การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยป...

15
วิชาการพัฒนานิสิต 999042 ครั้งที3 โดย .ภัทรพร จินตกานนท การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยปจจุบัน . ภัทรพร จินตกานนท คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร สาขาบรรณารักษศาสตร การเมือง หมายถึง เรื่องเกี่ยวกับการแขงขัน/ การแสวงหาอํานาจ ซึ่งสงผลกระทบ ตอสังคมทั้งสังคมหรือสวนใหญของสังคม การวางระเบียบกฎเกณฑสําหรับสังคมเพื่อใหสังคมมีความสงบสุข การปกครอง

Upload: others

Post on 31-Aug-2019

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยป จจุบันpirun.ku.ac.th/~fedutnw/teach/999042_3_policy.pdf · การเมือง

วิชาการพัฒนานิสิต 999042 ครัง้ที่ 3 โดย อ.ภัทรพร จินตกานนท

การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยปจจุบัน

อ. ภัทรพร จินตกานนท

คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร

สาขาบรรณารักษศาสตร

การเมอืง

• หมายถึง เร่ืองเกี่ยวกบัการแขงขัน/ การแสวงหาอํานาจ ซ่ึงสงผลกระทบตอสังคมทั้งสังคมหรือสวนใหญของสังคม

• การวางระเบียบกฎเกณฑสําหรับสังคมเพื่อใหสังคมมีความสงบสุข

การปกครอง

Page 2: การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยป จจุบันpirun.ku.ac.th/~fedutnw/teach/999042_3_policy.pdf · การเมือง

วิชาการพัฒนานิสิต 999042 ครัง้ที่ 3 โดย อ.ภัทรพร จินตกานนท

อํานาจอธิปไตย

• คือ อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ประกอบดวย 3 สวน คือ

1. อํานาจนิติบัญญัติ

2. อํานาจบริหาร

3. อํานาจตุลาการ

รูปแบบของการมีสวนรวมทางการเมอืง

1) การไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง

2) การรณรงคหาเสียง

3) พรรคการเมือง

พรรคการเมือง จะเปนกลุมประชาชนที่มีผลประโยชนคลายคลึงกัน มีความตองการอยางเดียวกัน รวมกันเพื่อที่จะเขาควบคุมและกําหนดนโยบายของรัฐดวยวิธีการเลือกตั้ง

Page 3: การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยป จจุบันpirun.ku.ac.th/~fedutnw/teach/999042_3_policy.pdf · การเมือง

วิชาการพัฒนานิสิต 999042 ครัง้ที่ 3 โดย อ.ภัทรพร จินตกานนท

ขอจํากัดในการมีสวนรวมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

• สภาพเราระดมทางสังคมต่ํา

• ภาวะทางเศรษฐกิจหรือการครองชีพ

• ขอจํากัดทางการเมือง

• วัฒนธรรมทางการเมือง

สถาบันที่หลอหลอมวัฒนธรรมทางการเมือง

• สถาบันครอบครัว

• สถาบันทางการศึกษา

• กลุมเพื่อน

• กลุมอาชีพ

Page 4: การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยป จจุบันpirun.ku.ac.th/~fedutnw/teach/999042_3_policy.pdf · การเมือง

วิชาการพัฒนานิสิต 999042 ครัง้ที่ 3 โดย อ.ภัทรพร จินตกานนท

เศรษฐกิจคือ การกระทําใด ๆ อันกอใหเกดิการผลิต การจําหนาย และการบริโภค

ระบบเศรษฐกิจ คือ หลักการและวิธีการเกีย่วกับการดําเนินการดานเศรษฐกิจของรัฐ ไดแก

1. ระบบสังคมนิยม

2. ระบบทุนนิยม

การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย

• ภาคเกษตรกรรม

• ภาคอุตสาหกรรม

Page 5: การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยป จจุบันpirun.ku.ac.th/~fedutnw/teach/999042_3_policy.pdf · การเมือง

วิชาการพัฒนานิสิต 999042 ครัง้ที่ 3 โดย อ.ภัทรพร จินตกานนท

สาเหตุการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม

• การสนับสนุนจากภาครัฐบาล • สถานการณทางเศรษฐกิจของโลกซึ่งมาจากการติดตอส่ือสารที่สามารถ

