รายงานข อ มูล นํ้า รายสัป ดาห ติด...

9
รายงานขอมูลนํ้ารายสัปดาห ติดตามสถานการณภัยแลง สถานการณปจจุบัน คาดการณ สัปดาหนี้ภาคใตและภาคตะวันออกมีฝนตกเล็กนอยถึงปานกลางในบางพื้นที่ ระบบโทรมาตรอัตโนมัติตรวจวัดปริมาณฝนสะสม 7 วัน สูงสุด 3 อันดับแรก ไดแก ตําบลลําแกน จังหวัดพังงา ปริมาณฝน 70.2 มิลลิเมตร รองลงมา ไดแก ตําบลสะตอ จังหวัดตราด ปริมาณฝน 68.6 มิลลิเมตร และตําบลเทพราช จังหวัดนครศรีธรรมราช 66.8 มิลลิเมตร ตามลําดับ จากระบบโทรมาตรตรวจวัดระดับนํ้าอัตโนมัติ ของ สสนก. ณ เวลา 10.00 น. พบวา ภาคเหนือโดยสวนใหญมีระดับนํ้านอย และเริ่มมีระดับนํ้านอยวิกฤตในบางแหง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีระดับนํ้านอยถึงนํ้าปานกลาง ภาคกลางมีระดับนํ้าปานกลาง และ ภาคใตมีระดับนํ้าปานกลางถึงนํ้ามาก ปจจุบันมีปริมาณนํ้ากักเก็บในอางเก็บนํ้าขนาดใหญทั้ง 34 อาง ทั่วประเทศอยูที่ 44,546 ลานลูกบาศกเมตร คิดเปน 63% ของความจุ และเปนนํ้าใชการไดจริง 21,019 ลานลูกบาศกเมตร สําหรับ 4 เขื่อนหลักในลุมนํ้าเจาพระยา ประกอบดวย เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนแควนอย และเขื่อนปาสักฯ มีปริมาณนํ้าใชการคงเหลืออยูที่ 2,631 3,163 526 และ 563 ลานลบ.ม. ตามลําดับ สวน ลุมนํ้าแมกลอง เขื่อนศรีนรินทรและเขื่อนวชิราลงกรณ มีปริมาณนํ้าใชการคงเหลือ 3,018 และ 2,101 ลานลบ.ม. ตามลําดับ คาดการณฝน ชวงวันที่ 28 ก.พ. 2 มี.ค. 60 บริเวณความกดอากาศสูงกําลังปานกลางอีกระลอกจากประเทศจีนจะแผลงมาปกคลุม ประเทศไทยตอนบน ทําใหลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมประเทศไทยตอนบน รวมทั้งอาวไทยและภาคใต จะ ยังคงกําลังแรงตอเนื่อง ประกอบกับเกิดการพัดสอบกันของลมที่บริเวณภาคใต สงผลใหมีฝนตกปานกลางในบางพื้นที่ของ ภาคใต โดยเฉพาะบริเวณจังหวัดชุมพร จังหวัดสุราษฎรธานี จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพังงา จังหวัดกระบี่ และ จังหวัดนราธิวาส และอาจจะเกิดฝนตกหนักบริเวณจังหวัดสุราษฎรธานีและจังหวัดนครศรีธรรมราช หลังจากนั้นปริมาณฝน จะลดลง ชวงวันที่ 3 6 มี.ค. ก.พ. 60 บริเวณความกดอากาศสูงที่ปกคลุมบริเวณประเทศไทยตอนบนจะเริ่มมีกําลังออนลงใน ชวงวันที่ 4 มี.ค. 60 ทําใหลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะออนกําลังลง สงผลใหภาคใตมีฝนลดลง คาดการณสมดุลนํ้า ชวงเดือนมีนาคม คาดวาจะเกิดการขาดแคลนนํ้าเพื่อทําการเกษตรในพื้นที่การเกษตรนอกเขตชลประทาน โดยเฉพาะใน พื้นที่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก ลุมนํ้าชี ลุมนํ้าปาสัก ลุมนํ้ามูลบริเวณจังหวัดนครราชสีมา และบางสวนของลุนํ้าปาสักและลุมนํ้าโขง ภาคเหนือตอนลาง ไดแก ตอนลางของลุมนํ้าปง ลุมนํ้ายม และลุมนํ้านาน ภาคตะวันออก ไดแก ลุนํ้าบางประกง ลุมนํ้าปราจีนบุรี และลุมนํ้าชายฝงทะเลตะวันออกบริเวณจังหวัดระยอง ภาคตะวันตก ไดแก ลุมนํ้าแมกลอง บริเวณจังหวัดราชบุรีและบางสวนของจังหวัดกาญจนบุรี และภาคใต ไดแก บางสวนของลุมนํ้าชายฝงทะเลประจวบคีรีขันธ คาดการณคลื่น ชวงวันที่ 28 ก.พ. 6 มี.ค. 60 ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอาวไทยและภาคใตจะยังคงมีกําลังแรงขึ้น และ จะออนกําลังลงในชวงปลายสัปดาห สงผลใหคลื่นลมในอาวไทยมีกําลังแรงตอเนื่องตลอดทั้งตนสัปดาห โดยเฉพาะอาวไทย ตอนลางบริเวณชายฝงจังหวัดปตตานีและนราธิวาสจะมีคลื่นสูงที่ประมาณ 2 3 เมตร สวนในชวงปลายสัปดาหคลื่น ลมทะเลทั้งฝงอาวไทยและฝงอันดามันจะมีคลื่นสูงประมาณ 1 1.5 เมตร สัปดาหที่ 09/2560 ระหวางวันทีสถานการณปจจุบัน ปริมาณฝน ความชื้น ปริมาณนํ้าในอางเก็บนํ้า ระดับนํ้าทา สมดุลนํ้า คุณภาพนํ้า คาดการณ ปริมาณฝน ความสูงและทิศทางคลื่น ทะเลบริเวณอาวไทยและ อันดามัน 2 3 4 6 7 8 9 22 - 28 กุมภาพันธ 2560

