รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 ·...

79
ศูนยวิจัยและพัฒนา การตรวจวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการทางการแพทย คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 (ตุลาคม 2548 – กันยายน 2549)

Upload: others

Post on 21-Jul-2020

11 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

ศูนยวิจัยและพัฒนา

การตรวจวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการทางการแพทย

คณะเทคนคิการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน

รายงานประจําป

งบประมาณ พ.ศ. 2549

(ตุลาคม 2548 – กนัยายน 2549)

Page 2: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

คํานํา

ศูนยวิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการทางการแพทย (ศวป.)

คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน เปนศูนยวิจัยเฉพาะทางท่ีมหาวิทยาลัยได

จัดต้ังขึ้น เร่ิมดําเนินงานต้ังแตเดือนพฤษภาคม 2545 เปนตนมา ปท่ี 1 ไดรับการจัดสรร

งบประมาณเงินรายไดมหาวิทยาลัยขอนแกน จํานวน 500,000.00 บาท และเร่ิมไดรับ

การจัดสรรงบประมาณประจําปต้ังแตปงบประมาณ พ.ศ. 2546 - 2548 เปนตนมา ปละ

4,000,000.00 บาท การดําเนินงานในรอบปท่ีผานมา ระหวางเดือนตุลาคม 2548 – เดอืน

กันยายน 2549 ซึ่งไดรับงบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณประจําป 2549 จํานวน

4,700,000.00 บาท จึงถือเปนการดําเนินงานในรอบปท่ี 5 ของ ศวป.

รายงานประจําปงบประมาณ 2549 นี้ แบงเนื้อหาออกเปนสวนๆ สวนแรก

ประกอบดวยบทสรุปสําหรับผู บริหาร ความเปนมาในการจัดตั้งและกลยุทธการ

บริหารงาน วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค เปาหมายและโครงสรางคณะกรรมการชุด

ตางๆของ ศวป. รวมท้ังผลการดําเนินงานท่ีผานมาจนถึงสิ้นปงบประมาณ 2548 สวนที่

สอง เปนสรุปผลการดําเนินงานในปงบประมาณ 2549 และกิจกรรมการดําเนินงานเชิง

วิชาการของโครงการวิจยัยอยท้ังสี่โครงการของ ศวป. สวนที่สาม เปนภาคผนวก แสดง

รายละเอียดผลงานและกิจกรรมสําคัญของปงบประมาณ 2549 รายงานประจําปฉบับนี้

จึงสะทอนใหเห็นท้ังภาพของท่ีมาของการจัดต้ัง ศวป. การบริหารจัดการภายในและผล

การดําเนินงานของ ศวป. ทัง้ในอดีตและปจจุบันในปงบประมาณ 2549 ไดพรอมกัน

ข อ ข อ บ คุ ณ ทุ ก ฝ า ย ที ่ใ ห ก า ร ส นั บ ส นุ น โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย า ง ยิ ง่ ฝ า ย วิ จั ย

มหาวิทยาลัยขอนแกน และ คณะเทคนิคการแพทย ที่มีสวนรวมและใหการสนับสนุน

การดําเนินงานของ ศวป. ดวยดีมาโดยตลอด และศวป.หวังจะไดรับการสนับสนุนดวยดี

เชนเคยในโอกาสตอไป

รองศาสตราจารย ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

ผูอํานวยการ ศวป.

6 กันยายน 2549

Page 3: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

สารบญั

หนา

• บทสรุปสําหรับผูบริหาร 1

• ประวัติความเปนมา โครงสรางและกลยุทธการบริหารงาน 3

• สรุปผลการดําเนินงานต้ังแตจัดต้ังจนถึงปงบประมาณ 2548 6

• สรุปผลการดําเนินงานในปงบประมาณ 2549

1 สรุปผลการดําเนินงานตามตามตัวชี้วัด (KPI) 10

2 สรุปบทเรียน / องคความรู 11

3 สรุปรายงานการใชจายเงนิงบประมาณ 2549 17

4 ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ 19

• รายละเอียดผลการดําเนินงานตาม KPI ประจําป พ.ศ. 2549 20

1 การตีพิมพผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ 21

2 นวัตกรรม ทรัพยสินทางปญญา เทคโนโลยีใหม สิ่งประดิษฐตนแบบ 25

3 จํานวนเงนิทุนภายนอกทีไ่ดรับการสนับสนุน 26

4 การตีพิมพผลงานในวารสารในประเทศ 27

5 การเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 29

6 การจัดประชมุสมัมนาระดับนานาชาติ 34

7 การเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการระดับชาติ 35

8 การจัดประชุมสัมมนาระดับชาติ 41

9 การถายทอดเทคโนโลยี/การใหบริการวิชาการของศูนย 42

10 จํานวนอาจารย / นักศึกษาบัณฑิตที่เพิ่มขึ้น 43

สรุปการดําเนินงานโครงการยอยประจําป 2549

- โครงการที ่1 45

- โครงการที ่2 55

- โครงการที ่3 61

- โครงการที ่4 69

ภาคผนวก 77

Page 4: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

1

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

ศูนยวิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการทางการแพทย (ศวป.)

ไดรับการจัดตั้งขึ้นในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2545 มีเปาหมายเพื่อมุงความเปนเลิศทาง

วิชาการดานการตรวจวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการทางการแพทย โดยดําเนินการวิจัยทั้ง

ในระดับงานวิจัยพื้นฐานและงานวิจัยและพัฒนาควบคูไปกับการพัฒนานักวิจัยรุน

ใหมผานกระบวนการบัณฑิตศึกษา ในปงบประมาณ 2549 ซึ่งถือเปนปที่ 5 ของการ

ดําเนินงาน ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากงบอุดหนุนทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแกน

จํานวน 4,700,000.00 บาท ศวป. ไดจัดแบงงบประมาณออกเปน 4 แผนงาน โดย

งบประมาณรอยละ 6.6 ใชในการบริหารจัดการภายใน ศวป. รอยละ 42.8 จัดสรรเปน

ทุนบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโท 9 ทุน และระดับปริญญาเอก 3 ทุน รอยละ 35.7

สนับสนุนโครงการวิจัยยอยของ ศวป. ท้ัง 4 โครงการ งบประมาณสวนที่เหลืออีกรอย

ละ 14.9 ไดใชในการจัดหาครุภณัฑจําเปนสําหรับงานวิจัยจํานวน 2 รายการ

จากการรวบรวมผลการดําเนินงานในปงบประมาณ 2549 จากโครงการวิจัย

ยอยแตละโครงการของ ศวป. พบวามีผลงานวิจัยโดยรวมในปงบประมาณ 2549

จําแนกเปนการตีพิมพเผยแพรผลงานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ จํานวน 18

เร่ือง ตีพิมพในประเทศ จํานวน 12 เร่ือง มีนวัตกรรม จํานวน 2 รายการท่ีไดดําเนินการ

จดอนุสิทธิบัตรและแจงลิขสิทธิ์ เสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการระดับ

นานาชาติ 29 เรือ่ง การประชุมวิชาการระดับประเทศ 27 เรือ่ง ไดจัดกิจกรรมการ

ประชุมวิชาการและถายทอดเทคโนโลยีรวม 7 ครัง้ มีการจัดสัมมนาวิชาการภายใน

ของโครงการวิจัยยอยแตละโครงการจํานวนรวมมากกวา 50 ครั้ง มีความรวมมือดาน

การวิจัยและไดรับการสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัยเพิ่มเติมและทุนระดับปริญญาเอก

จากแหลงทุนตางๆรวมกวา 17 ลานบาท ผลการดําเนินงานดานตางๆในปงบประมาณ

2549 โดยรวมถือไดวาเปนไปตามเปาหมายหรือมากกวาเปาหมายท่ีต้ังไว และมี

ผลงานเปนท่ีนาพอใจ

Page 5: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

2

ประวัติความเปนมา โครงสรางและกลยุทธการบริหารงาน

ศูนยวิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการทางการแพทย (Centre for Research and Development of Medical

Diagnostic Laboratories, CMDL) ท่ีตั้งสํานักงาน ศวป. หองปฏิบัติการวิจัย 1 ตึก 2 คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน

โทรศัพท / โทรสาร 043-202 083 เบอรภายในมหาวิทยาลัยขอนแกน 1421 http://web.kku.ac.th/~amspr e-mail:[email protected]

ผูอํานวยการ รองศาสตราจารย ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ 1. ประวัติความเปนมา

ยอนหลงัไปในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2544 มหาวิทยาลัยขอนแกนไดริเริม่และประกาศ

นโยบายดานการวิจัยที่สําคัญมากอยางหนึ่งผานทางโครงการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็ง

ดานการวิจัยเฉพาะทาง (พ.ศ. 2545 – 2549) โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อ พัฒนากลุมวิจัยที่มี

ศักยภาพใหมีความเปนเลิศในสาขาวิชานั้นๆ (area of excellence) ใหดําเนินการวิจัยใหบรรลุ

เปาหมายรวมกัน มีกลไกสนับสนุนดานงบประมาณอยางตอเนือ่ง ดําเนินการวิจัยในรูปแบบ

specialized research center เกิดเปนศูนยวิจัยเฉพาะทางที่สามารถเสริมสรางและพัฒนา

บัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย ภายใตโครงการดังกลาว มหาวิทยาลัยเลือกสนับสนุนกลุมนักวิจัย

ที่มีความเชี่ยวชาญการวิจัยเฉพาะดานจํานวนหนึ่งที่มีผลงานวิจัยที่เปนรูปธรรมและไดดําเนินงาน

วิจัยมาอยางตอเนื่อง สิ่งที่มหาวิทยาลัยคาดหวังจากการใหการสนับสนุน คือ เพื่อเพิ่มศักยภาพ

ดานการวิจัยของมหาวิทยาลัย มีผลงานวิจัยตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการนานาชาติเพิม่ขึน้

เพิม่จํานวนและคุณภาพบัณฑิตศึกษาในแตละดานและเพิ่มขีดความสามารถในการแสวงหา

แหลงทุนอุดหนุนการวิจัยจากภายนอก ผูบริหารงานวิจัยของคณะเทคนิคการแพทยในขณะนัน้

ประกอบดวย รองศาสตราจารยยุพา เอือ้วิจตรอรุณ คณบดี ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิชัย อึงพินิจ

พงศ รองคณบดีฝายวิจัย และ รองศาสตราจารยกุลนภา ฟู เจริญ ผู ชวยคณบดีฝายวิจัย จึงได

มอบหมายใหอาจารยของคณะจํานวนหนึง่ในสาขาเทคนิคการแพทย ที่มีผลงานทีค่อนขางโดด

เดนและมีคุณสมบัติอยูในขายไดรับการสนับสนุน ประกอบดวยรองศาสตราจารย ดร.สุพรรณ ฟู

เจริญ รองศาสตราจารย ดร.เต็มดวง ลิม้ไพบูลยและ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชาญวิทย ลีลายุวัฒน

รวมกันพัฒนาโครงการจัดตั้งศูนยวิจัยเฉพาะทางขึ้น และไดเสนอโครงการตอมหาวิทยาลัยเมือ่

วันที ่30 พฤศจิกายน 2544 โครงการผานความเห็นชอบจากฝายวิจัยของมหาวิทยาลัยในวันที่ 14

มีนาคม 2545 และไดรับการประกาศจัดตั้ง ศวป. ในวันที่ 10 มิถุนายน 2545 ใหเปน 1 ใน 12

Page 6: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

3

ศู น ย วิ จั ย เ ฉ พ า ะ ท า ง ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ที ไ่ ด รั บ ก า ร จั ด ตั ง้ ขึ น้ ใ น ร อ บ แ ร ก ( ป จ จุ บั น

มหาวิทยาลัยขอนแกนมีศูนยวิจัยเฉพาะทางจํานวนทั้งสิ้น 18 ศนูย)

2. โครงสรางการบริหารงาน

ศวป. บริหารจัดการผานคณะกรรมการ 2 ระดับ คือ คณะกรรมการอํานวยการ ซึ่งรับผิดชอบ

ในการกาํหนดทศิทางในการดําเนินงาน ดูแลดานนโยบาย อนุมัติแผนงานและงบประมาณ

ประจําป ตลอดจนติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของ ศวป. ประกอบดวย คณบดีคณะเทคนิค

การแพทยเปนประธาน คณะกรรมการประกอบดวย รศ.ดร.อัศนี ปาจีนบูรวรรณ (คณบดีคณะ

เกษตรศาสตร) ผศ.วันชัย สุมเล็ก (คณบดีคณะวิทยาศาสตร) ศ.น.พ.ภิเษก ลุมพิกานนท

(ผูอํานวยการโรงพยาบาลศรีนครินทร) รศ.น.พ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ (รองผูอํานวยการ

ศนูยพนัธวุศิวกรรมและเทคโนโลยชีวีภาพแหงชาติ) และ ศ.ดร.เพทาย เย็นจิตโสมนัส

(มหาวิทยาลัยมหิดล) โดยมี รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ ผูอํานวยการ ศวป. เปนกรรมการและ

เลขานุการ คณะกรรมการอีกหนึ่งชุด คือ คณะกรรมการบริหารซึ่งทําหนาที่โดยตรงในการ

ดําเนินงานและเสนอแผนงานประจําปตอคณะกรรมการอํานวยการและกํากับการดําเนินงานของ

ศวป. มีผูอํานวยการเปนประธาน และมีหัวหนาโครงการวิจัยหลักของ ศวป. ทั้งสี่ดานรวมเปน

กรรมการโดยม ี รศ.กุลนภา ฟูเจริญ เปนกรรมการและเลขานุการและมีรองคณบดีฝายวิจัยของ

คณะเทคนิคการแพทยเปนที่ปรึกษา การบริหารจัดการของ ศวป. เนนความคลองตัวในการ

ดําเนินงานและเนนรูปแบบที่เอ้ือตอการผลิตผลงานวิจัยเปนสําคัญ ปจจุบัน ศวป. มีนักวิจัยซึ่ง

เปนคณาจารยในคณะเทคนิคการแพทยรวมปฏิบัติงานวิจัยอยูดวยกวา 30 คนและมีนักศึกษาทั้ง

ในระดับปริญญาตรี โท และเอก รวมดําเนินงานวิจัยดวยกวา 50 คน

คณะกรรมการอํานวยการ ศวป. ประกอบดวย คณบดีคณะเทคนิคการแพทย ประธาน

รองศาสตราจารย ดร.อัศนี ปาจีนบูรวรรณ กรรมการ ผูชวยศาสตราจารยวันชัย สุมเล็ก กรรมการ ศาสตราจารย นพ.ภิเศก ลุมพิกานนท กรรมการ รองศาสตราจารย นพ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ กรรมการ ศาสตราจารย ดร.เพทาย เย็นจิตโสมนัส กรรมการ ผูอํานวยการ ศวป. กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการบริหาร ศวป. ประกอบดวย รองคณบดีฝายวิจัย คณะเทคนิคการแพทย ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ ผูอํานวยการ ศวป.

รองศาสตราจารย ดร.เต็มดวง ลิ้มไพบูลย กรรมการ

Page 7: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

4

ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชาญวิทย ลีลายุวัฒน กรรมการ รองศาสตราจารย ดร.จุฬารัตน ปริยชาติกุล กรรมการ รองศาสตราจารยกุลนภา ฟูเจริญ กรรมการและเลขานุการ

นางพัชณี หาแกว ผูชวยเลขานุการ

3. กลยทุธการบริหารงาน

3.1 วิสัยทัศน (Vision)

เปนศูนยวิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการทางการแพทยที่มีความ

เปนเลิศทางวิชาการ มีมาตรฐาน และเปนแหลงอางอิงในระดับเอเซียและโอเซียเนีย โดย

มุงเนนการพัฒนาและถายทอดเทคโนโลยีเพื่อการพึ่งตนเองและขยายผลเชิงพาณิชย

3.2 พันธกิจ (Mission)

รวบรวมและสรางเครือขายผูเชีย่วชาญควบคูไปกับการดําเนินงานวิจัยและพัฒนาและ

ถายทอดเทคโนโลยีดานการตรวจวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการทางการแพทยทีส่ามารถขยาย

ผลเชิงพาณิชยไดและพัฒนานักวิจัยท้ังในระดับบัณฑิตศึกษา และนักวิจัยหลังปริญญาเอก 3.3 เปาหมาย วัตถุประสงค และแผนกลยุทธ

มีหองปฏิบัติการเฉพาะทางสาขาเทคนิคการแพทย ที่มีความพรอมในการเปนศูนยกลาง

การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่สามารถสนับสนุนการเรียนการสอนทัง้ในระดับปริญญาตรี

และบัณฑิตศึกษา เปนศูนยปฏิบัติการอางอิงในระดับชาติ และภูมิภาคโดยเฉพาะในภูมิภาค

เอเซีย โอเซียเนีย เปนศูนยฝกอบรมเฉพาะทางทั้งการใหบริการทางหองปฏิบัติการและการ

วิจัยเปนศูนยการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตชุดน้าํยาตรวจวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการ

ที่มีมาตรฐานและผลิตไดเองภายในประเทศและเปนแหลงรวมและสรางเครือขายผูเชีย่วชาญ

ทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยมุงดําเนินการวิจัยและพฒันาใน 4 แนวทางหลกั ดังน้ี

โครงการท่ี ชื่อโครงการ หัวหนาโครงการ 1 โครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อการควบคุมและ

ปองกันโรคธาลัสซีเมีย

รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

2 โครงการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับโรคมะเร็ง รศ.ดร.เต็มดวง ลิ้มไพบูลย 3 โครงการวิจัยและพัฒนาภูมิคุมกันระดับโมเลกุล

และการปลูกถายอวัยวะและเนื้อเยื่อ ผศ.ดร.ชาญวิทย ลีลายุวัฒน

4 โครงการวิจัยและพฒันาวิธกีารตรวจทาง

หองปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัยโรคติดเชื้อ รศ.ดร.จุฬารัตน ปริยชาติกุล

Page 8: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

5

3.4 แผนกลยุทธ

3.4.1 รวบรวมและขยายเครือขายนักวิจัยทั้งในและตางประเทศ เพื่อสนับสนุนการ

ดําเนินงานวิจัยและพฒันา และการสรางนักวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา และนักวิจัยหลงั

ปริญญาเอก ตลอดจนจัดเตรียมความพรอมและขยายศักยภาพในการวิจัยและพัฒนา ทั้ง

ทางดานสถานที ่อุปกรณ ครุภัณฑ และทนุสนับสนุนการวิจัย

3.4.2 ดําเนินการวิจัยและพฒันา เพื่อผลิตผลงานที่สามารถตีพิมพเผยแพรในวารสาร

ระดับนานาชาติใหไดอยางตอเน่ือง

3.4.3 ถายทอดเทคโนโลยีและองคความรูที่ไดจากการวิจัยและพัฒนาไปสูหนวย

ปฏิบัติการที่เกี่ยวของ

3.4.4 ดําเนินการวิจัยและพฒันา วิธีการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับการตรวจทาง

หองปฏิบัติการ เพื่อนําไปสูการผลิตเปนชุดนํ้ายาสําเร็จรูปที่มีมาตรฐานและผลิตไดเอง

ในประเทศ เพื่อเปนการลดการนําเขาและสามารถขยายผลเชิงพาณิชยได

3.4.5 ดําเนินการจัดทําโครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อขอรับการสนับสนุนจากแหลงทุนตาง

ๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศอยางตอเนื่อง

3.5 การสนับสนุนเงินงบประมาณโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน (นับถึงปปจจุบัน)

ปงบประมาณ จาํนวนเงิน (บาท) พ.ศ. 2545 500,000.-

พ.ศ. 2546 4,000,000.-

พ.ศ. 2547 4,000,000.-

พ.ศ. 2548 4,000,000.- (ไดรับเงนิรางวัลอีก 400,000.-)

พ.ศ. 2549 4,700,000.-

รวม (สิบเจ็ดลานหกแสนบาท) 17,600,000.00.-

Page 9: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

6

สรุปผลการดําเนินงานตั้งแตจัดตั้งจนถึงสิน้ปงบประมาณ 2548

ในชวงระยะเวลา 4 ป นับจากการกอต้ัง ศวป. ในเดือนมถินุายน 2545 ถึงเดือนกันยายน 2548

ศวป. ได รับงบประมาณสนับสนุนจาก งบประมาณเงินรายไดและงบอุดหนุนทั ว่ไป

มหาวิทยาลัยขอนแกน เปนเงินรวมทัง้สิน้ 12,500,000.00 บาท และไดรับเงินรางวัลเพิ่มเติม

เนื่องจากมีผลงานดีเดนอีก 400,000.00 บาท รวมเปนเงินสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยทัง้สิน้

12,900,000.- บาท ศวป. ไดดําเนินงานและผลิตผลงานวิจัยดานตางๆตามแนวทางและบรรลุ

เปาหมายที่เสนอตอมหาวิทยาลัย สรุปไดดังน้ี

1. สรุปเน้ือหาผลงานวิจัยท่ีไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการ

จากการดําเนินงานในชวงเวลา 4 ป (พ.ศ. 2545 – พ.ศ. 2548) ของโครงการยอยทั้ง 4

โครงการ เปนผลให ศวป. สามารถตีพิมพเผยแพรผลงานวิจัยในวารสารวิชาการตางๆไดรวม

ทั้งสิ้น 53 เร่ือง แยกเปน

ตีพิมพในวารสารวิชาการ นานาชาต ิ จํานวน 41 เร่ือง

ตีพิมพในวารสารวิชาการ ในประเทศ จํานวน 12 เร่ือง

ผลงานเกี่ยวกับ โรคธาลัสซีเมีย ประกอบดวย ขอมูลพื้นฐานการเกิดโรคธาลัสซีเมียและ

ฮีโมโกลบินผิดปกติชนิดตางๆในภาคอีสานในระดับโมเลกุล การคนพบยีนธาลัสซีเมียและ

ฮีโมโกลบินผิดปกติที่ไมเคยมีรายงานมากอนในคนไทยหลายชนิด การศึกษาพื้นฐานการเกิดโรค

δβ-thalassemia และ hereditary persistence of fetal hemoglobin (HPFH) ผลของการเกิด

ปฏิสัมพันธรวมระหวางยีนผิดปกติเหลานี้ตอลักษณะฟโนไทปของผูปวยทั้งที่มีอาการรุนแรง

และไมรุนแรง การพัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัยยีนเหลานีท้ัง้ในระดับ การตรวจคัดกรอง การตรวจ

ยนืยนัและการวิเคราะหดีเอ็นเอทีส่ามารถใชตรวจไดทัง้กอนและหลงัคลอดและการพัฒนาวิธีการ

ตรวจวินจิฉยัทารกในครรภจากการตรวจวิเคราะหดเีอ็นเอในเลอืดแม ซึ่งจะทําใหสามารถวินิจฉัย

ทารกในครรภไดโดยไมตองเจาะครรภมารดา เปนตน ดานโรคมะเร็ง มีผลงานการคนพบการ

ขาดหายไปของ allele และความไมคงตัวของ microsatellite ของยีนตานมะเร็ง p53 และยีน

ซอมแซมดีเอ็นเอ hMLH1 และการเกิด hypermethylation ในสวนโปรโมเตอรของยีน hMLH1

ทีอ่าจมีสวนเกีย่วของกับการเกิดมะเร็งทอน้ําดีและอาจใชเปนตัวบงชีก้ารพยากรณโรคในผูปวย

นอกจากนี้มีการศึกษาเกี่ยวกับ intregated human papilloma virus DNA กับความรุนแรงของการ

เกิดมะเร็งปากมดลูก ดานภูมิคุ มกันระดับโมเลกุล มีผลการศึกษาพบความสัมพันธระหวาง

ลักษณะของยีน MHC ซึง่เกีย่วของกับการตอบสนองทางภูมิคุมกัน ยีน Corneodesmosin ที่มีการ

แสดงออกในเซลลผิวหนัง และยีน MICA ซึง่เปน ligand ทีก่ระตุนภูมิคุมกันผานตัวรับ NGK2D

