โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) ·...

38
1 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) หัวข้อ รายละเอียด 1. ชื่อโครงการ 1. โครงการเชื่อมโยงและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 2. ความสาคัญของโครงการ หลักการ และเหตุผล นโยบายรัฐบาลด้านการสร้างรายได้โดยส่งเสริมการท่องเที่ยวจาก ทั้งภายนอกและภายใน ประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวและ แหล่งท่องเที่ยว รวมทั้งหลักประกันความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยวใน ภาวะปกติและภาวะวิกฤต และการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เชิง วัฒนธรรม เชิงสุขภาพและสปาที่มีคุณภาพและมูลค่าเพิ่มสูง ให้มี รายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น ๒ เท่าในเวลา ๕ ปี ดังนั้น จึง จาเป็นต้องสร้างและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานรวมทั้งสิ่งอานวยความ สะดวกในแหล่งท่องเที่ยว รวมทั้งอนุรักษ์ ฟื้นฟู และจัดการ สิ่งแวดล้อมแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดนครปฐมอย่างยั่งยืน โดยการ พัฒนาโครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานที่เอื้อต่อการท่องเที่ยว และมีการ จัดการสิ่งแวดล้อม โดยไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เสริมสร้าง จิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการมี ส่วนร่วมของประชาชน คนในท้องถิ่นสามารถพึ่งตนเองได้ รวมทั้งการ พัฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนต่อไป ซึ่งจะส่งผลต่อการเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด ในการเป็น ศูนย์กลางแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน 3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา และ วัฒนธรรม และส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวในรูปแบบใหม่ให้ตรง กับความต้องการของนักท่องเที่ยว 2. เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและกระจายรายได้ของชุมชน ๓. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรท้องถิ่นในการ จัดการทรัพยากรการบริการ การแลกเปลี่ยนความรู้และวัฒนธรรม ชุมชนในกระบวนการท่องเที่ยว รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการวางแผน พัฒนาในทุกระดับด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. เป้าหมายและตัวชี้วัดความสาเร็จ ของโครงการ 1. จานวนชุมชนหรือแหล่งท่องเที่ยวที่มีการปรับปรุงโครงสร้าง พื้นฐาน สิ่งอานวยความสะดวก สภาพแวดล้อมที่สนับสนุนต่อการ ท่องเที่ยว 5. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และทิศทางการ พัฒนาภาค ยุทธศาสตร์จังหวัด : ประเด็นยุทธศาสตร์ที2 ยกระดับการ ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรมให้มีคุณภาพตาม เกณฑ์มาตรฐานในทุกด้าน ทิศทางการพัฒนาภาค : ยุทธศาสตร์ที2 พัฒนาคุณภาพแหล่ง ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติและสร้างความเชื่อมโยงเพื่อ กระจายการท่องเที่ยวทั้งภาค 6. กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ 1. ก่อสร้างอาคารร้านค้าเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว ต.บางแก้ว อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม (19,878,000) 2. ก่อสร้างอาคารร้านค้าริมบึงบางช้าง เพื่อพัฒนาเป็นแหล่ง

Upload: others

Post on 01-Jun-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

1 จังหวัดนครปฐม

โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ)

หัวข้อ รายละเอียด 1. ชื่อโครงการ 1. โครงการเชื่อมโยงและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 2. ความส าคัญของโครงการ หลักการ

และเหตุผล นโยบายรัฐบาลด้านการสร้างรายได้โดยส่งเสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายใน ประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว รวมทั้งหลักประกันความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยวในภาวะปกติและภาวะวิกฤต และการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เชิงวัฒนธรรม เชิงสุขภาพและสปาที่มีคุณภาพและมูลค่าเพ่ิมสูง ให้มีรายได้จากนักท่องเที่ยวเพ่ิมขึ้น ๒ เท่าในเวลา ๕ ปี ดังนั้น จึงจ าเป็นต้องสร้างและพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานรวมทั้งสิ่งอ านวยความสะดวกในแหล่งท่องเที่ ยว รวมทั้ งอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และจัดการสิ่งแวดล้อมแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดนครปฐมอย่างยั่งยืน โดยการพัฒนาโครงสร้างและปัจจัยพ้ืนฐานที่เอ้ือต่อการท่องเที่ยว และมีการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างจิตส านึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน คนในท้องถิ่นสามารถพ่ึงตนเองได้ รวมทั้งการพัฒนาการท่องเที่ ยวที่ ยั่ งยืนต่อไป ซึ่ งจะส่งผลต่อการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด ในการเป็นศูนย์กลางแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน

3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพ่ือพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม และส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวในรูปแบบใหม่ให้ตรงกับความต้องการของนักท่องเที่ยว 2. เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและกระจายรายได้ของชุมชน ๓. เพ่ือสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรท้องถิ่นในการจัดการทรัพยากรการบริการ การแลกเปลี่ยนความรู้และวัฒนธรรมชุมชนในกระบวนการท่องเที่ยว รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาในทุกระดับด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

4. เป้าหมายและตัวชี้วัดความส าเร็จของโครงการ

1. จ านวนชุมชนหรือแหล่งท่องเที่ยวที่มีการปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐาน สิ่งอ านวยความสะดวก สภาพแวดล้อมที่สนับสนุนต่อการท่องเที่ยว

5. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และทิศทางการพัฒนาภาค

ยุทธศาสตร์จังหวัด : ประเด็นยุทธศาสตร์ที ่2 ยกระดับการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรมให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานในทุกด้าน

ทิศทางการพัฒนาภาค : ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติและสร้างความเชื่อมโยงเพ่ือกระจายการท่องเที่ยวทั้งภาค

6. กิจกรรมที่ส าคัญของโครงการ 1. ก่อสร้างอาคารร้านค้าเพ่ือพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว ต.บางแก้ว อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม (19,878,000) 2. ก่อสร้างอาคารร้านค้าริมบึงบางช้าง เพ่ือพัฒนาเป็นแหล่ง

Page 2: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

2 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด ท่องเที่ยว หมู่ที่ 1 ต.โคกพระเจดีย์ อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม (19,998,000)

7. หน่วยงานด าเนินงาน ที่ท าการปกครองอ าเภอนครชัยศรี 8. ระยะเวลาในการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 9. งบประมาณ 39,876,000 บาท

งบประมาณจากกระทรวงมหาดไทย 10. ผลผลิต (output) 1. มีการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและสิ่งอ านวยความสะดวกในแหล่ง

ท่องเที่ยว 2. ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีจิตส านึกที่ดีในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยว

11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรมได้รับการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานการท่องเที่ยว

Page 3: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

3 จังหวัดนครปฐม

โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ)

หัวข้อ รายละเอียด 1. ชื่อโครงการ 2. โครงการก่อสร้างก าแพงกันดินคอนกรีตเสริมเหล็ก 2. ความส าคัญของโครงการ หลักการ

และเหตุผล การพัฒนาและส่งเสริมด้านการท่องเที่ยวของจังหวัดให้สามารถ

แข่งขันและเพ่ิมศักยภาพในการดึงดูดนักท่องเที่ยว ต้องการได้รับการพัฒนากิจกรรมเสริมในแหล่งทองเที่ยว ตลอดจนสร้างกิจกรรมใหม่ ๆ ที่น่าสนใจให้นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาเท่ียวซ้ าอีกในจังหวัดนครปฐม ซึ่งจังหวัดยังต้องการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ

ประชาชนจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความเป็นอยู่ที่มั่นคง ช่วยลดอุบัติภัยและความสูญเสียจากอุบัติเหตุจราจรให้น้อยลง เป็นการเพ่ิมรายได้ ลดรายจ่าย จากการขนส่งพืชผลทางการเกษตร

3. วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑) เพ่ือพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวในรูปแบบใหม่ให้ตรงกับความต้องการของนักท่องเที่ยว ๒) เพ่ือยกระดับมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดให้สามารถแข่งขันได้ ๓) เพ่ือกระตุ้นเศรษฐกิจและกระจายรายได้ของชุมชน

4. เป้าหมายและตัวชี้วัดความส าเร็จของโครงการ

(๑) จ านวนนักท่องเที่ยวเพ่ิมขึ้น ร้อยละ 10 (๒) รายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มข้ึน ร้อยละ 10

5. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และทิศทางการพัฒนาภาค

ยุทธศาสตร์จังหวัด : ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรมให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานในทุกด้าน

ทิศทางการพัฒนาภาค : ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารจัดการน้ าและทรัพยากรธรรมชาติเพ่ือแก้ไขปัญหาน้ าท่วม ภัยแล้ง และคงความสมดุลของระบบนิเวศอย่างยั่งยืน

6. กิจกรรมที่ส าคัญของโครงการ ก่อสร้างก าแพงกันดินคอนกรีตเสริมเหล็ก ยาว 865 เมตร สูง 3 เมตร

7. หน่วยงานด าเนินงาน ที่ท าการปกครองอ าเภอเมืองนครปฐม 8. ระยะเวลาในการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 9. งบประมาณ 21,725,000 บาท

งบประมาณของกระทรวงมหาดไทย 10. ผลผลิต (output) ได้ก าแพงดินที่ได้มาตรฐาน จ านวน 1 สาย

11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (๑) จ านวนนักท่องเที่ยวเพ่ิมขึ้น ร้อยละ 10 (๒) รายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มข้ึน ร้อยละ 10

Page 4: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

4 จังหวัดนครปฐม

โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ)

หัวข้อ รายละเอียด 1. ชื่อโครงการ 3. โครงการพัฒนาโครงข่ายทางหลวง 2. ความส าคัญของโครงการ หลักการ

และเหตุผล ทางหลวงหมายเลข 3233 และทางหลวงหมายเลข 3297

เป็นเส้นทางคมนาคม เศรษฐกิจสายส าคัญของจังหวัดนครปฐม มีแหล่งชุมชน วัด โรงเรียนตลอดสองข้างทาง และยังอยู่ ในย่านอุตสาหกรรม ย่านแหล่งวัสดุต่างๆ เช่น ดินถม, ทราย, ลูกรัง มีทั้งรถในชุมชนและรถบรรทุกสินค้าใช้ในการเดินทาง ขนส่งวัตถุดิบ วัสดุก่อสร้าง และผลผลิตจากแหล่ง/โรงงาน ไปยังตัวเมือง พ้ืนที่จังหวัดใกล้เคียง อีกทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรกรรม, เมืองไม้ แฟนตาซี, สนามแข่งรถไทยแลนด์เซอร์กิต จึงท าให้มีปริมาณการจราจรสูงและเพ่ิมขึ้นทุก ๆ ปี ปริมาณการจราจร 33 ,056 คัน/วัน ปริมาณจราจรรถบรรทุกตั้ งแต่ 6 ล้อขึ้นไป 20 ,728 คัน/วัน (คิดเป็น 63.00 %) อีกทั้งยังเป็นการรองรับการก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 81 สายบางใหญ่ – กาญจนบุรี ซึ่งจะมีปริมาณการจราจรสูงขึ้นเม่ือก่อสร้างถนนแล้วเสร็จ

3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. พัฒนาโครงข่ายทางหลวงพัฒนาทางหลวงหมายเลข 3233 ตอนนครชัยศรี-ดอนตูม จ.นครปฐม 2. พัฒนาโครงข่ายทางหลวงพัฒนาบนทางหลวงหมายเลข 3297 ตอนหนองปลาไหล-ดอนตูม จ.นครปฐม

