การวิจัยอย างมีส วนร วมในการ ...a7%d2%b... ·...

15
1 การวิจัยอยางมีสวนรวมในการวางแผนระบบสื่อความหมายทรัพยากรธรรมชาติและ วัฒนธรรมเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ภายใตแนวคิดการออกแบบอยางยั่งยืน: กรณีศึกษา พื้นที่โครงการหลวงบานวัดจันทร . แมแจม .เชียงใหม The Participatory Research for Interpretation Master Planning of Natural and Cultural Resources for Ecotourism Development Based on Sustainable Design Concept: A Case Study Ban Wat Chan Royal Project, Mae Champ Sub-district, Chiang Mai Province. ดารณี ดานวันดี 1 ลักษณา สัมมานิธิ 1 เกรียงศักดิศรีเงินยวง 1 DARANEE DANWANDEE 1 LUXSANA SUMMANITI 1 KRIANGSAK SRI-NGERNYUNG 1 บทคัดยอ การศึกษาในครั้งนี้ไดใชเครื่องมือที่สรางขึ้น เชน แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ ศึกษาสภาพที่เปนจริง ตามธรรมชาติ รวบรวมขอมูลปฐมภูมิ และทุติยภูมิทางดานชีวกายภาพ สังคม วัฒนธรรม และรายงานวิจัยทีเกี่ยวของกับทรัพยากร และผูใชประโยชนพื้นทีใชกระบวนการมีสวนรวมของผูมีสวนได สวนเสีย เชน หนวยงาน ของรัฐในพื้นทีประชาชนและหนวยงานทองถิ่น ผูประกอบการ เพื่อรวมคิด รวมวางแผน ระบบสื่อความหมายใน การสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ โดยผลการวิจัยไดเนนการใหความรูในศูนยบริการนักทองเที่ยว และรวมถึง สรางสิ่งอํานวยความสะดวกที่จําเปนภายใตหลักการออกแบบอยางยั่งยืน จํานวนการใชประโยชน ตามขีด ความสามารถของพื้นทีและทรัพยากร เพื่อนําไปสูการปฏิบัติเกิดประโยชนสูงสุดตอประชาชนในทองถิ่น และ สาธารณชน ABSTRACT This study used tools such as questionnaires and interview schedule. Primary and secondary data collection of bio-physical, social, cultural and reported research is related with resources and users of the area. Site surveying, as well as the participatory process, were implemented to set up planning and facilities developed by the stake holders including government officials, the local government and local people supervised the interpretation of the master planning to encourage ecotourism of this area. The results used to set appropriate knowledge for all users in the visitor center, and also built the necessary facilities based on sustainable design principles. The amount of use was based on the capability of areas and resources for implementation and higher benefits for local people and the public. Key Word: Participation, Interpretative System Planning, Natural and Cultural Resources, Sustainable Design, Ecotourism [email protected] , [email protected] 1 คณะสถาปตยกรรมศาสตร และการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม Faculty of Architecture and Environmental Design, Maejo University, Sansai, Chiang Mai.

Upload: others

Post on 29-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การวิจัยอย างมีส วนร วมในการ ...A7%D2%B... · 2009-04-27 · การวิจัยอย างมีส วนร วมในการวางแผนระบบส

1

การวิจัยอยางมีสวนรวมในการวางแผนระบบสื่อความหมายทรพัยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ภายใตแนวคิดการออกแบบอยางยั่งยืน:

กรณศีึกษา พื้นที่โครงการหลวงบานวดัจันทร อ. แมแจม จ.เชียงใหม The Participatory Research for Interpretation Master Planning of Natural and Cultural

Resources for Ecotourism Development Based on Sustainable Design Concept: A Case Study Ban Wat Chan Royal Project, Mae Champ Sub-district, Chiang Mai Province.

ดารณี ดานวันดี1 ลักษณา สัมมานิธิ1 เกรียงศักดิ์ ศรีเงินยวง1

DARANEE DANWANDEE1 LUXSANA SUMMANITI1 KRIANGSAK SRI-NGERNYUNG1

บทคัดยอ การศึกษาในครั้งนี้ไดใชเครื่องมือท่ีสรางขึ้น เชน แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ ศึกษาสภาพที่เปนจริง

ตามธรรมชาติ รวบรวมขอมูลปฐมภูมิ และทุติยภูมิทางดานชีวกายภาพ สังคม วัฒนธรรม และรายงานวิจัยที่

เกี่ยวของกับทรัพยากร และผูใชประโยชนพื้นที่ ใชกระบวนการมีสวนรวมของผูมีสวนได สวนเสีย เชน หนวยงาน

ของรัฐในพื้นที่ ประชาชนและหนวยงานทองถิ่น ผูประกอบการ เพื่อรวมคิด รวมวางแผน ระบบสื่อความหมายใน

การสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ โดยผลการวิจัยไดเนนการใหความรูในศูนยบริการนักทองเที่ยว และรวมถึง

สรางสิ่งอํานวยความสะดวกที่จําเปนภายใตหลักการออกแบบอยางยั่งยืน จํานวนการใชประโยชน ตามขีด

ความสามารถของพื้นที่ และทรัพยากร เพื่อนําไปสูการปฏิบัติเกิดประโยชนสูงสุดตอประชาชนในทองถิ่น และ

สาธารณชน

ABSTRACT This study used tools such as questionnaires and interview schedule. Primary and secondary

data collection of bio-physical, social, cultural and reported research is related with resources and

users of the area. Site surveying, as well as the participatory process, were implemented to set up

planning and facilities developed by the stake holders including government officials, the local

government and local people supervised the interpretation of the master planning to encourage

ecotourism of this area. The results used to set appropriate knowledge for all users in the visitor

center, and also built the necessary facilities based on sustainable design principles. The amount of

use was based on the capability of areas and resources for implementation and higher benefits for

local people and the public.