ในโรคสะเกด็เงนิ (Psoriasis) สามารถคนพบ SNPs และ haplotype ใหมๆหลายชนิดในคนอีสาน

Page 10: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

7

ที่อาจนําไปสูการคนพบยีนตนเหตุของการเกิดโรค นอกจากนี้มีผลการศึกษาการกระจายของ

HLA allele ในคนไทยภาคอีสานซึ่งเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับการพัฒนาชุดตรวจสําเร็จรูปที่

เหมาะสมตอไป สวนทางดาน โรคติดเชื้อ มีผลงานวิจัยและพัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัยเชื้อรา

Penicillium marneffei ดวยวิธี PCR ซึ่งทําไดงาย ซึ่งเชื้อราชนิดนี้มักกอใหเกิดโรคตอระบบ

อวัยวะภายในของคนและวินิจฉัยแยกจากการติดเชื ้อชนิดอื่นไดคอนขางยากและมีผลงาน

เกี่ยวกับการศึกษาเชือ้ methicillin resistant Staphylococcus aureus (MRSA) ที่โรงพยาบาลศรี

นครินทร มหาวิทยาลัยขอนแกน

2. ทรัพยสินทางปญญาและนวตักรรม นักวิจัยของ ศวป. มีผลงานวิจัยและพัฒนาทีไ่ดรับการ

จดสิทธิบัตรไปแลว 1 รายการและอยูระหวางการยืน่จดอนุสิทธิบัตรอีก 1 รายการ นอกจากนี้มี

ผลงานการพัฒนาเทคโนโลยีการตรวจทางหองปฏิบัติการที่เชือ่วาจะสามารถขยายผลเชิงพาณิชย

ไดอีกหลายเรือ่ง เชน เทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัยพาหะ α o

– thalassemia โดยการทํา PCR จาก

เลอืดรวม และ ชดุตรวจ HLA allele ซึ่งปจจุบันอยูระหวางการพัฒนาเปนชุดตรวจสําเร็จรูปในชื่อ

KKU α – thalassemia 1 kit และ KKU HLA Typing kit นอกจากนีม้ีผลงานวิจัยและพัฒนา

ฮีโมโกลบินควบคุม (control Hb) เพื่อใชในการดําเนินงานควบคุมคุณภาพการตรวจวินิจฉัยธาลัส

ซีเมียทางหองปฏิบัติการทีไ่ดรับการตรวจประเมินคุณภาพแลวจากกรมวิทยาศาสตรการแพทย

กระทรวงสาธารณสุข เชื่อวาจะสามารถพัฒนาใหเปนชุดตัวอยางสําเร็จรูปเชิงพาณิชยไดตอไป

3. งบประมาณท่ีไดรับมาสมทบ นอกเหนือจากทนุอุดหนุนทัว่ไป มข. ที่จัดสรรผานโครงการ

เด่ียวและชดุโครงการตางๆของมหาวิทยาลัยแลว นักวิจัยของ ศวป. ไดรับทุนสนับสนุนเพิ่มเติม

จากหลายแหลงทนุ แหลงทุนในประเทศ ไดแก ทุนสนับสนุนนักศกึษาปริญญาเอกในโครงการ

คปก. ของ สกว. รวมทั้งสิ้น 11 ทุน ทุนวิจัยองคความรูใหม สกว. (วปก.) 2 ทนุ ทนุพฒันา

ศักยภาพอาจารยรุนใหม สกว. 2 ทนุ ทนุ JSPS Ronpaku Program 1 ทุน ทุนจากศูนยพันธุ

วิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ 1 ทุน ทุนจากโครงการ T2 ของ สวทช. 2 ทุน ทุนจากสภาวิจัย

แหงชาติ 1 ทุน เปนตน นอกจากนี้มีแหลงทุนจากตางประเทศ ไดแก ทุนจาก The Wellcome

Trust ประเทศอังกฤษ และทุนจาก NIH ของประเทศสหรัฐอเมริกาอีกอยางละ 1 ทุน รวมเปน

งบประมาณสมทบจากภายนอกกวา 60 ลานบาท

4. การจัดสรรทุนบัณฑิตศึกษา ตลอดชวงระยะเวลา 4 ป ศวป. ไดจัดสรรงบประมาณที่ไดรับเปน

ทุนการศึกษาในระดับ ปริญญาโท รวมทั้งสิ้น 31 ทนุ และทนุระดับปริญญาเอก จํานวน 4 ทนุ

รวมวงเงินที่ ศวป. จัดสรรใหนักศึกษาบัณฑิตศึกษา 2,722,960.- บาท

Page 11: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

8

5. ผลการจัดประชุมถายทอดเทคโนโลยี ศวป. ไดดําเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ

ถายทอดเทคโนโลยีที่ไดจากการวิจัยไปแลว 2 คร้ัง คร้ังแรก เร่ือง การตรวจวินิจฉัยธาลัสซีเมีย

ทางหองปฏิบัติการ ระหวางวันที่ 24-26 มีนาคม 2546 มีผูเขารับการอบรมจํานวน 26 คน จาก 24

โรงพยาบาลจากทุกภาคของประเทศ คร้ังที่ 2 เปนการจัดรวมกับกรมวิทยาศาสตรการแพทย เร่ือง

การตรวจวินิจฉัยความผิดปกติของยีนธาลัสซีเมีย ระหวางวันที่ 24-25 มถินุายน 2547 มีผูเขารวม

รับการถายทอดเทคโนโลยีจากหนวยงานตางๆของกระทรวงสาธารณสุข จํานวน 25 หนวยงาน

นอกจากนี้ไดรวมกับคณะเทคนิคการแพทย จัดการประชุมวิชาการประจําป 2548 ระหวางวันที่

19-20 กรกฎาคม 2548 มีผูเขารวมประชุมจํานวน 278 คน และ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ

Workshop on Containment level 3 Bio-safety ระหวางวันที ่ 26-29 กรกฎาคม 2548 มีผูเขารวม

ประชุมจํานวน 20 คน รวมทั้งไดจัดการประชุมยอยรวมกับนักวิจัยชาวตางประเทศที่ทํางานวิจัย

รวมกับ ศวป. หลายคร้ัง เชน ญ่ีปุน ออสเตรเลีย และ อังกฤษ เปนตน

6. การใหบริการทางวิชาการ นอกเหนือจากการจัดเตรียมและจําหนายน้ํายาตรวจกรองธาลัสซี

เมียใหภาคเอกชนไปดําเนินการเชิงพาณิชยซึ่งทําเปนงานประจําแลว ศวป. โดยโครงการวิจยัธา

ลัสซีเมียไดเร่ิมเปดใหบริการรับตรวจดีเอ็นเอเพื่อวินิจฉัยธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกติทั้ง

กอนและหลงัคลอดแกหนวยงานตางๆทัว่ประเทศ นอกจากน้ีมีการเปดใหบริการการตรวจ block

matching สําหรับการเปลี่ยนถายไขกระดูก ซึ่งดําเนินงานโดยโครงการที่ 3 โดยเปดใหบริการ

เปนงานประจําผานสถานบริการสุขภาพเทคนิคการแพทยและกายภาพบําบัดของคณะ

7. การเสนอผลงานในการประชุมวิชาการตางๆ

นักวิจัยของ ศวป. ไดนาํเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการตางๆ รวมทั้งสิ้น จํานวน

130 เร่ือง แยกเปน การประชุมวิชาการในประเทศ จํานวน 60 เร่ือง การประชุมวิชาการระดับ

นานาชาติ จํานวน 70 เร่ือง

8. ผลลัพท (outcome) พิจารณาในภาพรวมถึงผลการดําเนินงานในรอบ 4 ป ของ ศวป.

กอใหเกิดผลลัพธในหลายดาน เชน การไดรับการประกาศเกียรติคุณและเงินรางวัล ศูนยวิจัย

ดีเดนดานการวิจัย ในป พ.ศ. 2547 เปนศูนยวิจัยท่ีมีผลการดําเนินงานระหวางป พ.ศ. 2545-2547

ไดคะแนน KPI รวมสูงสุดจากจํานวน 12 ศูนยวิจัยเฉพาะทางทีม่หาวิทยาลัยจัดตั้งขึน้ในรอบแรก

และไดรับประกาศเกียรติคุณ ศูนยวิจัยที่มีผลงานยอดเยีย่มดานการตีพิมพผลงานวิจัยในวารสาร

ระดับนานาชาติสูงสุด ในป พ.ศ. 2548 จาก มหาวิทยาลัยขอนแกน การไดรับทุนสนับสนุน

เพิ่มเติมจากแหลงทุนสําคัญๆทัง้ในและตางประเทศ เชน รศ.ดร.จุฬารัตน ปริยชาติกุล ไดรับการ

คัดเลือกจาก สกว. ใหเปน เมธีวิจัย สกว. ประจําป 2547 ผศ.ดร.กาญจนา เลิศมีมงคลชัย ไดรับ

ทุนจาก National Institute of Health (NIH) ประเทศสหรัฐอเมริกาสนับสนุนการวิจัยและ

Page 12: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

9

ครุภัณฑเปนจํานวนเงินกวา 40 ลานบาท และ รศ. ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ ไดรับการคัดเลือกจาก

สมาคมเทคนิคการแพทยแหงประเทศไทย ใหเปน นักเทคนิคการแพทยดีเดน (ดานการวิจัย)

ประจําป 2547 เปนตน นอกจากนี้เมื่อเปรียบเทียบสัดสวนผลงานวิจัยทีผ่ลิตไดในแตละปของ

คณะเทคนิคการแพทย เห็นไดชัดเจนวาภายหลังจากจัดตั้ง ศวป. แลว คณะเทคนิคการแพทย

มหาวิทยาลยัขอนแกน มีผลงานวิจัยเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก ผลการดําเนินงานของ ศวป. นอกจาก

จะสรางชื ่อเสียงใหกับคณะแลว ยังสนับสนุนนโยบายการเปนมหาวิทยาลัยแหงการวิจัย

(Research university) ของมหาวิทยาลัยขอนแกนไดเปนอยางดี

Page 13: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

10

สรุปผลการดําเนินงานในปงบประมาณ 2549 (ตุลาคม 2548 – กนัยายน 2549)

1. สรุปผลการดําเนินงานตามตัวช้ีวัด (KPI)

ท่ี ตัวชี้วัด เปาหมาย ผลสําเร็จ

1 การตีพิมพผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ (เร่ือง) 8 18

2 นวัตกรรม ทรัพยสินทางปญญา เทคโนโลยีใหม

สิ่งประดิษฐตนแบบ (เร่ือง)

2 2

3 จํานวนทุนภายนอกทีไ่ดรับการสนับสนุน (ลานบาท) 9 17.1

4 การตีพิมพผลงานวิจัยในวารสารในประเทศ (เร่ือง) 9 12

5 การนําเสนอผลงานในการประชุมระดับนานาชาติ (เร่ือง) 10 29

6 การจัดประชุมสัมมนาระดับนานาชาติ (คร้ัง) 0 0

7 การนําเสนอผลงานในการประชุมในประเทศ (เร่ือง) 12 27

8 การจัดประชุมสัมมนาระดับนานาชาติ (คร้ัง) 4 7

9 การถายทอดเทคโนโลยี / การใหบริการทางวิชาการของ

ศูนย (คร้ัง / คน / วัน / การทดสอบ)

- ผลิตนํ้ายาตรวจกรองธาลัสซีเมียเชิงพาณิชย (ราย)

- ใหบริการตรวจดีเอ็นเอเพื่อวินิจฉัยธาลัสซีเมีย (ราย)

- ใหบริการตรวจ Block matching สําหรับเปลี่ยนถาย

ไขกระดูก (ราย)

400

1,110,000

992

4

10 จํานวนอาจารย / นักศึกษาบัณฑิตศึกษาที่เพิ่มขึ้น (หนวย) 10 29

Page 14: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

11

2. สรุปบทเรียน / องคความรู

โครงการที่ 1

: โครงการวิจัยและพัฒนาเพ่ือการควบคุมและปองกันโรคธาลัสซีเมีย

ในรอบปงบประมาณ 2549 โครงการวิจัยและพัฒนาเพือ่การควบคุมและปองกัน

โรคธาลัสซีเมียไดดําเนินการวิจัยในหลายดานประกอบดวย การศึกษาวิเคราะหขอมูลทางโลหิต

วิทยาและพื้นฐานการเกิดโรคในระดับโมเลกุลที่ทําใหเกิดฮีโมโกลบินอีรวมกับอัลฟาธาลัสซีเมีย

ชนิดตางๆของผูปวยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทําใหไดขอมูลยืนยันวาการวินิจฉัยภาวะธาลัส

ซีเมียซับซอนเหลานี้ดวยการตรวจทางโลหิตวิทยาในงานประจําวันตามโรงพยาบาลตางๆนัน้ มี

โอกาสผิดพลาดสูงมาก การตรวจวิเคราะหยีนโกลบินที่เกี ่ยวของรวมดวยจะสามารถใหการ

วินิจฉัยไดอยางถูกตองและใหขอมูลที่มีประโยชนตอการใหคําปรึกษาแนะนําทางกรรมพันธุแก

ผูปวยและครอบครัวไดดีกวา ผลการศึกษานี้ไดรับการตีพิมพในวารสาร Annal Hematol 2006;85:450-454. การศึกษาวิเคราะหขอมูลกลไกการเกิดโรคอัลฟาศูนยธาลัสซีเมียและโรค

อื่นท่ีเกี่ยวของในประชากรท่ัวไปของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งนอกจากจะใหขอมูลที่เปน

ประโยชนตอการนํามาประยุกตใชในการวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมียในงานประจําวันและการศึกษา

อาการทางคลินิกของผูปวยแลวยังเปนผลใหสามารถตรวจพบและพัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัย

ภาวะอัลฟาศูนยธาลัสซีเมียชนิด SEA deletion และชนิด THAI deletion ไดพรอมกัน

ผลงานนีไ้ดรับการตอบรับใหตีพิมพในวารสาร Acta Haematologica และนอกจากนี้ได

นํามาใชตรวจใหบริการในงานประจําวันทีส่ถานบริการสุขภาพเทคนิคการแพทยและ

กายภาพบําบัด คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน และยังสามารถนําไปประยุกตใช

ในการตรวจวินิจฉัยทารกในครรภไดเปนผลสําเร็จ ณ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ เขต 8 นครสวรรค ซึง่ผลงานไดรับการตอบรับใหตีพิมพในวารสาร Fetal Diagnosis and Therapy

มีผลงานดานการศึกษารวบรวมอาการทางคลินิกของผูปวยธาลัสซีเมียที่เกิดจากปฏิสัมพันธ

รวมกันของฮีโมโกลบินอีและโรคฮีโมโกลบินเอชในผูปวยโรงพยาบาลศรีนครินทรที่มีอาการ

โลหิตจางรุนแรงมากระหวางมีไข เปนผลใหไดขอมูลองคความรูทีเ่กีย่วของที่มีประโยชนตอการ

ดูแลรักษาผูปวย ผลงานในสวนนี้ไดรับการตีพิมพแลวในวารสาร J Pediatr Hematol Oncol 2006;28:249-253 มี ผ ล ง า น ก า ร ศึ ก ษ า ภ า ว ะ โ ล หิ ต จ า ง ใ น ห ญิ ง ตั ้ง ค ร ร ภ ใ น ภ า ค

ตะวันออกเฉียงเหนือไดผลการศึกษาทีบ่งชี ้วาแทที่จริงแลวภาวะโลหิตจางทีเ่กิดขึน้ในหญิง

ตัง้ครรภในภูมิภาคนีเ้ปนผลจากการที่มียีนธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกติมากกวาการขาด

ธาตุเหล็กซึง่เปนความเชื่อทีมี่มาแตเดิม องคความรูนีจ้ะสงผลใหการดูแลรักษาภาวะโลหิตจาง

ในหญิงตัง้ครรภดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผลงานดังกลาวไดรับการตีพิมพ

เผยแพรในวารสาร Blood Cells Mol Diseases 2006;37:8-11 จากความรวมมือกับภาควิชา

สูติศาสตรและนรีเวชกรรม คณะแพทยศาสตร ในการดําเนินการดานการควบคุมและปองกัน

โรคธาลัสซีเมียศรีนครินทรไดผลดี แนวทางการดําเนินงานและขอมูลทีไ่ดที่โรงพยาบาลศรี

นครินทร จะเปนตัวอยางใหเกิดการดําเนินงานในรูปแบบเดียวกันที่อื่นๆไดตอไป ผลงานใน

สวนนีไ้ดรับการตอบรับใหตีพิมพในวารสาร J Med Ass Thai แลว ผลงานดานการพัฒนา

Page 15: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

12

เทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการประกอบดวย การพัฒนาการตรวจวินิจฉัย

ฮีโมโกลบินผิดปกติ 2 ชนิดดวยวิธีการตรวจในระดับโมเลกุล คือ ฮีโมโกลบินสยามและ

ฮีโมโกลบินควีนส ซ่ึงตรวจพบไดบอยๆในคนไทยแตไมสามารถใหการตรวจวินิจฉัยไดดวยการ

ตรวจทางหองปฏิบัติการประจําวันและมักถูกวินิจฉัยผิดพลาดใหเปนฮีโมโกลบินเอส สงผลให

การใหคําปรึกษาแนะนําผูปวยผิดพลาดไป ผลงานในสวนนีไ้ดรับการตอบรับใหตีพิมพใน

วารสาร Clin Biochem แลว ผลงานดานการพัฒนาเทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัยอีกเรือ่งหนึ่ง

คือ การตรวจวินิจฉัยภาวะทารกบวมน้ําฮีโมโกลบินบารทส (Hb Bart’s hydrops fetalis) จาก

การตรวจวิเคราะหดีเอ็นเอทารกในเลือดแม โรคธาลัสซีเมียชนิดนี้เกิดจากโฮโมซัยกัสอัลฟา

ศูนยธาลัสซีเมีย เปนโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงและผูปวยจะเสียชีวิตทุกรายตั้งแตอยูในครรภ

และสงผลกระทบตอมารดาทีต่ั ้งครรภทําใหเกิดภาวะครรภเปนพิษได หากไมไดการวินิจฉัย

ทันทวงทีอาเกิดอันตรายถึงชีวิตได การวินิจฉัยในงานประจําวันนิยมใชวิธีเจาะเก็บรก น้ําคร่ํา

หรือเลือดทารกในครรภมาตรวจทางหองปฏิบัติการ ซึ่งมีความเสี่ยงจากการเจาะเก็บตัวอยาง

การพัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัยโรคจากการวิเคราะหดีเอ็นเอทารกในเลือดแมไดเปนผลสําเร็จ

จึงเปนแนวทางใหมของการวินิจฉัยที่เปนแบบ non-invasive ท่ีไมมีอันตราย ผลงานในสวนี้

ไดรับการตอบรับใหตีพิมพในวารสาร Annals New York Acad Sci USA แลว นอกจากนี ้มีผลการศึกษาดานอื ่นๆอีกหลายเรื ่องที่ยังอยูในระหวางการเก็บขอมูล

เพิม่เติมและยังไมไดตีพิมพ เชน การศึกษาตนกําเนิดของ Hb Constant Spring และ Hb Pakse’ ในคนไทย กัมพูชาและลาวโดยการวิเคราะหดีเอ็นเอโพลีมอรฟสม การศึกษา DNA polymorphism ของ hemochromatosis gene (HFE gene) ในผูปวยธาลัสซีเมียซึ่งอาจนํา

ขอมูลมาใชอธิบายถึงภาวะเหล็กเกินในผูปวยและสามารถใหการดูแลรักษาผูปวยไดดีขึ ้น

การศึกษาถึงปจจัยทางพันธุกรรมท่ีมีผลตอการแสดงออกของอาการผูปวยธาลัสซีเมียท่ีแตกตาง

กันโดยการวิเคราะหลักษณะ microsatellite และ DNA polymorphisms (SNPs) ในกลุมยีน

บีตาโกลบินและการศึกษาในระดับ mRNA ซึง่คาดวาจะสามารถตีพิมพผลงานตางๆเหลานีใ้น

วารสารวิชาการระดับนานาชาติไดตอไป ผลการดําเนินงานทั้งหมดเปนผลใหโครงการวิจัยและพัฒนาสามารถตีพิมพเผยแพร

ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการระดับนานาชาติไดทั้งสิ้น 10 เรื่อง ตีพิมพบทความวิจัยในวารสาร

ในประเทศจํานวน 5 เรื่อง และเขียนบทความทางวิชาการตีพิมพวารสารในประเทศจํานวน 5 เรื่อง เสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการทั้งในและตางประเทศรวม 18 เรื่อง แยกเปนการ

ประชุมวิชาการในประเทศ 7 เรื่องและตางประเทศ 11 เรื่อง จดอนุสิทธิบัตรเทคนิคการตรวจ

วิเคราะหปริมาณฮีโมโกลบินเอสองและฮีโมโกลบินอี จํานวน 1 รายการ พัฒนาโปรแกรม

คอมพิวเตอรชวยประเมินคูเส่ียงจากผลการตรวจเลือดและดีเอ็นเอไดสําเร็จ 1 โปรแกรม ขยาย

ผลงานนวัตกรรมการผลิต control Hb (KKU-Hb) ใหใชในโครงการควบคุมคุณภาพ

หองปฏิบัติการของกรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข มีอาจารยและนักศึกษา

ระดับบัณฑิตศึกษารวมปฏิบัติงานวิจัยภายใตโครงการเพิ่มข้ึน 1 คน และ 3 คน ตามลําดับ นอกจากนี้สามารถจัดตั้ง กองทุนกลุมวิจัยธาลัสซีเมีย คณะเทคนิคการแพทย ม.