4. เป้าหมายและตัวชี้วัดความส าเร็จของโครงการ

1. ทางหลวงพัฒนาทางหลวงหมายเลข 3233 ตอนนครชัยศรี-ดอนตูม จ.นครปฐม ได้รับการพัฒนา 2. ทางหลวงพัฒนาบนทางหลวงหมายเลข 3297 ตอนหนองปลาไหล-ดอนตูม จ.นครปฐม ได้รับการพัฒนา

5. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และทิศทางการพัฒนาภาค

ยุทธศาสตร์จังหวัด : ประเด็นยุทธศาสตร์ที ่3 พัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงทางสังคม ลดความเหลื่อมล้ า และ ส่งเสริมสังคมแห่งความรู้ และสามารถบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ทิศทางการพัฒนาภาค : ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนากรุงเทพฯ เป็นมหานครทันสมัยระดับโลกควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

6. กิจกรรมที่ส าคัญของโครงการ 1. พัฒนาโครงข่ายทางหลวงพัฒนาทางหลวงหมายเลข 3233 ตอนนครชัยศรี-ดอนตูม จ.นครปฐม วงเงิน 50,000,000 บาท 2. พัฒนาโครงข่ายทางหลวงพัฒนาบนทางหลวงหมายเลข 3297 ตอนหนองปลาไหล-ดอนตูม จ.นครปฐม วงเงิน 50,000,000 บาท

7. หน่วยงานด าเนินงาน แขวงทางหลวงนครปฐม 8. ระยะเวลาในการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

Page 5: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

5 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด 9. งบประมาณ 100,000,000 บาท

งบประมาณของกระทรวงคมนาคม 10. ผลผลิต (output) ประชาชนผู้ใช้ทางหลวงและประชาชนที่อาศัยอยู่สองข้างทางถนน

ดังกล่าวได้รับความสะดวกสบายมากขึ้น 11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) ประชาชนผู้ใช้ทางหลวงและประชาชนที่อาศัยอยู่สองข้างทางถนน

ดังกล่าวได้รับความสะดวกสบายมากขึ้น

Page 6: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

6 จังหวัดนครปฐม

โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ)

หัวข้อ รายละเอียด 1. ชื่อโครงการ 4. โครงการก่อสร้างที่ท าการฝ่ายปกครองและศูนย์ อปพร. ของ

ต าบลคลองจินดา อ าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2. ความส าคัญของโครงการ หลักการ

และเหตุผล กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙) เพ่ือให้

บรรลุวิสัยทัศน์ "ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" น าไปสู่การพัฒ นาให้ คน ไทยมีความสุขและตอบสนองต่ อการบรรลุซึ่ งผลประโยชน์แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต การสร้างรายได้ระดับสูง เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความสุข เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจด าเนินการจัดตั้งศูนย์ อปพร. เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการสาธารณภัย ทั้งด้านการป้องกันและแจ้งเตือนภัยการรักษาความสงบเรียบร้อย การกู้ชีพกู้ภัย และการสงเคราะห์ผู้ประสบภัย ให้ครอบคลุมเขตพ้ืนที่รับผิดชอบและพ้ืนที่ใกล้เคียง ประกอบกับพ้ืนที่ มีคนต่างด้าวมาใช้แรงงานเป็นจ านวนมากจึงต้องเฝ้าระวัง รักษาความสงบเรียบร้อยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เพราะก าลังของเจ้าหน้าที่ต ารวจไม่เพียงพอและทั่วถึง

3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1) เพื่อเตรียมความพร้อมของสมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยต่างๆที่อาจเกิดข้ึนได้ทันท่วงที

2) เพื่อให้สมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนได้ดูแลและประสานงานการติดต่อสื่อสารทางวิทยุในการเฝ้าระวังและป้องกันเหตุต่างๆที่อาจเกิดขึ้นในพ้ืนที่และการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบภัยต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน

4. เป้าหมายและตัวชี้วัดความส าเร็จของโครงการ

ดัชนีความสุขและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินเพิ่มข้ึน ร้อยละ 80

5. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และทิศทางการพัฒนาภาค

ยุทธศาสตร์จังหวัด : ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงทางสังคม ลดความเหลื่อมล้ า และ ส่งเสริมสังคมแห่งความรู้ และสามารถบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ทิศทางการพัฒนาภาค : ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนากรุงเทพฯ เป็นมหานครทันสมัยระดับโลกควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

4. กิจกรรมที่ส าคัญของโครงการ ก่อสร้างที่ท าการฝ่ายปกครองและศูนย์ อปพร. ของต าบลคลองจินดา อ าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

5. หน่วยงานด าเนินงาน ที่ท าการปกครองอ าเภอสามพราน

Page 7: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

7 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด 8. ระยะเวลาในการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 9. งบประมาณ 19,920,000 บาท

งบประมาณจากกระทรวงมหาดไทย 10. ผลผลิต (output) ที่ท าการฝ่ายปกครองและศูนย์ อ.ป.พ.ร. ของต าบลคลองจินดา

อ าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) 1) สมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในการป้องกัน และ

บรรเทาสาธารณภัยต่างๆที่อาจเกิดข้ึนได้ทันท่วงที 2) สมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนได้ดูแลและ

ประสานงานการติดต่อสื่อสารทางวิทยุในการเฝ้าระวังและป้องกันเหตุต่างๆที่อาจเกิดขึ้นในพ้ืนที่และการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบภัยต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน

Page 8: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

8 จังหวัดนครปฐม

โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ)

หัวข้อ รายละเอียด 1. ชื่อโครงการ 5. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพเพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตี่ดีของ

ประชาชนจังหวัดนครปฐม 2. ความส าคัญของโครงการ หลักการ

และเหตุผล ตามที่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ซึ่งเป้าหมายที่ 4 ก าหนดให้คนไทยมีสุขภาพวะที่ดีขึ้น และยุทธศาสตร์ที่ 2 เพ่ิมโอกาสการเข้าถึงบริการพ้ืนฐานทางสังคมของภาครัฐ และตามยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข ได้ก าหนดยุทธศาสตร์พัฒนาสู่ความเป็นเลิศใน 4 ด้าน โดยที่เกี่ยวข้อง 2 ด้ าน ได้ แก่ ด้ านที่ 1 PP&P Excellence คือ การพัฒ นาและให้ความส าคัญกับงานด้านส่งเสริมสุขภาพควบคุมป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บ ริ โภค ด้ านที่ 2 Service Excellence คือ การพัฒ นาและให้ความส าคัญกับระบบบริการสุขภาพทุกระดับตาม Service Plan และพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศ Excellence Center และตามยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค เมือง และพ้ืนที่เศรษฐกิจที่สอดคล้องกับแผนชาติ ในวัตถุประสงค์ที่ 3 เพ่ือพัฒนาและฟ้ืนฟูพ้ืนที่ฐานเศรษฐกิจหลักให้ขยายตัวอย่างเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและเพ่ิมคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน จังหวัดนครปฐมถูกก าหนดให้เป็นเมืองศูนย์กลางของภาคกลาง จึงต้องพัฒนาสภาพแวดล้อมให้เป็นเมืองน่าอยู่ส าหรับคนทุกกลุ่มในสังคม โดยจัดระบบบริการทางสังคมที่ได้มาตรฐานและเพ่ิมความปลอดภัยของประชาชน และโดยที่ยุทธศาสตร์จังหวัดนครปฐม (พ.ศ.2561 – 2564) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงทางสังคมลดความเหลื่อมล้ าและส่งเสริมสังคมแห่งความรู้ สามารถบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ทั้งยังก าหนดกลยุทธ์พัฒนาการให้บริการทางด้านสาธารณสุขและสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ เสริมสร้างความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เพ่ือลดอัตราตาย ลดภาวะแทรกซ้อน ลดระยะเวลารอคอยการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยและประชาชนจังหวัดนครปฐม

3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพ่ือให้ โรงพยาบาลนครปฐมได้รับครุภัณฑ์การแพทย์ ในการให้บริการผู้ป่วยหนักวิกฤติอายุรกรรม 2. เพ่ือให้โรงพยาบาลสามพรานได้รับครุภัณฑ์การแพทย์ ในการให้บริการฝากครรภ์ คลอด และทารกแรกเกิดวิกฤติ ๓. เพ่ือให้โรงพยาบาลนครชัยศรีได้รับครุภัณฑ์การแพทย์ ในการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน 4. เพ่ือให้โรงพยาบาลพุทธมณฑลได้รับครุภัณฑ์การแพทย์และค่าเช่าพ้ืนที่อาคารในการให้บริการคลินิกขยายโอกาสเพ่ือประชาชน

Page 9: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

9 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด 5. เพ่ือให้โรงพยาบาลดอนตูมได้รับครุภัณฑ์เครื่องกรองน้ าพร้อมติดตั้ง สนับสนุนกระบวนการผลิตยาสมุนไพร 6. เพื่อให้โรงพยาบาลหลวงพ่อเปิ่นได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมทางเชื่อมจากอาคารผู้ป่วยนอกไปยังแผนกต่างๆ และได้รับการขุดเจาะบ่อน้ าบาดาล จ านวน 1 บ่อ เพ่ืออ านวยความสะดวกและสนับสนุนกระบวนการจัดบริการแก่ผู้รับบริการและผู้ให้บริการ 7. เพ่ือให้สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี ต าบลห้วยม่วง ได้รับการปรับปรุงและซ่อมแซม อาคารสถานีอนามัยจ านวน 1 หลัง อาคารเอนกประสงค์จ านวน 1 หลัง และถนนเข้าออก จ านวน 1 หน่วย เพ่ือความสง่างามสมพระเกียรติ ส าหรับให้บริการประชาชนและใช้จัดประชุม

4. เป้าหมายและตัวชี้วัดความส าเร็จของโครงการ

สถานบริการสาธารณสุข จ านวน 7 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลนครปฐม โรงพยาบาลสามพราน โรงพยาบาลนครชัยศรี โรงพยาบาลพุทธมณฑล โรงพยาบาลดอนตูม โรงพยาบาลหลวงพ่อเปิ่น และสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี ต าบลห้วยม่วง

5. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และทิศทางการพัฒนาภาค

ยุทธศาสตร์จังหวัด : ประเด็นยุทธศาสตร์ที ่3 พัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงทางสังคม ลดความเหลื่อมล้ า และส่งเสริมสังคมแห่งความรู้ และสามารถบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ทิศทางการพัฒนาภาค : ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนากรุงเทพฯ เป็นมหานครทันสมัยระดับโลกควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

6. กิจกรรมที่ส าคัญของโครงการ 1. จัดซื้อครุภัณฑ์การแพทย์ส าหรับโรงพยาบาลนครปฐมเพ่ือให้บริการผู้ป่วยหนักวิกฤติอายุรกรรมจ านวน 3 รายการ เป็นเงิน 28,000,000 บาท

2. จัดซื้อครุภัณฑ์การแพทย์ส าหรับโรงพยาบาลสามพรานให้บริการฝากครรภ์ คลอด และทารกแรกเกิดป่วยวิกฤติ จ านวน 32 รายการ เป็นเงิน 20,003,600 บาท

3. จัดซื้อครุภัณฑ์การแพทย์ส าหรับโรงพยาบาลนครชัยศรีบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จ านวน 6 รายการ เป็นเงิน 4,620,000 บาท