Key Word: Participation, Interpretative System Planning, Natural and Cultural Resources, Sustainable Design, Ecotourism [email protected], [email protected]

1คณะสถาปตยกรรมศาสตร และการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม

Faculty of Architecture and Environmental Design, Maejo University, Sansai, Chiang Mai.

Page 2: การวิจัยอย างมีส วนร วมในการ ...A7%D2%B... · 2009-04-27 · การวิจัยอย างมีส วนร วมในการวางแผนระบบส

2

คํานํา

โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อใหประชาชนในชุมชนไดเรียนรู และมีสวนรวมในการวางแผนระบบสื่อ

ความหมายทรัพยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรมอยางเปนระบบเหมาะสมกับลักษณะภูมิสังคมของพื้นที่ เพื่อทราบ

ทัศนคติ ความตองการของชุมชนตอทรัพยากรธรรมชาติ/วัฒนธรรม และเพื่อประเมินศักยภาพทรัพยากรในพื้นที่

ศึกษา ในการกําหนดรูปแบบการสื่อความหมายที่เหมาะสม สามารถกระตุนจิตสํานึก สรางความเขาใจ ในการใช

ทรัพยากรใหกับนักทองเที่ยว ประชาชนทองถิ่นอยางเปนรูปธรรม ทั้งนี้เพื่อลดการใช/ทําลายทรัพยากรธรรมชาติ

ระบบนิเวศ ในพื้นที่โครงการหลวงบานวัดจันทร ซึ่งปจจุบันกําลังไดรับผลกระทบจากการพัฒนาทุกรูปแบบ

รวมถึงผลกระทบจากการทองเที่ยวในพื้นที่ใกลเคียง เชน อําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน ปญหาที่สงผลกระทบ

มากตอสภาวะแวดลอมในพื้นที่ คือการที่พื้นที่ถูกไฟปาเผาทําลาย จนกอใหเกิดผลกระทบตอสภาวะแวดลอม

โดยรวมในจังหวัดเชียงใหม และจังหวัดใกลเคียง รวมถึงชุมชนเผาและบุกรุกปาเพื่อขยายพื้นที่ทํากิน ซึ่งอาจ

สงผลกระทบในระยะยาวตอธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอยางยิ่ง ฐานทรัพยากรในอันที่จะสงเสริม

กิจกรรมการทองเที่ยวเชิงนิเวศเสื่อมโทรมลง และผันแปรตามสภาพแวดลอมทางธรรมชาติอยางหลีกเลี่ยงไมได

Tilden (1967) อางถึงโดย สุรเชษฎ(ม.ป.ป) กลาววา การสื่อความหมายตองกอใหเกิดความรูความ

เขาใจแกผูมาเยือน (through interpretation understanding) เมื่อมีความรูและความเขาใจก็จะเกิดความ

ประทับใจและชื่นชม (through understanding appreciation) และเมื่อเขาใจ ชื่นชม (through appreciation

protection)จะชวยกันดูแล รักษา ปกปองทรพัยากรธรรมชาติตอไป โดยสอดคลองกับ Veverka (1994) กลาววา

“การสื่อความหมายเปนกระบวนการสื่อสาร ออกแบบ ที่เปดเผยถึงเบื้องลึกของความหมาย และสัมพันธกับ

วัฒนธรรม และมรดกทางธรรมชาติสูสาธารณชน (ผูมาเยือน/นักทองเที่ยว) ใหไดรับประสบการณตรงจากวัตถุ

(objects), ส่ิงของ (artifacts), ภูมิทัศน(landscapes) หรือพืน้ที่(sites)” การวางแผนระบบสื่อความหมาย

(Interpretative system planning) เปนกิจกรรมใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสื่อความหมายธรรมชาติในพืน้ที่

อยางเปนระบบ และเพิ่มพนูประสบการณดานธรรมชาติศึกษา ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ซึง่กอใหเกิดความชื่น

ชม กระตุนใหตระหนักถึงคุณคาของทรัพยากรและชวยกันรักษา ซึ่งในการวางแผนพัฒนาทางกายภาพใดๆก็ตาม

จําเปนตองมีกระบวนการ การมีสวนรวม โดยสํานักวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม(2549) ไดใหความหมายของ

การมีสวนรวมเอาไววา การมสีวนรวมของประชาชน คือกระบวนการซึ่งประชาชน หรือผูมีสวนไดเสียไดมีโอกาส

แสดงทัศนะ แลกเปลี่ยนขอมูล และความคดิเหน็เพื่อแสวงหาทางเลือก และการตัดสินใจตางๆเกี่ยวกับโครงการที่

เหมาะสม และเปนที่ยอมรับรวมกัน ทุกฝายที่เกี่ยวของจึงควรเขารวมในกระบวนการนี้ตั้งแตเร่ิมแรก เพื่อใหเกิด