สงขอมูลขาวสาร ถึงกันไดอยางรวดเร็ว • ปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมของประเทศไทย

สังคมไทย

คือ กลุมชนชาติที่อาศัยอยูรวมกันในประเทศไทย มีขนบธรรมเนียมประเพณีแบบไทย มีเอกลักษณทางวัฒนธรรมที่โดดเดนตางจากสังคมอ่ืน ไดแก ภาษาพูด ภาษาเขียน การแตงกาย ความเชื่อ มารยาท อาหาร การดําเนินชีวิตที่มีพุทธศาสนาเปนพื้นฐาน เปนตน

Page 6: การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยป จจุบันpirun.ku.ac.th/~fedutnw/teach/999042_3_policy.pdf · การเมือง

วิชาการพัฒนานิสิต 999042 ครัง้ที่ 3 โดย อ.ภัทรพร จินตกานนท

Page 7: การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยป จจุบันpirun.ku.ac.th/~fedutnw/teach/999042_3_policy.pdf · การเมือง

วิชาการพัฒนานิสิต 999042 ครัง้ที่ 3 โดย อ.ภัทรพร จินตกานนท

ลักษณะของสังคมไทย

• สังคมชนบท

• สังคมเมือง

Page 8: การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยป จจุบันpirun.ku.ac.th/~fedutnw/teach/999042_3_policy.pdf · การเมือง

วิชาการพัฒนานิสิต 999042 ครัง้ที่ 3 โดย อ.ภัทรพร จินตกานนท

สถาบันสังคมที่สําคญัของสังคมไทย

1. สถาบันครอบครัว หมายถึง ........

2. สถาบันการศึกษา หมายถงึ ...........

3. สถาบันศาสนา หมายถึง..............

4. สถาบันเศรษฐกิจ หมายถึง ..............

5. สถาบันการเมืองการปกครอง หมายถึง ..............

การจัดระเบียบสังคม คือ ...

• กระบวนการที่สมาชิกไดพัฒนาการกระทําระหวางกันทางสังคมอยางมีระเบียบ โดยสมาชิกสวนรวมของสังคมยอมรับ เปนแนวความประพฤติรวมกันและสืบทอดจนเปนบรรทัดฐานในการดํารงชีวิตรวมกันของสมาชิกในสังคม

Page 9: การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยป จจุบันpirun.ku.ac.th/~fedutnw/teach/999042_3_policy.pdf · การเมือง

วิชาการพัฒนานิสิต 999042 ครัง้ที่ 3 โดย อ.ภัทรพร จินตกานนท

สาเหตุท่ีตองมกีารจัดระเบียบสังคม

1. สมาชิกในสังคมมีความแตกตางกัน2. แตละคนมุงแตผลประโยชนของตน จนเกดิความขัดแยง

วิธีการจัดระเบียบทางสังคม

1. บรรทัดฐาน2. สถานภาพ และการจัดลําดับชั้น3. คานิยม4. การขัดเกลาทางสังคม5. การควบคุมทางสังคม

Page 10: การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยป จจุบันpirun.ku.ac.th/~fedutnw/teach/999042_3_policy.pdf · การเมือง

วิชาการพัฒนานิสิต 999042 ครัง้ที่ 3 โดย อ.ภัทรพร จินตกานนท

1. บรรทัดฐาน• หมายถึง ระเบียบ กฎเกณฑ หรือแบบแผนของพฤติกรรมที่สังคม

ยอมรับเปนแนวทางใหสมาชิกประพฤติปฏิบัติในแตละสถานการณ

ประเภทของบรรทัดฐานทางสงัคม

• วิถีประชา/วิถีชาวบาน หมายถึง แบบแผนความประพฤติที่สมาชิกปฏิบัติดวยความเคยชิน

• จารีต หมายถึง แบบแผนความประพฤติที่สมาชิกปฏิบัติในสถานการณตาง ๆ

• กฎหมาย หมายถึง กฎเกณฑของความประพฤติซ่ึงสรางขึ้นโดยองคการทางการเมืองการปกครอง และไดรับการรับรองจากองคกรของรัฐ