4. จัดซื้อครุภัณฑ์การแพทย์ส าหรับโรงพยาบาลพุทธมณฑล จ านวน 1 รายการ และค่าเช่าพ้ืนที่อาคาร ระยะเวลา 1 ปี เพื่อให้บริการคลินิกขยายโอกาสเพ่ือประชาชน เป็นเงิน 1,000,000 บาท

5. จัดซื้อครุภัณฑ์เครื่องกรองน้ าพร้อมติดตั้ง ส าหรับโรงพยาบาลดอนตูม เพ่ือสนับสนุนกระบวนการผลิตยาสมุนไพร จ านวน 1 รายการ เป็นเงิน 1,000,000 บาท

6. จ้างเหมาปรับปรุงซ่อมแซมทางเชื่อมจากอาคารผู้ป่วยนอกไปยังแผนกต่างๆ และขุดเจาะบ่อน้ าบาดาล 1 บ่อโรงพยาบาลหลวงพ่อเปิ่น

Page 10: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

10 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด เป็นเงิน 1,071,000 บาท

7. จ้างเหมาปรับปรุงและซ่อมแซมอาคารสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี ต าบลห้วยม่วง แบบเลขที่ 8146 จ านวน 1 หลัง/อาคารอาคารเอนกประสงค์ชั้นเดียว ขนาด 6 x 24.5 ม. พร้อมอุปกรณ์ส าหรับห้องประชุม (ความจุ 100 คน) จ านวน 1 หลัง/และปรับปรุงและซ่อมแซมทางเข้า-ออก จ านวน 1 หน่วย เป็นเงิน 1,101,400 บาท

7. หน่วยงานด าเนินงาน ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม 8. ระยะเวลาในการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 9. งบประมาณ 56,796,000 บาท

งบประมาณจากกระทรวงสาธารณสุข 10. ผลผลิต (output) 1. โรงพยาบาลนครปฐม ได้รับครุภัณฑ์การแพทย์ตามคุณลักษณะที่

ก าหนด เพื่อให้บริการผู้ป่วยหนักวิกฤติอายุรกรรม จ านวน 3 รายการ 2. โรงพยาบาลสามพรานได้รับครุภัณฑ์การแพทย์ตามคุณลักษณะที่ก าหนด เพ่ือให้บริการฝากครรภ์ คลอด และทารกแรกเกิดวิกฤติ จ านวน 32 รายการ 3. โรงพยาบาลนครชัยศรีได้รับครุภัณฑ์การแพทย์ตามคุณลักษณะที่ก าหนด เพื่อให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน จ านวน 6 รายการ 4. โรงพยาบาลพุทธมณฑลได้รับครุภัณฑ์การแพทย์ตามคุณลักษณะที่ก าหนด จ านวน 1 รายการและค่ าเช่ า พ้ื นที่ อาคารวัฒ นธรรม มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา เป็นระยะเวลา 1 ปี เพ่ือให้บริการคลินิกขยายโอกาสเพ่ือประชาชน 5. โรงพยาบาลดอนตูม ได้รับครุภัณฑ์เครื่องกรองน้ าตามคุณลักษณะที่ก าหนด พร้อมติดตั้ง จ านวน 1 รายการ เพ่ือสนับสนุนกระบวนการผลิตยาสมุนไพร 6. โรงพยาบาลหลวงพ่อเปิ่น ได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมทางเชื่อมจากอาคารผู้ป่วยนอกไปยังแผนกต่างๆ และได้รับการขุดเจาะบ่อน้ าบาดาล จ านวน 1 บ่อ ตามแบบแปลนที่ก าหนด 7. สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี ต าบลห้วยม่วง ได้รับการปรับปรุงและซ่อมแซม ได้แก่ อาคารสถานีอนามัยจ านวน 1 หลัง อาคารเอนกประสงค์จ านวน 1 หลัง และถนนเข้า-ออก จ านวน 1 หน่วย ตามแบบแปลนที่ก าหนด

11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) 1. ร้อยละ 80 ขึ้นไป ของผู้ป่วยหนักวิกฤติท่ีจ าเป็นต้องเข้ารับการรักษา สามารถเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่ วยหนักวิกฤติอายุรกรรมของโรงพยาบาลนครปฐมได้ 2. อัตราการเกิดภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิดของโรงพยาบาลสามพราน น้อยกว่าร้อยละ 25 ต่อ 1,000 การเกิดมีชีพ 3. อัตราตายทารกแรกเกิดของโรงพยาบาลสามพราน น้อยกว่า 4 ต่อ

Page 11: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

11 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด 1,000 การเกิดทั้งหมด 4. ร้อยละ 70 ของผู้ป่วยระดับ E1 E2 ของโรงพยาบาลนครชัยศรี ได้รับบริการการแพทย์ฉุกเฉินภายใน 10 นาที ภายหลังได้รับแจ้งเหตุ 5. จ านวนผู้ป่วยในเขตอ าเภอพุทธมณฑลและประชาชนทั่วไปเข้าถึงระบบบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก และที่คลินิกขยายโอกาสเพ่ือประชาชนของโรงพยาบาลพุทธมณฑลรวมกัน มากว่า 170,000 ครั้งต่อปี 6. อาคารผลิตยาสมุนไพรของโรงพยาบาลดอนตูมได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ เข้าสู่ระบบมาตรฐานGMP 7. ผู้ป่วยและประชาชนทั่วไป ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลหลวงพ่อเปิ่นที่มีโครงสร้างพ้ืนฐานได้มาตรฐานด้านความปลอดภัย มีสิ่งสนับสนุนและอ านวยความสะดวกต่อระบบบริการที่มีคุณภาพ 8. ผู้ป่วยและประชาชนทั่วไป ที่มารับบริการที่สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี ต าบลห้วยม่วง ที่มีโครงสร้างพ้ืนฐานได้มาตรฐานด้านความปลอดภัย มีสิ่งอ านวยความสะดวก มีห้องประชุม และคุณภาพบริการที่ดี

Page 12: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

12 จังหวัดนครปฐม

โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ)

หัวข้อ รายละเอียด 1. ชื่อโครงการ 6. โครงการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและคลินิกครอบครัว

(Primary Care Cluster: PCC) ในภาคกลาง 2. ความส าคัญของโครงการ หลักการ

และเหตุผล ตามที่ รัฐบาลได้จัดท ายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 -2579) เพ่ือใช้ในการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาชองเศรษฐกิจพอเพียง” และมอบให้ทุกส่วนราชการจัดท าแผนงานในภารกิจหลักของแต่ละช่วงระยะเวลาให้สอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ โดยที่ กลุ่ มจั งหวัดภาคกลาง 19 จังหวัด ประกอบด้ วย กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สุพรรณบุรี อยุธยา อ่างทอง ชัยนาท สิงห์บุรี ลพบุรี สระบุรี นครนายก ปราจีนบุรี และ สระแก้ว ก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง คือ “เป็นฐานเศรษฐกิจชั้นน า ศูนย์กลางการค้าและอุตสาหกรรมสีเขียว ประตูสู่อาเซียน เมืองนวัตกรรมอาหาร ศูนย์กลางสินค้าเกษตร ศูนย์กลางประมงแปรรูป ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มรดกโลก แหล่งท่องเที่ยวนานาชาติ” โดยให้เมืองศูนย์กลางของจังหวัดเป็นเมืองน่าอยู่ของทุกกลุ่มในสังคมเพ่ิมข้ึน ยุทธศาสตร์ที่ 9 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาเมืองน่าอยู่ ปลอดภัย สิ่ งแวดล้อมดี เศรษฐกิจดี เดินทางสะดวก ระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการมีคุณภาพทั่วถึง สอดคล้องกับอัตลักษณ์ความหลากหลายและศักยภาพของเมือง บนพ้ืนฐานการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยด้านการสาธารณสุข กระจายก าลังคนเพ่ือให้ประชาชนได้รับบริการอย่างเท่าเทียม ป้องกันและรักษาโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้ ลดการเสียชีวิตของมารดาจากการตั้งครรภ์ รณรงค์การเสียชีวิตของทารก ส่งเสริมหน่วยบริการแพทย์ปฐมภูมิเพ่ือลดความแออัดและให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้มากขึ้น รวมทั้งควบคุมสถานพยาบาลให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน กระทรวงสาธารณสุขได้ก าหนดยุทธศาสตร์และทิศทางการพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ (Medical Hub) ภายในระยะ 10 ปี นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2559 - 2568 รวมทั้ ง นโยบายการพัฒนาการเป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในอาเซียน ซึ่งได้ด าเนินการมาแล้วตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2557 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จังหวัดนครปฐม ได้จัดท าแผนยุทธศาสตร์ด้านการสาธารณสุขที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของ

Page 13: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

13 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด กระทรวงสาธารณสุข20 ปี 4 ด้านทั้งนี้ยังเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัดและของกลุ่มจังหวัดภาคกลางปริมณฑลยุทธศาสตร์ที่ 2 คือ บริการที่เป็นเลิศ (Service Excellence) โดยเน้นการพัฒนาเพ่ือขับเคลื่อนระบบบริการ 3 ด้าน ได้แก่ 1) พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญด้านหัวใจ เพ่ือรองรับการให้บริการประชาชนจังหวัดนครปฐมและจังหวัดใกล้เคียงที่จะไม่ต้องเดินทางเข้ามารับการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานคร 2) พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญด้านการพยาบาลฉุกเฉิน เพ่ือรองรับผู้ป่วยฉุกเฉินด้านต่างๆ เช่น อุบัติเหตุ อุบัติภัย โรคหัวใจวายเฉียบพลัน โรคหลอดเลือดสมอง ฯลฯ ซึ่งเป็นกลุ่มโรคที่จะต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน รวมถึงการเพ่ิมศักยภาพเพ่ือเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ที่ไม่ปกติ หรือวิกฤตการณ์ที่ส าคัญ จากพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร 3) พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนจังหวัดนครปฐม ซึ่งการจัดบริการด้านสาธารณสุขจะแบ่งออกเป็นหลายระดับเชื่อมต่อกันด้วยระบบส่งต่อ (Referral System) ตั้งแต่ ระดับปฐมภูมิ (Primary Care) ระดับทุติยภูมิ (Secondary Care) และ ระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) ซึ่งเป้าหมายหลักของการจัดบริการสาธารณสุข คือ ลดอัตราป่วย ลดอัตราตาย ลดความแออัดในการเข้ารับบริการของผู้ป่วย ลดระยะเวลารอคอยของประชาชน และประชาชนเข้าถึงบริการ อย่างทั่วถึง เป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ าสู่คุณภาพชีวิตที่ดี ดั งนั้น ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม จึงได้จัดท าโครงการสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ขึ้น

3. วัตถุประสงค์ของโครงการ เพ่ือให้สถานบริการสุขภาพเป้าหมาย ได้รับการสนับสนุน 1) ค่าก่อสร้างและปรับปรุงอาคารสถานบริการ 2) ครุภัณฑ์การแพทย์ 3) ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง 4) ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 5) ครุภัณฑ์กีฬา และ 6) ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ ใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง

4. เป้าหมายและตัวชี้วัดความส าเร็จของโครงการ

1. อาคารที่ก่อสร้างที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติและรายการที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 2. อาคารที่ปรับปรุงที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติและรายการที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง

Page 14: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

14 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด 3. จ านวนครุภัณฑ์การแพทย์ที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 4. จ านวนครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่งที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพื่อใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 5. จ านวนครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 6. จ านวนครุภัณฑ์ครุภัณฑ์กีฬาที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 7. จ านวนครุภัณฑ์ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพื่อใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง

5. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และทิศทางการพัฒนาภาค

ยุทธศาสตร์จังหวัด : ประเด็นยุทธศาสตร์ที ่3 พัฒนาคุณภาพชีวิตและความม่ันคงทางสังคม ลดความเหลื่อมล้ า และส่งเสริมสังคมแห่งความรู้ และสามารถบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ทิศทางการพัฒนาภาค : ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนากรุงเทพฯ เป็นมหานครทันสมัยระดับโลกควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

6. กิจกรรมที่ส าคัญของโครงการ 1. ก่อสร้างอาคารสถานีอนามัย 3 ชั้น เป็นอาคาร คสล. 3 ชั้น พ้ืนที่ใช้สอยประมาณ 288 ตร.ม. โรงพยาบาลนครปฐม 1 หลัง

2. ปรับปรุงต่อเติมอาคารโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบางภาษี อ.บางเลน จ.นครปฐม 1 หลัง

3. จัดซื้อครุภัณฑ์การแพทย์ส าหรับโรงพยาบาลในจังหวัดนครปฐม

7. หน่วยงานด าเนินงาน ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม 8. ระยะเวลาในการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 9. งบประมาณ 39,794,200 บาท

งบประมาณจากกระทรวงสาธารณสุข

Page 15: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

15 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด 10. ผลผลิต (output) ระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐมได้รับการพัฒนาสู่การ

เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง มีศักยภาพตามมาตรฐาน สามารถให้บริการ เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนจั งหวัดนครปฐม กลุ่ มจั งหวัดภาคกลาง รองรับชาวต่างชาติที่เข้ามารับบริการได้

11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) ระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐมได้รับการพัฒนาสู่การเป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง มีศักยภาพตามมาตรฐาน สามารถให้บริการ เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนจั งหวัดนครปฐม กลุ่ มจั งหวัดภาคกลาง รองรับชาวต่างชาติที่เข้ามารับบริการได้

Page 16: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

16 จังหวัดนครปฐม

โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ)

หัวข้อ รายละเอียด 1. ชื่อโครงการ 7. โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 2. ความส าคัญของโครงการ หลักการ

และเหตุผล ตามที่ รัฐบาลได้จัดท ายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 -2579) เพ่ือใช้ในการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาชองเศรษฐกิจพอเพียง” และมอบให้ทุกส่วนราชการจัดท าแผนงานในภารกิจหลักของแต่ละช่วงระยะเวลาให้สอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ โดยที่ กลุ่ มจั งหวัดภาคกลาง 19 จังหวัด ประกอบด้ วย กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สุพรรณบุรี อยุธยา อ่างทอง ชัยนาท สิงห์บุรี ลพบุรี สระบุรี นครนายก ปราจีนบุรี และ สระแก้ว ก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง คือ “เป็นฐานเศรษฐกิจชั้นน า ศูนย์กลางการค้าและอุตสาหกรรมสีเขียว ประตูสู่อาเซียน เมืองนวัตกรรมอาหาร ศูนย์กลางสินค้าเกษตร ศูนย์กลางประมงแปรรูป ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มรดกโลก แหล่งท่องเที่ยวนานาชาติ” โดยให้เมืองศูนย์กลางของจังหวัดเป็นเมืองน่าอยู่ของทุกกลุ่มในสังคมเพ่ิมข้ึน ยุทธศาสตร์ที่ 9 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาเมืองน่าอยู่ ปลอดภัย สิ่ งแวดล้อมดี เศรษฐกิจดี เดินทางสะดวก ระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการมีคุณภาพทั่วถึง สอดคล้องกับอัตลักษณ์ความหลากหลายและศักยภาพของเมือง บนพ้ืนฐานการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยด้านการสาธารณสุข กระจายก าลังคนเพ่ือให้ประชาชนได้รับบริการอย่างเท่าเทียม ป้องกันและรักษาโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้ ลดการเสียชีวิตของมารดาจากการตั้งครรภ์ รณรงค์การเสียชีวิตของทารก ส่งเสริมหน่วยบริการแพทย์ปฐมภูมิเพ่ือลดความแออัดและให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้มากขึ้น รวมทั้งควบคุมสถานพยาบาลให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน กระทรวงสาธารณสุขได้ก าหนดยุทธศาสตร์และทิศทางการพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ (Medical Hub) ภายในระยะ 10 ปี นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2559 - 2568 รวมทั้ ง นโยบายการพัฒนาการเป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในอาเซียน ซึ่งได้ด าเนินการมาแล้วตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2557 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จังหวัดนครปฐม ได้จัดท าแผนยุทธศาสตร์ด้านการสาธารณสุขที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข20 ปี 4 ด้านทั้งนี้ยังเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์

Page 17: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

17 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด จังหวัดและของกลุ่มจังหวัดภาคกลางปริมณฑลยุทธศาสตร์ที่ 2 คือ บริการที่เป็นเลิศ (Service Excellence) โดยเน้นการพัฒนาเพ่ือขับเคลื่อนระบบบริการ 3 ด้าน ได้แก่ 1) พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญด้านหัวใจ เพ่ือรองรับการให้บริการประชาชนจังหวัดนครปฐมและจังหวัดใกล้เคียงที่จะไม่ต้องเดินทางเข้ามารับการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานคร 2) พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญด้านการพยาบาลฉุกเฉิน เพ่ือรองรับผู้ป่วยฉุกเฉินด้านต่างๆ เช่น อุบัติเหตุ อุบัติภัย โรคหัวใจวายเฉียบพลัน โรคหลอดเลือดสมอง ฯลฯ ซึ่งเป็นกลุ่มโรคที่จะต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน รวมถึงการเพ่ิมศักยภาพเพ่ือเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ที่ไม่ปกติ หรือวิกฤตการณ์ที่ส าคัญ จากพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร 3) พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนจังหวัดนครปฐม ซึ่งการจัดบริการด้านสาธารณสุขจะแบ่งออกเป็นหลายระดับเชื่อมต่อกันด้วยระบบส่งต่อ (Referral System) ตั้งแต่ ระดับปฐมภูมิ (Primary Care) ระดับทุติยภูมิ (Secondary Care) และ ระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) ซึ่งเป้าหมายหลักของการจัดบริการสาธารณสุข คือ ลดอัตราป่วย ลดอัตราตาย ลดความแออัดในการเข้ารับบริการของผู้ป่วย ลดระยะเวลารอคอยของประชาชน และประชาชนเข้าถึงบริการ อย่างทั่วถึง เป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ าสู่คุณภาพชีวิตที่ดี ดั งนั้น ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม จึงได้จัดท าโครงการสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ขึ้น

3. วัตถุประสงค์ของโครงการ เพ่ือให้สถานบริการสุขภาพเป้าหมาย ได้รับการสนับสนุน 1) ค่าก่อสร้างและปรับปรุงอาคารสถานบริการ 2) ครุภัณฑ์การแพทย์ 3) ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง 4) ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 5) ครุภัณฑ์กีฬา และ 6) ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ ใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง

4. เป้าหมายและตัวชี้วัดความส าเร็จของโครงการ

1. อาคารที่ก่อสร้างที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติและรายการที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 2. อาคารที่ปรับปรุงที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติและรายการที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 3. จ านวนครุภัณฑ์การแพทย์ที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมาย

Page 18: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

18 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด ได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 4. จ านวนครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่งที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพื่อใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 5. จ านวนครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 6. จ านวนครุภัณฑ์ครุภัณฑ์กีฬาที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 7. จ านวนครุภัณฑ์ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง

5. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และทิศทางการพัฒนาภาค

ยุทธศาสตร์จังหวัด : ประเด็นยุทธศาสตร์ที ่3 พัฒนาคุณภาพชีวิตและความม่ันคงทางสังคม ลดความเหลื่อมล้ า และส่งเสริมสังคมแห่งความรู้ และสามารถบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ทิศทางการพัฒนาภาค : ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนากรุงเทพฯ เป็นมหานครทันสมัยระดับโลกควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

6. กิจกรรมที่ส าคัญของโครงการ จัดซื้อครุภัณฑส์ านักงานส าหรับโรงพยาบาลและส านักงานสาธารณสุขจังหวัด

7. หน่วยงานด าเนินงาน ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม 8. ระยะเวลาในการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 9. งบประมาณ 57,568,000 บาท

งบประมาณจากกระทรวงสาธารณสุข 10. ผลผลิต (output) ระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐมได้รับการพัฒนาสู่การ

เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง มีศักยภาพตามมาตรฐาน สามารถให้บริการ เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนจั งหวัดนครปฐม กลุ่ มจั งหวัดภาคกลาง รองรับชาวต่างชาติที่เข้ามารับบริการได้

Page 19: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

19 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด 11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) ระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐมได้รับการพัฒนาสู่การ

เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง มีศักยภาพตามมาตรฐาน สามารถให้บริการ เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนจั งหวัดนครปฐม กลุ่ มจั งหวัดภาคกลาง รองรับชาวต่างชาติที่เข้ามารับบริการได้

Page 20: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

20 จังหวัดนครปฐม

โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ)

หัวข้อ รายละเอียด 1. ชื่อโครงการ 8. โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรสู่การพ่ึงพาตนเองและการ

แข่งขันด้านเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน 2. ความส าคัญของโครงการ หลักการ

และเหตุผล ตามที่ รัฐบาลได้จัดท ายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 -2579) เพ่ือใช้ในการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาชองเศรษฐกิจพอเพียง” และมอบให้ทุกส่วนราชการจัดท าแผนงานในภารกิจหลักของแต่ละช่วงระยะเวลาให้สอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ โดยที่ กลุ่ มจั งหวัดภาคกลาง 19 จังหวัด ประกอบด้ วย กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สุพรรณบุรี อยุธยา อ่างทอง ชัยนาท สิงห์บุรี ลพบุรี สระบุรี นครนายก ปราจีนบุรี และ สระแก้ว ก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง คือ “เป็นฐานเศรษฐกิจชั้นน า ศูนย์กลางการค้าและอุตสาหกรรมสีเขียว ประตูสู่อาเซียน เมืองนวัตกรรมอาหาร ศูนย์กลางสินค้าเกษตร ศูนย์กลางประมงแปรรูป ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มรดกโลก แหล่งท่องเที่ยวนานาชาติ” โดยให้เมืองศูนย์กลางของจังหวัดเป็นเมืองน่าอยู่ของทุกกลุ่มในสังคมเพ่ิมข้ึน ยุทธศาสตร์ที่ 9 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาเมืองน่าอยู่ ปลอดภัย สิ่ งแวดล้อมดี เศรษฐกิจดี เดินทางสะดวก ระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการมีคุณภาพทั่วถึง สอดคล้องกับอัตลักษณ์ความหลากหลายและศักยภาพของเมือง บนพ้ืนฐานการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยด้านการสาธารณสุข กระจายก าลังคนเพ่ือให้ประชาชนได้รับบริการอย่างเท่าเทียม ป้องกันและรักษาโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้ ลดการเสียชีวิตของมารดาจากการตั้งครรภ์ รณรงค์การเสียชีวิตของทารก ส่งเสริมหน่วยบริการแพทย์ปฐมภูมิเพ่ือลดความแออัดและให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้มากขึ้น รวมทั้งควบคุมสถานพยาบาลให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน กระทรวงสาธารณสุขได้ก าหนดยุทธศาสตร์และทิศทางการพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ (Medical Hub) ภายในระยะ 10 ปี นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2559 - 2568 รวมทั้ ง นโยบายการพัฒนาการเป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในอาเซียน ซึ่งได้ด าเนินการมาแล้วตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2557 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จังหวัดนครปฐม ได้จัดท าแผนยุทธศาสตร์ด้านการสาธารณสุขที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของ

Page 21: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

21 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด กระทรวงสาธารณสุข20 ปี 4 ด้านทั้งนี้ยังเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัดและของกลุ่มจังหวัดภาคกลางปริมณฑลยุทธศาสตร์ที่ 2 คือ บริการที่เป็นเลิศ (Service Excellence) โดยเน้นการพัฒนาเพ่ือขับเคลื่อนระบบบริการ 3 ด้าน ได้แก่ 1) พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญด้านหัวใจ เพ่ือรองรับการให้บริการประชาชนจังหวัดนครปฐมและจังหวัดใกล้เคียงที่จะไม่ต้องเดินทางเข้ามารับการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานคร 2) พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญด้านการพยาบาลฉุกเฉิน เพ่ือรองรับผู้ป่วยฉุกเฉินด้านต่างๆ เช่น อุบัติเหตุ อุบัติภัย โรคหัวใจวายเฉียบพลัน โรคหลอดเลือดสมอง ฯลฯ ซึ่งเป็นกลุ่มโรคที่จะต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน รวมถึงการเพ่ิมศักยภาพเพ่ือเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ที่ไม่ปกติ หรือวิกฤตการณ์ที่ส าคัญ จากพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร 3) พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนจังหวัดนครปฐม ซึ่งการจัดบริการด้านสาธารณสุขจะแบ่งออกเป็นหลายระดับเชื่อมต่อกันด้วยระบบส่งต่อ (Referral System) ตั้งแต่ ระดับปฐมภูมิ (Primary Care) ระดับทุติยภูมิ (Secondary Care) และ ระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) ซึ่งเป้าหมายหลักของการจัดบริการสาธารณสุข คือ ลดอัตราป่วย ลดอัตราตาย ลดความแออัดในการเข้ารับบริการของผู้ป่วย ลดระยะเวลารอคอยของประชาชน และประชาชนเข้าถึงบริการ อย่างทั่วถึง เป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ าสู่คุณภาพชีวิตที่ดี ดั งนั้น ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม จึงได้จัดท าโครงการสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ขึ้น

3. วัตถุประสงค์ของโครงการ เพ่ือให้สถานบริการสุขภาพเป้าหมาย ได้รับการสนับสนุน 1) ค่าก่อสร้างและปรับปรุงอาคารสถานบริการ 2) ครุภัณฑ์การแพทย์ 3) ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง 4) ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 5) ครุภัณฑ์กีฬา และ 6) ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ ใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง

4. เป้าหมายและตัวชี้วัดความส าเร็จของโครงการ

1. อาคารที่ก่อสร้างที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติและรายการที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 2. อาคารที่ปรับปรุงที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติและรายการที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง

Page 22: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

22 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด 3. จ านวนครุภัณฑ์การแพทย์ที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 4. จ านวนครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่งที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพื่อใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 5. จ านวนครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 6. จ านวนครุภัณฑ์ครุภัณฑ์กีฬาที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 7. จ านวนครุภัณฑ์ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง

5. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และทิศทางการพัฒนาภาค

ยุทธศาสตร์จังหวัด : ประเด็นยุทธศาสตร์ที ่3 พัฒนาคุณภาพชีวิตและความม่ันคงทางสังคม ลดความเหลื่อมล้ า และส่งเสริมสังคมแห่งความรู้ และสามารถบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ทิศทางการพัฒนาภาค : ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนากรุงเทพฯ เป็นมหานครทันสมัยระดับโลกควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

6. กิจกรรมที่ส าคัญของโครงการ จัดซื้อครุภัณฑท์างการแพทย์สมุนไพรส าหรับโรงพยาบาลห้วยพลู อ าเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม

7. หน่วยงานด าเนินงาน ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม 8. ระยะเวลาในการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 9. งบประมาณ 2,635,500 บาท

งบประมาณจากกระทรวงสาธารณสุข 10. ผลผลิต (output) ระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐมได้รับการพัฒนาสู่การ

เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง มีศักยภาพตามมาตรฐาน สามารถให้บริการ เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนจั งหวัดนครปฐม กลุ่ มจั งหวัดภาคกลาง รองรับชาวต่างชาติที่เข้ามารับบริการได้

Page 23: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

23 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด 11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) ระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐมได้รับการพัฒนาสู่การ

เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง มีศักยภาพตามมาตรฐาน สามารถให้บริการ เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนจั งหวัดนครปฐม กลุ่ มจั งหวัดภาคกลาง รองรับชาวต่างชาติที่เข้ามารับบริการได้

Page 24: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

24 จังหวัดนครปฐม

โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ)

หัวข้อ รายละเอียด 1. ชื่อโครงการ 9. โครงการพัฒนาศูนย์การแพทย์ครบวงจร 2. ความส าคัญของโครงการ หลักการ

และเหตุผล ตามที่ รัฐบาลได้จัดท ายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 -2579) เพ่ือใช้ในการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาชองเศรษฐกิจพอเพียง” และมอบให้ทุกส่วนราชการจัดท าแผนงานในภารกิจหลักของแต่ละช่วงระยะเวลาให้สอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ โดยที่ กลุ่ มจั งหวัดภาคกลาง 19 จังหวัด ประกอบด้ วย กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สุพรรณบุรี อยุธยา อ่างทอง ชัยนาท สิงห์บุรี ลพบุรี สระบุรี นครนายก ปราจีนบุรี และ สระแก้ว ก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง คือ “เป็นฐานเศรษฐกิจชั้นน า ศูนย์กลางการค้าและอุตสาหกรรมสีเขียว ประตูสู่อาเซียน เมืองนวัตกรรมอาหาร ศูนย์กลางสินค้าเกษตร ศูนย์กลางประมงแปรรูป ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มรดกโลก แหล่งท่องเที่ยวนานาชาติ” โดยให้เมืองศูนย์กลางของจังหวัดเป็นเมืองน่าอยู่ของทุกกลุ่มในสังคมเพ่ิมข้ึน ยุทธศาสตร์ที่ 9 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาเมืองน่าอยู่ ปลอดภัย สิ่ งแวดล้อมดี เศรษฐกิจดี เดินทางสะดวก ระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการมีคุณภาพทั่วถึง สอดคล้องกับอัตลักษณ์ความหลากหลายและศักยภาพของเมือง บนพ้ืนฐานการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยด้านการสาธารณสุข กระจายก าลังคนเพ่ือให้ประชาชนได้รับบริการอย่างเท่าเทียม ป้องกันและรักษาโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้ ลดการเสียชีวิตของมารดาจากการตั้งครรภ์ รณรงค์การเสียชีวิตของทารก ส่งเสริมหน่วยบริการแพทย์ปฐมภูมิเพ่ือลดความแออัดและให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้มากขึ้น รวมทั้งควบคุมสถานพยาบาลให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน กระทรวงสาธารณสุขได้ก าหนดยุทธศาสตร์และทิศทางการพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ (Medical Hub) ภายในระยะ 10 ปี นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2559 - 2568 รวมทั้ ง นโยบายการพัฒนาการเป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในอาเซียน ซึ่งได้ด าเนินการมาแล้วตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2557 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จังหวัดนครปฐม ได้จัดท าแผนยุทธศาสตร์ด้านการสาธารณสุขที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข20 ปี 4 ด้านทั้งนี้ยังเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์

Page 25: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

25 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด จังหวัดและของกลุ่มจังหวัดภาคกลางปริมณฑลยุทธศาสตร์ที่ 2 คือ บริการที่เป็นเลิศ (Service Excellence) โดยเน้นการพัฒนาเพ่ือขับเคลื่อนระบบบริการ 3 ด้าน ได้แก่ 1) พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญด้านหัวใจ เพ่ือรองรับการให้บริการประชาชนจังหวัดนครปฐมและจังหวัดใกล้เคียงที่จะไม่ต้องเดินทางเข้ามารับการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานคร 2) พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญด้านการพยาบาลฉุกเฉิน เพ่ือรองรับผู้ป่วยฉุกเฉินด้านต่างๆ เช่น อุบัติเหตุ อุบัติภัย โรคหัวใจวายเฉียบพลัน โรคหลอดเลือดสมอง ฯลฯ ซึ่งเป็นกลุ่มโรคที่จะต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน รวมถึงการเพ่ิมศักยภาพเพ่ือเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ที่ไม่ปกติ หรือวิกฤตการณ์ที่ส าคัญ จากพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร 3) พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนจังหวัดนครปฐม ซึ่งการจัดบริการด้านสาธารณสุขจะแบ่งออกเป็นหลายระดับเชื่อมต่อกันด้วยระบบส่งต่อ (Referral System) ตั้งแต่ ระดับปฐมภูมิ (Primary Care) ระดับทุติยภูมิ (Secondary Care) และ ระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) ซึ่งเป้าหมายหลักของการจัดบริการสาธารณสุข คือ ลดอัตราป่วย ลดอัตราตาย ลดความแออัดในการเข้ารับบริการของผู้ป่วย ลดระยะเวลารอคอยของประชาชน และประชาชนเข้าถึงบริการ อย่างทั่วถึง เป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ าสู่คุณภาพชีวิตที่ดี ดั งนั้น ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม จึงได้จัดท าโครงการสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ขึ้น

3. วัตถุประสงค์ของโครงการ เพ่ือให้สถานบริการสุขภาพเป้าหมาย ได้รับการสนับสนุน 1) ค่าก่อสร้างและปรับปรุงอาคารสถานบริการ 2) ครุภัณฑ์การแพทย์ 3) ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง 4) ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 5) ครุภัณฑ์กีฬา และ 6) ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ ใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง

4. เป้าหมายและตัวชี้วัดความส าเร็จของโครงการ

1. อาคารที่ก่อสร้างที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติและรายการที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 2. อาคารที่ปรับปรุงที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติและรายการที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 3. จ านวนครุภัณฑ์การแพทย์ที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมาย

Page 26: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

26 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด ได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 4. จ านวนครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่งที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพื่อใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 5. จ านวนครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 6. จ านวนครุภัณฑ์ครุภัณฑ์กีฬาที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง 7. จ านวนครุภัณฑ์ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุที่สถานบริการสุขภาพเป้าหมายได้รับตรงตามคุณสมบัติที่ก าหนด เพ่ือใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ให้เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง

5. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และทิศทางการพัฒนาภาค

ยุทธศาสตร์จังหวัด : ประเด็นยุทธศาสตร์ที ่3 พัฒนาคุณภาพชีวิตและความม่ันคงทางสังคม ลดความเหลื่อมล้ า และส่งเสริมสังคมแห่งความรู้ และสามารถบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ทิศทางการพัฒนาภาค : ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนากรุงเทพฯ เป็นมหานครทันสมัยระดับโลกควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

6. กิจกรรมที่ส าคัญของโครงการ จัดซื้อเครื่องสวนหัวใจสองระนาบ โรงพยาบาลนครปฐม ต.พระปฐมเจดีย์ อ.เมือง จ.นครปฐม จ านวน 1 เครื่อง

7. หน่วยงานด าเนินงาน ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม 8. ระยะเวลาในการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 9. งบประมาณ 40,000,000 บาท

งบประมาณจากกระทรวงสาธารณสุข 10. ผลผลิต (output) ระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐมได้รับการพัฒนาสู่การ

เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง มีศักยภาพตามมาตรฐาน สามารถให้บริการ เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนจั งหวัดนครปฐม กลุ่ มจั งหวัดภาคกลาง รองรับชาวต่างชาติที่เข้ามารับบริการได้

Page 27: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

27 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด 11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) ระบบบริการสาธารณสุขจังหวัดนครปฐมได้รับการพัฒนาสู่การ

เป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในภาคกลาง มีศักยภาพตามมาตรฐาน สามารถให้บริการ เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนจั งหวัดนครปฐม กลุ่ มจั งหวัดภาคกลาง รองรับชาวต่างชาติที่เข้ามารับบริการได้

Page 28: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

28 จังหวัดนครปฐม

โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ)

หัวข้อ รายละเอียด 1. ชื่อโครงการ 10. โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 2. ความส าคัญของโครงการ หลักการ

และเหตุผล ประเทศไทยได้เข้าสู่ “ประเทศผู้สูงอายุ” มาตั้งแต่ ปี พ.ศ.