ความเขาใจ และการรับรู – เรียนรู การปรับเปลี่ยนโครงการรวมกัน ซึ่งจะเปนประโยชนตอทุกฝาย ทั้งนี้

คณะผูวิจัยคาดหวังวา ผลการวิจัยจะเปนประโยชนตอหนวยงาน และชุมชนทองถิ่น ในอนัที่จะชวยสรางความ

เขาใจในการรักษา และใชประโยชนทรัพยากรอยางระมัดระวัง เพื่อคงไวซึ่งทรัพยากรฐานที่จําเปนตอทุกชีวิต

รวมถึงการสรางความรวมมือระหวางองคกรของรัฐ เอกชน และชุมชนทองถิ่นที่นําแผนไปสูการปฏิบัติอยางเปน

รูปธรรมเกิดประโยชนสูงสุด

Page 3: การวิจัยอย างมีส วนร วมในการ ...A7%D2%B... · 2009-04-27 · การวิจัยอย างมีส วนร วมในการวางแผนระบบส

3

อุปกรณ และวิธกีาร

1. อุปกรณ อุปกรณที่ใชในการดําเนินงานวิจัย ไดแก แบบเก็บขอมูล แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ,

โปรแกรมสําเร็จรูปเพื่อเขียนแบบ และออกแบบกอสรางสิ่งอํานวยความสะดวก เครื่องกําหนดตําแหนงพื้นโลก

ดวยดาวเทียม (GPS: Global Positioning System) กลองและอุปกรณสํารวจ, กลองบันทึกภาพ, เทปบันทึกเสียง

เปนตน

2. วิธีการ ในการวิจัยในครั้งนี้ ไดเก็บรวบรวมขอมูล ในโครงการวิจัยนี้แบงออกเปน 2 ลักษณะคือ

2.1 ขอมูลทางดานสังคม (ขอมูลนักทองเที่ยว, ชุมชน และการมีสวนรวม)

- การเก็บขอมูลนักทองเทีย่ว เก็บรวมรวมขอมูลนักทองเที่ยวทั้งชาวไทย และ

ชาวตางชาติโดยใชแบบสอบถามที่สรางขึ้น จากแนวคิดทฤษฎี และจากการตรวจเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ โดย

ใชการสุมตัวอยางประชากรทีใ่ชในการศึกษาใชวธิีการสุมตัวอยางแบบบังเอญิ (Accidental sampling) โดย

กําหนดขนาดตัวอยางของ Yamane (1973) และศึกษาความตองการของเจาหนาที่โดยใชแบบสอบถามใหกับ

เจาหนาที่ทุกคนในพื้นที่ จากนั้นทําการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูป

- การเก็บรวบรวมขอมูลชมุชน การเก็บรวบรวมขอมูล และวิเคราะหขอมูลทาง

สังคมของชุมชนมีการจัดเก็บ 2 ลักษณะ คือ 1) การเขาไปสอบถาม พูดคุยกับผูนําชุมชน เชน พอหลวง แมบาน

และกลุมสตรี หรือประชาชนในแตละชุมชน เก็บรายละเอียดดวยการจดบันทึก และการถายภาพสภาพแวดลอม

2) นําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหจดุแข็ง จุดออน โอกาสและภัยคุกคาม(SWOT) ของชุมชนเพื่อนําขอมูลที่ไดนําเสนอ

ตอการประชมุระดมความคิดเห็นในแตละครั้ง

- การมีสวนรวมของประชาชน ใชวธิีการจดัประชุมระดมความคิดเห็นของผูนํา

ชุมชน หัวหนาหนวยงาน/หนวยงานที่เกี่ยวของ นักวิชาการ ผูมีสวนไดสวนเสียในชุมชน และเจาหนาที่ของ

หนวยงานของรัฐที่ดูแลพื้นที่ และผูมีหนาที่รับผิดชอบ จํานวน 3 คร้ัง ตามขัน้ตอนการดําเนินการวิจัย

และ ใชแบบสอบถามประกอบการสัมภาษณ ผูนําชุมชน หรือผูแทนที่เขารวมประชุม เพื่อศึกษาความคิดเห็นและ

ความตองการของชุมชนในการพัฒนา และสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษในพื้นที่โครงการหลวงบานวัดจันทร

วิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูป 2.2 ดานชีว-กายภาพของพื้นที ่ - การสํารวจภาคสนาม ดวยแบบเก็บขอมูลแหลงนันทนาการ ประกอบกับการ

สังเกตแบบไมมีสวนรวม เพื่อเก็บขอมูล และวิเคราะหลักษณะการประกอบกิจกรรมของนักทองเที่ยว

- ประเมินศักยภาพแหลงทองเที่ยว โดยกําหนดคาถวงน้ําหนัก (Weighted

Score – W) ใหกับปจจัยชี้วัดศักยภาพแตละตัวแลวจึงทําการคํานวณหาคาศักยภาพของแหลงทองเที่ยวแตละ

แหลงดวยสมการถวงน้ําหนัก (Weighting Score Equation) และกําหนดชวงชั้นโอกาสทางดานนันทนาการ

(ROS)ของ ดรรชนี(2543) เพื่อกําหนดปริมาณการใชประโยชนที่พื้นที่สามารถรองรับได จากนั้นสังเคราะหขอมูล

ของแหลงทองเที่ยวแตละแหลงเพื่อวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคาม (SWOT) โดยภาพรวมของ