Upload: others

Post on 06-Aug-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานข อ มูล นํ้า รายสัป ดาห ติด ตามสถานการณ ภ ัย แล ง · 7 วัน สูง สุด

รายงานขอมูลน้ํารายสัปดาห

ติดตามสถานการณภัยแลง

สถานการณปจจุบัน

คาดการณ

          สัปดาหน้ีภาคใตและภาคตะวันออกมีฝนตกเล็กนอยถึงปานกลางในบางพื้นที่ ระบบโทรมาตรอัตโนมัติตรวจวัดปริมาณฝนสะสม

7 วัน สูงสุด 3 อันดับแรก ไดแก ตําบลลําแกน จังหวัดพังงา ปริมาณฝน 70.2 มิลลิเมตร รองลงมา ไดแก ตําบลสะตอ จังหวัดตราด

ปริมาณฝน 68.6 มิลลิเมตร และตําบลเทพราช จังหวัดนครศรีธรรมราช 66.8 มิลลิเมตร ตามลําดับ

          จากระบบโทรมาตรตรวจวัดระดับนํ้าอัตโนมัติ ของ สสนก. ณ เวลา 10.00 น. พบวา ภาคเหนือโดยสวนใหญมีระดับนํ้านอย

และเริ่มมีระดับน้ํานอยวิกฤตในบางแหง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีระดับนํ้านอยถึงนํ้าปานกลาง ภาคกลางมีระดับนํ้าปานกลาง และ

ภาคใตมีระดับนํ้าปานกลางถึงน้ํามาก

          ปจจุบันมีปริมาณน้ํากักเก็บในอางเก็บน้ําขนาดใหญท้ัง 34 อาง ทั่วประเทศอยูที่ 44,546 ลานลูกบาศกเมตร คิดเปน 63%

ของความจุ และเปนน้ําใชการไดจริง 21,019 ลานลูกบาศกเมตร สําหรับ 4 เขื่อนหลักในลุมนํ้าเจาพระยา ประกอบดวย เขื่อนภูมิพล

เข่ือนสิริกิติ์ เข่ือนแควนอย และเข่ือนปาสักฯ มีปริมาณน้ําใชการคงเหลืออยูที่ 2,631 3,163 526 และ 563 ลานลบ.ม. ตามลําดับ สวน

ลุมนํ้าแมกลอง เข่ือนศรีนรินทรและเข่ือนวชิราลงกรณ มีปริมาณน้ําใชการคงเหลือ 3,018 และ 2,101 ลานลบ.ม. ตามลําดับ

คาดการณฝน  

ชวงวันที่ 28 ก.พ. ­ 2 มี.ค. 60 บริเวณความกดอากาศสูงกําลังปานกลางอีกระลอกจากประเทศจีนจะแผลงมาปกคลุม

ประเทศไทยตอนบน  ทําใหลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือท่ีพัดปกคลุมประเทศไทยตอนบน รวมทั้งอาวไทยและภาคใต จะ