๒๕๔๘ กล่าวคือมีประชากรอายุ ๖๐ ขึ้นไปเกินกว่าร้อยละ ๑๐ ของประชากรทั้งประเทศ ส่วนจังหวัดนครปฐม ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ มีประชากรผู้สูงอายุ จ านวน ๑๓๔ ,๕๘๖ คน หรือคิดเป็นร้อยละ ๑๔.๘๗ และคาดการณ์ว่าในปี 2564 จะมีมากถึงร้อยละ 20 อันเป็นผลมาจากอัตราการเกิดที่ลดลงและความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ ท าให้ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวขึ้นการที่ประชากรวัยสูงอายุมีแนวโน้มเพ่ิมจ านวนขึ้นอย่างรวดเร็ว ท าให้ประเทศต้องมีรายจ่ายด้านสวัสดิการเพ่ือผู้สูงอายุเพ่ิมสูงขึ้น ครอบครัวต้องแบกรับภาระในการดูแลผู้สูงอายุมากขึ้น ขณะที่ผู้สูงอายุเองเมื่อมีอายุยืนยาวขึ้นก็ต้องเผชิญกับปัญหาการขาดแคลนรายได้หรือมีรายได้ไม่เพียงพอแก่การด ารงชีพรวมถึงความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังต่าง ๆ ความพิการหรือทุพพลภาพ ปัจจุบันจังหวัดนครปฐมมีคนพิการมากกว่า ๑๔,๐๐๐ คน บางครั้งเราสามารถสังเกตเห็นได้ว่าบุคคลนั้นมีความพิการและบุคคลนั้นเป็นผู้สูงอายุ แต่ในความพิการบางประเภทเราไม่สามารถสังเกตเห็นได้จากภายนอก ดังนั้น เครือข่ายควรมีความพร้อมที่จะเรียนรู้และเข้าใจในลักษณะความพิการประเภทต่างๆ เพ่ือการวางแผน ฟ้ืนฟูและพัฒนาคนพิการและผู้สูงอายุ โดยการปรับสภาพแวดล้อมที่เอ้ือประโยชน์ในการฟ้ืนฟูและพัฒนาคนพิการและผู้สูงอายุ รวมทั้งการจัดสิ่งอ านวยความสะดวกในบ้านและชุมชนอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ สภาพครอบครัวไทยที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต จากที่มีคนหลายรุ่นอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน กลายเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ท าให้ผู้สูงอายุต้องอยู่กันตามล าพังขาดผู้ดูแล และอาจเกิดความรู้สึกว่าชีวิตไร้ความหมาย สถานการณ์การของผู้สูงอายุไทยจึงน่าวิตก การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงควรด าเนินการควบคู่กับมาตรการอ่ืนๆ ของรัฐ เพ่ือให้ผู้สูงอายุได้รับการการดูแลอย่างทั่วถึง ซึ่งมีบทบาทส าคัญ ได้แก่ สมาชิกในครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีภารกิจโดยตรงในการดูแลผู้สูงอายุรวมทั้งส่งเสริมสนับสนุน และแสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายเพ่ือให้ผู้สูงอายุได้มีพ้ืนที่ในการเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชน ไม่ว่าจะเป็นการพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนการถ่ายภูมิปัญญา หรือการพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ ซึ่งเป็นการยกระดับการจัดสวัสดิการ ส าหรับผู้สู งอายุในชุมชน เพ่ือให้ผู้สู งอายุมองเห็นคุณค่าและ

Page 29: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

29 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด ความส าคัญของตนเอง และชุมชนประจักษ์ในศักยภาพและพลังของผู้สูงอายุ ส่งผลให้ผู้สูงอายุใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรีและมีความสุข ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครปฐม สังกัดส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีภารกิจด้านการพัฒนาสังคม การจัดสวัสดิการสังคม สร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม การพัฒนาศักยภาพของประชาชนและชุมชน การให้ความคุ้มครองทางสังคมแก่ผู้ด้อยโอกาสกลุ่มต่างๆ ดังนั้น เพ่ือให้ประชากรที่เข้าสู่วัยผู้สูงอายุ เป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความมั่นคงในการด ารงชีวิต จึงได้จัดท า โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยขยายผลการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุให้ครบทุกอ าเภอ (ปรับปรุงอาคารในพ้ืนที่ต าบลต้นแบบ ๖ แห่ง จากเดิมที่จัดตั้งแล้วในอ าเภอนครชัยศรี) และ จัดตั้งศูนย์บริการและจัดสวัสดิการผู้สูงอายุในพ้ืนที่ต้นแบบ ในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความพร้อม จ านวน ๒ แห่ง และปรับปรุง/ซ่อมแซมบ้านผู้สูงอายุและคนพิการ จ านวน ๓๒๘ หลัง

3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1) เพ่ือจัดตั้งศูนย์บริการและจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุในพ้ืนที่ต้นแบบ และโรงเรียนผู้สู งอายุส่งเสริมการเข้าถึงบริการและสวัสดิการต่างๆ 2) เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ สูงอายุ ผู้ที่จะเข้าสู่วัยสูงอายุ ครอบครัวที่ดูแลผู้สูงอายและผู้ที่เกี่ยวข้อง ให้เข้าถึงกิจกรรมและบริการสวัสดิการต่างๆ 3) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีพ้ืนที่ที่เรียนรู้และถ่ายทอดประสบการณ์ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น ให้ด ารงสืบทอดเป็นเอกลักษณ์ของชุมชน 4) เพ่ือให้ผู้สูงอายุมี “เวท”ี ที่เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการท าประโยชน์ต่อชุมชนสังคม รวมทั้งเป็นแรงผลักดันให้เข้าร่วมเป็นอาสาสมัครในชุมชน 5) เพื่อให้ผู้สูงอายุและคนพิการที่ประสบปัญหาความเดือดร้อนด้านที่อยู่อาศัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมที่เอ้ืออ านวยต่อการด ารงชีวิตประจ าวัน

4. เป้าหมายและตัวชี้วัดความส าเร็จของโครงการ

1) ร้อยละ ๙๐ ของการจัดตั้งศูนย์ศูนย์บริการและจัดสวัสดิการผู้สูงอายุในพ้ืนที่ต้นแบบและโรงเรียนผู้สูงอายมีการด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง 2) ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุและคนพิการที่ส ารวจว่าประสบปัญหาความเดือดร้อนด้านที่อยู่อาศัย สมควรที่จะได้รับการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย โดยการปรับปรุง/ซ่อมแซมให้มีความ

Page 30: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

30 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด เหมาะสมในกากรใช้ชีวิตประจ าวัน

5. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และทิศทางการพัฒนาภาค

ยุทธศาสตร์จังหวัด : ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตและความม่ันคงทางสังคม ลดความเหลื่อมล้ า และส่งเสริมสังคมแห่งความรู้ และสามารถบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ทิศทางการพัฒนาภาค : ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติและสร้างความเชื่อมโยงเพ่ือกระจายการท่องเที่ยวทั้งภาค

6. กิจกรรมที่ส าคัญของโครงการ 1. จัดตั้งศูนย์บริการและจัดสวัสดิการผู้สูงอายุในพ้ืนที่ต้นแบบ และจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ (ปรับปรุงอาคารในพ้ืนที่ต าบลต้นแบบ) 49,526,500 บาท 2. ปรับสภาพแวดล้อมและสิ่งอ านวยความสะดวกของผู้สูงอายุและคนพิการ 17,220,000 บาท

7. หน่วยงานด าเนินงาน ส านักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดนครปฐม 8. ระยะเวลาในการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 9. งบประมาณ 66,746,500 บาท

งบประมาณจากกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 10. ผลผลิต (output) - ศูนย์บริการและจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ จ านวน 2 แห่ง ใน

ต าบลธรรมศาลา อ าเภอเมืองนครปฐม และ ต าบลยายชา อ าเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม - การปรับปรุงก่อสร้างอาคารโรงเรียนผู้สูงอายุ จ านวน ๖ แห่ง - บ้านผู้สูงอายุและคนพิการที่สมควรได้รับการปรับสภาพแวดล้อมในที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม ด าเนินการปรับปรุง/ซ่อมแซม จ านวน 328 หลัง

11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) - ประชากรวัยสูงอายุและผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้ใช้ประโยชน์เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ - ประชากรที่จะเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ครอบครัวที่ดูแลผู้สูงอายุ และผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับการส่งเสริมให้เข้าถึงกิจกรรมและบริการสวัสดิการต่างๆ - ผู้สูงอายุและคนพิการที่ประสบปัญหาความเดือดร้อนด้านที่อยู่อาศัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมท่ีอยู่อาศัยที่เหมาะสมและปลอดภัย

Page 31: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

31 จังหวัดนครปฐม

โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ)

หัวข้อ รายละเอียด 1. ชื่อโครงการ 11. โครงการศึกษาการเชื่อมต่อการเดินทางของผู้โดยสารจากระบบ

ขนส่งมวลชนระยะที่ 2 (กรุงเทพฯ – นครปฐม) 2. ความส าคัญของโครงการ หลักการ

และเหตุผล 2.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ได้

ก าหนดเป้าหมายในการพัฒนาประเทศเพ่ือให้ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น โดยเฉพาะด้านการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส์ จะมุ่งเน้นการขยายขีดความสามารถและพัฒนาคุณภาพการให้บริการ เพ่ือรองรับการขยายตัวของเมืองและพ้ืนที่เศรษฐกิจหลัก และส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทุกกลุ่มในสังคม สนับสนุนให้เกิดความเชื่อมโยงในอนุภูมิภาคและในอาเซียนอย่างเป็นระบบ