Page 4: การวิจัยอย างมีส วนร วมในการ ...A7%D2%B... · 2009-04-27 · การวิจัยอย างมีส วนร วมในการวางแผนระบบส

4

พื้นที่เพื่อเปนฐานในกําหนดแนวคิดการวางแผน ออกแบบสิ่งอํานวยความสะดวกระบบสื่อความหมาย เพื่อ

สงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ศึกษา และแนวทางการบริหารจัดการพื้นที่ที่เหมาะสม

ผลการศึกษา 1. ศักยภาพทรัพยากรในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ผลการศึกษาศักยภาพ และนัยสําคัญเพื่อการสื่อความหมายทรัพยากรในพื้นที่โครงการหลวง

บานวัดจันทร ทั้งหมด 7 แหลง แยกเปนแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 5 แหลง ไดแก ศูนยพัฒนาโครงการหลวงวัด

จันทร น้ําตกหวยฮอม เสนทางจักรยานเสือภูเขา(24 กิโลเมตร) เสนทางศึกษาธรรมชาติปาสน(ที่ทําการ อ.อ.ป-

บานสันมวง) และแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม 2 แหลง ไดแก สถูปเจดียวัดจันทรและจุดชมวิว วัดบานจันทร

ศูนยศิลปหัตถกรรมชุมชนทองถิ่น โดยปจจัยชี้วัดในการประเมินศักยภาพทั้งหมด 11 ปจจัย ไดแก 1) ความอุดม

สมบูรณของสังคมพืช/พืชพันธุ 2)ความอุดมสมบูรณของสัตวปา/โอกาสที่จะไดพบ 3) ส่ิงดึงดูดใจ ความสวยงาม

นาสนใจ ความโดดเดนเฉพาะตัวของพื้นที่ 4) นัยสําคัญตอการสื่อความหมาย 5) สภาพภูมิอากาศ 6) คุณภาพ

ดานทัศนียภาพของภูมิทัศน 7) ความเหมาะสมของทรัพยากรตอกิจกรรมในบริเวณ 8) แหลงน้ําใชสอย 9) ความ

สะดวกในการเขาถึงแหลงนันทนาการ 10) ความเชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวอื่นๆภายในพื้นที่ 11) ความปลอดภัย

พบวาแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพสูง 2 แหลง ไดแก ศูนยพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง และที่ทําการองคการ

อุตสาหกรรมปาไมบานวัดจันทร ศักยภาพปานกลาง 3 แหลง ไดแก เสนทางจักรยานเสือภูเขา (24 กิโลเมตร)

น้ําตกหวยฮอม และสถูปเจดียวัดจันทร/จุดชมวิว ศักยภาพต่ํา 2 แหลง ไดแก น้ําตกหวยออ และเสนทางศึกษา

ธรรมชาติ-สันมวง เปนตน ซึ่งพื้นที่มีโอกาส และจุดแข็งของพื้นที่ ไดแก เปนพื้นที่โครงการหลวงที่มีการดูแลโดย

ภาคหนวยงานภาครัฐ มีทรัพยากรทางดานชีว-กายภาพที่มีเอกลักษณเฉพาะตัว ไดแก ปาเต็งรังผสมสน สภาพ

ภูมิประเทศ ที่มีความหลากหลาย และมีแหลงทองเที่ยวที่นาสนใจและควรคาตอการอนุรักษ สวนขอดอยและภัย

คุกคามของพื้นที่ ไดแก สภาพการเดินทาง และระยะทางในการเขาถึงคอนขางไกล และเปนเสนทางที่คดเคี้ยว

ผลกระทบจากการเผา ทําลายปาทําใหพื้นที่ขาดความเหมาะสมในการเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ 2. ผูใชประโยชน(นักทองเที่ยว, เจาหนาที่) ในการวิเคราะหผูใชประโยชน ใชจํานวนประชากรจากสถิตินักทองเที่ยวในรอบ 3 ป 2547-2549

รายงานประจําป อ.อ.ป (2548) ไดกลุมตัวอยางที่คํานวณได 400 ตัวอยาง ใชวิธีสุมตัวอยางแบบบังเอิญ กระจาย

ชวงเวลาในการเก็บขอมูล 3 ชวงเวลา ไดแก ชวงฤดูหนาว ชวงฤดูรอน และฤดูฝน แตเนื่องจากพื้นที่ ไดรับ

ผลกระทบทางสิ่งแวดลอมเกี่ยวกับสถานการณหมอกควัน จึงทําใหนักทองเที่ยวมีจํานวนลดลงจากที่คาดการณไว

ทําใหไดกลุมตัวอยางที่ใชในการเก็บขอมูลรวมท้ังส้ิน 206 ตัวอยาง ( คิดเปนรอยละ 51.5 ของขนาดตัวอยางที่

คํานวณได ) โดยแบงเปนนักทองเที่ยวชาวไทย ทั้งส้ิน 196 คน (คิดเปนรอยละ 98.00 ) นักทองเที่ยวตางชาติ 10

คน คิดเปนรอยละ 10.00 ) เจาหนาที่ที่อยูในพื้นที่ จํานวน 14 คน (คิดเปนรอยละ 87.50ของเจาหนาที่ทั้งหมด)

ทําการวิเคราะหขอมูลอยางงายในการแจกแจงความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อ