ขอนแกน ขึน้เปนผลสําเร็จโดยนําสวนแบงรายไดจากการใหบริการผลิตน้ ํายาสําเร็จรูปเชิง

พาณิชยและการใหบริการตรวจวิเคราะหยีนธาลัสซีเมียทางหองปฏิบัติการ ซึง่ไดรับการจัดสรร

Page 16: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

13

ผลประโยชนจาก สถานบริการสุขภาพเทคนิคการแพทยและกายภาพบําบัด คณะเทคนิค

การแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน มาใชในการจัดต้ังกองทุน เปนผลใหโครงการวิจัยและพัฒนา

เพือ่การควบคุมและปองกันโรคธาลัสซีเมีย สามารถดําเนินการวิจัยไดอยางตอเนื่องและย่ังยืน

ตอไป

โครงการที่ 2

โครงการวิจัยและพัฒนาเก่ียวกับโรคมะเร็ง

ในปงบประมาณ 2549 โครงการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับโรคมะเร็งไดดําเนินการวิจัย

ในหลายๆ ดานเกี่ยวกับโรคมะเร็ง ไดแก มะเร็งทอน้ําดีซ่ึงเปนปญหาสาธารณสุขท่ีสําคัญในภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยรวมมือกับศูนยวิจัยพยาธิใบไมตับและทอน้ําดี คณะแพทยศาสตร

และ มะเร็งปากมดลูก ซ่ึงเปนโรคมะเร็งท่ีพบมากในสตรีในประเทศท่ีกําลังพัฒนา โดยการวิจัย

เกี่ยวกับมะเร็งทอน้ําดีไดดําเนินการศึกษาความผิดปกติของจีนในระดับโมเลกุล (genetic

alterations) และ การดัดแปลงของจีโนมโดยกระบวนการ DNA methylation (epigenetic

alterations) โดยศึกษาความผิดปกติของจีนในโครโมโซม 1p36, 21q และ 22q ซ่ึงผลของ

การศึกษาพบวาความผิดปกติแบบ LOH และ MSI ในโครโมโซม 1p36 อยางนอยหนึ่งโลคัส

คิดเปน 75.6% และ 37.8% ตามลําดับ นอกจากนี้ยังพบวา LOH ท่ีโลคัส D1S234,

D1S2676 และ D1S2845 มีความสัมพันธกับ lymphatic และ nerve invasion รวมท้ัง MSI ท่ี

บริเวณ D1S288 มีความสัมพันธกับการพยากรณโรคท่ีไมดีของผูปวยมะเร็งทอน้ําดี (poor

prognosis) การศึกษา allelic imbalance ในโครโมโซม 21q22 ท่ีมีจีน trefoil factor family

(TFF ประกอบดวย TFF1, TFF2 และ TFF3) ในมะเร็งทอน้ําดีพบวาความผิดปกติท่ีพบสวน

ใหญเปนแบบ amplification โดยพบ amplification ท่ี TFF3 28.7% นอกจากนี้ยังพบวาผูปวย

ท่ีมี amplification บริเวณ D21S1893, D21S1890, TFF มีการพยากรณโรคที่ไมดี นอกจากนี้

ผลของ allelic imbalance ในโครโมโซม 22q แสดงใหเห็นถึง amplification ของจีน TP

(53.8%), TOB2 (43.1%), TIMP3 (36.9%) และ NF2 (36.9%) และ LOH ของจนี BIK

(40%) นอกจากนี้ยังพบวา LOH ของจีน BIK และ D22S283 มีความสัมพนัธกบั lymphatic

invasion และ amplification ของ D22S283มีความสัมพันธกับการพยากรณโรคท่ีดีของผูปวย

(favorable prognosis) การศึกษาดังกลาวแสดงใหเห็นวา ความผิดปกติท่ีเกิดข้ึนกับจีนหรือ

โลคัสตางๆในโครโมโซมมีท้ังแบบ LOH และ amplification ซ่ึงความผิดปกติเหลานี้สามารถ

นํามาใชประโยชนในการพยากรณโรคในผูปวยมะเร็งทอน้ําดีได

การศึกษาเกี่ยวกับการดัดแปลงของจีโนมโดยกระบวนการ DNA methylation ใน

มะเร็งทอน้ําดีเปนอีกการศึกษาหนึ่งท่ีชี้ใหเห็นความผิดปกติท่ีเกี่ยวของกับการควบคุมการ

แสดงออกของจีน (epigenetic gene silencing) โดยทําการศึกษาโปรโมเตอรไฮเปอรเมทธิลเล

ชันในจีนตานมะเร็ง hMLH1, p14ARF

, p15INK4b, p16INK4a และ p73 โดยวธิี methylation-

specific PCR (MSP) พบวาผูปวยมะเร็งทอน้ําดี 95.6% มีโปรโมเตอรไฮเปอรเมทธิลเลชันใน

จีนตานมะเร็งอยางนอยหนึ่งจนี และ 82.4% ของผูปวยมะเร็งทอน้ําดีมีโปรโมเตอรไฮเปอรเม

ทธิลเลชันต้ังแตสองจีนข้ึนไป นอกจากนี้ยังพบวา p53 pathway (p73 and p14ARF), cell cycle

Page 17: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

14

control (p15INK4b

การวิจัยในมะเร็งปากมดลูกไดทําการตรวจหา HPV typing โดยวิธี PCR รวมท้ัง

ตรวจหา integrated form และ episomal form ของ HPV16 ในผูปวยมะเร็งปากมดลูกดวยวิธี

quantitative real time PCR เนื่องจากการตรวจหา HPV typing มีประโยชนสําหรับการนํา

HPV vaccine มาใชเพื่อลดอุบัติการณของการเกิดมะเร็งปากมดลูกในสตรี ดังนั้นการพัฒนาวิธี

ท่ีมี high throughput สําหรับตรวจหา HPV typing จึงมีความจําเปน โดยโครงการวิจัยและ

พัฒนาเกี่ยวกับโรคมะเร็งไดพัฒนาไบโอเซ็นเซอรเพื่อตรวจหา HPV typing ในมะเร็งปาก

มดลูก ซ่ึงการพัฒนาไบโอเซ็นเซอรดังกลาวจะสามารถนํามาใชเปนตนแบบในการพัฒนา

nanochip เพื่อขยายผลในเชิงพาณิชยตอไป

) และ microsatellite instability (hMLH1) เปนเปาหมายท่ีมีการเปล่ียนแปลง

แบบ methylation ในการเกดิมะเร็งทอน้ําดี เนื่องจากกระบวนการ DNA methylation สามารถ

ผันกลับได (reversible) โดยการใหยาจําพวก demethylating agent เชน 5’ aza-cytidine ทํา

ใหจีนสามารถแสดงออกไดอีกครั้งโดยเฉพาะจีนในกลุม cell cycle arrest และ apoptosis ซ่ึง

จะทําใหผูปวยตอบสนองตอยาตานมะเร็ง ดังนั้นการตรวจหา DNA methylation profiles ของ

จีนดังกลาวในผูปวยมะเร็งทอน้ําดีจะชวยใหการรักษามีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน ดังนั้นทางกลุม

วิจัยจึงไดพัฒนาไบโอเซ็นเซอรเพื่อตรวจหา DNA methylation profiles ของจีนในกลุม cell

cycle arrest และ apoptosis ในมะเร็งทอน้ําดีเพื่อเพิ่ม throughput โดยไดรับการสนับสนุน

การวิจัยจากศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติ

โครงการฯ ไดตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติจํานวน 3 เรื่อง วารสารในประเทศ

จํานวน 1 เรื่อง เสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติจํานวน 5 เรื่องและใน

ระดับประเทศจํานวน 4 เรื่อง ไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากภายนอกประมาณ 4.7 ลานบาท

ดําเนินการจัดประชุมวิชาการทางดานมะเร็งในระดับโมเลกุลและนาโนเทคโนโลยีบรรยายโดยมี

วิทยากรจากตางประเทศและในประเทศจํานวน 3 ครั้ง และมีนักศึกษาบัณฑิตศึกษาเพิ่มข้ึนใน

โครงการจํานวน 2 คน

โครงการที่ 3

โครงการวจิัยและพัฒนาภูมิคุมกันระดับโมเลกุลและการปลกูถาย อวัยวะ

และเน้ือเยื่อ

การศึกษาทางดานภูมิคุมกันพันธุศาสตรในโรคมะเร็งปากมดลูกและการปลูกถายไข

กระดูก ในการศึกษาจีน MIC ซ่ึงเปนจีนในกลุม NKG2D ligands ทําหนาที่ในการกระตุนทาง

ภูมิคุมกัน กลุมจีนดังกลาวประกอบดวย MICA และ MICB ซ่ึงมีความหลากหลาย กลุมวจิัยได

พัฒนาเทคนิคในการตรวจสอบอัลลีลของจีนท้ังสองในระดับดีเอ็นเอโดยวิธี PCR-SSP (MICA:

Romphruk et al. 2004, MICB: Jumniansong et al. in revision) โดยไดศึกษาความ

หลากหลายของจนีดังกลาวในโรคมะเรง็ปากมดลูก (Jumniansong A, Jearanaikoon P,

Khahmahpahte S, Chonanant C, Romphruk AV, Chumworathayi B, Romphruk A and

Page 18: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

15

Leelayuwat C. Association of the polymorphic extracellular domains of MICB with

cervical cancer patients in northeastern Thais: Identification of a functional MICB motif

influencing in NKG2D binding Submitted to Clin Exp Immunol และ Jumnainsong, A,

Romphruk, AV, Jearanaikoon, P, Klumkrathok, K, Romphruk, A, Luanrattanakorn S

and Leelayuwat, C. Association of the extracellular domain polymorphisms of MICA

with cervical cancer patients in northeastern Thais . Submitted to Tissue Antigens)

โดยไมพบความสัมพันธในปจจัยเส่ียงอยางชัดเจนตอความหลากหลายของจีนดังกลาว อยางไร

ก็ตามการศึกษาดังกลาวไดชี้แนะถึง motifs ท่ีอาจสัมพันธกับการทํางานท่ีมากข้ึน โดยพบ

บางอลัลีลของ MICB นอยในผูปวยอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ จากการศึกษาความสามารถของ

การเปล่ียนแปลงลําดับเบสดีเอ็นเอในอัลลีลดังกลาวของ MICB พบวามีผลตอการจับกบั

NKG2D receptor และการกระตุน NK cells

การนําเทคนิคในการตรวจสอบความหลากหลายของจีน MICA และ MICB ไป

ประยุกตในการศึกษาผูปวยปลูกถายไขกระดูกพบวา การทํา MICA และ MICB typing จะชวย

ใหการคัดเลือกผูบริจาคไดดีข้ึนและมีผลตอการรอดชีวิตของผูปวย (Kitcharoen, K, Witt, CS,

Romphruk, AV, Christiansen, FT and Leelayuwat, C. MICA, MICB and MHC beta

block matching in bone marrow transplantation: Relevance to transplantation

outcome. Human Immunology 67:238-246, 2006.)

การศึกษาภูมิคุมกันในโรคติดเชื้อ

การศึกษาในหนูท่ีติดเชื้อ Burkholderia pseudomallei พบบทบาทของ T cells ท้ัง

ในชวงแรกในลักษณะ innate และชวงหลังของติดเชื้อ (Ashraful Haque, Anna Easton,

Debbie Smith, Anne O’Garra, Nico van Rooijen, Ganjana Lertmemongkolchai, Richard

W Titball and Gregory J Bancroft. The role of T cells in innate and adaptive immunity

against murine Burkholderia pseudomallei infection. J Infect Diseases 193: 370-9,

2006) บทบาทท่ีสําคัญของ T cells ก็พบในการศึกษาในคนเชนกัน

การศึกษารองรอยการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ซี และจี ในผูบริจาคโลหิตของคนไทยอิ

สาน พบการติดเชื้อรวมกันไดสูงในกลุมประชากรดังกลาว (Barusrux S and Urwijitraroon Y.

High prevalence of HGV coinfection with HBV or HCV among northeastern Thai blood

donors. Southeast Asian J Trop Med Pub Health 2006; 37: 289-293.

Page 19: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

16

โครงการที่ 4

มีผลการศึกษาวิจัยในดานตางๆ ดังตอไปน้ี

โครงการวจิัยและพัฒนาวิธีการตรวจทางหองปฏิบัติการเพ่ือ วินิจฉัยโรคติด

เชื้อ

1. การผลิตวัคซีนเชื้อเปนที่ทําใหออนแรงโดยทราบหลักการสําหรับโรคเมลิออยโดซิส

โดยการผลิตเชื้อ aro C mutant และ pan C mutant ของ B. pseudomallei ที่ทําตอเน่ืองมา

สาํเร็จแลวโดยไดผลคือเชื้อที่ไดจาก aro C mutant จะออนแรงในหนูทดลอง แต pan C

mutant ไมทาํใหหนูทดลองออนแรง

2. การวิเคราะหจีโนไทมของไวรัสตับอักเสบซี ในเลือดผูบริจาคโลหิต จังหวัดขอนแกน

โดยวิธ ีdirect sequencing และ polygenic analysis ในสวน ของcore region พบวาไวรัส

ตับอักเสบซี มี จีโนไทม 3a เปนสวนใหญ

3. การศึกษาความชุกของเอ็นไซม Amp C, B- lactamase ใน Escherichia coli และ

Klebsiella pneumoniae ที่แยกไดจากผูปวยโรงพยาบาลศรีนครินทร พบอัตราความชุก

รอยละ 3 ใน E. coli และรอยละ 0.8 ใน K. pneumoniae แมวาอัตราความชุกยังตํ่ามาก

แตเปนสาเหตุหน่ึงที่ทําใหเชื้อด้ือตอยากลุม extended spectrum cephalosporin

4. การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมและยีนด้ือยาในเชื้อ Stenotrophomonas

maltophilia ที่แพรกระจายในโรงพยาบาลศรีนครินทร และการศึกษาความหลากหลาย

ทางพันธุกรรมของ methicillin-resistance Staphylococcus aureus และยีนกอโรค

5. พัฒนาการตรวจวินิจฉัยเชื้อ Pythium insidiosum ดวยวิธ ีsemi-nested polymerase chain

reaction เพื่อใชไดกับสิ่งสงตรวจโดยตรงและประดิษฐเปนชุดตนแบบสําหรับพัฒนาไป

ใชเพื่อตวามสะดวกของหองปฏิบัติการอ่ืนๆตอไป

6. ไดพฒันา shuttle vector สําหรับใชกับเชื้อ B. pseudomallei โดยการ delete สวนที่ไม

จําเปนใน vector เพื่อใหมีขนาดเล็กที่สุดเทาที่จะเปนไปไดเสร็จแลวสามารถนําไปใชใน

งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการผลิตวัคซีนเชื้อเปนของโรคเมลิออยโดซิสตอไป

7. การศึกษา biofilm พบวา B. pseudomallei ผล ิต biofilm ไดมากกวา B. thailandensis

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ P ≤ 0.01 และสายพันธ B. pseudomallei ที่สราง biofilm

ปริมาณมากจะสรางextracellular slime matrix มากกวาสายพันธที่ทําใหเกิด Tn5-OT182

mutagenesis แตการทดลองใน BALB/c miceไมพบความสัมพันธระหวางความรุนแรง

ของโรคกับการเกิด biofilm

Page 20: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

17

3. สรุปรายงานการใชจายเงนิงบประมาณ 2549

ศวป. ไดใชจายเงินงบประมาณตามแผนงาน วงเงนิรวม 4,700,000.00.- บาท ดังน้ี

รายการ จาํนวนเงิน

(บาท)

1. แผนงานบริหารจัดการ ศวป.

1.1 จัดประชุมคณะกรรมการอํานวยการ 1 คร้ัง / ป 12,000.00

1.2 จัดประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย 10 คร้ัง / ป 2,500.00

1.3 คาจางเจาหนาที่ธุรการประจําศูนย จํานวน 1 อัตรา อัตรา 7,630 บาท / เดือน 91,560.00

(จํานวน 12 เดือน)

1.4 คาใชจายในการพัฒนาและเก็บรักษาโฮมเพจ 3,000.00

1.5 คาใชจายในการจัดประชุมกลุมโครงการวิจัยยอย 4 โครงการ 40,000.00

1.6 คาใชจายในการจัดประชุมวิชาการโครงการยอย 4 โครงการ 100,000.00

1.7 คาใชจายในการจัดประชุมถายทอดเทคโนโลยี 25,000.00

1.8 คาจัดทํารายงานประจําป 10,000.00

1.9 คาใชจายอ่ืน ๆ ไดแก คาวัสดุสํานักงาน คาถายเอกสาร 21,620.00

และคาบริหารจัดการของศูนย

รวม 305,680.00

2. แผนงานสนับสนุนบัณฑิตศึกษา

- จัดสรรทุนผูชวยวิจัยสําหรับนักศึกษาที่ปฏิบัติงานวิจัยภายใต

โครงการวิจัยยอยของ ศวป.

2.1 ทุนตอเนื่องระดับปริญญาโท 10 ทุน ๆ ละ 91,560.- บาท (เดือนละ 7,630x12) 915,600.00

2.2 ทุนนักศึกษาใหม ระดับปริญญาโท 12 ทุน ๆ ละ 91,560.- บาท (เดือนละ

7,630x12) 1,098,720.00

รวม 2,014,320.00

Page 21: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

18

รายการ จาํนวนเงิน

3. แผนงานสนับสนุนโครงการวิจัยของ ศวป.

3.1 สนับสนุนเพื่อสมทบคาวัสดุวิทยาศาสตรและสารเคมี โครงการวิจัยยอย 1,200,000.00

ของ ศวป. จํานวน 4 โครงการ โครงการละ 300,000.- บาท *

3.2 สนับสนุนคาใชจายสมทบในการไปประชุมวิชาการเพื่อเสนอผลงานวิจัย 400,000.00

วิจัยระดับชาติ / นานาชาติ ของนักวิจัยภายใตโครงการวิจัยยอยของ ศวป.

จํานวน 4 โครงการ โครงการละ 100,000.- บาท *

3.3 สนับสนุนคาใชจายสมทบเพื่อการตีพิมพเผยแพรผลงานวิจัยในวารสาร 80,000.00

วิชาการนานาชาติ โครงการวิจัยยอยของ ศวป. จํานวน 4 โครงการ

โครงการละ 20,000.- บาท *

รวม 1,680,000.00

4. แผนงานจัดหาครุภัณฑ 700,000.00

- เคร่ืองบันทึกและวิเคราะหภาพจากเจลพรอมโปรแกรมวิเคราะหขอมูล 350,000.00

- เคร่ืองปนเหว่ียงแบบต้ังโตะควบคุมอุณหภูมิพรอมอุปกรณ 350,000.00

รวม 700,000.00

รวมทั้งสิ้น (สี่ลานเจ็ดแสนบาทถวน) 4,700,000.00

* โครงการวิจัยยอยของ ศวป. 4 โครงการ ประกอบดวย

โครงการท่ี 1 โครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อการควบคุมและปองกันโรคธาลัสซีเมีย

โครงการท่ี 2 โครงการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับโรคมะเร็ง

โครงการท่ี 3 โครงการวิจัยและพัฒนาภูมิคุมกันระดับโมเลกุลและการปลูกถายอวัยวะและเน้ือเยื่อ

โครงการท่ี 4 โครงการวิจยัและพัฒนาวิธีการทางหองปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัยโรคติดเชื้อ

Page 22: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

19

4. ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ

การดําเนินการวิจัยเชิงวิชาการในสวนของแตละโครงการวิจัยยอยของ ศวป. ทุก

โครงการ ไมมีปญหาแตประการใด สามารถดําเนินการและมีความกาวหนาของงานวิจัยเปนที่

นาพอใจ ผลงานโดยรวมเปนไปตามเปาหมายทีว่างไว อยางไรก็ตามทุกโครงการเห็นตรงกันวา

สมควรเสนอใหมหาวิทยาลัยปรับเปลีย่นเกณฑ KPI ของศูนยวิจัยเฉพาะทางใหมใหมีความ

เหมาะสมย่ิงข้ึน โดยมุงเนนท่ีผลงานวิจัยในระดับสากลเปนหลัก เพราะเปนส่ิงสําคัญท่ีจะนําไปสู

การเปน excellence center ไดตอไป ไมควรนําเอาผลงานวิจัยระดับรองๆและโดยเฉพาะอยาง

ยิง่ไมควรนําเอางานบริการทางวิชาการมาเปน KPI สําคัญของศูนยวิจัยเฉพาะทางเพราะจะทํา

ใหการมุงสูการเปนศูนยแหงความเปนเลิศดานการวิจัยทําไดไมดีเทาที่ควร นอกจากนีค้วรเปด

โอกาสใหสามารถนําผลงานตีพิมพในระดับนานาชาติชดเชยการตีพิมพในประเทศได เนื่องจาก

ผลงาวิจัยสวนใหญของศูนยวิจัยเฉพาะทางควรมุงเนนการตีพิมพเผยแพรในระดับสากลเปน

หลัก อุปสรรคสําคัญทีทํ่าใหการดําเนินงานยังประสบปญหาอยูบาง คือ ระบบการเบิกและใช

จายเงินงบประมาณ ซ่ึงมีข้ันตอนและเกีย่วของกับเอกสารตางๆจํานวนมาก ใชเวลาในการ

ทํางานดานเอกสารมากเกินความจําเปน อยางไรก็ตามในปงบประมาณ พ.ศ. 2549 ศวป.

สามารถปรับยอดและหักลางการใชจายเงินงบประมาณกับกองคลังไดมีประสิทธิภาพมากกวาป

ท่ีผานๆมา

Page 23: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

20

รายละเอยีด

ผลการดําเนินงานตาม KPI ประจําปงบประมาณ 2549

(ตุลาคม 2548 - กนัยายน 2549)

Page 24: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

21

I. การตีพิมพผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ จํานวน 18 เรื่อง

1. Fucharoen S, Panyasai S, Surapot S, Fucharoen G, Sanchaisuriya K. Compound

heterozygote state for

โครงการท่ี 1

GγAγ(δβ)o-thalassemia and hereditary persistence of fetal

hemoglobin. Am J Hematol 2005; 80: 119-123.

2. Fucharoen G, Trithipsombat J, Sirithawee S, Yamsri S, Changtrakul Y,

Sanchaisuriya K, Fucharoen S. Molecular and hematological profiles of hemoglobin

EE diseases with dufferent forms of α-thalassemia. Ann Hematol 2006; 85: 450-

454.

(เปน Paper in press ในรายงาน

ประจําป พ.ศ. 2548)

3. Jetsrisuparb A, Sanchaisuriya K, Fucharoen G, Fucharoen S, Wiangnon S,

Jetsrisuparb C, Sirijirachai J, Chansoong K. Development of severe anemia during

fever episodes in patients with hemoglobin E trait and hemoglobin H disease

combinations. J Pediatr Hematol Oncol 2006; 28: 249-253.

4. Sanchaisuriya K, Fucharoen S, Ratanasiri T, Sanchaisuriya P, Fucharoen G, Dietz E,

Schelp FP. Thalassemia and hemoglobinopathies rather than iron deficiency are

major causes of pregnancy-related anemia in northeast Thailand. Blood Cells Mol

Dis 2006; 37: 8-11.

5. Tungwiwat W, Fucharoen S, Fucharoen G, Ratanasiri T, Sanchaisuriya K.

Development and application of a real time quantitative PCR for detection of fetal

αo

6. Siriratmanawong N, Pinmuang-ngam C, Fucharoen G, Fucharoen S. Prenatal

diagnosis of Hb Bart’s hydrops fetalis caused by a genetic compound heterozygosity

for two different α

-thalassemia from maternal plasma. Ann NY Acad Sci 2006 (in press)

o

7. Sae-ung N, Fucharoen G, Sanchaisuriya K, Fucharoen S. α

– thalassemia determinant. Fetal Diagn Ther 2006 (in press) o-thalassemia and related

disorders in northest Thailand: a molecular and hematological characterization. Acta

Hematol 2006 (in press)

Page 25: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

22

8. Fucharoen S, Singsanan S, Hama A, Fucharoen G, Sanchaisuriya K. Rapid molecular

characterization of Hb Queens and Hb Siam: two variants easily misidentified as

sickle Hb. Clin Biochem 2006 (in press)

9. Ratanasiri T, Charoenthong C, Komwilaisak R, Changtrakul Y, Fucharoen S,

Wongkham J, Kleebhaow P, Seejorn K. Prenatal prevention for sever thalassemia

disease at Srinagarind hospital. J Med Ass Thai 2006 (in press)

10. Fucharoen G, Fucharoen S, Singsanan S, Sanchaisuriya K. Coexistence of Southeast

Asian Ovalocytosis and β-thalassemia trait: a molecular and hematological analysis.

Am J Hematol 2006 (in press)

11. Limpaiboon T, Tapdara S, Jearanaikoon P, Sripa B, Bhudhisawasdi V. Prognostic

significance of microsatellite alterations at 1p36 in cholangiocarcinoma. World J

Gastroenterol 2006; 12(27): 4377-4382.

โครงการท่ี 2

12. Thanasai J, Limpaiboon T, Jearanaikoon P, Bhudhisawasdi V, Khuntikeo N, Sripa B,

Miwa M. Amplification of D22S283 as a favorable prognostic indicator in liver fluke

related cholangiocarcinoma. World J Gastroenterol 2006; 12(27): 4338-4344.

13. Muenphon K, Limpaiboon T, Jearanaikoon P, Pairojkul C, Sripa B, Bhudhisawasdi

V. Amplification of chromosome 21q22.3 harboring trefoil factor family genes in

liver fluke related cholangiocarcinoma is associated with poor prognosis. World J

Gastroenterol 2006; 12(26):4143-4148.

14. Korbsrisate S, Vanaporn M, Kerdsuk P, Kespichayawattana W, Vattanaviboon P,

Kiatpapan P, Lertmemongkolchai G. The Burkholderlia pseudomallei RpoE (AlgU)

operon is involved in environmental stress tolerance and biofilm formation. FEMS

Microb Letters 2005; 252: 243 – 249.

โครงการท่ี 3

15. Haque A, Easton A, Smith D, O’Garra A, van Rooijen N, Lertmemongkolchai G,

Titball RW, Bancroft GJ. The role of T cells in innate and adaptive immunity against

(เปน Paper in press ในรายงานประจาํป พ.ศ.

2548)

Page 26: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

23

murine Burkholderia pseudomallei infection. J Infect Diseases 2006; 193: 370-

379.

16. Kitcharoen, K, Witt, CS, Romphruk, AV, Christiansen, FT, Leelayuwat, C. MICA,

MICB and MHC beta block matching in bone marrow transplantation: Relevance to

transplantation outcome. Human Immunol 2006; 67: 238-246.

(เปน Paper in press ในรายงานประจําป พ.ศ. 2548)

17. Barusrux S, Urwijitraroon Y. High prevalence of HGV co-infection with HBV or

HCV among northeastern Thai blood donors. Southeast Asian J Trop Med Pub

Health 2006; 37: 289-293.