2.2 การเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงานในภาคการขนส่งในแผนฯ ฉบับที่ 12 มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน สิ่งอ านวยความสะดวกด้านการขนส่งและการค้า รวมทั้งมีกลไกก ากับดูแล การประกอบกิจการขนส่งที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใสให้สามารถสนับสนุนการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และยกระดับคุณภาพชีวิตให้แก่ประชาชน

2.3 กระทรวงคมนาคมมีนโยบายในการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบบริการด้านคมนาคมขนส่งของประเทศ ประกอบด้วย การขนส่งระหว่างเมือง ในเมือง ให้ครอบคลุมทั้งภูมิภาคของประเทศ ตลอดจนการเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างประเทศให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภ าพ สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านคมนาคมขนส่งและบริการเป็นพ้ืนฐานส าคัญที่จะช่วยเสริมสร้าง ความมั่นคงของประเทศ การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านคมนาคมขนส่งและระบบโลจิสติกส์ที่ครอบคลุม เชื่อมโยง และมีประสิทธิภาพ โดยให้ความส าคัญด้านการลงทุนโครงสร้างพ้ืนฐานในด้านขนส่ง การพัฒนา พ้ืนที่เศรษฐกิจพิเศษและเมือง พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิ เศษชายแดน และพัฒนาระบบเมืองศูนย์กลางความเจริญ ตลอดจนการเชื่อมโยงภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก และสร้างโอกาสให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงบริการ ระบบคมนาคมขนส่งได้อย่างสะดวก ทั่วถึง และปลอดภัย ท าให้เกิดความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม เร่งพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและปรับเส้นทางการเดินรถโดยสาร สาธารณะ เพ่ือท าหน้าที่ป้อนผู้โดยสารเข้าสู่ระบบขนส่งสาธารณะที่เป็นโครงข่ายหลักของเมือง และสนับสนุนให้ประชาชนหันมาเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะเพ่ิมขึ้น ตลอดจนส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทในการพัฒนา

Page 32: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

32 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด ระบบขนส่งสาธารณะเพ่ือสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะในภูมิภาค

2.4 ในการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนตามแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งเป็นนโยบายที่รัฐบาลให้ความส าคัญเร่งด่วน เพ่ือแก้ไขปัญหาจราจรอย่างเป็นระบบและยั่งยืนจ าเป็นต้องพัฒนาพ้ืนที่ส าหรับการเชื่อมต่อการเดินทางในพ้ืนที่จังหวัดนครปฐมควรให้สอดรับกับแผนการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยเฉพาะการรองรับการพัฒนาโครงการรถไฟชานเมืองร่วมกับรถไฟทางไกลเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สายตลิ่งชัน-นครปฐมที่มีแผนเปิดให้บริการในปี พ.ศ. 2563 ซึ่งเป็นปลายทางการเดินทางของประชาชนในพ้ืนที่ จึงจ าเป็นต้องพัฒนาพ้ืนที่ส าหรับการเชื่อมต่อระบบการเดินทางให้มีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมต่อกับแนวแกนหลักของระบบการขนส่งมวลชน ซึ่งจะช่วยอ านวยความสะดวกให้กับประชาชนในการเดินทางจากแหล่งที่อยู่อาศัย ชุมชน แหล่งงาน และพ้ืนที่ที่มีการจัดกิจกรรมส าคัญทางศาสนา

2.5 จังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดในกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง (ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม กาญจนบุรี) อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ไปตามเส้นทางถนนเพชรเกษม 56 กิโลเมตร หรือตามเส้นทางถนนบรมราชชนนี (ถนนปิ่นเกล้า-นครชัยศรี) 51 กิโลเมตร และตามเส้นทางรถไฟ 62 กิโลเมตร มีพ้ืนที่ 2,168.327 กิโลเมตร หรือ 1,355,204 ไร่ ร้อยละ 0.42 ของประเทศ และมีพ้ืนที่เป็นอันดับที่ 62 ของประเทศ แบ่งการปกครองเป็น 7 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอเมือง นครปฐม อ าเภอสามพราน อ าเภอนครชัยศรี อ าเภอบางเลน อ าเภอก าแพงแสน อ าเภอดอนตูม และอ าเภอพุทธมณฑล การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 11 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 3 แห่ง เทศบาลต าบล 15 แห่ง และองค์การบริหารส่วนต าบล 97 แห่ง ประชากรปี 2552 รวมทั้งสิ้น 755,466 คน จ านวนประชากรที่มากที่สุด ได้แก่ อ าเภอเมืองนครปฐม จ านวน 186,602 คน รองลงมา ได้แก่ อ าเภอสามพราน จ านวน 175,166 คน และอ าเภอก าแพงแสน จ านวน 120,977 คน ส าหรับการเดินทางทางบกมีความหลากหลาย ได้แก่ รถจักรยานยนต์รับจ้างสาธารณะ รถโดยสารสาธารณะ รถตู้โดยสารสาธารณะ และระบบขนส่งสาธารณะที่ไม่ใช้พลังงาน เช่น รถสามล้อ เป็นต้น รวมทั้งในอนาคตจะมีโครงการรถไฟฟ้าสายบางแค – พุทธมณฑลสาย 4 (4 กิโลเมตร) เป็นโครงการเพ่ิมเติมภายใน พ.ศ. 2572

Page 33: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

33 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด 2.6 จากการส ารวจสภาพการขนส่งและจราจรในพ้ืนที่จังหวัด

นครปฐม โดยการสัมภาษณ์และดูสภาพพ้ืนที่จริงรวมถึงทบทวนรายงานผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับปัญหาด้านการขนส่งและจราจร พบว่า จังหวัดนครปฐมเป็นจังหวัดที่มีศักยภาพในการรองรับการพัฒนาเนื่องจากเป็นพ้ืนที่ต่อเนื่องกับกรุงเทพมหานครและประตูสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้ที่ส าคัญ จากการส ารวจพบปัญหาการจราจรติดขัดบริเวณจุดตัดรถไฟในเขตตัวเมืองและจุดอันตรายบนถนนสายหลักและสายรองโดยเฉพาะถนนเพชรเกษมและถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 321 ปัญหาการฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจรและการขาดระเบียบวินัยจราจร ปัญหาความไม่ปลอดภัยของคนเดินเท้า ปัญหาความไม่ปลอดภัยของผู้ใช้รถใช้ถนน ปัญหาการจัดการจราจรที่ไม่เหมาะสม ปัญหาที่ เกี่ยวกับการให้บริการของระบบโดยสารสาธารณะและปัญหาการจัดการบริเวณองค์พระปฐมเจดีย์

จากปัญหาข้างต้น จึงมีความจ าเป็นเร่งด่วนในการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะในเมืองนครปฐม เพ่ือช่วยให้เมืองนครปฐมมีระบบขนส่งสาธารณะรองรับความต้องการในการเดินทางของประชาชนให้บริการสามารถเข้าถึงทุกพ้ืนที่ และเชื่อมประสานกับระบบขนส่งสาธารณะรูปแบบอ่ืนๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์โดยตรงต่อประชาชนเดินทางคมนาคมได้สะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ เพ่ือดึงดูดให้ประชาชนมาใช้บริการระบบขนส่งสาธารณะมากขึ้น เพราะนอกจากจะเป็นการช่วยแก้ไขปัญหาการจราจรที่ติดขัดแล้ว ยังช่วยลดมลพิษ และลดผลกระทบที่เกิดจากการสร้างถนนและที่จอดรถอีกด้วย

3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 3.1 วิเคราะห์รูปแบบและความต้องการเดินทางของประชาน และแผนการพัฒนาโครงการต่างๆ ในพ้ืนที่ เพื่อศึกษา ส ารวจ และออกแบบระบบการเชื่อมต่อการเดินทางในบริเวณพ้ืนที่จากสถานีของโครงการระบบรถไฟชานเมือง ร่วมกับรถไฟทางไกลเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สายตลิ่งชัน-นครปฐม ที่มีสถานีในเขตพ้ืนที่จังหวัดนครปฐม ไปยังพ้ืนที่ใกล้เคียง

3.2 ศึกษาความเหมาะสมในการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนขนาดรอง และ/หรือระบบขนส่งสาธารณะอ่ืนที่เหมาะสม โดยเชื่อมต่อการเดินทางบริเวณเขตพ้ืนที่จังหวัดนครปฐม ผ่านบริเวณชุมชน สถานที่ส าคัญ สถานศึกษา องค์กรขนาดใหญ่ในบริเวณใกล้เคียง เพ่ือเป็นระบบที่ป้อนผู้โดยสารเข้าสู่ระบบขนส่งมวลชนอย่างสะดวก ปลอดภัย และส่งเสริมต่อการใช้ระบบขนส่งมวลชนมากขึ้น

3.3 จัดระบบการจราจร ตลอดจนแผนการปรับปรุงทางกายภาพ เพ่ือรองรับการเชื่อมต่อการเดินทางในพ้ืนที่จังหวัดนครปฐม ควรให้สอดรับกับแผนการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนในเขตกรุงเทพมหานคร

Page 34: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

34 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด และปริมณฑล โดยเฉพาะการรองรับการพัฒนาโครงการรถไฟชานเมืองร่วมกับรถไฟทางไกลเชื่อมระบบขนส่งมวลชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สายตลิ่งชัน-นครปฐม ที่มีแผนเปิดให้บริการในปี พ.ศ. 2563

3.4 ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในพ้ืนที่ของจังหวัดนครปฐม ให้เกิดการสนับสนุนและการด าเนินงานของรัฐบาลตามแผนโครงการรถไฟฟ้า 10 สายทางให้ประสบผลส าเร็จ

4. เป้าหมายและตัวชี้วัดความส าเร็จของโครงการ

4.1 จ านวนแผนงาน/โครงการในการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนขนาดรองของจังหวัดที่น าไปสู่การปฏิบัติ

4.2 คุณภาพการให้บริการและระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการระบบขนส่งสาธารณะในจังหวัดนครปฐม

5. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และทิศทางการพัฒนาภาค

ยุทธศาสตร์จังหวัด : ประเด็นยุทธศาสตร์ที ่3 พัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงทางสังคม ลดความเหลื่อมล้ า และส่งเสริมสังคมแห่งความรู้ และสามารถบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ทิศทางการพัฒนาภาค : ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนากรุงเทพฯ เป็นมหานครทันสมัยระดับโลกควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

6. กิจกรรมที่ส าคัญของโครงการ จัดจ้างที่ปรึกษาเพ่ือศึกษาวิจัยโครงการศึกษาการเชื่อมต่อการเดินทางของผู้โดยสารจากระบบขนส่งมวลชนระยะที่ 2 (กรุงเทพฯ – นครปฐม)

7. หน่วยงานด าเนินงาน ส านักงานขนส่งจังหวัดนครปฐม 8. ระยะเวลาในการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 9. งบประมาณ 15,000,000 บาท

งบประมาณจากกระทรวงคมนาคม 10. ผลผลิต (output) แผนงาน/โครงการในการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนขนาดรองของ

จังหวัดที่น าไปสู่การปฏิบัติ 11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) คุณภาพการให้บริการและระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการระบบ

ขนส่งสาธารณะในจังหวัดนครปฐม

Page 35: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

35 จังหวัดนครปฐม

โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ)

หัวข้อ รายละเอียด 1. ชื่อโครงการ 12. โครงการก่อสร้างหลังคาคลุมทางเดินเข้าตลาดริมน้ าดอนหวาย