ยังคงกําลังแรงตอเนื่อง ประกอบกับเกิดการพัดสอบกันของลมที่บริเวณภาคใต สงผลใหมีฝนตกปานกลางในบางพื้นที่ของ

ภาคใต โดยเฉพาะบริเวณจังหวัดชุมพร จังหวัดสุราษฎรธานี จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพังงา จังหวัดกระบี่ และ

จังหวัดนราธิวาส และอาจจะเกิดฝนตกหนักบริเวณจังหวัดสุราษฎรธานีและจังหวัดนครศรีธรรมราช หลังจากนั้นปริมาณฝน

จะลดลง

ชวงวันที่ 3 ­ 6 มี.ค. ก.พ. 60 บริเวณความกดอากาศสูงที่ปกคลุมบริเวณประเทศไทยตอนบนจะเริ่มมีกําลังออนลงใน

ชวงวันที่ 4 มี.ค. 60 ทําใหลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะออนกําลังลง สงผลใหภาคใตมีฝนลดลง

คาดการณสมดุลน้ํา 

ชวงเดือนมีนาคม คาดวาจะเกิดการขาดแคลนน้ําเพื่อทําการเกษตรในพื้นที่การเกษตรนอกเขตชลประทาน โดยเฉพาะใน

พ้ืนที่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก ลุมนํ้าชี ลุมนํ้าปาสัก ลุมนํ้ามูลบริเวณจังหวัดนครราชสีมา และบางสวนของลุม

น้ําปาสักและลุมนํ้าโขง ภาคเหนือตอนลาง ไดแก ตอนลางของลุมนํ้าปง ลุมนํ้ายม และลุมนํ้านาน ภาคตะวันออก ไดแก ลุม

น้ําบางประกง ลุมนํ้าปราจีนบุรี และลุมนํ้าชายฝงทะเลตะวันออกบริเวณจังหวัดระยอง ภาคตะวันตก ไดแก ลุมนํ้าแมกลอง

บริเวณจังหวัดราชบุรีและบางสวนของจังหวัดกาญจนบุรี และภาคใต ไดแก บางสวนของลุมนํ้าชายฝงทะเลประจวบคีรีขันธ

คาดการณคลื่น

ชวงวันที่ 28 ก.พ. ­ 6 มี.ค. 60 ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอาวไทยและภาคใตจะยังคงมีกําลังแรงขึ้น และ

จะออนกําลังลงในชวงปลายสัปดาห สงผลใหคลื่นลมในอาวไทยมีกําลังแรงตอเนื่องตลอดทั้งตนสัปดาห โดยเฉพาะอาวไทย

ตอนลางบริเวณชายฝงจังหวัดปตตานีและนราธิวาสจะมีคล่ืนสูงที่ประมาณ 2 ­ 3 เมตร สวนในชวงปลายสัปดาหคลื่น

ลมทะเลทั้งฝงอาวไทยและฝงอันดามันจะมีคล่ืนสูงประมาณ 1 ­ 1.5 เมตร

 

   สัปดาหที่ 09/2560 ระหวางวันที่

สถานการณปจจุบัน

ปริมาณฝน

ความช้ืน

ปริมาณน้ําในอางเก็บน้ํา

ระดับนํ้าทา

สมดุลน้ํา

คุณภาพน้ํา

 

คาดการณ

ปริมาณฝน

ความสูงและทิศทางคลื่น

ทะเลบริเวณอาวไทยและ

อันดามัน

2

3

4

6

 

7

 

8

9

 

22 - 28 กุมภาพันธ 2560

Page 2: รายงานข อ มูล นํ้า รายสัป ดาห ติด ตามสถานการณ ภ ัย แล ง · 7 วัน สูง สุด

       ในชวงตนสัปดาหมีกลุมเมฆหนาแนนปกคลุม

บริเวณภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือในบาง

พ้ืนท่ี ทําใหบริเวณดังกลาวมีฝนตกเล็กนอยถึงปาน

กลาง สวนในชวงปลายสัปดาหมีกลุมเมฆปกคลุม

บริเวณภาคตะวันออกในบางพื้นที่ ทําใหบริเวณดัง

กลาวมีฝนตกเล็กนอยถึงปานกลาง สําหรับภาคใตมี

กลุมเมฆหนาแนนปกคลุมตลอดท้ังสัปดาห สงผลให

ตลอดทั้งสัปดาหน้ีภาคใตมีฝนตกเล็กนอยถึงปานกลาง

ปริมาณฝน

เมฆ22 ก.พ. 2560 09:00GMT 23 ก.พ. 2560 09:00GMT 24 ก.พ. 2560 09:00GMT

25 ก.พ. 2560 09:00GMT 26 ก.พ. 2560 09:00GMT 27 ก.พ. 2560 09:00GMT

สัปดาหนี้ ระหวางวันที่ 14 ก.พ. - 20 ก.พ. 60 สัปดาหนี้ ระหวางวันที่ 21 ก.พ. - 27 ก.พ. 60