18. Rowland CA, Lertmemongkolchai G, Bancroft G, Haque A, Lever MS, Griffin KF,

Jackson MC, Nelson M, O’Garra A, Grencis R, Bancroft GJ, Lukaszewski RA.

Critical role of type 1 cytokines in controlling initial infection with Burkholderlia

mallei. Infection and Immunity 2006; 74: 5333-5340.

โครงการท่ี 419. Taweechaisupapong S, Kaewpa C, Arunyanat C, Kanla P, Homchampa P, Sirisinha,

Proungvitaya T, Wongratanacheewin S. Virulence of Burkholderia pseudomallei

does not correlate with biofilm formation. Microbial Pathogenesis 2005; 39: 77-

85.

20. Chaiprasert A, Prariyachatkul C, Srimuang S. Penicillium marneffei. Encyclopedia

of Medical Genomics and Proteomics, Taylor & Francis Group, Frankfurt,

Germany, 2006.

(เปน Paper in press ในรายงานประจําป พ.ศ. 2548)

21. Reechaipichitkul W, Lulitanond V, Sawanyawisuth K, Lulitanond A, Limpawatthana

P. Etiologies and treatment outcomes for out-patients with community-acquired

pneumonia (CAP) at Srinagarind hospital, Khon Kaen, Thailand. Southeast Asian J

Trop Med Public Health 2005; 36: 1261-1267.

(เปน Paper in press ในรายงานประจําป พ.ศ. 2548)

22. Thammalangsy S, Sihavong A, Phouthavong T, Sayabounthavong K,

Puapermpoonsiri S, Kitiyaporn D, Gallway J, Rowe P. The prevalence of lower

genital tract infections among ante-natal care (ANC) clinic patients in two central

hospitals, Vientiane, Lao People’s Democratic Republic. Southeast Asian J Trop

Med Public Health 2006; 37: 190-199.

Page 27: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

24

23. Wilailuckana C, tribuddharat C, Tiensasitorn C, Pongpech P, Neanna P, Rugdeekha

S, Dhiraputra C, Danchaivijitr S. Discriminatory powers of molecular typing

techniques for methicillin-resistance Staphylococcus aureus in a university hospital,

Thailand. Southeast Asian J Trop Med Public Health 2006; 37: 327 - 334.

สรุป มผีลงานวิจัยที่ตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ รวม 23 เร่ือง เปน Paper in press ในรายงานป พ.ศ. 2548 จํานวน 5 เร่ือง เปนผลงานใหมในปงบประมาณ พ.ศ. 2549 จํานวน 18 เรื่อง

(ดูรายละเอียดสําเนาบทความไดในภาคผนวกทายเลม)

Page 28: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

25

II. นวัตกรรม ทรพัยสนิทางปญญา เทคโนโลยีใหม สิ่งประดิษฐ

ตนแบบ จํานวน 2 เรื่อง

ท่ี รายการ ชนิด ผูประดิษฐ

1 กรรมวิธีการตรวจวัดปริมาณฮีโมโกลบินเอสองและ

ฮีโมโกลบินอีในเลือดดวยคอลัมนโครมาโตรกราฟ

ขนาดเล็ก

อนุสิทธิบัตร

เลขทีค่ําขอ

0603000039

กุลนภา ฟูเจรญิ

สุพรรณ ฟูเจริญ

2 โปรแกรมคอมพิวเตอรชวยแปลผลการตรวจทาง

หองปฏิบัติการและประเมินคูเส่ียงตอการมีบุตรเปน

โรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง

ลิขสิทธ์ิ

(แจงขอมูลวันที่

16 มิถุนายน 2549)

นายยศสมบัติ จังตระกูล

นายสุชาติ ยูระทัย

นางดวงฤดี จังตระกูล

นางกนกวรรณ แสนไชยสุรยิา

นางกุลนภา ฟูเจริญ

นายสุพรรณ ฟูเจริญ

(โปรดดูเอกสารแนบทายในภาคผนวก)

Page 29: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

26

III. จํานวนเงินทนุภายนอกที่ไดรับการสนับสนนุ จํานวน 17,186,981.95 บาท

ท่ี ช่ือโครงการ (หัวหนาโครงการ) แหลงทุน จํานวนเงนิ (บาท)

1 กองทนุกลุมวิจัยธาลัสซีเมีย คณะเทคนคิการแพทย

มข. (ยอดจดัสรรสวนแบงรายรับจากการดาํเนนิงาน

ผลิตน้ํายาจาํหนายเชิงพาณิชยและใหบรกิารทาง

วิชาการ สะสมถึงเดอืนสิงหาคม 2549)

(รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ)

สถานบรกิารสุขภาพเทคนคิ

การแพทยและกายภาพบาํบดั

2,155,832.95.-

2 การจาํแนกการแสดงออกของจนีทีเ่ก่ียวของในการ

พัฒนาคอนโดรไซทจากเซลลตนกําเนิด

(รศ.ดร.เต็มดวง ล้ิมไพบูลย)

สํานกังานคณะกรรมการวิจัย

แหงชาติ (วช)

1,735,000.-

3 การพัฒนาไบโอเซนเซอรเพ่ือตรวจวิเคราะห DNA

methylation profiles ของจีนที่เก่ียวของกับ cell cycle

arrest และ apoptosis signaling

(รศ.ดร.เต็มดวง ล้ิมไพบูลย)

ศูนยนาโนเทคโนโลยี

สวทช.

2,500,000.-

4 การตรวจระดับของเอนไซมดิสอินทิกริน/เมทัลโล

โปรตีเนส (ADAMs) ในซีรัมของผูปวยมะเรง็ทอน้ําด ี

(ดร.จุรีรัตน ดาดวง)

สกว. 480,000.-

5 The role of bystander T cells in human immunity to

dengue infection

(ผศ.ดร.กาญจนา เลิศมีมงคลชัย)

T2 program

(WHO – NSTDA-TRF)

862,966.- / ป

6 Scanning the B. pseudomallei proteome for vaccine

antigens (2004-2009)

(ผศ.ดร.กาญจนา เลิศมีมงคลชัย)

NIH, USA 7,753,183.- / ป

7 Production and evaluation of molecular HLA typing

kit for matching of tissue and organ transplantations

(ผศ.ดร.ชาญวิทย ลีลายุวัฒน)

โครงการนาโนเทคโนโลยี

บรูณาการ

สภาวิจยัแหงชาติ

1,000,000.-

8 เมธีวจิยั สกว. (รศ.ดร.จุฬารัตน ปริยชาติกุล) สกว. 700,000

9 ปรญิญาเอก กาญจนาภิเษก รุนที ่8 จํานวน 3 ทุน

รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

รศ.ดร.เต็มดวง ล้ิมไพบูลย

ผศ.ดร.ชาญวิทย ลีลายุวัฒน

สกว. ~

10 ทนุปรญิญาเอกมหาวิทยาลัยอุบลราชธาน ี 1 ทุน

(นายสุรศักดิ์ แวนรมัย)

มหาวิทยาลัยอุบลราชธาน ี ~

รวม 17,186,981.95.-

Page 30: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

27

IV. การตีพิมพในวารสารในประเทศ จํานวน 12 เรื่อง นิพนธตนฉบับผลงานวจิยั จํานวน 7 เรื่อง

1. ยศสมบัติ จังตระกูล, ธีรวัฒน คําแกว, กุลนภา ฟูเจริญ, อรุณี เจตศรีสุภาพ, กนกวรรณ

แสนไชยสริุยา, สุทธพิรรณ กจิเจริญ, สุพรรณ ฟูเจริญ. ระดับฮีโมโกลบนิเอสองโดย

เคร่ืองวิเคราะหฮีโมโกลบนิอัตโนมัติ: ผลการศึกษาที่โรงพยาบาลศรีนครินทร

มหาวิทยาลัยขอนแกน. วารสารเทคนิคการแพทย 2548; 33: 1244-1251.

โครงการท่ี 1

2. รสริน การเพยีร, สุมาลี อบเชย, กุลนภา ฟูเจริญ, ยศสมบัติ จังตระกูล, ดวงฤดี จัง

ตระกูล, สุทธิพรรณ กิจเจริญ, กนกวรรณ แสนไชยสริุยา, สุพรรณ ฟูเจริญ.

ความสัมพันธของอัลฟาธาลัสซีเมียจีโนไทปกับปริมาณฮีโมโกลบินบารทส และเอชที่

ตรวจวัดดวยเคร่ืองวิเคราะหฮีโมโกลบินอัตโนมัติในผูปวยโรคฮีโมโกลบนิเอช.

วารสารเทคนิคการแพทยและกายภาพบําบัด 2549; 18: 17-23.

(เปน Paper

in press ในรายงานประจําป พ.ศ. 2548)

3. สุทธิพรรณ กิจเจริญ, วุฒิชัย สุขสนิท, ธัญวรัตน ปยะพงษกุล, ยศสมบัติ จังตระกูล,

กนกวรรณ แสนไชยสริุยา, ณัฐยา แซอ้ึง, กุลนภา ฟูเจริญ. การศึกษาเปรียบเทียบ

ปริมาณฮีโมโกลบินบารทสและเอชที่ตรวจวัดดวยเคร่ืองวิเคราะหฮีโมโกลบนิ

อัตโนมัติกับการชะลางออกจากแผนเซลลูโลสอะซีเตทที่แยกดวยกระแสไฟฟา.

วารสารเทคนิคการแพทยและกายภาพบําบัด 2549; 18: 51-59.

4. ยศสมบัติ จังตระกูล, สุชาติ ยูระทัย, ดวงฤดี จังตระกูล, กุลนภา ฟูเจริญ, กนกวรรณ

แสนไชยสริุยา, สพุรรณ ฟูเจริญ. โปรแกรมคอมพิวเตอรชวยแปลผลและประเมินคู

เสี่ยงตอการมีบุตรเปนโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง. วารสารเทคนิคการแพทยและ

กายภาพบําบัด 2549; 18: 68-75.

5. ถนอม นิตะโคตร, บัญชา จันสิน, อําพร ไตรภัทร, กุลนภา ฟูเจริญ, สุพรรณ ฟูเจริญ.

การตรวจหาดีเอ็นเอของหมใูนอาหารสาํเร็จรูป. วารสารเทคนิคการแพทย 2549 (in

press)

6. สุรศักด์ิ แวนรัมย, เต็มดวง ลิ้มไพบูลย, ชาญวิทย ลีลายุวัฒน, พิสมัย ยืนยาว, สงวนโชค

ลวนรัตนากร, พัชรี เจีนรนัยกูร. การพฒันาวิธตีรวจหา integrated HPV 16 ในมะเร็ง

ปากมดลูกดวยเทคนิค multiplex quantitative PCR. วารสารเทคนิคการแพทยและ

กายภาพบําบัด 2549 (in press)

โครงการท่ี 2

Page 31: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

28

โครงการท่ี 3 -

โครงการท่ี 4

7. อรุณลักษณ ลุลิตานนท, อรุณวดี ชนะวงศ, พิพัฒน ศรีเบญจลักษณ, ภูมิพันธ พงศชาญ

วิทย, สรินทรญา พึ่งเทียน. สปชีสของเชื้อ coagulase positive Staphylococus ทีแ่ยกได

จากสิ่งสงตรวจของผูปวย. วารสารเทคนิคการแพทยและกายภาพบําบัด. 2548; 17:

39-46.

8. สุภาภรณ พัวเพิ่มพูนศิริ, จุฬารัตน ปริยชาติกุล, เกษแกว เพียรทวี, ลําไย วงละคร, โชค

ชัย วิลาชัย, จันทรเพ็ญ บัวเผื่อน. การใชอาหารเลีย้งเชื้อ Lipovittalin mannitol salt agar

supplemented with oxacillin ตรวจหาเชื้อ methicillin resistant Staphylococcus aureus

โดยตรงจากสิ่งสงตรวจทางคลินิก. วารสารวิจัย มข. 2548; 10: 54-60.

บทความทางวิชาการ จํานวน 5 เรื่อง โครงการท่ี 1

1. สุพรรณ ฟูเจริญ, วารุณี ต้ังวิวัฒน. ดีเอ็นเอทารกในพลาสมาแมและการประยุกตใชใน

การตรวจวินิจฉัยทารกในครรภโรคธาลัสซีเมีย. วารสารเทคนิคการแพทยและ

กายภาพบําบัด 2549; 18: 3-9.

2. กุลนภา ฟูเจริญ. การบริหารจัดการงานวิจัย: แนวปฏิบัติสําหรับนักวิจัย. วารสารเทคนิค

การแพทยและกายภาพบําบัด 2549; 18: 10-16.

3. สุพรรณ ฟูเจริญ. การไปตรวจเยี่ยมคณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยซายนมาเลเซีย.

วารสารเทคนิคการแพทยและกายภาพบําบัด 2549; 18: 76-80.

4. สุพรรณ ฟูเจริญ. โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย แนวทางการควบคุมและปองกันโรค.

วารสารสํานักบริหารการวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแกน 2549; 1: 16-18.

5. สุพรรณ ฟูเจริญ. ศูนยวิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการทางการ

แพทย (ศวป.): ศูนยความเปนเลิศดานการวิจัย คณะเทคนิคการแพทย

มหาวิทยาลัยขอนแกน. วารสารเทคนิคการแพทยและกายภาพบําบัด 2549; 18: 21-30.

(ดูรายละเอียดสําเนาบทความไดในภาคผนวกทายเลม)

Page 32: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

29

V. การเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ จํานวน 29 เรื่อง

โครงการท่ี 1

1. Fucharoen G, Fucharoen S, Sanchaisuriya K, Sae-ung N, Karnpean R, Obchoei

S. Coexistence of Southeast Asian Ovalocytosis (SAO) and β-thalassemia trait :

implication for population screening. Paper presented at 10

th International

Conference on Thalassemia and Hemoglobinopathies & 12th

2. Sanchaisuriya K, Fucharoen S, Rattanasiri T, Fucharoen G, Sanchaisuriya P,

Phurisawat W, Phusawngsun A. Hematologic index cutoffs for thalassemia

screening in pregnant Thai women. Paper presented at 10

International TIF

Conference for Thalassemia patients and parents. 7-10 January 2006, Dubai ,

United Arb Emirates. (Poster presentation)

th International

Conference on Thalassemia and Hemoglobinopathies & 12th

3. Sae-ung N, Chaibunruang A, Pornphannukool S, Fucharoen G, Sanchaisuriya K,

Fucharoen S. Effectiveness of the screening tests for detection of α-Thalassemia

1 carrier. Paper presented at 10

International TIF

Conference for Thalassemia patients and parents. 7-10 January 2006, Dubai ,

United Arb Emirates. (Poster presentation)

th International Conference on Thalassemia and

Hemoglobinopathies & 12th

4. Tungwiwat W, Fucharoen G, Fucharoen S, Ratanasiri T, Sanchaisuriya K, Sae-

ung N. Non-invasive prenatal detection of common fetal Thalassemia genes in

Southeast Asia. Paper presented at 10

International TIF conference for Thalassemia

patients and parents. 7-10 January 2006, Dubai , United Arb Emirates. (Poster

presentation)

th International Conference on Thalassemia

and Hemoglobinopathies & 12th

5. Fucharoen G, Tungwiwat W, Fucharoen S, Ratanasiri T, Sanchaisuriya K. Non-

invasive prenatal detection of fetal sex and thalassemia genes by analysis of

DNA from maternal plasma. Paper presented at the XIX

International TIF conference for Thalassemia

patients and parents. 7-10 January 2006, Dubai, United Arb Emirates. (Poster

presentation)

th International

Page 33: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

30

Symposium on Technological Innovations in Laboratory Hematology, 25-28

April 2006, NH Grand Hotel Krasnapolsky , Amsterdam, The Netherlands. (Oral

presentation)

6. Jetsrisuparb A, Fucharoen G, Fucharoen S, Sanchaisuriya K, Kijcharoen S,

Wiangnon S, Chainansamit S. Factors affecting the severity of Hb E β-

Thalassemia in parents of E β-Thalassemia pediatric patients. Paper presented at

the XIXth

7. Fucharoen S, Singasanan S, Hama A, Fucharoen G, Sanchaisuriya K. Rapid

molecular characterization of Hb Queens and Hb Siam: two variants easily

misidentified as Sickle Hb. Paper presented at the XIX

International Symposium on Technological Innovations in Laboratory

Hematology, 25-28 April 2006, NH Grand Hotel Krasnapolsky, Amsterdam, The

Netherlands. (Poster presentation)

th International

symposium on Technological Innovations in Laboratory Hematology, 25-28

April 2006, NH Grand Hotel Krasnapolsky, Amsterdam, The Netherlands.

(Poster presentation)

8. Limpaiboon T, Prakrankamanant P, Tussakhon I, Chinnasri P, Jearanaikoon P,

Pairojkul C, Sripa B, Bhudhisawasdi V. Aberrant methylation of p15INK4B and

p14ARF and deletion of p16INK4A are frequent events in liver fluke related

cholangiocarcinoma. Paper presented at The Cell Signaling World 2006 Signal

Transduction pathways as therapeutic targets, Kirchberg, Luxembourg, 25-28

January 2006 (Poster presentation)

โครงการที ่2

9. Jearanaikoon P, Cheupratoom P, Limpaiboon T, sripa B, Leelayawat C,

Bhudhisawasdi V. Multiple isoforms of delta Tap73 transcripts accumulate in

liver fluke related cholangiocarcinoma. Paper presented at The Cell Signaling

World 2006 Signal Transduction pathways as therapeutic targets, Kirchberg,

Luxembourg, 25-28 January 2006 (Poster presentation)

10. Limpaiboon T, Prakrankamanant P, Kamgate N, Chaopatchayakul P, Tussakhon

I, Khaenam P, Jearanaikoon P, Sripa B, Bhudhisawasdi V. Promoter

hypermethylation of genes in p53 pathway is the frequent event in liver fluke

related cholangiocarcinoma. UICC World Cancer Congress 2006, Washington

DC, 8-12 July 2006 (Poster presentation)

Page 34: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

31

11. Jearanaikoon P, Limpaiboon T, Wanrum S, Leelayawat C, Puapairoj A.

Impaired MHC class I antigen surface expression demonstrated as the major

event for loss of immune surveillance in cervical caner is unlikely due to down

regulation of heavy chain and B2M expression. UICC World Cancer Congress

2006, Washington DC, 8-12 July 2006 (Poster presentation)

12. Khaenam P, Limpaiboon T, Jearanaikoon P, Sripa B, Pairojkul C,

Bhudhisawasdi V. Epigenetic inactivation is a preferential mechanism for

silencing Riz1 in cholangiocarcinoma. UICC World Cancer Congress 2006,

Washington DC, 8-12 July 2006 (Poster presentation)

13. Leelayuwat C, Kitcharoen K, Witt CS, Romphruk AV and Christiansen FT.

Improved MHC genomic matching in bone marrow transplantation: MIC and

MHC block matching improve survival. The 14th International HLA and

Immunogenetics Workshop and Australian Society of Immunology Joint

Conference, Melbourne, Australia, 28 November 2005 - 8 December 2005 (Oral

presentation)

โครงการท่ี 3

14. Kitcharoen K, Romphruk AV, Witt CS, Christiansen FT, Leelayuwat C. The

Killer Cell Immunoglobulin-like Receptor (KIR) haplotypes in Northeastern

Thais: Three novel KIR haplotypes. The 14th International HLA and

Immunogenetics Workshop and Australian Society of Immunology Joint

Conference, Melbourne, Australia, 28 November 2005 - 8 December 2005 (Oral

presentation)

15. Barusrux S, Raroengjai S, Jumnainsong A, Klumkrathok K, Leelayuwat C.

Allelic MICA mutant production by site directed mutagenesis. The 14th

International HLA and Immunogenetics Workshop and Australian Society of

Immunology Joint Conference, Melbourne, Australia, 28 November 2005 - 8

December 2005 (Oral presentation)

16. Romphruk A, Wongkam S, Puapairoj C, Romphruk A, Puapairoj A,

Bhudhisawasdi V, Leelayuwat C. FUT2 and FUT3 genes in

Cholangiocarcinoma: a new mutation of the FUT2 gene in the Thai population.

The 14th International HLA and Immunogenetics Workshop and Australian

Page 35: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

32

Society of Immunology Joint Conference, Melbourne, Australia, 28 November

2005 - 8 December 2005 (Poster presentation)

17. Wongsena W, Sconocchia G, Ferrone S, Cheney RT, Leelayuwat C. Changes in

MHC class I antigen and MICA expression in cholangiocarcinoma lesions. The

14th International HLA and Immunogenetics Workshop and Australian Society

of Immunology Joint Conference, Melbourne, Australia, 28 November 2005 - 8

December 2005 (Poster presentation)

18. Sarayot R, Anantapreecha S, Leelayuwat C. The Expression of MIC Molecules

on Dengue Virus Type 2 Infected Cell Lines and Monocyte Derived

Macrophages : A preliminary Study. The 14th International HLA and

Immunogenetics Workshop and Australian Society of Immunology Joint

Conference, Melbourne, Australia, 28 November 2005 - 8 December 2005

(Poster presentation)

19. Tippayawat P, Romphruk A, A Romphruk, Leelayuwat C, Bancroft GJ,

Lertmemongkolchai G. Production of intracellular interferon-gamma in

responses to Burkholderia pseudomallei via T cell receptor dependent pathway

in humans. The 14th International HLA and Immunogenetics Workshop and

Australian Society of Immunology Joint Conference, Melbourne, Australia, 28

November 2005 - 8 December 2005 (Poster presentation)

20. Jumnainsong A, Vales-Gomez M, Reyburn H, Leelayuwat C. Functional MICB

motifs involved in NK cell activation via NKG2D. The 14th International HLA

and Immunogenetics Workshop and Australian Society of Immunology Joint

Conference, Melbourne, Australia, 28 November 2005 - 8 December 2005

(Poster presentation)

21. Romphruk AV, Romphruk A, Naruse TK, Puapairoj C, Inoko H, Leelayuwat C.

Polymorphisms of NKG2D ligands: diverse RAET1/ULBP genes in northeastern

Thais. The 14th International HLA and Immunogenetics Workshop and

Australian Society of Immunology Joint Conference, Melbourne, Australia, 28

November 2005 - 8 December 2005 (Poster presentation)

22. Leelayuwat C, Paspimarnboon B, Siriwern R, Jumnainsong A, Jearanaikoon P.

Soluble MICA in cervical cancer of north-eastern Thais: High level with no

association with disease stages. The 20th European Immunogenetics and

Page 36: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

33

Histocompatibility Conference, Oslo, Norway, 8-11 June 2006. (Poster

presentation)

23. Saenwongsa W, Romphruk AV, Lertmemongkolchai G. Human cell-mediated

responses to Burkholderia Pseudomallei and its ATP-binding cassette (ABC)

transporter proteins assay by ELISPOT. The 1st International conference on

Science and Technology for Sustainable Development of the Greater Mekong

Sub-region. 15-16 August 2006, Khon Kaen , Thailand. (Poster presentation)

24. Chaiprasert A, Pannanusorn S, Prariyachatigul C, Krajaejun T,

Wanachiwanawin W, Stapatayawong B. RAPD typing and phylogeny of

Pythium insidiosum clinical isolates in Thailand. The second international

congress on Trends in Medical Mycology (TIMM-2) 23-26 October 2005,

Berlin, Germany. (Poster presentation)

โครงการท่ี 4

25. Prariyachatigul C, Chaiprasert A, Jetrasrisupab A. Specificity of CPL5 and

CPR8 primers to Pythium insidiosum by polymerase chain reaction. The second

international congress on Trends in Medical Mycology (TIMM-2) 23-26 October

2005, Berlin, Germany. (Poster presentation)

26. Trakulthong J, Weerachatyanukul L, Lulitanond A, Wanich S, Ngoipala N. The

1 st International conference on Natural Products for Health and -Beauty from

Local Wisdom to Global Marketplace. 17-21 October 2005, Maha Sarakham ,

Thailand. (Poster presentation)

27. Srilunchang M, Homchampa P, Proungvitaya T, Wongratanacheewin S.

Construction of a Marker-free DNA adenine Methylase (Dam) mutant of

Burkholderia Pseudomallei. The 35th Annual Scientific Meeting of the

Australasian Society for Immunology and 14th

28. Sungtohin S, Chanawong A, Lulitanond A, Sribenjalux P et al. 2006. Amp C B-

lactamase among clinical isolates of Escherichia coli and Klebsiella pneumoniae

in Srinagarind Hospital. The 1

International HLA &

Immunogenetics Workshop. Tissue Antigens ‘Genetics and The Immune

Response’ November 2005-Vol. 66 Issue 5 Page 343-622. 4-8 December 2005.