วิเคราะหลักษณะของผูใชประโยชน ความคิดเห็นตอส่ิงอํานวยความสะดวก และระบบส่ือความหมายที่ควร

ปรับปรุงในพื้นที่ ผลการวิเคราะหขอมูลของนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและตางชาติ พบวาเปนเพศหญิง รอยละ

Page 5: การวิจัยอย างมีส วนร วมในการ ...A7%D2%B... · 2009-04-27 · การวิจัยอย างมีส วนร วมในการวางแผนระบบส

5

44.70 และชาย รอยละ 44.10 มีอายุ 36 ป ขึ้นไป รอยละ 44.20 อายุ 26-35 ป รอยละ 36.90 มีการศึกษาใน

ระดับปริญญาตรีมากที่สุดถึงรอยละ 63.60 สวนใหญประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน รับจาง รัฐวิสาหกิจ

รอยละ 46.10 และอาชีพคาขาย/ทําธุรกิจ รอยละ 22.30 มีรายไดสูงกวา 20,000 บาท รอยละ 48.50 และสวน

ใหญเปนกลุมที่ไมเคยมาเยือนพื้นที่โครงการหลวงบานวัดจันทรมากอนรอยละ 67.50 และรอยละ 30.10 เปนกลุม

ที่เคยมาเยือนแลว

ความคิดเห็นเกี่ยวกับเอกลักษณของพื้นที่สวนใหญ รอยละ 80.60 เห็นวาเอกลักษณคือ ความเปน

ธรรมชาติของพื้นที่ รองลงมา รอยละ 1.90 เห็นวาเอกลักษณ คือ วัฒนธรรม ประเพณีของคนในพื้นที่ กลุมในการ

เดินทางมาเยือนสวนใหญ รอยละ 46.60 เปนกลุมเพื่อน รอยละ 24.30 เปนกลุมครอบครัว รอยละ 11.70 เปน

กลุมผสมระหวางเพื่อน และครอบครัว โดยจํานวนสมาชิกกลุมเดินทางเฉลี่ยกลุมละ 7.95 หรือประมาณ 8 คน

และสวนใหญ รอยละ 29.60 ใชเวลา 1 วัน รองลงมา รอยละ 20.80 ใชเวลา 2 วัน แรงจูงใจในการมาเยือน

พบวา สวนใหญ รอยละ 27.20 มาเพื่อสัมผัสธรรมชาติอยางใกลชิด รอยละ 25.70 มาเพื่อเรียนรูและศึกษา

ธรรมชาติ รอยละ 21.80 มาเพื่อใชเวลาพักผอนกับเพื่อน/ครอบครัว ความคิดเห็นเกี่ยวกับประเภทที่พักแรมใน

สวนของผูที่เคยพัก พบวา รอยละ 12.60 มาพักแรมที่บานพักในที่ทําการสวนปาโครงการหลวงบานวัดจันทร

รองลงมา รอยละ 8.70 พักแรมที่รีสอรทในพื้นที่ขางเคียง โดยพื้นที่ประกอบกิจกรรมนันทนาการ สวนใหญ รอย

ละ 38.40 เดินทองเที่ยวเสนทางศึกษาธรรมชาติรอบๆที่พัก รอยละ 30.60 ประกอบกิจกรรมปนจักรยาน สําหรับ

ส่ิงที่ควรปรับปรุงอยางเรงดวนพบวา ตองการใหปรับปรุงปายบอกทาง และปายเตือน รอยละ 31.10 ปายสื่อ

ความหมาย รอยละ 23.30 สําหรับความคาดหวังเกี่ยวกับขอมูลที่จะไดรับในศูนยบริการนักทองเที่ยว พบวา สวน

ใหญ รอยละ 47.10 หวังวาจะไดรับขอมูลทั่วไปของพื้นที่ รองลงมา รอยละ 28.10 คาดหวังวาจะไดรับขอมูล

แผนที่แหลงทองเที่ยว โดยสิ่งที่นักทองเที่ยวอยากใหปรับปรุงเรงดวนในศูนยบริการฯ พบวา รอยละ 17.10

ตองการใหปรับปรุงเกี่ยวกับสไลดโปรแกรม/วีดีโอ รอยละ 13.40 ตองการใหปรับปรุงนิทรรศการภายในศูนยฯ และ

ส่ือส่ิงพิมพตางๆตามลําดับ 3. ศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ จากการวิเคราะห พบวา จุดแข็งของชุมชน (Strength) ไดแก ชุมชนบานวัดจันทรมีการ

รวมกลุมกันจัดตั้งเปนกลุมทอผา และจําหนายผลิตภัณฑ ศูนยจําหนายหัตถกรรมพื้นบาน ตําบลบานจันทร ซึ่งมี

ผาลายที่เปนเอกลักษณของชนเผากะเหรี่ยง ประชาชนในชุมชนมีความสามัคคี ใหความรวมมือกับผูนําชุมชน

องคกร ในหมูบานเปนอยางดี จุดออน(Weakness) ไดแก พื้นที่อยูหางไกลจากตัวเมืองเชียงใหมมาก การเดินทาง

เขาถึงและการเชื่อมโยงระหวางหมูบานยังไมมีความสะดวก โอกาส(Opportunity) ไดแก ชุมชนบานจันทรมี

องคกร มูลนิธิรักษไทย ประสานงานกันในการพัฒนาตําบลดานการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ มี

ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดที่สอดคลองสงเสริมใหโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ โดยเฉพาะเศรษฐกิจในระดับ