           สัปดาหน้ีภาคใตและภาคตะวันออกมีฝนตกเล็กนอยถึงปานกลางในบางพ้ืนที่ ระบบโทรมาตรอัตโนมัติตรวจวัดปริมาณฝน

สะสม 7 วัน สูงสุด 3 อันดับแรก ไดแก ตําบลลําแกน จังหวัดพังงา ปริมาณฝน 70.2 มิลลิเมตร รองลงมา ไดแก ตําบลสะตอ

จังหวัดตราด ปริมาณฝน 68.6 มิลลิเมตร และตําบลเทพราช จังหวัดนครศรีธรรมราช 66.8 มิลลิเมตร ตามลําดับ

แผนท่ีเมฆ

ที่มา : มหาวิทยาลัยโคชิ

แผนที่ปริมาณฝน

ที่มา : สถาบันสารสนเทศทรพยากรน้ําและการเกษตร(องคการมหาชน)

22 - 28 กุมภาพันธ 2560วันที่

Page 3: รายงานข อ มูล นํ้า รายสัป ดาห ติด ตามสถานการณ ภ ัย แล ง · 7 วัน สูง สุด

แผนภาพความช้ืนในดิน

แผนภาพความช้ืนในดิน

ที่มา : United States Department of Agriculture;USDA

ความช้ืน

ความชื้นผิวดิน

    ชวงวันที่ 11-20 กุมภาพันธ 2560 บริเวณภาคใตมีความช้ืนในดินสูงข้ึนจากชวงกอนหนาคอนขางมาก เนื่องจากมีปริมาณฝนในพื้นที่เพิ่มมากขึ้น

21-31 ม.ค. 2560 1-10 ก.พ. 2560 11-20 ก.พ. 2560

ความช้ืนในอากาศ

21 ก.พ. 2560 เวลา 14:00 น. 22 ก.พ. 2560 เวลา 14:00 น. 23 ก.พ. 2560 เวลา 14:00 น.

24 ก.พ. 2560 เวลา 14:00 น. 25 ก.พ. 2560 เวลา 14:00 น. 26 ก.พ. 2560 เวลา 14:00 น. 27 ก.พ. 2560 เวลา 14:00 น.

ที่มา : สถาบันสารสนเทศทรัพยากรนํ้าและการเกษตร (องคการมหาชน)

แผนภาพความช้ืนในอากาศ

         ตลอดท้ังสัปดาหน้ี พบวาชวงวันที่ 25 ก.พ. 60 ภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ภาคตะวันออก และภาคใตตอน

ลางมีความช้ืนในอากาศคอนขางสูง เน่ืองจากบริเวณความกด

อากาศสูงอีกระลอกจากประเทศจีนจะแผเสริมลงมาปกคลุม

ประเทศไทยตอนบน ทําใหลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือมีกําลัง

แรงข้ึน ทําใหเกิดแนวปะทะของความกดอากาศสูงกับความช้ืน

ในพ้ืนท่ี และในวันท่ี 27 ก.พ. 60 ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

ท่ีพัดปกคลุมอาวไทยและภาคใตจะมีกําลังแรงข้ึน ประกอบกับ

เกิดการกอตัวของหยอมความกดอากาศตํ่าจากเกาะบอรเนียว

เคล่ือนตัวเขาใกลชายฝงประเทศมาเลเซียตอนลาง ทําใหเกิด

แนวลมพัดสอบบริเวณภาคใตตอนลาง สงผลใหภาคใตยังคงมี

ฝนตอเน่ือง ทําใหภาคใตมีความช้ืนในอากาศสูง

Page 4: รายงานข อ มูล นํ้า รายสัป ดาห ติด ตามสถานการณ ภ ัย แล ง · 7 วัน สูง สุด

สภาพน้ําในอางเก็บน้ําท้ังประเทศ

           ปจจุบันมีปริมาณน้ํากักเก็บในอางเก็บน้ําขนาดใหญท้ัง 34 อาง ท่ัวประเทศอยูที่ 44,546 ลานลูกบาศกเมตร คิดเปน 63% ของความจุ และเปนนํ้าใชการได