Melboume-AUSTRALIA. (Poster presentation)

st International conference on Science and

Page 37: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

34

Technology for Sustainable Development of the Greater Mekong Sub-region.

15-16 August 2006, Khon Kaen , Thailand. (Poster presentation)

29. Sengthong C, Barusrux S, Urwijitaroon Y. Analysis of HCV genotypes in Khon

Kaen Blood Doners. The 1 st

International conference on Science and

Technology for Sustainable Development of the Greater Mekong Sub-region.

15-16 August 2006, Khon Kaen , Thailand. (Poster presentation)

VI. การจัดประชุมสัมมนาระดับนานาชาติ - ครั้ง

Page 38: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

35

VII. การเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการระดับชาติ จํานวน 27 เรื่อง

1. สุภาวดี แยมศรี, กนกวรรณ แสนไชยสริุยา, สุพรรณ ฟูเจริญ, กุลนภา ฟูเจริญ,

อรุณี เจตศรีสุภาพ, สรุพล เวียงนนท. ระพับเฟอไรตินในซีรัมและภาวะขาด

เหล็กในพาหะธาลัสซีเมีย. การประชุมวิชาการประจําป สมาคมเทคนิค

การแพทย คร้ังที่ 30 ณ โรงแรมเจริญศรีแกรนด รอยัล จังหวัดอุดรธานี วันที่

28-31 มีนาคม 2549 (Poster presentation)

โครงการท่ี 1

2. สานิตา สิงหสน่ัน, อับดุลเลาะห หะมะ, กุลนภา ฟูเจริญ, กนกวรรณ แสนไชย

สุริยา, สุพรรณ ฟูเจริญ. Hb Siam และ Hb Queens ในคนไทย: การวินจิฉยัแยก

จาก Hb S, Hb Tak และ Hb D-Punjab ดวยวิธ ีPCR. การประชุมวิชาการประจําป

สมาคมเทคนิคการแพทย คร้ังที่ 30 ณ โรงแรมเจริญศรีแกรนด รอยลั จังหวัด

อุดรธานี วันที่ 28-31 มีนาคม 2549 (Poster presentation)

3. จุฬาพร ใจซื่อ, สุทธิพรรณ กิจเจริญ, กุลนภา ฟูเจริญ, สุพรรณ ฟูเจริญ.

อัตราสวนของอัลฟา/บีตาโกลบินเอ็มอารเอ็นเอในอัลฟาธาลัสซีเมียจีโนไทป

ตางๆ: การตรวจวัดดวยเทคนิคเรียลไทมอารที-พีซีอาร. การประชุมวิชาการ

ประจําป สมาคมเทคนิคการแพทย คร้ังที่ 30 ณ โรงแรมเจริญศรีแกรนด รอยลั

จังหวัดอุดรธานี วันที่ 28-31 มีนาคม 2549 (Poster presentation)

4. รสริน การเพยีร, สุมาลี อบเชย, กุลนภา ฟูเจริญ, ยศสมบัติ จังตระกูล, ดวงฤดี

จังตระกลู, สุทธิพรรณ กิจเจริญ, กนกวรรณ แสนไชยสุริยา, สุพรรณ ฟูเจริญ.

ความสัมพันธของอัลฟาธาลัสซีเมียจีโนไทปกับปริมาณฮีโมโกลบินบารทสและ

เอชที่ตรวจวัดดวยเคร่ืองวิเคราะหฮีโมโกลบินอัตโนมัติในผูปวยโรค

ฮีโมโกลบนิเอช. การประชุมสัมมนาวิชาการธาลัสซีเมียแหงชาติ คร้ังที่ 12 ณ

โรงแรมเจริญศรีแกรนด รอยัล จังหวัดอุดรธานี. วันที่ 24-26 พฤษภาคม 2549

(Poster presentation)

5. ยศสมบัติ จังตระกูล, สุชาติ ยูระทัย, ดวงฤดี จังตระกลู, กนกวรรณ แสนไชย

สุริยา, กุลนภา ฟูเจริญ, สุพรรณ ฟูเจริญ. โปรแกรมคอมพิวเตอรชวยแปลผลการ

ตรวจทางหองปฏิบัติการสําหรับวินิจฉัยธาลัสซีเมียและประเมินคูสมรสเสี่ยงตอ

การมีบุตรเปนธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง. การประชุมสัมมนาวิชาการธาลัสซีเมีย

แหงชาติ คร้ังที่ 12 ณ โรงแรมเจริญศรีแกรนด รอยัล จังหวัดอุดรธานี วันที่ 24-

26 พฤษภาคม 2549 (Oral presentation)

Page 39: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

36

6. Ratanasiri T, Komwilaisak R, Prasertcharoensuk W, Fucharoen S, Fucharoen

G, Jetsrisupaeb A, Wongkam J. Fetal diagnosis of thalassemia by

transabdominal chorionic villus sampling : single operator experience of 96

cases. การประชุมสัมมนาวิชาการธาลัสซีเมียแหงชาติ คร้ังที่ 12 ณ โรงแรมเจริญ

ศรีแกรนด รอยลั จังหวัดอุดรธานี วันที ่ 24-26 พฤษภาคม 2549 (Poster

presentation)

7. Sanchaisuriya K, Fucharoen S, Ratanasiri T, Sanchaisuriya P, Fucharoen G,

Dietz E, Schelp FP. Thalassemia and hemoglobinopathies rather than iron

deficiency are major causes of pregnancy related anemia in northeast

Thailand. การประชุมสัมมนาวิชาการธาลัสซีเมียแหงชาติ คร้ังที่ 12 ณ โรงแรม

เจริญศรีแกรนด รอยลั จังหวัดอุดรธานี. วันที่ 24-26 พฤษภาคม 2549. (Oral

presentation)

8. สุทธิพรรณ กิจเจริญ, วุฒิชัย สุขสนิท, ธัญวรัตน ปยะพงษกุล, ยศสมบัติ จัง

ตระกูล, กนกวรรณ แสนไชยสริุยา, ณัฐยา แซอ้ึง, กุลนภา ฟูเจริญ. การศึกษา

เปรียบเทียบปริมาณ Hb Bart’s และ Hb H ทีต่รวจวัดดวยเคร่ืองวิเคราะห

ฮีโมโกลบินอัตโนมัติกับการชะลางออกจากแผนเซลลูโลสอะซีเตท ที่แยกดวย

กระแสไฟฟา. การประชุมสัมมนาวิชาการธาลัสซีเมียแหงชาติ คร้ังที่ 12 ณ

โรงแรมเจริญศรีแกรนด รอยัล จังหวัดอุดรธานี. วันที ่24-26 พฤษภาคม 2549

(Poster presentation)

9. Siriratmanawong N, Pinmung-ngam C, Fucharjoen G, Fucharoen S. Prenatal

diagnosis of Hb Bart’s hydrops fetalis caused by a genetic compound

heterozygosity for two different α°-thalassemia determinants. การ

ประชุมสัมมนาวิชาการธาลัสซีเมียแหงชาติ คร้ังที่ 12 ณ โรงแรมเจริญศรีแกรนด

รอยลั จังหวัดอุดรธานี วันที ่24-26 พฤษภาคม 2549 (Oral presentation)

10. ยศสมบัติ จังตระกูล, สุชาติ ยูระทัย, ดวงฤดี จังตระกลู, กนกวรรณ แสนไชย

สุริยา, กุลนภา ฟูเจริญ, สุวรรณ ฟูเจริญ. โปรแกรมคอมพิวเตอรชวยแปลผลการ

ตรวจทางหองปฏิบัติการสําหรับวินิจฉัยธาลัสซีเมียและประเมินคูสมรสเสี่ยงตอ

การมีบุตรเปนธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง. การประชุมวิชาการประจําป 2549

ฉลองศิริราชสมบัติครบ 60 ป คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน

วันที่ 18-19 กรกฎาคม 2549 (Oral presentation)

11. ดวงฤดี จังตระกูล, ณัฐยา แซอ้ึง, ยศสมบัติ จังตระกูล, กนกวรรณ แสนไชย

สุริยา, กุลนภา ฟูเจริญ, สุพรรณ ฟูเจริญ. ฮีโมโกลบินควบคุมคุณภาพ KKU-Hb.

Page 40: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

37

การประชุมวิชาการประจําป พ.ศ. 2549 ฉลองศิริราชสมบัติครบ 60 ป คณะ

เทคนิคการแพทย มหาวิทยาลยัขอนแกน วันที่ 18-19 กรกฎาคม 2549 (Oral

presentation)

12. Muenphon K, Limpaiboon T, Jearanaikoon P, Pairojkul C, Sripa B,

Bhudhisawasdi V. The expression of trefoil factor family 1 and 3 in

cholangiocarcinoma. การประชุมวิชาการสมาคมเทคนิคการแพทยแหงประเทศ

ไทย คร้ังที่ 30 โรงแรม เจริญศรีแกรนด รอยัล อุดรธานี วันที่ 28-31 มีนาคม

2549 (Poster presentation)

โครงการท่ี 2

13. ปรีดา ปราการกมานันท, อินทิรา ทัศคร, เต็มดวง ลิ้มไพบูลย, พัชรี เจียรนัยกูร,

บรรจบ ศรีภา, วัชรพงศ พุทธิสวัสด์ิ. โปรโมเตอรไฮเปอรเมทธิลเลชันของจีน

p16 ในผูปวยมะเร็งทอนํ้าดี การประชุมวิชาการสมาคมเทคนิคการแพทยแหง

ประเทศไทย คร้ังที่ 30 โรงแรม เจริญศรีแกรนด รอยัล อุดรธานี วันที่ 28-31

มีนาคม 2549 (Poster presentation)

14. ฤทัยรัตน ศรีรักษา, นติยา นาโล, เต็มดวง ลิ้มไพบูลย, พัชรี เจียรนัยกูร, บรรจบ

ศรีภา. โปรโมเตอรไฮเปอรเมทธิลเลชันของชุดจีนในเซลลเพาะเลี้ยงมะเร็งทอ

น้ําดี. การประชุมวิชาการสมาคมเทคนิคการแพทยแหงประเทศไทย คร้ังที่ 30

โรงแรม เจริญศรีแกรนด รอยลั อุดรธานี วันที ่ 28-31 มีนาคม 2549 (Poster

presentation)

15. สุรศักด์ิ แวนรัมย, เต็มดวง ลิ้มไพบูลย, ชาญวิทย ลีลายุวัฒน, พิสมัย ยืนยาว

สงวนโชค ลวนรัตนากร, พัชรี เจียรนัยกูร การจัดต้ังวิธีการตรวจหา DNA ของ

แปปปโลมาไวรัสชนิด 16 ที่แทรกอยูในโครโมโซมของเซลลปากมดลูกดวย

เทคนิค qPCR การประชุมวิชาการสมาคมเทคนิคการแพทยแหงประเทศไทย

คร้ังที่ 30 โรงแรม เจริญศรีแกรนด รอยลั อุดรธานี วันที่ 28-31 มีนาคม 2549

(Poster presentation)

โครงการท่ี 3

-

Page 41: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

38

16. Srilunchang M, Homchampa P, Proungvitaya T, Wongratanacheewin S. การ

ผลิตเชื้อ Burkholderia pseudomallei ที่มีการกลายของจีนที่ควบคุมการสราง

เอนไซม DNA adenine methylase (Dam) ที่ทําใหออนกําลังลงเพื่อผลิตวัคซีน

เชือ้เปนในระดับหนูทดลอง. การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา

แหงชาติ คร้ังที่ 5, 10-11 ตุลาคม 2548 บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ (Oral presentation)

โครงการท่ี 4

17. ศิริลักษณ เพียกขุนทด, ปรีชา หอมจําปา, อรุณลักษณ ลุลิตานนท.

Construction and characterization of an Escherichia coli - Burkholderia

pseudomallei shuttle vector ในการประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา

แหงชาติ คร้ังที่ 5, 10-11 ตุลาคม 2548 บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ (Poster presentation)

18. จาฬุภรณ ชุมพล, สุภาภรณ พัวเพิ่มพูนศิริ, จุฬารัตน ปริยชาติกุล. การตรวจหา

Panton-Valentine Leucocidin (PVL) gene จากเชือ้ Methicillin-resistance

Staphylococcus aureus (MRSA) ที่แยกไดจากผูปวยโรงพยาบาลศรีนครินทร.

การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหงชาติ คร้ังที่ 5, 10-11 ตุลาคม

2548 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ (Poster

presentation)

19. จุฬารัตน ปริยชาติกุล, อังคณา ฉายประเสริฐ, ประกายกุล แสงนาค, นิชา เจริญ

ศรี, อรุณี เจตศรีสุภาพ. Polymerase chain reaction for detection and

identification of Pythium insidiosum. การประชุมนักวิจัยรุนใหมพบเมธีวิจัย

อาวุโส สกว. โรงแรมรีเจนท ชะอํา จ. เพชรบุรี 13-15 ตุลาคม 2548 หนา 106

(Poster presentation)

20. Wilailuckana C, Tribuddharat C, Tiensasitorn C, Pongpech P, Neanna P,

Rugdeekha S, Dhiraputra C, Danchaivijtr S. Discriminatory of PCR-Based

Techniques for typing of Methicillin-Resistant Staphylococcus aureus

(MRSA) isolated in Siriraj Hospital. ประชุมใหญวิชาการประจําป สมาคมโรค

ติดเชื้อแหงประเทศไทย 15-18 ตุลาคม 2548 โรงแรมดุสติรีสอรท พทัยา จ.

ชลบุรี หนา 56 (Oral presentation)

21. Lulitanond A, Ito T, Kitamura A, Chanawong A, Sribenjalux P, Kaewkes W,

Vorachit M, Hiramasu K. ประชุมใหญวิชาการประจําปสมาคมโรคติดเชื้อแหง

Page 42: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

39

ประเทศไทย 15-18 ตุลาคม 2548 โรงแรมดุสติรีสอรท พทัยา จ. ชลบุรี หนา 57

(Oral presentation)

22. สรุยีพร สวุรรณรินทร, ปรีชา หอมจําปา, ธนกร ปรุงวิทยา. วิธี latex

agglutination สาํหรับตรวจวินิจฉยัโรค leptospirosis อยางรวดเร็ว. การประชมุ

วิชาการเสนอผลงานวิทยานิพนธ คร้ังที่ 8 วันที่ 20 มกราคม 2549 บัณฑิต

วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (Poster presentation)

23. ยนิดี พรหมศิริไพบูลย, ปรีชา หอมจําปา, ธนกร ปรุงวิทยา. Construction of a

pan C mutant of Burkholderia pseudomallei and its potential as a vaccine

candidate in a mouse model. National Symposium on Graduate Research

Khon Kaen University, 20 มกราคม2549 มหาวิทยาลยัขอนแกน (Oral

presentation)

24. โชติชนะ วิไลลักขณา, ชาญวิทย ตรีพุทธรัตน, จันทิมา เทียนศศิธร, และคณะ.

การใชเทคนิค พีซีอาร รวมกับความไวตอ cotromoxazoleในการตรวจหาการ

ระบาดของ methicillin-resistance Staphylococcus aureus. การประชุมวิชาการ

ระดับชาติ คร้ังที่ 3 การควบคุมเชื้อด้ือยาตานจุลชีพ 27-28 กุมภาพันธ 2549,

โรงแรมเจาพระยาปารค กรุงเทพ (Poster presentation)

25. Jaluporn C, Puapermpoonsiri S, Prariyachatigul C. Detection of Panton-

Valentine Leukocidin (PVL) gene in Staphylococcus aureus isolated from

patients at the Srinagarind Hospital. การประชุมวิชาการประจําปสมาคมเทคนิค

การแพทย คร้ังที่ 30 เทคนิคการแพทย : พันธกิจบูรณาการเพื่อการสงเสริม

สุขภาพและคุณภาพชีวิต โรงแรมเจริญศรี แกรนด รอยัล อุดรธานี 28-31

มีนาคม 2549 (Poster presentation)

26. เสกสิทธิ์ สังคีรี, พิพัฒน ศรีเบญจลักษณ, อรุณณี สังกา, พรทิพย ปนละออ, วีระ

พงศ ลุลิตานนท, อมร อุนเจริญ. การจําแนกสปชีส ของเชื้อมัยโคแบคทีเรีย

โดยตรงในอาหารเลีย้งเชือ้เหลว MGIT โดยวิธีพซีอีารและดัดดวยเอ็นไซม. การ

ประชุมวิชาการประจําปสมาคมเทคนิคการแพทย คร้ังที่ 30 เทคนิคการแพทย :

พันธกิจบูรณาการเพื่อการสงเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิต โรงแรมเจริญศรี แก

รนด รอยลั อุดรธานี 28-31 มีนาคม 2549 (Poster presentation)

27. กนกวรรณ แกวกัญญา, กาญจนา สนุทโรจน, อรุณลักษณ ลุลิตานนท, อรุณณี

สังกา, นิชา เจริญศรี, พิพัฒน ศรีเบญจลักษณ. การแยกเชื้อ Clostridium

botulinum จากตัวอยางดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยใชอาหารเลี้ยงเชื้อ

CBI การประชุมวิชาการประจําปสมาคมเทคนิคการแพทย คร้ังที่ 30 เทคนิค

Page 43: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

40

การแพทย: พันธกิจบูรณาการเพื่อการสงเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิต, โรงแรม

เจริญศรีแกรนด รอยัล อุดรธานี 28-31 มีนาคม 2549 (Poster presentation)

Page 44: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

41

VIII. การจัดประชุมสัมมนาระดับชาต ิ 7 ครั้ง

ท่ี ช่ือการประชุม (ผูจัดการประชุม) สถานท่ีจัดประชุม วันท่ี

1 การประชุมสัมมนาวิชาการธาลัสซีเมียแหงชาติ ครั้งที่

12 ทกุภาคสวนรวมใจเพ่ือเด็กไทยปลอดธาลัสซีเมีย

(โครงการที่ 1)

โรงแรมเจริญศรีแกรนด

รอยัล จ.อุดรธานี

24 -26 พฤษภาคม 2549

2 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การตรวจวิเคราะห

ยีนอัลฟาธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินอี

(โครงการที่ 1)

คณะเทคนคิการแพทย

มหาวิทยาลัยขอนแกน

9 – 11 สิงหาคม 2549

3 การประชุมวิชาการ เรือ่ง Nanotechnology &

Biosensor Research: Lab on a chip

(โครงการที่ 2)

คณะเทคนคิการแพทย

มหาวิทยาลัยขอนแกน

18 – 19 สิงหาคม 2549

4 การประชุมวิชาการ เรื่อง Role of IL-6 and trefoil

factor 1 in gastric cancer

(โครงการที่ 2)

คณะเทคนคิการแพทย

มหาวิทยาลัยขอนแกน

26 พฤษภาคม 2549

5 การประชุมวิชาการ เรือ่ง From molecular study to

target therapy in cancer

(โครงการที่ 2)

คณะเทคนคิการแพทย

มหาวิทยาลัยขอนแกน

1 – 2 กรกฎาคม 2549

6 การประชุมวิชาการ เรือ่ง From genomes to vaccines

(โครงการที่ 3)

คณะเทคนคิการแพทย

มหาวิทยาลัยขอนแกน

มหาวิทยาลัยเชียงใหม

มหาวิทยาลัยมหดิล

28 เมษายน 2549 – 4

พฤษภาคม 2549

7 การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง Molecular cloning and

DNA analysis

(โครงการที่ 4)

คณะเทคนคิการแพทย

มหาวิทยาลัยขอนแกน

9 – 10 สิงหาคม 2549

Page 45: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

42

IX. การถายทอดเทคโนโลยี / การใหบรกิารวิชาการของศูนย

(ครั้ง – คน – วัน - การทดสอบ) งานบริการวิชาการทั้งหมดของ ศวป. ดําเนินการภายใต สถานบริการสุขภาพเทคนิค

การแพทยและกายภาพบําบัด คณะเทคนิคการแพทย มหาวทิยาลัยขอนแกน งานบริการ

ทางวิชาการท่ีไดดําเนินการไประหวาง เดือนตุลาคม 2548 – เดือนสิงหาคม 2549 มี

ดังตอไปนี้

ที่ ลักษณะการใหบริการทางวิชาการ (หนวยนับ) จํานวน ผูรับผิดชอบ

1 การผลิตน้ํายาตรวจกรองธาลัสซีเมียเพื่อจัดจําหนายเชิง

พาณิชย (จํานวนการทดสอบ) - KKU OF test - KKU DCIP test

550,000 560,000

โครงการที่ 1

2 การตรวจเลือดและดีเอ็นเอเพื่อวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมียในคู

สมรส โครงการกรมอนามัย (จํานวนคน)

338 โครงการที่ 1

3 การตรวจดีเอ็นเอเพื่อวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมียทารกในครรภ

จํานวน 218 ครอบครัวๆละ 3 คน (จํานวนคน) 654 โครงการที่ 1

4 การตรวจ Block matching สําหรับการเปล่ียนถายไขกระดูก

(จํานวนคน)

4 โครงการที่ 3

สรุป งานบริการทางวิชาการของ ศวป.

ใหบริการผลิตนํ้ายาเชิงพาณิชย จาํนวน 1,110,000 ราย ใหบริการตรวจทางหองปฏิบัติการ จาํนวน 996 ราย

Page 46: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

43

X. จํานวนอาจารย / นักศึกษาบัณฑิตศึกษาที่เพิ่มขึ้น 29 หนวย

โครงการที่ รายชื่อ ตําแหนง หนวย (นักศึกษาเทียบเทา)

1 ผศ.ดร.อําพร ไตรภัทร นายอัฐวุฒิ ไชยบุญเรือง น.ส.สนทอง พรพันธุนุกูล น.ส.รสริน การเพียร

อาจารยบัณฑิต นักศึกษา ป. เอก นักศึกษา ป. โท นักศึกษา ป. โท

5 3 1 1

2 น.ส.มณทิรา สกลุเจีย น.ส.ปฏิมาพร เชาวปรัชญากุล

นักศึกษา ป. โท นักศึกษา ป. โท

1 1

3 น.ส.พัชราภรณ ทิพยวัฒน น.ส.มยุรฉัตร แกวมณี

นักศึกษา ป. เอก นักศึกษา ป. เอก

3 3

4 ดร.ไมตรี ปะการะสังข นายสุพจน สิงโตหิน นายชชัวาล เส็งทอง น.ส.กุสาวดี เอกอุ น.ส.สวิตา โสภาศร ีน.ส.แพรชมพู แซตั้ง น.ส.ณัฐนนท หงสศรีจันทร

อาจารยบัณฑิต นักศึกษา ป. โท นักศึกษา ป. โท นักศึกษา ป. โท นักศึกษา ป. โท นักศึกษา ป. โท นักศึกษา ป. โท

5 1 1 1 1 1 1

รวม 29

ขอมูลสรปุ ณ วันท่ี 5 กนัยายน 2549

Page 47: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

44

สรุปการดําเนินงานโครงการยอย ประจําป 2549

Page 48: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

45

สรุปการดําเนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2549

(ตุลาคม 2548 – กันยายน 2549)

โครงการวิจัยและพัฒนาเพ่ือการควบคุมและปองกันโรคธาลัสซีเมีย

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หัวหนาโครงการ

รองศาสตราจารย ดร. สุพรรณ ฟูเจริญ ภาควิชาเคมีคลินิก

2. นักวิจัยในโครงการ

2.1 รองศาสตราจารย ดร. สุพรรณ ฟูเจริญ ภาควิชาเคมีคลินิก

2.2 รองศาสตราจารยกุลนภา ฟูเจริญ ภาควิชาจุลทรรศนคลินิก

2.3 รองศาสตราจารย ดร.กนกวรรณ แสนไชยสริุยา ภาควิชาจุลทรรศนคลินิก

2.4 ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุทธิพรรณ กิจเจริญ ภาควิชาจุลทรรศนคลินิก

2.5 ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐยา แซอ้ึง ภาควิชาจุลทรรศนคลินิก

2.6 ผูชวยศาสตราจารย ดร.อําพร ไตรภัทร ภาควิชาจุลทรรศนคลินิก *

2.7 นายยศสมบัติ จังตระกูล หนวยจุลทรรศนวินิจฉยั

2.8 นางดวงฤดี จังตระกลู ภาควิชาเคมีคลินิก

3. ผูชวยวิจัยและนักศึกษาที่เขารวมปฏิบัติงานวิจัยในโครงการ

3.1 นักศึกษาปริญญาเอก สาขา ชีวเวชศาสตร จํานวน 3 คน

นางลลนา นันทการณ ทุน คปก. รุนที่ 6 ป 2546 สกว.