ตําบล หมูบาน อุปสรรค/ภัยคุกคาม(Threats) ไดแก พื้นที่ชุมชนตําบลบานจันทรมีขอจํากัดดานงบประมาณใน

การพัฒนา โดยเฉพาะการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานที่จําเปน การติดตอส่ือสารที่ไมสะดวก รวมถึงการเผาปา

เพื่อหาของปา เปนตน

Page 6: การวิจัยอย างมีส วนร วมในการ ...A7%D2%B... · 2009-04-27 · การวิจัยอย างมีส วนร วมในการวางแผนระบบส

6

4. การมีสวนรวมของชุมชนตอการวางแผนระบบสือ่ความหมายทรพัยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรม ภายใตแนวคดิการออกแบบอยางย่ังยืน จากการสอบถามประกอบการสัมภาษณผูนําชุมชนที่เขารวมประชุม พบวา เปนชาย รอยละ 68.00 เปน

หญิง รอยละ 32.00 มีอายุ ระหวาง 25-34 ป รอยละ 44.00 อายุระหวาง 35-44 ป รอยละ 20.00 การศึกษาสวน

ใหญอยูในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รอยละ 40.00 รองลงมาระดับประถมศึกษา รอยละ 24.00 ความคิดเห็น

เกี่ยวกับความตองการ การสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศในชุมชน พบวาชุมชนตองการใหมีการสงเสริมการ

ทองเที่ยว รอยละ 100.00 โดยลักษณะการสงเสริมการทองเที่ยวที่ชุมชนตองการ พบวาสวนใหญรอยละ 96.00

ตองการใหมีการสงเสริมการทองเที่ยวในลักษณะทํารวมกันในรูปแบบชุมชน เชน เปนชมรมการทองเที่ยว/

สหกรณ และ เห็นวาควรมีรูปแบบเปนชมรมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ รอยละ 52.0 สําหรับความเขาใจเกี่ยวกับการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศซึ่งสวนใหญ รอยละ 60.00 เห็นวาการทองเที่ยวเปนกิจกรรมที่ใหนักทองเที่ยวไดเรียนรู ชื่นชม

ธรรมชาติ วัฒนธรรมทองถิ่น รองลงมา รอยละ 44.00 เห็นวาเปนกิจกรรมที่ใหชุมชนมีสวนรวมในการอนุรักษ และ

ดูแลรักษาทรัพยากรการทองเที่ยว ความคิดเห็นเกี่ยวกับความตองการสิ่งอํานวยความสะดวกในการพัฒนาการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศ สวนใหญ รอยละ 64.00 ตองการศูนยบริการ/ใหขอมูลนักทองเที่ยว รองลงมา รอยละ 60.00

ตองการรานขายสินคา และของที่ระลึก เปนตน ความคิดเห็นเกี่ยวกับศักยภาพของชุมชนในการจัดการดานการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศ พบวาส่ิงที่ชุมชนสามารถทําไดดีมากคือ สรางชุมชนที่มีความปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสิน

ของนักทองเที่ยว รอยละ 52.00 รองลงมา รอยละ 28.00 เห็นวาสามารถใหบริการจัดการ ดูแลรักษาและบริการที่

พัก รอยละ 24.00 และสามารถนํานักทองเที่ยวเดินชมธรรมชาติ และรอยละ 20.00 รูจักและสามารถบอกเลาวิถี

ชีวิตชุมชน ชีวิตความเปนอยู และประวัติศาสตรของชุมชนได

สรุป

การวิจัยอยางมีสวนรวมในการวางแผนระบบสื่อความหมายทรัพยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรม เปน

งานวิจัยประยุกตดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม โดยประยุกตใชหลักการ ทฤษฎี หรือแนวคิดตางๆ จาก

เอกสาร และงานวิจัยมีการดําเนินการมาแลว มาประยุกตใชในการเก็บรวบรวมขอมูลทางดานกายภาพ ชีวภาพ

สังคม และวัฒนธรรม เพื่อใชในการปรับปรุงพัฒนารูปแบบส่ิงอํานวยความสะดวกเพื่อการสื่อความหมายใน

แหลงทองเที่ยว โดยใหประชาชนในชุมชนทองถิ่นเขามามีสวนรวมในการรวมคิด รวมวางแผนและรวมกําหนด

รูปแบบการพัฒนาที่จะเกิดขึ้นในทองถิ่น โดยมุงหวังวา แผนระบบสื่อความหมายที่ไดดําเนินการในโครงการวิจัยนี้

จะสามารถนําไปสูการปฏิบัติไดจริงในพื้นที่ ทั้งนี้เพื่อสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ โดยจะสงผลใหเกิดความรูสึก

รัก หวงแหนทรัพยากรในทองถิ่น และชวยกันการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรวัฒนธรรมที่สําคัญใน

ระยะยาว สําหรับศักยภาพของทรัพยากรทางธรรมชาติของพื้นที่โครงการหลวงบานวัดจันทร ที่มีอยูปจจุบัน ขาด

ความดึงดูดใจอันเนื่องมาจากลักษณะทางชีว-กายภาพของพื้นที่เปนสังคมปาเต็งรังผสมสน ซึ่งทําใหพื้นที่

คอนขางรอนและแหงแลง สงผลตอการเกิดไฟปา และการเผาปาของคนในทองถิ่นที่พบเห็นไดเปนปกติ ผล