จริง 21,019 ลานลูกบาศกเมตร สําหรับ 4 เขื่อนหลักในลุมนํ้าเจาพระยา ประกอบดวย เขื่อนภูมิพล เข่ือนสิริกิติ์ เขื่อนแควนอย และเขื่อนปาสักฯ มีปริมาณนํ้าใชการ

คงเหลืออยูท่ี 2,631  3,163  526  และ 563  ลานลบ.ม. ตามลําดับ สวนลุมนํ้าแมกลอง เข่ือนศรีนรินทรและเขื่อนวชิราลงกรณ มีปริมาณนํ้าใชการคงเหลือ

3,018 และ 2,101 ลานลบ.ม. ตามลําดับ

ลาน

ลบม.

สถานการณนํ้าในอางเก็บนํ้าขนาดใหญ

50,2

54

2,35

1

12,2

32

42,3

99

1,43

3

6,60

2

44,6

95

1,31

2

7,38

0

41,4

05

1,45

4

4,05

0

36,5

62

922

3,37

2

44,5

46

1,76

6

5,50

4

2555 2556 2557 2558 2559 2560

ปริมาณนํ้ากัเก็บ ไหลสะสมตั้งแตตนป ระบายสะสมตั้งแตตนป

0

50,000

100,000

ลาน

ลบม.

ปริมาตรเก็บกักรายภาค

724

20,7

29

673 5,

105

17,0

08

6,01

5

545

21,0

81

728

3,04

2 11,6

66

5,33

7

688

20,4

64

640 4,51

4 11,9

55

6,43

4

665

17,4

85

597 4,06

9 12,1

37

6,45

2

501

17,1

12

630

3,10

5 9,42

3

5,79

1

881

18,3

96

819 4,49

4

13,4

91

6,46

6

2555 2556 2557 2558 2559 2560

กลาง ตะวันตก ตะวันออก อีสาน เหนือ ใต

0

20,000

40,000

ลาน

ลบม.

ปริมาณนํ้าไหลลงอางฯสะสมตั้งแตตนปรายภาค

40

332

30

293

935

721

44

318

14

76

405

575

52

253

14

162

457

373

32

242

21

175

454 53

1

11

164

12

93

272 36

9

119

268

29

116

495

739

2555 2556 2557 2558 2559 2560

กลาง ตะวันตก ตะวันออก อีสาน เหนือ ใต

0

500

1,000

ลาน

ลบม.

ปริมาณนํ้าระบายสะสมตั้งแตตนปรายภาค

368

2,10

2

263 1,

908

6,80

3

788

292 1,

794

213

323

3,29

3

687

394

2,20

1

312 1,19

3 2,59

2

688

247 84

1

212 66

2

1,30

2

786

110 93

9

166

409 95

4

794

421

1,00

8

218 98

2 2,60

0

275

2555 2556 2557 2558 2559 2560

กลาง ตะวันตก ตะวันออก อีสาน เหนือ ใต

0

5,000

10,000

ปริมาณนํ้าในอางเก็บนํ้า

Page 5: รายงานข อ มูล นํ้า รายสัป ดาห ติด ตามสถานการณ ภ ัย แล ง · 7 วัน สูง สุด

ขอมูลปริมาณนํ้าในอางเก็บนํ้าขนาดใหญวันท่ี 28 กุมภาพันธ 2560

ที่มา : กรมชลประทานและการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

ลาน

ลบ.ม

.

ปริมาตรนํ้าในเข่ือน ภูมิพล

2558 2559 2560

ม.ค.

'16

ก.พ.

'16

มี.ค.

'16

เม.ย

. '16

พ.ค.

'16

มิ.ย.

'16

ก.ค.

'16

ส.ค.

'16

ก.ย.

'16

ต.ค.

'16

พ.ย.

'16

ธ.ค.

'16

ม.ค.

'17

2,000

10,000 28. ก.พ. | 2558: 5,796 ลาน ลบ.ม. | 2559: 4,622 ลาน ลบ.ม. | 2560: 6,431.15 ลาน ลบ.ม.

สภาพน้ําในอางเก็บน้ําขนาดใหญในพ้ืนที่ลุมน้ําเจาพระยา

ลาน

ลบ.ม

.

ปริมาตรนํ้าไหลลงเขื่อน ภูมิพล

2558 2559 2560

ม.ค.

'16

ก.พ.

