัปสรสวรรค

ภาพประกอบ 148 ปายสื่อความหมายวัดอัปสรสวรรควรวิหาร

Page 260: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

237

ภาพประกอบ 149 ทานํ้า และหอไตร วัดอัปสรสวรรค

ภาพประกอบ 150 พระอุโบสถ พระประธาน 28 องคภายในพระอุโบสถ และปรางคสมัยรัชกาลที่ 3

วัดอัปสรสวรรค

7) ศาลเจากวนอันเกง (ศาลเจาแมกวนอิม)

ภาพประกอบ 151 ปายสื่อความหมายศาลเจากวนอันเกง (ศาลเจาแมกวนอิม)

Page 261: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

238

ภาพประกอบ 152 ทาเรือขามฟากบริเวณศาลเจาแมกวนอิม

ภาพประกอบ 153 ทางเดินจากวัดกัลยาณมิตรไปยังศาลเจาแมกวนอิม

ภาพประกอบ 154 บริเวณดานหนาของศาลเจาแมกวนอิม

Page 262: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

239

ภาพประกอบ 155 ไมแกะสลกัดานหนาศาลเจาแมกวนอิม

ภาพประกอบ 156 ประตูทางเขาศาลเจาแมกวนอิม

Page 263: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

240

ภาคผนวก ซ ตัวอยางแผนพับนําเที่ยว

Page 264: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

ประวัติยอผูวจิัย

Page 265: ิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒthesis.swu.ac.th/swuthesis/Eco_Pla_Man/Wipawee_P.pdf · 2008. 9. 11. · วิภาวีพลรัตน . (2551)

242

ประวัติยอผูวิจัย

ชื่อ ชื่อสกุล นางสาว วิภาวี พลรัตน วันเดือนปเกิด วันท่ี 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 สถานที่เกิด อําเภอพญาไท จังหวัดกรุงเทพมหานคร สถานที่อยูปจจุบัน 3/2468 ซ.สายหยุดอุทิศ ถ.พหลโยธิน 48 ต.อนุสาวรีย อ.บางเขน จ.กรุงเทพมหานคร 10220 ตําแหนงหนาท่ีการงานในปจจุบัน - สถานที่ทํางานปจจุบัน - ประวตัิการศึกษา พ.ศ. 2540 บริหารธุรกิจบัณฑิต

จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. 2544 ประกาศนียบัตรบัณฑิต

จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2551 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