ดังกลาวทําใหแหลงทองเที่ยวในพื้นที่ขาดความอุดมสมบูรณในการที่จะพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ

จากผลการศึกษาจะเห็นไดวา ตลอดทั้งปมีนักทองเที่ยวเขามาทองเที่ยวคอนขางนอย ซึ่งสวนใหญจะไมประกอบ

Page 7: การวิจัยอย างมีส วนร วมในการ ...A7%D2%B... · 2009-04-27 · การวิจัยอย างมีส วนร วมในการวางแผนระบบส

7

กิจกรรมนันทนาการในพื้นที่ธรรมชาติ หรือวัฒนธรรม สวนหนึ่งเกิดจากความไมพรอมดานการบริหารจัดการและ

ส่ิงอํานวยความสะดวก รวมถึงการดูแลเอาใจใสตอสภาพภูมิทัศนของแหลงทองเที่ยวเปนสําคัญ

การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น จัดอยูในระดับการมีสวนรวมอยางเหมาะสมในการเปดโอกาสให

ประชาชนทั่วไป หรือผูที่อาจจะไดรับผลกระทบ เนื่องจากการวางแผน และการนําแผนไปปฏิบัติของภาครัฐ ได

เขามามีสวนรวมในการใหขอเสนอแนะและนําแผนไปปฏิบัติ โดยมีบทบาทในการรับฟงความคิดเห็น แลกเปลี่ยน

และใหขอคิดเห็น รวมกําหนดแนวทางปฏิบัติภายใตกรอบของกฎหมาย ทั้งนี้เพื่อใหแผน ที่ไดรับการสนับสนุนจาก

ชุมชน และเปนที่ยอมรับ และสามารถดําเนินการจนไดรับผลสําเร็จตามเปาหมาย โดยไดขอความรวมมือไปยัง

ผูนําชุมชน หมูบานที่เกี่ยวของทางทั้งตรงและทางออมกับการใชประโยชนทรัพยากร รวมถึงการใชประโยชนเพื่อ

การทองเที่ยวเชิงนิเวศ ไดเขามามีสวนรวมในการดําเนินโครงการวิจัยโดยสมัครใจ การวางแผนระบบสื่อ

ความหมายทรัพยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรมในพื้นที่นี้ ไมสามารถดําเนินการไดอยางครบสมบูรณตาม

กระบวนการของการวางแผนระบบสื่อความหมาย เนื่องจากศักยภาพทรัพยากรในแหลงทองเที่ยวอยูในเกณฑต่ํา

แตสภาพโดยรวมของพื้นที่ยังคงความเปนธรรมชาติ และยังสามารถฟนฟูกลับคืนมาได หากมีการใหความรู สราง

ความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษและ ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอมใหกับประชาชนในชุมชน และนักทองเที่ยว

ใหมีความตระหนักรู ถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหากยังมีการทําลายปาอยางตอเนื่อง

การวางแผนระบบสื่อความหมาย ภายใตหลักการออกแบบอยางยั่งยืน คณะผูวิจัยไดมุงเนนการ

ออกแบบพื้นที่และสิ่งอํานวยความสะดวกที่จําเปนเฉพาะบริเวณที่ทําการศูนยพัฒนาโครงการหลวง โดยได

ปรับปรุงผังบริเวณที่มีอยูเดิมใหสามารถใชประโยชนไดสูงสุด เชน การปรับปรุงระบบการสัญจร ปรับสภาพภูมิ

ทัศนตามหลักภูมิสถาปตยกรรม เนนความเปนธรรมชาติของพื้นที่ ลดการใชพรรณไมตางถิ่นตกแตงบริเวณ

ออกแบบสิ่งกอสรางที่จําเปนตามรูปแบบที่เปนเอกลักษณของสถาปตยกรรมทองถิ่น ขนาดและวัสดุกลมกลืนกับ

ส่ิงแวดลอมของพื้นที่(ดังตัวอยาง) เพื่อใชเปนฐานเรียนรูดานการอนุรักษใหกับประชาชน เยาวชนในทองถิ่น และ

นักทองเที่ยว ใหตระหนักถึงการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม ในอันที่จะรักษาฐานทรัพยากรธรรมชาติที่

สมบูรณ กอนที่จะขยายผลไปสูการสื่อความหมายในแหลงทองเที่ยวในอนาคต

ตัวอยาง รูปแบบสิ่งอํานวยความสะดวกเพือ่การสื่อความหมายในบริเวณที่ทําการศูนยพัฒนาโครงการหลวง

การออกแบบภูมิทัศนเนนการใชพรรณไมเดิม สนามหญา และพื้นที่สีเขียวเดิมที่มีอยูเดิม เนื่องจากพื้นที่

ตองการความเปนธรรมชาติดั้งเดิมที่เปนเอกลักษณ เชน ปาสนสามใบที่สวยงาม จัดรูปแบบแปลงสาธิตการปลูก

พืชเมืองหนาวใหเปนจุดดึงดูดความสนใจของนักทองเที่ยวเปนสําคัญ ในการดูแลรักษาจะเนนความสะอาด และ

ความเปนระเบียบของพื้นที่เปนหลัก สําหรับรูปแบบของสิ่งอํานวยความสะดวกที่จําเปน ในการสื่อความหมาย