น.ส.วารุณี ต้ังวิวัฒน ทุน คปก. รุนที่ 7 ป 2548 สกว.

นายอัฐวุฒิ ไชยบุญเรือง ทุน คปก. รุนที่ 8 ป 2549 สกว. *

3.2 นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิทยาศาสตรการแพทย จํานวน 9 คน

น.ส.สนิตา สิงหสน่ัน ทนุ ศวป. ประจําป 2547

น.ส.จุฬาพร ใจซื่อ ทนุ ศวป. ประจําป 2547

น.ส.สภาวดี แยมศรี ทนุ ศวป. ประจําป 2547

นายนฤวัตร ภักดี ทนุ ศวป. ประจําป 2548

น.ส.รัชนก เหงาพรหมมินทร ทนุ ศวป. ประจําป 2548

น.ส.จารุวรรณ ไตรทรัพยสมบัติ ทนุ ศวป. ประจําป 2548

Mr.Onekham Savongsy ทุนกรมวิเทศสหการ

น.ส.สนทอง พรพันธุนุกูล ทนุ ศวป. ประจําป 2549 *

Page 49: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

46

น.ส.รสริน การเพยีร ทนุ ศวป. ประจําป 2549 *

3.3 นักศึกษาปริญญาตรี สาขาเทคนิคการแพทย จํานวน 7 คน

น.ส.โสภา รัศมีผะกาย นายประทีป ครูบรรณ

นางศุภลักษณ จันคํา น.ส.สุนิสา ชิระกุล

น.ส.หทัยชนก ศรีวรกุล น.ส.กนกอร ไชยคํา

น.ส.กฤติกา กําลังหาญ

* อาจารยและนักศึกษาบัณฑิตใหมของโครงการ

4. แหลงทุนวิจัยที่ไดรับการสนับสนุน

4.1 ทุนสนับสนุนโครงการวิจัย จํานวน 2 เร่ือง

4.1.1 เร่ือง การพัฒนาระบบคุณภาพการตรวจวินิจฉัยธาลัสซีเมียและ

ฮีโมโกลบินผิดปกติทางหองปกิบัติการเชิงบูรณาการ ทนุอุดหนุน

ทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแกน ประจําปงบประมาณ 2549 จํานวน

200,000.- บาท (อยูระหวางดําเนินการ)

4.1.2 เร่ือง การศึกษาเพื่อพัฒนาเทคนิคและการควบคุมคุณภาพการ

ตรวจวินิจฉัยธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกติท่ีพบในประเทศ

ไทย กองทุนกลุมวิจัยธาลัสซีเมีย คณะเทคนิคการแพทย

มหาวิทยาลยัขอนแกน จํานวน 2,155,832.95 บาท

4.2 ทุนสนับสนุนบัณฑิตศึกษา

4.2.1 ทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก สกว. จํานวน 3 ทุน

รุนที่ 6 : 1 ทุน จํานวนเงนิ 1,555,000.- บาท

รุนที่ 7 : 1 ทุน จํานวนเงนิ 1,495,000.- บาท

รุนที่ 8 : 1 ทุน จํานวนเงนิ 2,152,000.- บาท

4.2.2 ทุนบัณฑิตวิทยาลัย ม.ขอนแกน จํานวน 3 ทุน

น.ส.สุภาวดี แยมศรี จํานวนเงนิ 25,000.- บาท

น.ส.สานิตา สิงหสน่ัน จํานวนเงนิ 35,000.- บาท

น.ส.จุฬาภรณ ใจซื่อ จํานวนเงนิ 25,000.- บาท

5. ความรวมมือดานการวิจัยกับหนวยงานภายนอก

5.1 รวมมือกับ รองศาสตราจารย พ.ญ. อรุณี เจตศรีสุภาพ และคณะ จากคณะแพทยศาสตร

ม.ขอนแกน ดําเนินการวิจัยภายใตชดุโครงการวิจัยธาลสัซเีมยี มหาวิทยาลยัขอนแกน

Page 50: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

47

เร่ือง การศึกษาแบบสหสาขาในโรคบีตาธาลัสซีเมีย / ฮีโมโกลบินอีและธาลัสซีเมียชนิด

อ่ืนตามความรุนแรงของโรค

5.2 รวมมือกับ รองศาสตราจารย น.พ.ถวัลยวงค รัตนสิริ และคณะ ภาควิชาสูติศาสตรและ

นรีเวชวิทยา ในการศึกษาวิจัย เร่ือง Study on the detection of fetal thalassemia genes

using fetal DNA in maternal plasma

5.3 รวมมือกับ Professor Frank P Shelp, Institute of International Health Center for

Humanities and Health Sciences , Free University of Berlin, Germany ในการศึกษา

วิจัย เร่ือง Influence of maternal βE

5.4 รวมมือกับ Professor Dr. David HK Chui , Department of Medicine and Pathology,

Boston University School of Medicine, Boston, USA ในการศึกษาวิจัย เร่ือง Genotype

– phenotype correlation in severe and non-severe forms of β-thalassemia diseases

-globin gene on hematological response to iron

supplementation during pregnancy

5.5 รวมมือกับ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวง

สาธารณสุข ดําเนินงานโครงการวิจัย เร่ือง การดําเนินงานการทดสอบความชํานาญดาน

การตรวจหาชนิดและปริมาณฮีโมโกลบิน

6. การเผยแพรผลงานวิจัย

6.1 การเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการในประเทศ จํานวน 11 เร่ือง

ดูรายละเอียดท่ีหนา 35 – 37

6.2 การเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการนานาชาติ จํานวน 7 เร่ือง

ดูรายละเอียดท่ีหนา 29 – 30

6.3 ผลงานวิจัยและบทความทางวิชาการท่ีไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการในประเทศ

จํานวน 9 เร่ือง

ดูรายละเอียดท่ีหนา 27 – 28

Page 51: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

48

6.4 ผลงานวิจัยท่ีไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการนานาชาติ จํานวน 10 เร่ือง

ดูรายละเอียดท่ีหนา 21 – 22

7. งานบริการทางวิชาการอ่ืนๆ

7.1 การจัดประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ จํานวน 1 คร้ัง

การประชุมสัมมนาวิชาการธาลัสซีเมียแหงชาติ คร้ังที่ 12 หัวขอ ทุกภาคสวนรวมใจเพื่อเด็กไทย

ปลอดธาลัสซีเมีย รวมจัดโดย ศวป. มหาวิทยาลัยขอนแกน กรมวิทยาศาสตรการแพทย และมูลนิธิ

โรคโลหิตจางธาลัสซีเมียแหงประเทศไทย ระหวางวันที่ 24-26 พฤษภาคม 2549 ณ โรงแรมเจริญศรี

แกรนด รอยลั จ.อุดรธานี

7.2 การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถายทอดเทคโนโลยี จํานวน 1 คร้ัง

การประชุมเชิงปฏิบัติการ เร่ือง การตรวจวิเคราะหยนีอัลฟาธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบนิอี จัดโดย

ศวป. คณะเทคนิคการแพทย ณ คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน ระหวางวันที ่9 – 11

สิงหาคม 2549

7.3 เปนวิทยากรบรรยายในการประชุมวิชาการตางๆ รวมจาํนวน 15 คร้ัง

ท่ี การประชุม / หัวขอบรรยาย / ผูจัดการประชุม วัน เวลา สถานท่ี วิทยากร

1 Symposium on Haematology / New developments

in Diagnosis and Treatment of Thalassemias and

haemoglobin disorders / Hong Kong Institute of

Medical Laboratory Sciences Ltd.

14 October 2005

Langham Place Hotel,

Hong Kong

รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

รศ.กุลนภา ฟูเจริญ

2 Symposium on Haematology / New developments

in Diagnosis of Thalassemias and Leukemia /

Macao Association of Allied Health Professional

15 October 2005

Blood Transfusion Center,

Alameda Dr.Carlos d’

Assumpcao, Macao, China

รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

รศ.กุลนภา ฟูเจริญ

3 PCL User Meeting / Thalassemia and

Hemoglobinopathies diagnosis / บริษัท พี ซี แอล

โฮลดิ้ง จํากัด

3 กุมภาพันธ 2549

โรงแรมรอยัลริเวอร กทม.

รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

รศ.กุลนภา ฟูเจริญ

4 การประชุมวิชาการโรงพยาบาล / แนวทางการ

ควบคุมและปองกันโรคธาลัสซีเมียของประเทศไทย /

กลุมงานพยาธิวิทยาคลินกิ โรงพยาบาลเชียงราย

ประชานเุคราะห

10 กุมภาพันธ 2549

โรงพยาบาลเชียงรายประชานุ

เคราะห จ.เชียงราย

รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

รศ.กุลนภา ฟูเจริญ

Page 52: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

49

5 การประชุมวิชาการชมรมเวชศาสตรมารดาและทารก

ในครรภ / ดเีอ็นเอทารกในพลาสมาแมและการ

ประยุกตใชในการตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ

โรคธาลัสซีเมีย / ชมรมเวชศาสตรมารดาและทารก

ในครรภ (ไทย)

4 พฤษภาคม 2549

โรงแรมเอเซีย กทม.

รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

6 การพัฒนาเครือขายการตรวจวินจิฉัยโรคธาลัสซีเมีย

ทางหองปฏบิัติการ / แนวทางปฏบิัติในการตรวจ

วินิจฉัยธาลัสซีเมียอยางครบวงจร” /

กรมวิทยาศาสตรการแพทย

22-23 พฤษภาคม 2549

ศูนยวิทยาศาสตรการแพทย

ขอนแกน

รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

รศ.กุลนภา ฟูเจริญ

7 การประชุมธาลัสซีเมียแหงชาติ ครั้งที่ 12 / ดีเอ็นเอ

ทารกในพลาสมาแมและการประยุกตใชในการตรวจ

วินิจฉัยทารกในครรภโรคธาลัสซีเมีย” / ศวป.

กรมวิทยาศาสตรการแพทยและมูลนิธิโรคโลหิต

จางธาลัสซีเมียแหงประเทศไทย

24 – 26 พฤษภาคม 2549

โรงแรมเจริญศรีแกรนด

รอยัล จ.อุดรธานี

รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

8 การประชุมธาลัสซีเมียแหงชาติ ครั้งที่ 12 /

“Laboratory tests, reports, interpretation and quality

assurance” / ศวป. กรมวิทยาศาสตรการแพทยและ

มูลนิธิโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียแหงประเทศไทย

24 – 26 พฤษภาคม 2549

โรงแรมเจริญศรีแกรนด

รอยัล จ.อุดรธานี

รศ.กุลนภา ฟูเจริญ

รศ.ดร.กนกวรรณ แสนไชย

สุริยา

9 การประชุมเชิงปฏบิตักิาร การพัฒนาบคุลากรในการ

ดําเนินงานปองกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย ของ

ศูนยสงเสริมสุขภาพอุบลราชธานี รุนที่ 1 / การตรวจ

ทางหองปฏบิัติการเพ่ือการควบคมุและปองกัน

โรคธาลัสซีเมีย และกรณีศึกษา การประมวลและ

วิเคราะหผลการตรวจทางหองปฏบิัติการ / ศนูย

สงเสริมสุขภาพอุบลราชธานี

9 มิถุนายน 2549

สถาบนัราชภัฎอุบลราชธานี

จ.อุบลราชธาน ี

รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

รศ.กุลนภา ฟูเจริญ

10 การประชุมเชิงปฏบิตักิาร การพัฒนาบคุลากรในการ

ดําเนินงานปองกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย ของ

เขตสาธารณสุขที่ 13 รุนที่ 1 / การตรวจทาง

หองปฏิบัติการเพ่ือการควบคุมและปองกัน โรคธาลัส

ซีเมีย และกรณีศึกษา การประมวลและวิเคราะหผล

การตรวจทางหองปฏบิัติการ / ศูนยสงเสริมสุขภาพ

เขต 5 นครราชสีมา

19-20 มิถุนายน 2549

โรงแรมบษุราคัม จ.ขอนแกน

รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

รศ.กุลนภา ฟูเจริญ

11 การประชุมเชิงปฏบิตักิาร การพัฒนาบคุลากรในการ

ดําเนินงานปองกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย ของ

ศูนยสงเสริมสุขภาพอุบลราชธานี รุนที่ 2 / การตรวจ

ทางหองปฏบิัติการเพ่ือการควบคมุและปองกัน

22 มิถุนายน 2549

สถาบนัราชภัฎสกลนคร

จ.สกลนคร

รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

รศ.กุลนภา ฟูเจริญ

Page 53: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

50

โรคธาลัสซีเมีย และกรณีศึกษา การประมวลและ

วิเคราะหผลการตรวจทางหองปฏบิัติการ / ศนูย

สงเสริมสุขภาพอุบลราชธานี

12 การประชุมเชิงปฏบิตักิาร การพัฒนาบคุลากรในการ

ดําเนินงานปองกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย ของ

เขตสาธารณสุขที ่13 รุนที่ 2 / การตรวจทาง

หองปฏิบัติการเพ่ือการควบคุมและปองกัน โรคธาลัส

ซีเมีย และกรณีศึกษา การประมวลและวิเคราะหผล

การตรวจทางหองปฏบิัติการ / ศูนยสงเสริมสุขภาพ

เขต 5 นครราชสีมา

26-27 มิถุนายน 2549

โรงแรมบษุราคัม จ.ขอนแกน

รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

รศ.กุลนภา ฟูเจริญ

13 การประชุมเชิงปฏบิตักิาร การพัฒนาบคุลากรในการ

ดําเนินงานปองกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย ของ

ศูนยอนามัย ที่ 6 รุนที่ 1 / การตรวจทาง

หองปฏิบัติการเพ่ือการควบคุมและปองกัน โรคธาลัส

ซีเมีย และกรณีศึกษา การประมวลและวิเคราะหผล

การตรวจทางหองปฏบิัติการ / ศูนยสงเสริมสุขภาพ

เขต 6 ขอนแกน

28-29 มิถุนายน 2549

โรงแรมโฆษะ จ.ขอนแกน

รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

รศ.กุลนภา ฟูเจริญ

14 การประชุมเชิงปฏบิตักิาร การพัฒนาบคุลากรในการ

ดําเนินงานปองกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย ของ

ศูนยอนามัย ที่ 6 รุนที่ 2 / การตรวจทาง

หองปฏิบัติการเพ่ือการควบคุมและปองกัน โรคธาลัส

ซีเมีย และกรณีศึกษา การประมวลและวิเคราะหผล

การตรวจทางหองปฏบิัติการ / ศูนยสงเสริมสุขภาพ

เขต 6 ขอนแกน

4 - 5 กรกฎาคม 2549

โรงแรมโฆษะ จ.ขอนแกน

รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

รศ.กุลนภา ฟูเจริญ

15 การประชุมวิชาการประจาํป 2549 คณะเทคนคิ

การแพทย / ศวป. ศูนยแหงความเปนเลิศดานการ

วิจัยของคณะเทคนคิการแพทย มข. / คณะเทคนคิ

การแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน

18 – 19 กรกฎาคม 2549

คณะเทคนคิการแพทย

ม.ขอนแกน

รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

7.4 การใหบริการทางวิชาการเชิงพาณิชย

7.4.1 ดําเนินการ โครงงานนํ้ายาธาลัสซีเมีย สถานบริการสุขภาพเทคนิคการแพทยและ

กายภาพบําบัด ในการผลิตนํ้ายาตรวจกรองธาลัสซีเมียจัดสงใหบริษัทเอกชนนําไปจัดจําหนายเชิง

พาณิชย เปนจํานวนรวมมากกวา 1,000,000 การทดสอบ

Page 54: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

51

7.4.2 ดําเนินงาน หนวยบริการธาลัสซีเมีย สถานบริการสุขภาพเทคนิคการแพทยและกายภาพบําบัด

ในการ ตรวจเลือดและตรวจดีเอ็นเอเพื่อวินิจฉัยธาลัสซีเมียทั้งในระยะกอนและหลังคลอด ใหบริการ

แกโรงพยาบาลศรีนครินทรและโรงพยาบาลอ่ืนๆในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวนรวมทั้งสิ้น

992 ราย

7.5 การเปนผูประเมินผลงานวิจัยท่ีเสนอตีพิมพในวารสารวิชาการ (Peer review)

- วารสารเทคนิคการแพทยและกายภาพบําบัด จํานวน 7 เร่ือง (รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ)

- วารสาร Haematologica จํานวน 20 เร่ือง (รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ)

- วารสาร Acta Haematologica จํานวน 4 เร่ือง (รศ.ดร.สพุรรณ ฟูเจริญ)

- วารสาร Clin Lab Haematol จํานวน 2 เร่ือง (รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ)

- วารสาร Clin Lab Haematol จํานวน 1 เร่ือง (รศ.กุลนภา ฟูเจริญ)

7.6 การเปนผูประเมินโครงรางการวิจัยท่ีเสนอขอรับทุนสนับสนุนจากแหลงทุน

- โครงการวิจัยของ สวทช. จํานวน 2 เร่ือง (รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ)

- โครงการวิจัยของนักวิจัยหนาใหม มข. ประจําป 2549 จํานวน 4 โครงการ (รศ.ดร.สุพรรณ

ฟูเจริญ)

7.7 การเปนท่ีปรึกษาการดําเนินงาน

- เปนคณะกรรมการ Thalassemia Forum กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (รศ.ดร.

สุพรรณ ฟูเจริญ)

- เปนที่ปรึกษา การดําเนินงานการทดสอบความชํานาญดานการตรวจวินิจฉัย α-

thalassemia 1 ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวง

สาธารณสุข (รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ)

- เปนที่ปรึกษา การดําเนินงานการทดสอบความชํานาญดานการตรวจหาชนิดและ

ปริมาณฮีโมโกลบิน ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตรการแพทย

กระทรวงสาธารณสุข (รศ.กุลนภา ฟูเจริญ)

- เปนที่ปรึกษาคณะกรรมการควบคุมและปองกันโรคธาลัสซีเมียของจังหวัดขอนแกน

สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแกน (รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ)

Page 55: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

52

8. เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมๆ จํานวน 2 รายการ

8.1 เทคโนโลยีการตรวจวเิคราะหฮโีมโกลบินเอสอง/อี

ผูพัฒนา : รองศาสตราจารยกุลนภา ฟูเจริญ และคณะ

การนําไปใชประโยชน : ใชตรวจวินิจฉัยพาหะบีตาธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินอี

สถานะปจจุบัน : : จดอนุสิทธิบัตร เลขที่คําขอ 0603000039

ใชตรวจในงานประจําวันที่สถานบริการสุขภาพเทคนิคการแพทยและกาย

ภาพบําบัด คณะเทคนิคการแพทย ม.ขอนแกน และไดเผยแพรและ

ถายทอดเทคโนโลยีการตรวจในการประชุมเชิงปฏิบัติการ

8.2 โปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อการแปลผลและประเมินคูเสี่ยงโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง

ผูพัฒนา : นายยศสมบัติ จังตระกูล และคณะ

การนําไปใชประโยชน : ใชประกอบการแปลผลการตรวจทางหองปฏิบัติการและประเมิน

คูเสี่ยงที่มีโอกาสมีบุตรเปนโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง เปนตัวควบคุม

สถานะปจจุบัน : แจงลิขสิทธิ์เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2549

เผยแพรและแจกจายไปสูผูใชที่ดําเนินงานดานการควบคุมและ

ปองกันโรคธาลัสซีเมียของโรงพยาบาลตางๆ

9. การจัดกิจกรรมวิชาการสงเสริมกลุมวิจัย

ไดจัดสัมมนากลุมวิจัยธาลัสซีเมีย คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน ขึ้น ทุกวันจันทร

เวลา 11.30 น. – 13.30 น. ณ หองสัมมนา 1 คณะเทคนิคการแพทย โดยใหอาจารย นักศึกษาและนักวิจัยใน

กลุมผลัดเปลี่ยนกันเปนผูนําเสนอ รวมจํานวน 29 คร้ัง มีรายละเอียด ดังตาราง

รายงาน ณ วันที ่25 สิงหาคม 2549

โดย รองศาสตราจารย ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ

Page 56: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

53

Thalassemia Group Meeting

ประจําปงบประมาณ 2549 ณ หองสัมมนา 1 เวลา 11.30 น.-13.00 น.

คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน

ครั้งท่ี วันท่ี ช่ือหัวขอ ผูนําเสนอ จํานวน

ผูเขาฟง

1 9 พ.ย.48 Only a small proportion of anemia in northeast Thai

schoolchildren is associated with iron deficiency

รศ.กุลนภา ฟูเจริญ 17

2 16 พ.ย.48 Diagnostic development involving

cell-free (circulating) nucleic acids น.ส. วารุณี ตั้งวิวัฒน 14

3 23 พ.ย.48 Clinical and genetic characteristics of

β - thalassemia syndromes

นางลลนา นนัทการณ 14

4 30 พ.ย.48 β - thalassemia gene with two open reading frames รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ 19

5 7 ธ.ค. 48 Strong linkage disequilibrium of Hb E variant with

the (AT)9(T)5

นายนฤวัตร ภักดี

repeat in the BP1 binding site upstream

of the β-globin gene in the Thai population

13

6 14 ธ.ค. 48 The Corfu δβ thalassemia deletion disrupts γ-globin

gene silencing and reveals post-transcriptional

regulation of Hb F expression

น.ส.สานิตา สิงหสนั่น 16

7 21 ธ.ค. 48 Flow cytometric quantitation of red blood cell

vesicles in thalassemia

ผศ. ดร. ณัฐยา แซอ้ึง 17

8 4 ม.ค. 49 Thalassemia minor, Gilbert mutation and the risk of

gallstones

นางดวงฤด ี จังตระกูล 17

9 18 ม.ค. 49 Fetal DNA in maternal plasma throughout gestation น.ส.จารุวรรณ

ไตรทิพยสมบัต ิ

16

10 25ม.ค. 49 Prevalence of the H63D mutation of the HFE in north

India: its presence does not cause iron overload in

beta thalassemia trait

น.ส.สุภาวดี แยมศรี 15

11 1 ก.พ. 49 Haemoglobin E β-thalassemia in Sri Lanka รศ.พญ.อรุณี

เจตศรีสุภาพ

17

12 8 ก.พ. 49 In vivo and in vitro studies of fetal hemoglobin

induction by hydroxyurea in β-thalassemia /

hemoglobin E patients

ผศ.ดร.อําพร ไตรภัทร 17

13 15 ก.พ. 49 Hematologic differences between African-Americans

and whites: the roles of iron deficiency and α-

นายออนคาํ ซาวงศรี 16

Page 57: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

54

thalassemia on hemoglobin levels and mean

corpuscular volume

14 22 ก.พ. 49 Regulation of α - globin mRNA stability น.ส. จฬุาพร ใจซ่ือ 15

15 1 มี.ค. 49 A rare example that coninheritance of a severe form

of β - thalassemia and α - thalassemia interact in a

“synergistic” manner to balance the phenotype of

classic thalassemic syndromes

นายยศสมบัติ จังตระกูล 17

16 8 มี.ค. 49 Thalassemia-like carriers not linked to the

β - globin gene cluster

ผศ.ดร.สุทธิพรรณ

กิจเจรญิ

14

17 15 มี.ค. 49 Two β - globin cluster-linked polymorphic loci in

thalassemia patients of variable levels of fetal

hemoglobin

น.ส.รัชนก

เหงาพรหมมินทร

15

18 22 มี.ค. 49 The prevalence and spectrum of α and β thalassemia

in Guangdong Province: implications for the future

health burden and population screening

รศ.ดร.กนกวรรณ

แสนไชยสุรยิา

18

19 30 มิ.ย. 49 กรณีศกึษาการประมวลผลและการรายงานผลการตรวจ

ทางหองปฏบิัติการเพ่ือการวินิจฉัยธาลัสซีเมีย และการ

ประเมินคูเส่ียง

รศ.กุลนภา ฟูเจริญ 19

20 7 ก.ค.49 Genotypic heterogeneity and correlation to intergenic

haplotype within high Hb F-β - thalassemia

intermedia

ลลนา นนัทการณ 19

21 14 ก.ค.49 Molecular basis of Hb H hydrops fetalis รศ.ดร.สุพรรณ ฟูเจริญ 20

22 21 ก.ค.49 Detection of fetal DNA in maternal plasma by

microarray coupled with emulsions PCR

วารุณี ตั้งวิวัฒน 20

23 31 ก.ค.49 Human red blood cell polymorphisms and malaria ผศ.ดร. อําพร ไตรภัทร 21

24 7 ส.ค. 49 Human α2 - globin nonsense-mediated mRNA decay

induced by a novel α - thalassaemia frameshift

mutation at codon 22

สานติา สิงหสนั่น 17

25 21 ส.ค. 49 Fetal hemoglobin Silencing in humans ผศ.ดร. ณัฐยา แซอ้ึง 17

26 28 ส.ค. 49 Predictive value of cord blood hematological indices

and hemoglobin Bart’s for the detection of

heterozygous α-thalsssemia 2 in an African-

Caribbean population

จารุวรรณ

ไตรทิพยสมบัต ิ

19

Page 58: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

55

สรุปการดําเนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2549

(ตุลาคม 2548 – กันยายน 2549)

โครงการวิจัยและพัฒนาเก่ียวกับโรคมะเร็ง

คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หัวหนาโครงการ

รองศาสตราจารย ดร.เต็มดวง ลิ้มไพบูลย

2. นักวิจัยในโครงการ

2.1 รองศาสตราจารย ดร.เต็มดวง ลิ้มไพบูลย

2.2 ผูชวยศาสตราจารย ดร.พัชรี เจียรนัยกูร

2.3 ดร. จุรีรัตน ดาดวง

3. ผูชวยนักวิจัยและนักศึกษาท่ีเขารวมปฏิบัติงานวิจัยในโครงการ

3.1 นักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวน 6 คน

นางสาวจงกลณี ธนาไสย (ทุน คปก. รุนที่ 4 สกว.)