(วัดดอนหวาย) หมู่ที่ 5 ต าบลบางกระทึก อ าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

2. ความส าคัญของโครงการ หลักการและเหตุผล

จังหวัดนครปฐม มีนักท่องเที่ยวมาเยือนเป็นจ านวนมากในแต่ละปี โดยเฉพาะการท่องเที่ยวตลาดน้ า เป็นการเพ่ิมรายได้จากการท่องเที่ยวให้ชุมชนได้มากข้ึน และกระจายรายได้ไปสู่ชุมชนในวงกว้าง เพ่ือเป็นมาตรฐานและสร้างความปลอดภัย และอ านวยความสะดวกส าหรับนักท่องเที่ยว ประชาชนทั่วไป

3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1) เพ่ือเป็นมาตรฐานและสร้างความปลอดภัย และอ านวยความสะดวกส าหรับนักท่องเที่ยว ประชาชนทั่วไป

2) เพ่ือส่งเสริมการประกอบอาชีพและรายได้ให้กับชุมชน 4. เป้าหมายและตัวชี้วัดความส าเร็จ

ของโครงการ ก่อสร้างหลังคาคลุมทางเดินเข้าตลาดริมน้ าดอนหวาย ตามแบบที่ก าหนด

5. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และทิศทางการพัฒนาภาค

ยุทธศาสตร์จังหวัด : ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรมให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานในทุกด้าน

ทิศทางการพัฒนาภาค : ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติและสร้างความเชื่อมโยงเพ่ือกระจายการท่องเที่ยวทั้งภาค

6. กิจกรรมที่ส าคัญของโครงการ ก่อสร้างหลังคาคลุมทางเดินเข้าตลาดริมน้ าดอนหวาย (วัดดอนหวาย) หมู่ที่ 5 ต าบลบางกระทึก อ าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

7. หน่วยงานด าเนินงาน ที่ท าการปกครองอ าเภอสามพราน 8. ระยะเวลาในการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 9. งบประมาณ 4,000,000 บาท

งบประมาณจากกระทรวงมหาดไทย 10. ผลผลิต (output) หลังคาคลุมทางเดินเข้าตลาดริมน้ าดอนหวาย (วัดดอนหวาย) 11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) เพ่ืออ านวยความสะดวกส าหรับนักท่องเที่ยว ประชาชนทั่วไป

รวมทั้งเพ่ิมรายได้ให้แก่ชุมชน

Page 36: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

36 จังหวัดนครปฐม

โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ)

หัวข้อ รายละเอียด 1. ชื่อโครงการ 13. โครงการทางจักรยานโรงเรียนการบิน 2. ความส าคัญของโครงการ หลักการ

และเหตุผล โรงเรียนการบินนอกเหนือจากเป็นหน่วยงานหลักในการผลิต

นักบินรบของกองทัพอากาศแล้ว ภายในโรงเรียนการบินยังจัดเป็นอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวของทหารอากาศ โดยมีสถานที่นันทนาการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสนามกอล์ฟกองใหญ่ สวนน้ าจิตรการ หรือเส้นทางจักรยาน ซึ่งมีความสวยความด้วยธรรมชาติของต้นไม้สองข้างทาง ให้ข้าราชการและครอบครัวประชาชนทั่วไปได้มีกิจกรรม เพ่ือเป็นการออกก าลังกายและการท่องเที่ยว รวมทั้งเป็นการสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนโดยรอบอีกด้วย

ดังนั้น เพ่ือเป็นมาตรฐานและเกิดความปลอดภัยส าหรับข้าราชการและครอบครัว ประชาชนทั่วไป จึงจัดท าโครงการทางจักรยานโรงเรียนการบิน

3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 3.1 เพ่ือส่งเสริมการประกอบอาชีพและรายได้ให้กับชุมชน 3.2 เพ่ือเป็นการส่งเสริมการออกก าลังกายให้กับข้าราชการและประชาชนทั่วไป

4. เป้าหมายและตัวชี้วัดความส าเร็จของโครงการ

เพ่ือให้ข้าราชการและครอบครัว ประชาชนทั่วไปได้ใช้เป็นสถานที่ออกก าลังกายและการท่องเที่ยว รวมทั้งเพ่ิมรายได้ให้แก่ชุมชน

5. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และทิศทางการพัฒนาภาค

ยุทธศาสตร์จังหวัด : ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตและความม่ันคงทางสังคม ลดความเหลื่อมล้ า และส่งเสริมสังคมแห่งความรู้ และสามารถบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ทิศทางการพัฒนาภาค : ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนากรุงเทพฯ เป็นมหานครทันสมัยระดับโลกควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

6. กิจกรรมที่ส าคัญของโครงการ จัดสร้างเส้นทางจักรยานเคลือบผิวจราจรแบบกันลื่น รวมทั้งเครื่องหมายและข้อความทางจักรยานบนผิวจราจร ระยะทาง 27 กิโลเมตร หรือ 30,195.60 ตารางเมตร

7. หน่วยงานด าเนินงาน โรงเรียนการบิน 8. ระยะเวลาในการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 9. งบประมาณ 39,254,000 บาท

งบประมาณจากกระทรวงกลาโหม 10. ผลผลิต (output) เส้นทางจักรยานเคลือบผิวจราจรแบบกันลื่น ระยะทาง 27 กิโลเมตร 11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) ข้าราชการและครอบครัว ประชาชนทั่วไป และชุมชนภายในและ

โดยรอบฐานบินก าแพงแสนได้ใช้เป็นสถานที่ออกก าลังกาย

Page 37: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

37 จังหวัดนครปฐม

โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ)

หัวข้อ รายละเอียด 1. ชื่อโครงการ 14. โครงการส่งเสริมสหกรณ์โคนมเพ่ือเพ่ิมศักยภาพการผลิต

น้ านมดิบ 2. ความส าคัญของโครงการ หลักการ

และเหตุผล สหกรณ์โคนมก าแพงแสน จ ากัด ก่อตั้งโดยสมาชิกสหกรณ์

ที่ท าการเกษตรด้วยการเลี้ยงโคนม มีพ้ืนที่ด าเนินงานในจังหวัดนครปฐม ปัจจุบันสหกรณ์ฯ มีสมาชิก จ านวน 350 ครอบครัว ปริมาณน้ านมดิบ 39,000 กิโลกรัม/วัน และด าเนินธุรกิจการ แปรรูปและจ าหน่ายนมพาสเจอร์ไรส์และนม ยู.เอช.ที สามารถจ าหน่ายนมพาสเจอร์ไรส์ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานราชการต่างๆ ตามโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียนในพ้ืนที่จังหวัดนครปฐม สุพรรณบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และระนอง

การด าเนินการนมโรงเรียนตามโครงการดังกล่าวรัฐบาลได้จัดสรรงบประมาณให้เด็กนักเรียนได้ดื่มนมในช่วงเปิดภาคเรียน และดื่มนม ยู.เอช.ที. ในช่วงปิดภาคเรียนและในพ้ืนที่ทุรกันดาร โดยผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการต้องรับผิดชอบน้ านมดิบทั้งปี ซึ่งในช่วงปิดภาคเรียนทุกปี และช่วงที่ปริมาณน้ านมดิบเพิ่มมากข้ึน สหกรณ์ โคนม ก าแพงแสน จ ากัด จะต้องน าน้ านมดิบจ้างผู้ประกอบการรายใหญ่ผลิตนมเพ่ือไม่ให้ต้องเทน้ านมดิบของเกษตรกรทิ้ง จึงต้องผลิตเป็นนมกล่อง ยู.เอช.ที. เก็บรักษาไว้เพ่ือรอการจ าหน่าย ซึ่งที่ผ่านมาสหกรณ์ฯ ได้ประสบปัญหาในเรื่องของค่าเช่าสถานที่เพ่ือเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ ค่าแรงานในการขนย้าย ค่ารถบรรทุกขนส่งเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์ จึงท าให้ประสบการขาดทุนในการจ าหน่ายนมมาโดยตลอด สหกรณ์ฯ จึงมีความจ าเป็นที่จะต้องมีอาคารเพ่ือเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานและสามารถรักษาคุณภาพและผลิตภัณฑ์ให้คงสภาพเดิม เป็นที่ยอมรับของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้เพ่ิมขึ้น และสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรให้ดีขึ้นด้วย

3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อให้สหกรณ์ฯ มีสถานที่จัดเก็บผลิตภัณฑ์ต่างๆ ให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมที่ดีได้มาตรฐาน 2. เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายให้กับองค์กร และสามารถบริหารจัดการควบคุมผลิตภัณฑ์ได้ดี 3. เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้เพ่ิมข้ึน และส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถผลิตน้ านมดิบที่ดีเพ่ิม

4. เป้าหมายและตัวชี้วัดความส าเร็จของโครงการ

1. ร้อยละ 80 ของประชาชนที่ประกอบอาชีพเลี้ยงโคในพ้ืนที่มีความพึงพอใจ สามารถเพ่ิมคุณภาพการผลิตได้มากข้ึน และมีผลตอบแทนในอาชีพได้เพ่ิมข้ึน

Page 38: โครงการแบบย่อ (๑ ชุด : ๑ โครงการ) · 2019-02-14 · 6 จังหวัดนครปฐม โครงการแบบย่อ

38 จังหวัดนครปฐม

หัวข้อ รายละเอียด 2. เพื่อให้สหกรณ์ที่เป็นตัวแทนเกษตรกร ได้มีอาคารจัดเก็บผลิตภัณฑ์ที่ดีได้มาตรฐาน และลดค่าใช้จ่ายให้กับองค์กรและเกษตรกร

5. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และทิศทางการพัฒนาภาค

ยุทธศาสตร์จังหวัด : ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการจัดการห่วงโซ่คุณค่าสินค้าเกษตร อาหารปลอดภัย และส่งเสริมเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ รวมถึงการพัฒนาสินค้าและบริการโดยใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีและความคิดเชิงสร้างสรรค์

ทิศทางการพัฒนาภาค : ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับการผลิตสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมโดยใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ เพ่ือให้สามารถแข่งขันได้อย่างยั่งยืน

6. กิจกรรมที่ส าคัญของโครงการ ก่อสร้างอาคารเก็บผลิตภัณฑ์ คสล. ชั้นเดียว พร้อมเครื่องชั่งและสาธารณูปโภค ในสหกรณ์โคนมก าแพงแสน จ ากัด ต าบลทุ่งลูกนก อ าเภอก าแพงแสน จังหวัดนครปฐม

7. หน่วยงานด าเนินงาน ที่ท าการปกครองอ าเภอก าแพงแสน 8. ระยะเวลาในการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 9. งบประมาณ 9,000,000 บาท

งบประมาณจากกระทรวงมหาดไทย 10. ผลผลิต (output) อาคารเก็บผลิตภัณฑ์ในสหกรณ์โคนมก าแพงแสน จ ากัด 1 หลัง 11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) ประชาชนผู้ประกอบอาชีพเลี้ยงโคนม จ านวน 369 ครัวเรอืน

ได้รับการอ านวยความสะดวกในการส่งน้ านมดิบ ส่งเสริมการเลี้ยงโคนมแก่เกษตรกร และสามารถเพ่ิมปริมาณผลผลิต ท าให้ประชาชนมีรายได้ที่แน่นอน คุณภาพชีวิตที่ดี มั่นคง และยั่งยืน