'16

มี.ค.

'16

เม.ย

. '16

พ.ค.

'16

มิ.ย.

'16

ก.ค.

'16

ส.ค.

'16

ก.ย.

'16

ต.ค.

'16

พ.ย.

'16

ธ.ค.

'16

ม.ค.

'17

0

200 28. ก.พ. | 2558: 0.17 ลาน ลบ.ม. | 2559: 0 ลาน ลบ.ม. | 2560: 0 ลาน ลบ.ม.

ลาน

ลบ.ม

.

ปริมาตรนํ้าไหลลงเข่ือน สิริกิติ์

2558 2559 2560

ม.ค.

'16

ก.พ.

'16

มี.ค.

'16

เม.ย

. '16

พ.ค.

'16

มิ.ย.

'16

ก.ค.

'16

ส.ค.

'16

ก.ย.

'16

ต.ค.

'16

พ.ย.

'16

ธ.ค.

'16

ม.ค.

'17

0

200 28. ก.พ. | 2558: 2.03 ลาน ลบ.ม. | 2559: 2.27 ลาน ลบ.ม. | 2560: 3.18 ลาน ลบ.ม.

ลาน

ลบ.ม

.

ปริมาตรนํ้าในเขื่อน สิริกิติ์

2558 2559 2560

ม.ค.

'16

ก.พ.

'16

มี.ค.

'16

เม.ย

. '16

พ.ค.

'16

มิ.ย.

'16

ก.ค.

'16

ส.ค.

'16

ก.ย.

'16

ต.ค.

'16

พ.ย.

'16

ธ.ค.

'16

ม.ค.

'17

10,000

2,000

28. ก.พ. | 2558: 5,514 ลาน ลบ.ม. | 2559: 4,326 ลาน ลบ.ม. | 2560: 6,012.65 ลาน ลบ.ม.

ลาน

ลบ.ม

.

ปริมาตรนํ้าในเข่ือน แควนอย

2558 2559 2560

ม.ค.

'16

ก.พ.

'16

มี.ค.

'16

เม.ย

. '16

พ.ค.

'16

มิ.ย.

'16

ก.ค.

'16

ส.ค.

'16

ก.ย.

'16

ต.ค.

'16

พ.ย.

'16

ธ.ค.

'16

ม.ค.

'17

0

2,000 28. ก.พ. | 2558: 478 ลาน ลบ.ม. | 2559: 336 ลาน ลบ.ม. | 2560: 569.2 ลาน ลบ.ม.

ลาน

ลบ.ม

.

ปริมาตรนํ้าในเข่ือน ปาสักฯ

2558 2559 2560

ม.ค.

'16

ก.พ.

'16

มี.ค.

'16

เม.ย

. '16

พ.ค.

'16

มิ.ย.

'16

ก.ค.

'16

ส.ค.

'16

ก.ย.

'16

ต.ค.

'16

พ.ย.

'16

ธ.ค.

'16

ม.ค.

'17

0

2,000 28. ก.พ. | 2558: 497 ลาน ลบ.ม. | 2559: 392 ลาน ลบ.ม. | 2560: 565.58 ลาน ลบ.ม.

ลาน

ลบ.ม

.

ปริมาตรนํ้าไหลลงเขื่อน แควนอย

2558 2559 2560

ม.ค.

'16

ก.พ.

'16

มี.ค.

'16

เม.ย

. '16

พ.ค.

'16

มิ.ย.

'16

ก.ค.

'16

ส.ค.

'16

ก.ย.

'16

ต.ค.

'16

พ.ย.

'16

ธ.ค.

'16

ม.ค.

'17

0

80 28. ก.พ. | 2558: 0 ลาน ลบ.ม. | 2559: 0.14 ลาน ลบ.ม. | 2560: 0.22 ลาน ลบ.ม.

ลาน

ลบ.ม

.

ปริมาตรนํ้าไหลลงเขื่อน ปาสักฯ

2558 2559 2560

ม.ค.

'16

ก.พ.

'16

มี.ค.

'16

เม.ย

. '16

พ.ค.

'16

มิ.ย.

'16

ก.ค.

'16

ส.ค.

'16

ก.ย.

'16

ต.ค.

'16

พ.ย.

'16

ธ.ค.

'16

ม.ค.

'17

0

80 28. ก.พ. | 2558: 1.52 ลาน ลบ.ม. | 2559: 0 ลาน ลบ.ม. | 2560: 0.98 ลาน ลบ.ม.