นางสาวพัชรี ชิณศรี (ทุน คปก. รุนที่ 5 สกว.)

นายประสงค แคนํ้า (ทุน คปก. รุนที่ 6 สกว.)

นางคนึงนุช หมื่นพล (ทุน คปก. รุนที่ 7 สกว.)

นายสุรศักด์ิ แวนรัมย (ทุนมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี)

นางสาวฤทัยรัตน ศรีรักษา (ทุน คปก. รุนที่ 8 สกว.)

3.2 นักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวน 7 คน

นางสาวจิราพร จรอนันต (ทนุ ศวป. ประจําป 2547)

นายปรีดา ปราการกมานันท (ทนุ ศวป. ประจําป 2548)

นางสาวอัญชลี ชูไทย (ทนุ ศวป. ประจําป 2548)

นางสาวมณทิรา สกุลเจีย (ทนุ ศวป. ประจําป 2549) *

นางสาวปฏิมาพร เชาวปรัชญากุล (ทนุ ศวป. ประจําป 2549) *

Page 59: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

56

นางสาวอินทิรา ทัศคร นายปริญญา ประสงคดี

* นักศึกษาใหมในป 2549

3.3 นักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 2 คน

1313131นางสาว วิภาวี แกวโพธิ์

นางสาว ณิชาปวีณ ณัฏฐศิริกุล

4. แหลงเงินทุนวิจัยท่ีไดรับการสนับสนุน

4.1 ทุนสนับสนุนโครงการวิจัย จํานวน 4 เร่ือง

4.1.1 การจําแนกการแสดงออกของจีนที่เกี่ยวของในการพัฒนาคอนโดรไซทจากเซลลตน

กาํเนิด ทนุสภาวิจัยแหงชาติ (วช.) มถินุายน 2548-พฤษภาคม 2549 จํานวน 1,735,000

บาท

4.1.2 วิทยามะเร็งและภูมิคุมกันระดับโมเลกุลในมะเร็งปากมดลูกทุนอุดหนุนทั่วไป

จากมหาวิทยาลัยขอนแกนป 2549 จํานวน 1,340,000 บาท

4.1.3 การพฒันาไบโอเซนเซอรเพื่อตรวจวิเคราะห DNA methylation profiles ของจีนที่

เกี่ยวของกับ cell cycle arrest และ apoptosis signaling ศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติ

สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ เมษายน 2549-2551 จํานวน

2,500,000 บาท

4.1.4 การตรวจระดับของเอนไซมดิสอินทกิริน/เมทัลโลโปรตีเนส (ADAMs)

ในซีรัมของผูปวยมะเร็งทอนํ้าดี และศักยภาพในการประยุกตใชทางคลินิก

ทุนพัฒนาศักยภาพในการทํางานวิจัยของอาจารยรุนใหมจากสํานักงานกองทุน

สนับสนุนการวิจัย (สกว.) กรกฏาคม 2549-2550 จํานวน 480,000 บาท

4.2 ทุนสนับสนุนบัณฑิตศึกษา

4.2.1 ทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) รุนที่ 4 ป2544-49

จํานวน 2,152,000 บาท

4.2.2 ทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) รุนที่ 5 ป 2545-50

จํานวน 2,152,000 บาท

4.2.3 ทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) รุนที่ 6 ป 2546-51

จํานวน 2,152,000 บาท

Page 60: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

57

4.2.4 ทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) รุนที่ 7 ป 2547-50

จํานวน 1,195,000 บาท

4.2.5 ทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) รุนที่ 8 ป 2548-53

จํานวน 2,152,000 บาท

4.2.6 The Commission of Higher Education Ph.D Scholar, Under Royal

Thai Government (for Surasak Wanram working at Department of Pathology,

College of Medicine and Public Health, Ubon Rajathanee University, Ubon

Rajathanee, Thailand) 1,612,400 bath (2548-2550)

5. ความรวมมือดานการวิจัยกับหนวยงานภายนอก

5.1 ศูนยวิจัยพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอนํ้าดี คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

5.2 Prof. Dr. Masanao Miwa, Nagahama Institute of Bio-Science and Technology, ประเทศญ่ีปุน

5.3 Prof. Dr. Hideyuki Saya, Kumamoto University School of Medicine, ประเทศญ่ีปุน

5.4 Dr. Akira Nakagawara, Chiba Cancer Center Research Institute, ประเทศญ่ีปุน

5.5 Prof. Dr. Robert Brown, Glasgow University, ประเทศอังกฤษ

5.6 Assoc. Prof. Dr. Shi Huang, Burnham Institute for Medical Research, ประเทศสหรัฐอเมริกา

5.7 Assoc. Prof. Dr. Andrew Giraud, Melbourne University, ประเทศออสเตรเลยี

6. การเผยแพรผลงานวิจัย

6.1 การเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการนานาชาติ จาํนวน 5 เร่ือง

ดูรายละเอียดหนา 30 – 31

6.2 การเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการในประเทศ จาํนวน 4 เร่ือง

ดูรายละเอียดหนา 37

Page 61: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

58

6.3 ผลงานวิจัยท่ีไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการนานาชาติ จํานวน 3 เร่ือง

ดูรายละเอียดหนา 22

6.4 ผลงานวิจัยท่ีไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการในประเทศ จํานวน 1 เร่ือง

ดูรายละเอียดหนา 27

7. การใหบริการทางวิชาการ

7.1 ผูทรงคุณวุฒิประเมินโครงการเพื่อขอการสนับสนุน

7.1.1 รศ. ดร. เต็มดวง ลิ้มไพบูลย เปนผูทรงคุณวุฒิประเมินโครงการวิจัยเพือ่ขอการ

สนับสนุนทนุวิจัยคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน และ จากศนูยพนัธุ

วิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีแหงชาติ

7.1.2 ผศ. ดร. พัชรี เจียรนัยกูร เปนผูทรงคุณวุฒิประเมินโครงการวิจัยเพื่อขอการสนับสนุน

ทุนวิจัยคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 3 เร่ือง

7.2 การจัดประชุมวิชาการ จาํนวน 3 คร้ัง

7.2.1 จัดประชุมวิชาการ”Nanotechnology & Biosensor Research: Lab on a Chip” ระหวาง

วันที่ 18-19 พฤษภาคม2549 2549 ณ คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน

โดยวิทยากร 2 ทานไดแก ผศ ดร จํารัส พรอมมาศ มหาวิทยาลัยมหิดล และ ดร.อดิสร

เตือนตรานนท ศูนย เทคโนอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ โดยทุนศูนยวิจัย

และพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางหองปฎิบัติการทางการแพทย (ศวป.)

มหาวิทยาลัยขอนแกน

7.2.2 จัดประชุมวิชาการ”Role of IL-6 and trefoil factor 1 in gastric cancer” ระหวางวันที ่

26 พฤษภาคม 2549 ณ คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยวิทยากรจาก

Page 62: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

59

ตางประเทศ คือ Assoc. Prof. Andrew Giraud, University of Melbourne ประเทศ

ออสเตรเลยีโดยรวมกบัโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก สํานักงานสนับสนุนการ

วิจัย

7.2.3 จัดประชุมวิชาการ”From molecular study to target therapy in cancer” ระหวางวันที ่1-

2 กรกฎาคม 2549 ณ คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยวิทยากรจาก

ตางประเทศ คือ Prof. Michael Karin, University of California, San Diego ประเทศ

สหรัฐอเมริกาและ Prof. Anton Burns, The Netherlands Cancer Institute ประเทศเน

เธอแลนด โดยรวมกบัทุนเครือขายสาขาสหเวชศาสตรและโครงการบัณฑิตศึกษาเพื่อ

พัฒนาอุดมศึกษาไทย (PED) หลักสุตรชีวเวชศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

8. การจัดกิจกรรมวิชาการสงเสริมกลุมวิจัย

8.1 จัดใหมีการนําเสนอผลความกาวหนาของงานวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ทํา

วิจัยภายใตโครงการฯ โดยรวมกับโครงการวิจัยและพัฒนาภูมิคุมกันระดับโมเลกุล และการปลูกถาย

อวัยวะและเน้ือเยื่อ โดยนําเสนอทุกบายวันศุกรเปนภาษาอังกฤษ เพื่อเปนการฝกทักษะในการนําเสนอ

ผลงานและวิจารณเปนภาษาอังกฤษ นอกจากน้ียังมีการนําเสนองานวิจัยที่ตีพิมพในวารสารนานาชาติที่

ใกลเคียงกับงานที่นักศึกษากาํลังดําเนินการวิจัย

8.2 การปฏิบัติงานวิจัยและหารือความรวมมือทางดานงานวิจัยกับนักวิจัยในตางประเทศโดย

นักวิจัยในโครงการฯซึ่งไดแก

8.2.1 การหารือความรวมมือดานการวิจัยของนักศึกษาโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

(นางสาวพัชรี ชิณศรี) ของ รศ.ดร.เต็มดวง ลิ้มไพบูลย ณ Kumamoto University

School of Medicine ประเทศญ่ีปุน ระหวางวันที่ 20-24 มีนาคม 2549 (ทนุ JSPS)

8.2.2 การหารือความรวมมือดานการวิจัยของนักศึกษาโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

(นายประสงค แคน้ํา) ของ รศ. ดร.เต็มดวง ลิ้มไพบูลย ณ Burnham Institute for

Medical Research, La Jolla ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหวางวันที ่2-10 พฤษภาคม 2549

(ทุน คปก.)

8.2.3 การหารือความรวมมือดานการวิจัยของนักศึกษาโครงการปริญญาเอกสาขาชีวเวช

ศาสตร (นายสุรศักด์ิ แวนรัมย) ของ ผศ. ดร. พัชรี เจียรนัยกูร กับนักวิจัยจาก

ตางประเทศ คือ Prof. Michael Karin, University of California, San Diego ประเทศ

Page 63: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

60

สหรัฐอเมริกาและ Prof. Anton Burns, The Netherlands Cancer Institute ประเทศเน

เธอแลนด ระหวางวันที ่31 กรกฎาคม-8 สิงหาคม 2549 (ทนุ CRN และ PED.)

รายงาน ณ วันที ่25 สิงหาคม 2549

โดย รองศาสตราจารย ดร.เต็มดวง ล้ิมไพบูลย

Page 64: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

61

สรุปผลการดาํเนนิงาน โครงการวิจัยและพัฒนาภูมิคุมกันระดับโมเลกุลและการปลูกถายอวัยวะและเน้ือเย่ือ

(ตุลาคม 2548 – กนัยายน 2549)

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หัวหนาโครงการ

ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชาญวิทย ลีลายุวัฒน

2. ผูรับผิดชอบโครงการ

2.1 ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชาญวิทย ลีลายุวัฒน ภาควิชาภูมิคุมกันวิทยาคลนิิก

2.2 รองศาสตราจารย ดร. อมรรัตน รมพฤกษ คลังเลือดกลาง

2.3 ผูชวยศาสตราจารย อรุณรัฐ รมพฤกษ ภาควิชาภูมิคุมกันวิทยาคลินิก

2.4 ผูชวยศาสตราจารย ดร. พชัรี เจียรนัยกูร ภาควิชาเคมีคลินิก

2.5 ผูชวยศาสตราจารย ดร. กาญจนา เลิศมีมงคลชัย ภาควิชาภูมิคุมกันวิทยาคลินิก

2.7 รองศาสตราจารย ดร. สหพัฒน บรัศวรักษ ภาควิชาภูมิคุมกันวิทยาคลินิก

3. จํานวนผูชวยวิจัยและนักศึกษาท่ีเขารวมปฏิบัติงานวิจัยในโครงการ

3.1 นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาเทคนิคการแพทย (นานาชาต)ิ มหาวิทยาลัยมหิดล

จาํนวน 3 คน

รองศาสตราจารยเกรียงไกร กิจเจริญ (ทุนพัฒนาอาจารย มหาวิทยาลัยขอนแกน)

นางสาวอมรรัตน จําเนียรทรง (ทนุโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุนที่ 4)

นางสาวกัญญา คลุมกระโทก (ทนุโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุนที่ 5)

3.2 นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาชีวเวชศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จํานวน 8 คน

นางสาววัชนันท วงศเสนา (ทนุพฒันาอาจารย)

นางสาววราภรณ จันทรออน (ทนุโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุนที่ 6)

นายสรายศ ราเริงใจ (ทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก ป รุนที่ 7)

นางสาวรุงนภา ปานกลา (ทุนพัฒนาอาจารย มหาวิทยาลัยนเรศวร)

นางสาวชลันดา กองมะเริง (ทุนพัฒนาอาจารยมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระ

เกียรต์ิ)

นายสรุศักด์ิ แวนรัมย (ทุนพัฒนาอาจารย)

นางสาวพัชราภรณ ทิพยวัฒน (ทุนศูนยวิจัยป 2549) *

Page 65: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

62

นางสาวมยุรฉัตร แกวมณี (ทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุนที่ 8) *

3.3 นักศึกษาปริญญาโท สาขาสาขาวิชาชีวเวชศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จํานวน 1

คน

นางสาวมธรุส ดวงจันทรโชติ (ทุนศูนยวิจัยป 2548)

3.4 นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิทยาศาสตรการแพทย จํานวน 8 คน

นางสาวชลธิชา สุภาพรม (ทุนศูนยวิจัยป 2547)

นางสาวดวงจันทร สวุรรณแสน (ทุนวิจัยกลุม Cellular Immunology)

นางสาวดาราวรรณ รินชัย (ทุนศูนยวิจัยป 2548)

นางสาวมธรุส ดวงจันทรโชติ (ทุนศูนยวิจัยป 2548)

นางสาวมณีรัตน ปนมณี (ทุนศูนยวิจัยป 2548)

นางสาวสุจินต จันทรจําเริญ (ทุนวิจัยกลุม Cellular Immunology)

นางสาววิภาวี แสนวงษา (ขาราชการลาเรียน)

นางสาวจิราวรรณ มหาวันตัง (ทุนศูนยวิจัยป 2549)*

* นักศึกษาใหมในป 2549

4. แหลงทุนวิจัยท่ีไดรับการสนับสนุน

4.1 ทุนสนับสนุนโครงการวจิยั จํานวน 6 เร่ือง

4.1.1 เร่ือง The role of bystander T cells in human immunity to dengue infection.

T2-program (WHO-NSTDA-TRF). 2004-2006 จํานวน 1,725,932.- บาท ตอ 2 ป

(ประมาณ 862,966 บาท ตอ ป) :- กาญจนา เลิศมีมงคลชัย หัวหนาโครงการ

4.1.2 เร่ือง Scanning the B pseudomallei proteome for vaccine antigens. National

Insitute of Health, USA 2004-2009 จํานวน 922,998 USD (เฉพาะสวนของ

โครงการฝายไทย) เปนเวลา 5 ป (x 42 ประมาณปละ 7, 753,183 บาท) :- กาญจนา

เลิศมีมงคลชัย หัวหนาโครงการฝายไทย

4.1.3 เร่ือง Soluble NKG2D ligands in cervical cancer ทนุวิจัยมหาวิทยาลยัขอนแกน

ป 2549 จํานวน 280,000 บาท :- ชาญวิทย ลีลายุวัฒน หัวหนาโครงการ

4.1.4 เร่ือง MMP-9 and MMP-11 expression in cervical cancer cells ทุนวิจัย

มหาวิทยาลัยขอนแกน ป 2549 จํานวน 280,000 บาท:- สหพัฒน บรัศวรักษ หัวหนา

โครงการ

4.1.5 เร่ือง Alteration of MHC class I expression in cervical cancer ทุนวิจัย

มหาวิทยาลัยขอนแกน ป 2549 จํานวน 260,000 บาท:- พัชรี เจียรนัยกูร หัวหนา

โครงการ

Page 66: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

63

4.1.6 เร่ือง Production and evaluation of molecular HLA typing kit for matching of

tissue and organ transplantations โครงการนาโนเทคโนโลยีบูรณาการเพื่อ

สุขภาพและคุณภาพชีวิต สภาวิจัยแหงชาติ ป 2549 จํานวน 1,000,000 บาท :- ชาญ

วิทย ลีลายุวัฒน หัวหนาโครงการ

4.2 ทุนสนับสนุนบัณฑิตศึกษา

4.2.1 ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุนที่ 4, 5, 6, 7 และ 8 สกว. จํานวนรุนละ 1 ทนุ

4.2.2 ทุนพฒันาอาจารย จํานวน 5 ทุน

5. การเผยแพรผลงานวิจัย

5.1 การเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการนานาชาติ จาํนวน 10 เร่ือง

ดูรายละเอียดในหนา 31 - 33

5.2 การเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการในประเทศ จาํนวน - เร่ือง

5.3 ผลงานวิจัยท่ีไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการนานาชาติ จาํนวน 3 เร่ือง

ดูรายละเอียดในหนา 22 - 23

5.4 ผลงานวิจัยท่ีไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติ จํานวน - เร่ือง

6. การใหบริการทางวิชาการ

6.1 ผูทรงคุณวุฒิประเมินผลงานเพื่อการตีพิมพนานาชาต ิ7 เร่ือง บทคัดยอในการประชุมนานาชาติ 74

เร่ือง

6.1.1 “Human Immunology” 1 เร่ือง HIM-D-05-00106 (ผศ. ดร. ชาญวิทย ลีลายุวัฒน)

6.1.2 “Tissue Antigens” 2 เร่ือง TAN-May-2006-0353-OA, TAN-Jul-2006-0419-BC (ผศ. ดร.

ชาญวิทย ลีลายุวัฒน)

6.1.3 “Asian Pacific Journal of Immunology and Allergy” 2 เร่ือง MS-1587, MS-1610

(ผศ. ดร. ชาญวิทย ลีลายุวัฒน)

6.1.4 “International J of Biomedical Sciences” 1 เร่ือง 110114/11/2005 (ผศ. ดร. ชาญวิทย ลีลา

ยวุฒัน)

Page 67: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

64

6.1.5 “Clinical Microbiology and Infection” 1 เร่ือง CLM-05-0417 (ผศ. ดร. ชาญวิทย ลีลา

ยวุฒัน)

6.1.6 ประเมินบทคัดยอสําหรับการนําเสนอใน The XVI International Society of Blood

Transfusion Regional Congress Asia, 12-15 November 2005, Bangkok Convention

Center, Bangkok, Thailand จํานวน 74 บทคัดยอ

6.2 กองบรรณาธิการวารสารนานาชาติ

6.2.1 International Journal of Biomedical Sciences

6.2.2 Asian Pacific Journal of Immunology and Allergy

6.2 ผูทรงคุณวุฒิในการสอบวิทยานิพนธ สอบเคาโครง และอาจารยท่ีปรึกษารวม

6.2.1 ประเมิน PhD Thesis Mr David Dunn, Murdoch University, Australia (ผศ. ดร. ชาญวิทย

ลีลายุวัฒน)

6.3 ผูทรงคุณวุฒิประเมินโครงการเพื่อขอทุนสนับสนุน

6.3.1 โครงรางวิจัยเพื่อขอทุนสนับสนุนจากคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 3 โครงราง

(ผศ. ดร. ชาญวิทย ลีลายุวัฒน)

6.3.2 โครงรางวิจัยเพื่อขอทุนสนับสนุนจาก สวทช 1 โครงราง (ผศ. ดร. ชาญวิทย ลีลายุวัฒน)

6.4 นักวิจัยพี่เลี้ยง

6.4.1 โครงการทุนสงเสริมนักวิจัยรุนใหม สํานักงานกองทนุสนับสนุนการวิจัย 2 โครงการ ดร.

นวลนอย จูฑะพงษ สํานักวิชาวิทยาศาสตร สาขาวิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุร

นารี และ รองศาสตราจารย สหพัฒน บรัศวรักษ ภาควิชาภูมิคุมกันวิทยาคลินิก คณะเทคนิค

การแพทย (ผศ. ดร. ชาญวิทย ลีลายุวัฒน)

6.5 วิทยากร

6.5.1 “Functional Polymorphisms of NKG2D Ligands in Diseases and Bone Marrow

Transplantation.” การสัมมนาวิชาการ“เครือขายวิจัยสาขาเทคนิคการแพทย ๒๕๔๘” ณ

อาคารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการแพทย คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยมหิดล

ศาลายา วันศุกร ที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ผศ. ดร. ชาญวิทย ลีลายุวัฒน)

Page 68: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

65

6.5.2 "Polymorphic interaction of immune activating receptor, NKG2D and its ligands relevant

to diseases and bone marrow transplantation" ณ Institute of Biochemistry, University of

Muenster, Germany 4 May, 2006 (ผศ. ดร. ชาญวิทย ลีลายุวัฒน)

6.5.3 Polymorphisms and expressions of MIC expressions suggestive of immune

evasionmechanism ณ Kumamoto University, Japan 22 March, 2006 (ผศ. ดร. ชาญวิทย

ลีลายุวัฒน)

6.6 จัดประชุมวิชาการ

6.6.1 จัดประชุมวิชาการ “From Genomes to Vaccines” ณ มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลยัขอนแกน และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ระหวางวันที่ 28 เมษายน- 4 พฤษภาคม

2549 ซึ่งไดรับการสนับสนุนจาก โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษา เพื่อพัฒนาอุดมศึกษาไทย

สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา สาขาวิชาชีวเวชศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน และ

ศวป.