Page 11: การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยป จจุบันpirun.ku.ac.th/~fedutnw/teach/999042_3_policy.pdf · การเมือง

วิชาการพัฒนานิสิต 999042 ครัง้ที่ 3 โดย อ.ภัทรพร จินตกานนท

2. สถานภาพและการจัดลําดบัชั้น • หมายถึง ตําแหนงของบุคคลซึ่งไดมาจากการเปนสมาชิกของกลุมและ

ของสังคม

3. คานิยมคือ ส่ิงที่กลุมสังคมหนึ่งๆ เห็นวาเปนสิ่งที่นานิยม นากระทํา นายกยอง เปน

ส่ิงที่ถูกตองดีงาม เหมาะสมที่จะยดึถือพึงปฏิบัติรวมกันในสังคม เนื่องจากมีการเรียนรูปลูกฝงและถายทอดจากสมาชิก รุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง

Page 12: การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยป จจุบันpirun.ku.ac.th/~fedutnw/teach/999042_3_policy.pdf · การเมือง

วิชาการพัฒนานิสิต 999042 ครัง้ที่ 3 โดย อ.ภัทรพร จินตกานนท

คานิยมทีค่วรปลูกฝงในสังคมไทย

1. การรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย

2. ความเอื้อเฟอเผ่ือแผ

3. ความกตัญูกตเวที

4. ความซื่อสัตยสุจริต

5. การเคารพผูอาวุโส

6. การนิยมของไทย

7. การประหยัด

4. การขัดเกลาทางสังคม• การปลูกฝงระเบียบวินยั ความมุงหวังใหรูจักบทบาทและทัศนคติ ความ

ชํานาญหรือทักษะ เพื่อใหสมาชิกอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมไดดวยดี

Page 13: การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยป จจุบันpirun.ku.ac.th/~fedutnw/teach/999042_3_policy.pdf · การเมือง

วิชาการพัฒนานิสิต 999042 ครัง้ที่ 3 โดย อ.ภัทรพร จินตกานนท

5. การควบคุมทางสังคม• กระบวนการทางสังคมในการจัดระเบียบพฤติกรรมสมาชิกในสังคมให

สอดคลองกับเปาหมายที่ตั้งไว โดยใชบรรทัดฐานของสังคม และวัฒนธรรม

การเปลีย่นแปลงของสังคมไทย

1) ทางสังคม

2) ทางวัฒนธรรม

Page 14: การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยป จจุบันpirun.ku.ac.th/~fedutnw/teach/999042_3_policy.pdf · การเมือง

วิชาการพัฒนานิสิต 999042 ครัง้ที่ 3 โดย อ.ภัทรพร จินตกานนท

สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย

• 1. การเพิ่มของประชากร2. การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ3. การติดตอกับสังคมภายนอก4. ความรูและเทคโนโลยีวิทยาการของสังคม5. นโยบายของผูนําในสังคม

แนวโนมการเปลีย่นแปลงของสังคมไทย

• แฟชั่นการแตงกาย

• การตกแตงรางกาย

• การใชคําพูดตามคําโฆษณา

• การใชเวลาวางตามหางสรรพสินคา

• สตรีสามารถทํางานนอกบานและพึ่งพาตนเองมากขึ้น

• สถาบันครอบครัวมีขนาดเล็กลง

Page 15: การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยป จจุบันpirun.ku.ac.th/~fedutnw/teach/999042_3_policy.pdf · การเมือง

วิชาการพัฒนานิสิต 999042 ครัง้ที่ 3 โดย อ.ภัทรพร จินตกานนท

การเมอืง

เศรษฐกิจ

สังคม

งานกลุมวันที่ 1 ธ.ค. 53• การไหวพระ (ในกรณีที่ไม สามารถกราบแบบเบญจางคประดิษฐได )

• การไหวผูมีพระ คุณและผูมีอาวุโส

• การไหวบุคคลทั่ว ๆ รวมทั้งผูที่เสมอกัน

• การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ

• การกราบผูใหญ (ที่มีอาวุโส รวมทั้งผูมีพระคุณ)

• การรับความเคารพ และการถวายความเคารพแบบสากล (พระมหากษัตริยและพระบรมวงศ)

• การคํานับ

• การถวายบังคม และการหมอบกราบ