Page 6: รายงานข อ มูล นํ้า รายสัป ดาห ติด ตามสถานการณ ภ ัย แล ง · 7 วัน สูง สุด

ระดับน้ําทา        จากระบบโทรมาตรตรวจวัดระดับนํ้าอัตโนมัติ ของ สสนก. ณ

เวลา 10.00 น. พบวา ภาคเหนือโดยสวนใหญมีระดับนํ้านอยและเริ่ม

มีระดับนํ้านอยวิกฤตในบางแหง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีระดับนํ้า

นอยถึงนํ้าปานกลาง ภาคกลางมีระดับนํ้าปานกลาง และภาคใตมีระดับ

นํ้าปานกลางถึงนํ้ามาก

    

 

สมดุลนํ้า

      ชวงเดือนมีนาคม คาดวาจะเกิดการขาดแคลนนํ้าเพื่อทําการเกษตร

ในพื้นท่ีการเกษตรนอกเขตชลประทาน โดยเฉพาะในพ้ืนที่บริเวณ

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก ลุมนํ้าชี ลุมนํ้าปาสัก ลุมนํ้ามูล

บริเวณจังหวัดนครราชสีมา และบางสวนของลุมนํ้าปาสักและ

ลุมนํ้าโขง 

ภาคเหนือตอนลาง ไดแก ตอนลางของลุมนํ้าปง ลุมนํ้ายม และ

ลุมนํ้านาน 

ภาคตะวันออก ไดแก ลุมนํ้าบางประกง ลุมนํ้าปราจีนบุรี และลุมนํ้า

ชายฝงทะเลตะวันออกบริเวณจังหวัดระยอง

ภาคตะวันตก ไดแก ลุมนํ้าแมกลองบริเวณจังหวัดราชบุรีและบาง

สวนของจังหวัดกาญจนบุรี

ภาคใต ไดแก บางสวนของลุมนํ้าชายฝงทะเลประจวบคีรีขันธ

Page 7: รายงานข อ มูล นํ้า รายสัป ดาห ติด ตามสถานการณ ภ ัย แล ง · 7 วัน สูง สุด

คุณภาพนํ้า

           จากการตรวจวัดคาความเค็มโดยการประปานครหลวงเกือบตลอดลํานํ้าเจาพระยา สถานการณความเค็มบริเวณลํานํ้าเจาพระยาสัปดาหนี้ พบวา 

วันท่ี 27 ก.พ. 60 ณ เวลา 22.00 น. มีคาความเค็มสูงสุด 0.84 กรัม/ลิตร มีคาเกินเกณฑมาตราฐานน้ําดิบเพื่อผลิตนํ้าประปา (เกณฑเฝาระวังคุณภาพนํ้าดิบ

เพ่ือผลิตน้ําประปา 0.25 กรัม/ลิตร เกณฑมาตราฐานน้ําดิบเพ่ือผลิตน้ําประปา 0.50 กรัม/ลิตร และเกณฑมาตราฐานนํ้าดิบเพื่อการเกษตร 2.00 กรัม/ลิตร)

     แมน้ําเจาพระยา

ความ

เค็ม

(g/L

)กราฟเปรียบเทียบคุณภาพนํ้า:สําแล

เกณฑมาตรฐานนํ้าดิบเพื่อผลิตน้ําประปา 0.50 g/L

เกณฑเฝาระวังคุณภาพนํ้าดิบเพื่อผลิตนํ้าประปา 0.25 g/L

22. ก.พ. 23. ก.พ. 24. ก.พ. 25. ก.พ. 26. ก.พ. 27. ก.พ. 28. ก.พ.

0

1

1

ความ

เค็ม

(g/L

)

กราฟเปรียบเทียบคุณภาพนํ้า:รพ.ศิริราช

22. ก.พ. 23. ก.พ. 24. ก.พ. 25. ก.พ. 26. ก.พ. 27. ก.พ. 28. ก.พ.