6.7 การใหบริการทางหองปฏิบัติการ

6.7.1 การตรวจ Block Matching สําหรับการเปลี่ยนถายไขกระดูก โครงการการตรวจพิเศษ

หองปฏิบัติการชุมชน สถานบริการสุขภาพเทคนิคการแพทยและกายภาพบําบัด คณะ

เทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน

7. กิจกรรมสงเสริมกลุมวิจัย

จัดสัมมนากลุมวิจัย MHC รวมกับกลุมวิจัยมะเร็ง ณ หองสัมมนา 6 คณะเทคนิคการแพทย

มหาวิทยาลัยขอนแกน ทุกวันศุกร เวลา 13:00 – 14:00 ทุกอาทิตย ต้ังแตป 2545

รายงาน ณ วันที ่25 สิงหาคม 2549

โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชาญวิทย ลีลายุวัฒน

Page 69: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

Tentative schedule

Site visit with special lectures & seminars “From Genomes to Vaccines”

28 April - 4 May 2006

Department of Immunology, Faculty of Medicine at Siriraj Hospital, Mahidol University, Bangkok and The Centre for Research and Development of Medical Diagnostic Laboratories (CMDL), Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand

Supported by Post Graduate Education Development

(PED) program, Ministry of Education, Thailand Invited Guest Jenefer M. Blackwell (Miles) Professor of Molecular Parasitology Genetics and Infection Laboratory Cambridge Institute for Medical Research Addenbrooke’s Hospital Site Cambridge CB2 2XY, United Kingdom Telephone: +44 1223 336947, Fax: +44 1223 331206 Email: [email protected] Co-hosts Sunee Korbsrisate, PhD Associate Professor, Department of Immunology Faculty of Medicine at Siriraj Hospital Mahidol University, Bangkok 10700 Tel: +66 (0)2419 7000 ext 6636, Fax: +66 (0)2418 1636 E-mail: [email protected] Chanvit Leelayuwat, PhD Assistant Professor, Department of Clinical Immunology Centre for Research and Development of Medical Diagnostic Laboratories Faculty of Associated Medical Sciences Khon Kaen Univeristy, Khon Kaen 40002 Tel/Fax: +66 (0)4320 2089 E-mail: [email protected] Coordinator Ganjana Lertmemongkolchai, PhD Assistant Professor, Department of Clinical Immunology Centre for Research and Development of Medical Diagnostic Laboratories Faculty of Associated Medical Sciences Khon Kaen Univeristy, Khon Kaen 40002 Tel: +66 (0)4320 3825, Fax: +66 (0)4320 3826 E-mail: [email protected]

Page 70: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

2

Friday 28 April 2006 22: 45 Arrive at Bangkok Airport by TG 607 Check in Shangri-La Hotel Saturday 29 April 2006 10:00 Pick up from Shangri-La Hotel and informal visit to Siriraj Hospital 19:00 Dinner (GB, SK, GL hosted) Sunday 30 April 2006 09:00 Pick up from Shangri-La Hotel and Bangkok sight seeing 18:50 Depart Bangkok for Khon Kaen by TG046 and check in Sofitel Monday 1 May 2006 09:00 Pick up from Sofitel 09:15-09:30 Meet CMDL members, AMS2 Building-7th floor (Seminar Room 7) 09:30-10:30 Lecture “Strategies for genetic analysis of infectious disease

susceptibility” Prof. Jenefer M. Blackwell 10:30-10:45 tea/coffee break 10:45-11:45 Seminar “Role of regulatory T cells in determining vaccine efficacy”

Prof. Jenefer M. Blackwell 11:45-12:00 General discussion 12:00-13:30 Lunch (North-Eastern Thai style) 13:30-14:00 Visit Category III lab, AMS1 Building, 4th floor (West wing) 14:00-15:15 Presentations of Sciences Part I, AMS1 Building, 4th floor - Chanvit Leelayuwat “Overview of Molecular Immunology and

Immunogenetics research group” - Kreigkri Kitcharoen (PhD student) “MICA, MICB and MHC block

matching in bone marrow transplantation” - Watchanun Wongsena (PhD student) “MHC class I and MIC

expression in cholangiocarcinoma” - Amonrat Jumnainsong (PhD student) “Functional polymorphisms of MIC alleles” - Sarayot Rareongjai (PhD student) “MICA and MICB expression in dengue viral infection”

15:15-15:30 Tea/coffee break 15:30-17:00 Presentations of Sciences Part II, AMS1 Building, 4th floor

- Ganjana Lertmemongkolchai “Overview of Cellular Immunology research group” - Rungnapa Pankla (PhD student) “Host and bacterial genes involved in iron transportation: polymorphism and functional studies in melioidosis” - Wipawee Saenwongsa (MSc student) “ELISPOT assays for interferon-gamma and granzyme production in response to B. pseudomallei and its ABC transporter proteins” - Chontida Supaprom (MSc student) “Detection of B. pseudomallei type III secretion system genes by real time-PCR” - Jirawan Mahawantung (Research staff) “Immunomics of B. pseudomallei” - Duangchan Suwannasan (MSc student) “Interferon-gamma production in response to Dengue virus”

17:00-17:30 Round table discussions for research collaborations and students/academic exchanges

19:00 Dinner (CMDL hosted)

Page 71: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

3

Tuesday 2 May 2006 8:25 Depart Khon Kaen to Bangkok by TG 041, check in Shangri-La 13:00 Visit Department of Immunology, Faculty of Medicine-Siriraj Hospital 13:30-14:30 Lecture “From genomes to vaccines for infectious diseases”

Prof Jenefer M. Blackwell 14:30-15:00 Tea/coffee break 15:00-16:00 Seminar “Role of divalent cation transporters in susceptibility to

infection” Prof Jenefer M. Blackwell 16:00-16:30 General discussion Wednesday 3 May 2006 09:00 Pick up from Shangri-La Hotel 09:30-12:00 Meet senior staff and general discussions, research facilities 13:30-17:00 Bangkok sightseeing Thursday 4 May 2006 09:00 Pick up from Shangri-La Hotel 09:30-12:00 Presentation of Sciences (15 min each)

- Sunee Korbsrisate “Overview of Burkholderia pseudomallei research at the Department of Immunology” - Supaporn Suparuk (Ph.D. student) “Type III secretion protein BipB and its roles in intracellular behavior of B. pseudomallei” - Muthita Vanaporn (Ph.D. student) “B. pseudomallei sigma factors: proteomic analysis and oxidative stress” - Warisa Amornrit (M.Sc. student) “The roles of iron in B. pseudomallei infection” - Veerachat Laitong (M.Sc. student) “Characterization of B. pseudomallei BsaQ, a type III secretion apparatus protein” - Pornpant Pumirat (Ph.D. student) “Molecular analysis of B. pseudomallei type III secreted proteins and intracellular survival mechanism” - Chayada Sittidej (Ph.D. student) “Molecular analysis of B. pseudomallei actin-based motility” - Varintip Srinoon (M.Sc. student) “Characterization of B. pseudomallei phospholipase C enzymes”

13:00-14:00 Round table discussions for research collaborations and

students/academic exchanges 20:00-20:30 checking out from Shangri-la Hotel 23:10 Depart Bangkok by TG 985

Page 72: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

69

สรุปการดําเนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2549

(ตุลาคม 2548 – กันยายน 2549)

โครงการวิจัยและพัฒนาวธีิการตรวจทางหองปฏิบัติการเพ่ือวินิจฉัยโรคติดเช้ือ

คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน

1. หัวหนาโครงการ

รองศาสตราจารย ดร.จุฬารัตน ปริยชาติกุล

2. นักวิจัยในโครงการ (เรียงตามลําดับอักษร)

2.1 รองศาสตราจารย เกษแกว เพียรทวีชัย คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.2 ผูชวยศาสตราจารย จินดารัตน ตระกูลทอง คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.3 รองศาสตราจารย ดร.จุฬารัตน ปริยชาติกุล คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.4 นายเชิดชัย แกวปา สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 6

2.5 รองศาสตราจารย ดร. โชติชนะ วิไลลักขณา คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.6 อาจารย ดร.ธนกร ปรุงวิทยา คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.7 อาจารยนิชา เจริญศรี คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.8 นางปริศนา วงศวีระขันธ ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยเขต 6

2.9 ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปรีชา หอมจําปา คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.10 ผูชวยศาสตราจารยพรทิพย ปนละออ คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.11 รองศาสตราจารยพิพัฒน ศรีเบญจลักษณ คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.12 ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไพเกษม แสนยานุสนิ คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.13 ผูชวยศาสตราจารย มยรุี ศรีลุนชาง คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.14 อาจารยไมตรี ปะการะสังข คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.15 รองศาสตราจารยศรีวิไล วโรภาสตระกูล คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.16 รองศาสตราจารย ดร.สุภาภรณ พัวเพิ่มพูลศิริ คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.17 นายเสกสิทธิ ์ สังคีรี คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.18 ผูชวยศาสตราจารยอรุณนี สังกา คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.19 รองศาสตราจารย อรุณลักษณ ลลุติานนท คณะเทคนิคการแพทย มข.

2.20 ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรุณวดี ชนะวงศ คณะเทคนิคการแพทย มข.

Page 73: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

70

3. ผูชวยวิจัยและนักศึกษาท่ีเขารวมปฏิบัติงานวิจัยในโครงการ

นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิทยาศาสตรการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน

1. สุพจน สิงโตหิน

2. ยินดี หรหมศิริไพบูลย

3. ชัชวาล เส็งทอง

4. กสุาวดี เอกอุ

5. สวิตา โสภาศรี

6. แพรชมพู แซต้ัง

7. ณัฐนนท หงสศรีจันทร

8. นางสาวจิรารัตน สองสี

9. ยอดหทัย ทองศรี

นักศึกษาปริญญาตรี สาขาเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน

1. จิตรชนก ลี้ทวีสุข

2. ถิรนันท พิสรุาช

3. นิศากร กลมกูล

4. เพ็ญนภา เขตจตุรัส

5. วรีพร วัฒนาวงศดอน

6. ศุกรภาณี วิมลกลาง

7. สิรินันท จันทนา

8. สุภาพร พิมพทอง

9. สุภาวดี จําเริญเจือ

10. จิราพร อารวิชัย

4. แหลงทุนวิจัยท่ีไดรับการสนับสนุน (เฉพาะโครงการที่นักวิจัยในโครงการเปนหัวหนาโครงการ)

4.1 การสํารวจเชื้อ Escherichia coli และ Klebsiella pneumoniae ที่ด้ือตอยากลุม extended

spectrum cephalosporins โดยการสรางเอนไซม AmpC beta-lactamases ในโรงพยาบาลศรี

นครินทร แหลงทุนอุดหนุนทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแกน ประจําปงบประมาณ 2549 จํานวน

150,000 บาท (ดําเนินการใกลเสร็จ)

4.2 การวินิจฉัยเชื้อ Pythium insidiosum โดยวิธ ีทางอณูชีววิทยาแหลงทุนเมธีวิจัย สกว. ทุนตอเน่ือง

2 ป 700,000 บาท (กําลังสรุปสงผลงาน)

Page 74: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

71

4.3 การสาํรวจเชิงโมเลกุลของยีนกอโรคสัมพันธกบัโปรเฟจใน Staphylococcus aureus ทีแ่ยกได

จากผูปวยโรงพยาบาลศรีนครินทร ทุนโครงการพัฒนานักวิจัยใหม ประจําป 2549

มหาวิทยาลยัขอนแกน จํานวน 100,000 บาท (พึ่งเร่ิมเพราะมหาวิทยาลัยประกาศใกลหมด

ปงบประมาณ คือ มิถนุายน 2549)

4.4 ฟโนไทมของเชื้อ HIV ที่แยกไดจากคนไข AIDS ระยะสดุทายในโรงพยาบาลศรีนครินทร ทุน

โครงการพัฒนานักวิจัยใหม ประจําป 2549 มหาวิทยาลยัขอนแกน จํานวน 100,000 บาท (พึ่ง

เร่ิมเพราะมหาวิทยาลัยประกาศใกลหมดปงบประมาณ คือ มิถุนายน 2549)

5. ความรวมมือดานการวิจัยกับหนวยงานภายนอก

5.1 รวมมือกับ รองศาสตราจารย ดร.อังคณา ฉายประเสริฐ และคณะ จากภาควิชาจุลชีววิทยา

คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล ดําเนินการวิจัยภายใตโครงการ Molecular typing and phylogeny of

Pythium insidiosum (1 ลานบาท)

5.2 รวมมือกับ ศาสตราจารย นพ. ภิเศก ลุมพกิานนท และคณะ จากคณะแพทยศาสตร และ คณะ

สาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน , คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , คณะ

แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม , คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลา, College of Medicine-

Philippine General Hospital, Pedro Gil Street, Ermita, Manila, Philippines, Institute for the Protection of

the Mother and Newborn, Hanoi, Viet Nam, Creps, Rosaio, Argentina ดําเนินการวิจัยภายใตโครงการของ

World Health Organization multicentre double blind, placebo controlled, randomized ซึ่ง trial to evaluate

the effectiveness of a one day versus 7-day regimen of nitrofurantoin for the treatment of asymtomatic

bacteriuria in pregnancy งบประมาณ 255,560 US$

6. การเผยแพรผลงานวิจัย

6.1 ตีพิมพผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ 3 เร่ือง

ดูรายละเอียดหนา 23 – 24

6.2 นวตักรรม, ทรัพยสินทางปญญา, เทคโนโลยีใหม, สิ่งประดิษฐตนแบบ 1 เร่ือง

อยูในระหวางยกรางคําขอสิทธิบัตร เพื่อพัฒนาเปนชุดตรวจสอบในชื่อ ชุดตรวจสอบสําเร็จรูปและ

วิธีการตรวจสอบที่จําเพาะสําหรับเชื้อพิเทียม อินสิดิโอซัม (Pythium insidiosum)

6. 3 จาํนวนทุนภายนอกท่ีไดรับการสนับสนุน 1 ทุน

ทุนเมธีวิจัย สกว ทุนตอเน่ือง 2 ป 700,000 บาท

Page 75: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

72

6.4 ตีพิมพผลงานวิจัยในวารสารวชิาการในประเทศ จาํนวน 2 เร่ือง

ดูรายละเอียดในหนา 28

6.5 ผลงานวิจัยในท่ีประชุมวิชาการนานาชาติ จาํนวน 6 เร่ือง

ดูรายละเอียดในหนา 33 - 34

6.6 ผลงานวิจัยในท่ีประชุมวิชาการในประเทศ จาํนวน 13 เร่ือง

ดูรายละเอียดในหนา 38 - 40

6.7 จํานวนอาจารย นศ. ท่ีเพิ่มข้ึน 8 คน

อาจารยไมตรี ปะการะสังข

สุพจน สิงโตหิน

ยินดี หรหมศิริไพบูลย

ชัชวาล เส็งทอง

กสุาวดี เอกอุ

สวิตา โสภาศรี

แพรชมพู แซต้ัง

ณัฐนนท หงสศรีจันทร

7. การจัดสัมมนากลุมวิจัย 9 คร้ัง

ครั้งท่ี วัน เดือน ป ช่ือเรื่อง ผูนําเสนอ จํานวน

ผูเขาประชุม

1 4/11/05 Molecular characterization of Cefoxitin-Resistance E.coli

from Canadian hospital

สุพจน สิงโตหิน 17

2 11/11/05 เลาเรื่องจาก TIMM 2005, Berlin Germany จุฬารัตน

ปริยชาติกุล

13

3 25/11/05 Humoral and cell-mediated adaptive immune responses

are required for protection against Burkholderia

ยินดี

พรหมศิริไพบูลย

15

Page 76: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

73

pseudomallei challenge and bacterial clearance

positinfection

4 9/12/05 Expression library immunization to discover and improve

vaccine antigens

กุสาวด ีเอกอุ 14

5 16/12/05 Signature-tagged mutagenesis in the identification of

virulence genes in pathogens

จิรารัตน สองสี 12

6 27/12/05 สรุปงานส้ินป นักวิจัยในกลุม 27

7 28/7/06 Protection against heterologous Burkholderia

pseudomallei strains by dendritic cells immunization

กุสาวด ีเอกอุ 11

8 21/7/06 Genomic fingerprinting of Burkholderia pseudomallei

and B. mallei pathogens with DNA array based on

interspecies sequence differences obtained by subtractive

hybridization

จิรารัตน สองสี 23

9 9-10/8/06 Molecular Cloning and DNA analysis

วรพงษ วงษ

ปญญา, สุพิรดา

ธนลีลังกูร

44

8. การจัดประชุมสัมมนาระดับนานาชาติ ไมมี

9. การจัดประชุมสัมมนาระดับชาติ 1 คร้ัง

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เร่ือง Molecular Cloning and DNA analysis ณ ศนูยวิจัยและ

พัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการทางการแพทย คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน

ระหวางวันที ่9 – 10 สิงหาคม 2549

หลักการและเหตุผล

ในปจจุบันเทคโนโลยีดานพันธุศาสตร มีสวนสําคัญในการพัฒนาความรู และการวิจัยทางดานโรค

ติดเชื้อจําเปนตองพึ่งพาเทคโนโลยีการโคลนนิ่ง เพื่อตรวจสอบ ศึกษา และวิจัยยีนตาง ๆ ในโครงการ

Human genome project ไดมกีารคนพบสวนทีค่าดวาเปนยนี หรือ open reading frame มากมาย ทั้งนี้มียีน

จํานวนมากที่ยังไมทราบหนาที่ ดังนั้นการศึกษาวิเคราะหยีนเหลาน้ีสวนใหญจําเปนตองเคลื่อนยายชิ้นดีเอ็น

เอที่มียีนดังกลาวเขาสูเวคเตอร และสวนผานเขาสูเซลลโฮสตที่เหมาะสม ที่เราเรียกวา Gene cloning เพื่อ

กระตุนใหยีนเหลานั้นสรางโปรตีนมากพอที่จะสามารถนําไปศึกษาหนาที่ของโปรตีนเหลานั้นตอไป เทคนิค

ดังกลาวมีความจําเปนอยางยิ่งและมีผูใหความสนใจเปนอยางมากในปจจุบัน

Page 77: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

74

Gateway technology เปนเทคโนโลยีหน่ึงชวยใหการยายชิ้นดีเอ็นเอระหวางเวคเตอรใหมี

ประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถนําไปประยุกตกับการโคลนชิ้น PCR product หรือชิ้นดีเอ็นเอที่ถูกตัดดวย

เอนไซมตัดจําเพาะ เขากับเวคเตอรเร่ิมตน (entry vector) จากน้ันสามารถยายชิ้นดีเอ็นเอเขาสูเวคเตอรตัวใหม

(destination vector) ไดโดยงาย โดยอาศัย recombinase enzyme ซึ่งเปนเอนไซมสําคัญที่ไวรัสในแบคทีเรีย

(bacteriophage lambda) ใชในการแทรกจีโนมของโฮสตแบคทีเรีย

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการในคร้ังนี้ จะไดนําเสนอเทคโนโลยีลาสุดของการทํา TOPO TA Cloning

ซึ่งสามารนําเขาสู Gateway cloning technology ไดโดยตรง โดยใชเวคเตอรตาง ๆ เชน pCR8/GW/TOPO

เปนการรวมเทคโนโลยีของ TOPO cloning และ Gateway technology เขาดวยกนั ดวยเทคนิคนี้สามารถ

โคลนยีนหรือชิ้นดีเอ็นเอเขาสูเวคเตอรในเวลาเพียง 5 นาที การเคลื่อนยายชิ้นดีเอ็นเอแทรกเขาสูเวคเตอร

ประเภทอ่ืน ๆ ก็สามารถทําไดอยางงายดาย โดยไมตองอาศัยเอนไซม ligase อีกทั้งไดเลือกใช competent cell

ชื่อ One shot Mach-T1 ซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษคือมี อัตราการเจริญคอนขางสูง สามารถทํา clone selection ได

ภายใน 5-6 ชั่วโมง ดังนั้นจึงชวยลดระยะเวลาในการเลี้ยงเซลลไดเปนอยางดี ในสวนของการทํา DNA

analysis จะทําการยอมสีดีเอ็นเอดวยสารละลาย ethidium bromide และตรวจสอบชิน้ดีเอ็นเอดวยเคร่ือง

BioDoc-iT system ซึ่งมีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูง

กลุมวิจัยโรคติดเชื้อ ศูนยวิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการทางการแพทย คณะ

เทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน เล็งเห็นความสําคัญเทคโนโลยีโคลนนิ่งของกับการประยุกตกับ

งานวิจัยดานโรคติดเชื้อ จึงจัดประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เร่ือง Molecular Cloning and DNA analysis

เพื่อใหคณาจารย นักวิจัย และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาไดรับความรู และทักษะจากการสัมมนาเชิง

ปฏิบัติการดังกลาว เพื่อประยุกตกับงานวิจัยโรคติดเชื้อตอไป

วัตถุประสงค

1. เพื่อพัฒนาความรูและทักษะพื้นฐานเทคโนโลยีอณูชีวววิทยา เกี่ยวกับโคลนน่ิงชิ้นดีเอ็นเอโดย

เทคนิค TOPO TA Cloning และ Gateway technology

2. เพื่อสนับสนุน สงเสริม และติดตามความกาวหนาทางเทคโนโลยี รวมทั้งแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

ระหวางคณาจารย นักวิจัย และนักศึกษา ระหวางภาครัฐและเอกชน

ระยะเวลา 2 วัน วันที่ 9-10 สิงหาคม 2549

วิธีดําเนินการ

1. บรรยายโดยวิทยากรจากบริษัทกิบไทย (ประเทศไทย) จํากัด

2. ปฏิบัติการ

3. อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางวิทยากรและผูเขาสัมมนา

Page 78: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

75

จํานวนผูเขารวมประชุม

คณาจารย นักศึกษาบัณฑิตศึกษา และผูสนใจจากหนวยงานอ่ืน ๆ อาทิ คณะแพทยศาสตร

มหาวิทยาลยัขอนแกน และโรงพยาบาลขอนแกน จํานวน 40-50 คน

ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

1. คณาจารย นักวิจัย และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ไดเพิ่มพูนความรูและประสบการณเกี่ยวกับ

เทคโนโลยีการโคลนนิ่ง

2. สงเสริมศักยภาพและความเขมแขงของกลุมวิจัย

งบประมาณ

1. คาอาหาร

คาอาหารกลางวัน 2 มื้อ (30 x 80 x 2) 4,800 บาท

คาอาหารวาง (30 x 25 x 4) 3,000 บาท

คาจัดทําเอกสาร 2,200 บาท

รวม เหมาจายตลอดรายการ 10,000 บาท

รายงาน ณ วันที ่25 สิงหาคม 2549

โดย รองศาสตราจารย ดร.จุฬารัตน ปริยชาติกุล

Page 79: รายงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2549 · คํานํา ศูนย วิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางห

76

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเร่ือง

Molecular cloning and DNA analysis

ศูนยวิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการทางการแพทย

คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน

9-10 สิงหาคม 2549 ณ หองสัมมนา 4 ชั้น 4 ภาควิชาจุลชวีวิทยาคลินิก

9 สิงหาคม 2549

08.30-08.45 น. ลงทะเบียน

08.45-09.45 น. Basic principle of cloning

09.45-10.45 น. Gateway technology and application

10.45-11.00 น. พักรับประทานอาหารวาง

11.00-11.30 น. Preparation reaction for TOPO TA Cloning (ปฏิบัติการ)

11.30-12.00 น. Transform DNA into competent cells (ปฏิบัติการ)

12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13.00-14.00 น. Spread plate (ปฏิบัติการ)

14.00-15.00 น. Transfection and Transfomation

15.00-15.15 น. พักรับประทานอาหารวาง

15.15-16.15 น. Recombinant clone selection techniques

10 สิงหาคม 2549

09.00-09.45 น. Check recombinant clone by PCR (ปฏิบัติการ)

09.45-10.45 น. Cloning and Gene Expression Technology

10.45-11.00 น. พักรับประทานอาหารวาง

11.00-12.00 น. Gel documentation instruments

12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00-14.00 น. Loading agarose gel electrophoresis (ปฏิบัติการ)

14.00-14.15 น. DNA staining using ethidium bromide (ปฏิบัติการ)

14.15-14.30 น. พักรับประทานอาหารวาง

14.30-14.45 น. DNA Analysis by BioDoc-iT System (ปฏิบัติการ)

14.45-16.00 น. อภิปราย สรุป และปดการสัมมนา