ไดแก

Page 8: การวิจัยอย างมีส วนร วมในการ ...A7%D2%B... · 2009-04-27 · การวิจัยอย างมีส วนร วมในการวางแผนระบบส

8

1) อาคารศนูยบริการนักทองเที่ยว

ภาพทัศนียภาพดานหนา อาคารศูนยบริการนักทองเที่ยว

Page 9: การวิจัยอย างมีส วนร วมในการ ...A7%D2%B... · 2009-04-27 · การวิจัยอย างมีส วนร วมในการวางแผนระบบส

9

2) อาคารโรงอาหารรวม

ภาพทัศนียภาพดานหนาอาคารโรงอาหารรวม

ภาพทัศนียภาพบริเวณโดยรอบอาคารโรงอาหารรวม

Page 10: การวิจัยอย างมีส วนร วมในการ ...A7%D2%B... · 2009-04-27 · การวิจัยอย างมีส วนร วมในการวางแผนระบบส

10

3) หองน้ํา หองสุขา ชาย-หญิง

ภาพทัศนียภาพหองน้ํา หองสุขารวม

ภาพทัศนียภาพภูมิทัศนโดยรอบอาคารหองน้ํา หองสุขารวม

Page 11: การวิจัยอย างมีส วนร วมในการ ...A7%D2%B... · 2009-04-27 · การวิจัยอย างมีส วนร วมในการวางแผนระบบส

11

4) อาคารรานคาชุมชน

ภาพทัศนียภาพ อาคารรานคาชุมชน

5) ภาพรวมรปูแบบปายประเภทตางๆ

ภาพบรรยากาศของการจัดวางปายบอกสถานที่ และบอกทศิทาง

Page 12: การวิจัยอย างมีส วนร วมในการ ...A7%D2%B... · 2009-04-27 · การวิจัยอย างมีส วนร วมในการวางแผนระบบส

12

ภาพบรรยากาศของการจัดวางปายบอกทางเขา-ออกเสนทางจักรยาน

ภาพใชขอนไมเปนวัสดุในการทําขอบเสนทาง

Page 13: การวิจัยอย างมีส วนร วมในการ ...A7%D2%B... · 2009-04-27 · การวิจัยอย างมีส วนร วมในการวางแผนระบบส

13

ภาพบรรยากาศของการจัดวางปายสื่อความหมาย

ภาพการจัดวางปายบอกทิศทาง และเปรียบเทียบวัสดุที่ใชทาํขอบทาง

Page 14: การวิจัยอย างมีส วนร วมในการ ...A7%D2%B... · 2009-04-27 · การวิจัยอย างมีส วนร วมในการวางแผนระบบส

14

ภาพการจัดวางปายบอกที่ตั้ง/สถานที่ และวัสดุที่ใช

ภาพบรรยากาศของการจัดวางมานั่ง และวัสดุที่ใชในการพฒันาสิ่งอํานวยความสะดวกในแหลงทองเที่ยว

เอกสารอางอิง

ชินรัตน สมสืบ. 2539. การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชนบท. โครงการสงเสริมการแตงตํารา

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช, นนทบุรี.

Page 15: การวิจัยอย างมีส วนร วมในการ ...A7%D2%B... · 2009-04-27 · การวิจัยอย างมีส วนร วมในการวางแผนระบบส

15

ดรรชนี เอมพันธุ. 2543. แบบเก็บขอมูลโครงการสํารวจ และวิจัยดานนันทนาการและการทองเที่ยวผืน

ปาตะวันตก. เอกสารประกอบการสอนวิชาหลักนันทนาการและการทองเที่ยวทางธรรมชาติ

ปริญญาโทสาขาอุทยาน และนันทนาการ คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

ศูนยวิจัยปาไม. 2542. แผนสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษแบบชุมชนมีสวนรวม บริเวณเขานอจูจี้

จังหวัดกระบี่. คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. (อัดสําเนา)

สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ. 2549. แนวทางการจัดการภูมิทัศนวัฒนธรรม. ในความ

รวมมือของสํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติกระทรวงวัฒนธรรม และคณะ

สถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. บริษัทอมรินทรพร้ินติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด

(มหาชน).

สํานักวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม. 2549. แนวทางการมีสวนรวมของประชาชนและการประเมินผล

กระทบสิ่งแวดลอมทางสังคม ในกระบวนการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม. สํานักงาน

นโยบาย และแผนทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม. โรงพิมพยูโรการพิมพ จํากัด กรุงเทพฯ.

สุรเชษฎ เชษฐมาส. ม.ป.ป. เอกสารประกอบการสอนวิชาสื่อความหมายธรรมชาติ.

ปริญญาโทสาขาอุทยาน และนันทนาการ. คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

(อัดสําเนา)

องคการอุตสาหกรรมปาไม โครงการหลวงบานวัดจันทร. 2548. รายงานประจําป 2548. สํานักศึกษาและ

พัฒนาการทองเที่ยวภาคเหนือตอนบน จังหวัดเชียงใหม. (อัดสําเนา)

Veverka John. A. 1994. Interpretive master planning: for park, historic site, forest, zoos and related tourism programs/tours. Falcon Press Publishing, Co.,Inc, Montana.

Douglas M.K, Ted T.C, and Larry B., 1995. Interpretation of cultural and Natural Resources. Venture

Publishing, Inc.1999 Cato Avenue. State College, P.A 16801.