4

4

5

5

ที่มา : กรมประปานครหลวง

Page 8: รายงานข อ มูล นํ้า รายสัป ดาห ติด ตามสถานการณ ภ ัย แล ง · 7 วัน สูง สุด

คาดการณปริมาณฝน

ขอมูลคาดการณ ณ วันที่ 27 ก.พ. 60 คาดการณระหวางวันท่ี 28 ก.พ. - 6 มี.ค. 60 

ที่มา : สถาบันสารสนเทศทรัพยากรนํ้าและการเกษตร (องคการมหาชน)

หมายเหตุ : ความแมนยําของการคาดการณสภาวะฝนจะลดลง เม่ือระยะเวลาการคาดการณยาวขึ้น โดยความแมนยําสูงสุดอยูที่ 3 วันแรกของขอมูลคาดการณ สําหรับผล

แบบจําลองนี้อยูในระยะวิจัยและพัฒนา โปรดใชวิจารณญาณในการนําขอมูลไปใช

5-March-2017 19:00 to 6-March-2017 19:00 (Bangkok Time)4-March-2017 19:00 to 5-March-2017 19:00 (Bangkok Time)

3-March-2017 19:00 to 4-March-2017 19:00 (Bangkok Time)2-March-2017 19:00 to 3-March-2017 19:00 (Bangkok Time)

28-February-2017 19:00 to 1-March-2017 19:00 (Bangkok Time)

 

1-March-2017 19:00 to 2-March-2017 19:00 (Bangkok Time)27-February-2017 19:00 to 28-February-2017 19:00 (Bangkok Time)

 

     จากแผนภาพคาดการณปริมาณฝนสะสมรายวันลวงหนา 7 วัน ความละเอียด 3x3 กิโลเมตร และ 9x9 กิโลเมตร จากแบบจําลอง WRF-ROMS คาดการณฝน ชวง

วันท่ี 28 ก.พ. ­ 2 มี.ค. 60 บริเวณความกดอากาศสูงกําลังปานกลางอีกระลอกจากประเทศจีนจะแผลงมาปกคลุมประเทศไทยตอนบน  ทําใหลมมรสุมตะวันออก

เฉียงเหนือที่พัดปกคลุมประเทศไทยตอนบน รวมทั้งอาวไทยและภาคใต จะยังคงกําลังแรงตอเนื่อง ประกอบกับเกิดการพัดสอบกันของลมที่บริเวณภาคใต สงผลใหมีฝน

ตกปานกลางในบางพ้ืนที่ของภาคใต  โดยเฉพาะบริเวณจังหวัดชุมพร จังหวัดสุราษฎรธานี จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพังงา จังหวัดกระบี่ และจังหวัด

นราธิวาส และอาจจะเกิดฝนตกหนักบริเวณจังหวัดสุราษฎรธานีและจังหวัดนครศรีธรรมราช หลังจากน้ันปริมาณฝนจะลดลง ชวงวันที่ 3 ­ 6 มี.ค. ก.พ. 60 บริเวณ

ความกดอากาศสูงที่ปกคลุมบริเวณประเทศไทยตอนบนจะเร่ิมมีกําลังออนลงในชวงวันที่ 4  มี.ค. 60 ทําใหลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะออนกําลังลง สงผลให

ภาคใตมีฝนลดลง

Page 9: รายงานข อ มูล นํ้า รายสัป ดาห ติด ตามสถานการณ ภ ัย แล ง · 7 วัน สูง สุด

คาดการณความสูงและทิศทางของคลื่นทะเลบริเวณอาวไทยและอันดามัน

  ขอมูลคาดการณ ณ วันท่ี 27 ก.พ.60 คาดการณระหวางวันท่ี 28 ก.พ. - 6 มี.ค. 60 

  ที่มา : สถาบันสารสนเทศทรัพยากรนํ้าและการเกษตร (องคการมหาชน)

6-March-2016 19:00 (Bangkok Time)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

5-March-2016 19:00 (Bangkok Time)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4-March-2016 19:00 (Bangkok Time)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3-March-2016 19:00 (Bangkok Time)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1-March-2016 19:00 (Bangkok Time)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2-March-2016 19:00 (Bangkok Time)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

28-February-2016 19:00 (Bangkok Time)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

       ผลคาดการณความสูงและคล่ืนลมจากแบบจําลอง SWAN ชวงวันที่ 28 ก.พ. ­ 6 มี.ค. 60 ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอาวไทยและภาคใตจะ

ยังคงมีกําลังแรงข้ึน และจะออนกําลังลงในชวงปลายสัปดาห สงผลใหคลื่นลมในอาวไทยมีกําลังแรงตอเนื่องตลอดทั้งตนสัปดาห โดยเฉพาะอาวไทยตอนลางบริเวณ

ชายฝงจังหวัดปตตานีและนราธิวาสจะมีคล่ืนสูงที่ประมาณ 2 ­ 3 เมตร สวนในชวงปลายสัปดาหคล่ืนลมทะเลทั้งฝงอาวไทยและฝงอันดามันจะมีคลื่นสูงประมาณ 1

­ 1.5 เมตร