ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ....

29
รายงานวิชาการ ฉบับทีสทข. 1 1/2553 สถานะภาพแหลงแรดีบุก แรหนักมีคา แรหายาก และแรโลหะหายาก ในภาคเหนือ สํานักงานทรัพยากรธรณีเขต 1(ลําปาง) กรมทรัพยากรธรณี

Upload: others

Post on 09-Oct-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

รายงานวิชาการ ฉบับที่ สทข. 1 1/2553

สถานะภาพแหลงแรดีบุก แรหนักมีคา

แรหายาก และแรโลหะหายาก

ในภาคเหนือ

สํานักงานทรัพยากรธรณีเขต 1(ลําปาง) กรมทรัพยากรธรณี

Page 2: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

รายงานวิชาการ ฉบับที่ สทข. 1 1/2553

สถานะภาพแหลงแรดีบุก แรหนักมีคา

แรหายาก และแรโลหะหายาก

ในภาคเหนือ

จํารูญ อุยศิริไพศาล สมคิด ไชยชนะ

สํานักงานทรัพยากรธรณีเขต 1(ลําปาง) กรมทรัพยากรธรณี

Page 3: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี

นางพรทพิย ปนเจริญ

ผูอํานวยการสํานักงานทรัพยากรธรณีเขต 1 (ลําปาง)

นายสมบูรณ โฆษิตานนท

ผูอํานวยการสวนทรัพยากรแร

นายจํารูญ อุยศิริไพศาล

จัดพิมพโดย สํานักงานทรัพยากรธรณีเขต 1(ลําปาง) กรมทรัพยากรธรณี

ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2621-9837

โทรสาร 0-2621-9846

พิมพครั้งที ่1 กันยายน พ.ศ.2553

จํารูญ อุยศิริไพศาล และสมคิด ไชยชนะ สถานะภาพแหลงแรดีบุก แรหนักมีคา แรหายากและแรโลหะหายาก / โดย จํารูญ อุยศริไพศาล กรุงเทพฯ : สํานักงานทรัพยากรธรณีเขต 1 (ลําปาง) กรมทรัพยากรธรณี, 2553 23 หนา: ภาพประกอบ: แผนท่ี: ตาราง; 30 ซม. รายงานวิชาการฉบับท่ี สทข. 1 1/2553

ขอมูลการลงรายการบรรณานุกรม

.

Page 4: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

บทคัดยอ

การสํารวจสถานการณแหลงแรดีบุก แรหนักมีคา แรหายาก และแรโลหะหายาก

ในภาคเหนือครอบคลุม 17 จังหวัดไดแก จังหวัดเชียงราย เชียงใหม ลําปาง แพร นาน พะเยา

ลําพูน แมฮองสอน อุตรดติถ สุโขทัย ตาก กําแพงเพชร พิษณุโลก พิจิตร นครสวรรค อุทัยธานี

และเพชรบูรณ เพ่ือเปนขอมูลพ้ืนฐานสําหรับใชประโยชนอยางถูกตอง เหมาะสมและทันสมัย ผลการสํารวจพบวาในพ้ืนท่ีภาคเหนือมีกลุมแรชนิดตางๆ 40 ชนิด มีพ้ืนที่

ศักยภาพแหลงแรรวมกัน 1,579 พ้ืนท่ี คิดเปนพ้ืนท่ีรวมกันได 14,210.4 ตารางกิโลเมตร หรือ

คิดเปนรอยละ 8.22 ของพ้ืนท่ีภาคเหนือท้ังหมด โดยท่ีมีกลุมแรดีบกุและแรท่ีเกิดรวม มีจํานวน

มากเปนอันดบัท่ีสอง รองมาจากหินปูน ซึ่งแรดบีุกเหลานี้ พบอยูจํานวน 55 แหลง เนื้อท่ี

802.28 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 0.46 ของพื้นท่ีท้ังหมด โดยพบอยูในบริเวณแนว

หินแกรนิตทางดานตะวันตกของภาคเหนอื และจากการสํารวจพบเหมืองแรดีบุกท่ีเปดดําเนนิการ

อยูในปจจปุนเพียงแหลงเดียวท่ีจังหวัดเชียงใหม คือเหมืองแรบานบอแกว อําเภอสะเมิง แต

อยางไรก็ตามยังคงมีศักยภาพของแหลงแรดีบุก แรหนักมีคา และแรหายาก ในเขตอําเภอบานไร

จังหวัดอุทัยธานี ซึ่งจากการสํารวจของสํานักทรัพยากรแร พบวามีปริมาณสํารองแรดีบุกประมาณ

1697 ตัน และแรโมนาไซต ประมาณ 613 ตัน นอกจากนี้ยังพบวาพ้ืนท่ีภาคเหนือยังคงมี

ศักยภาพของแรโลหะหายากในหินแกรนติผุหรือในเปลือกหินผุพังของหินแกรนิต โดยเฉพาะท่ี

อําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน จังหวัดเชียงใหม และในจังหวัดอุทัยธาน ี

Page 5: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

สารบัญ หนา

บทคัดยอ........................................................................................................... ก

ความเปนมา.................................................................................. 1

วัตถุประสงค...................................................................................................... 1

พ้ืนท่ีดําเนินการ.................................................................................................. 1

ผลการดาํเนินงาน................................................................................................ 4

ธรณีวิทยาแหลงแรดีบุก แรหนักมีคา และแรหายากในภาคเหนือ........................... 11

ธรณีวิทยาแหลงแรโลหะหายากในภาคเหนือ................................................. 15

แหลงแรโลหะหายากปฐมภมิู...................................................................... 15

แหลงแรโลหะหายากทุติยภมิู..................................................................... 19

แหลงแรแบบลานแร..................................................................... 19

แหลงแรเปลือกผิวผุพัง.................................................................. 19

ศักยทางแรโลหะหายากในภาคเหนือ............................................................ 20

สรุปและขอเสนอแนะ............................................................................................ 21

เอกสารอางอิง...................................................................................................... 22

สารบัญรูปภาพ หนา

รูปท่ี 1. พ้ืนที่ในความรับผิดชอบของสํานักงานทรัพยากรธรณีเขต 1-4................. 2

2. แผนท่ีทรัพยากรแรภาคเหนอื................................... ………......... 3

3. แหลงแรดีบุกและหินแกรนติบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย................ 13

4. สภาพแหลงแรดีบกุบานบอแกว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม..............……… 14

Page 6: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

สารบัญตาราง หนา

ตารางที ่1. ขอมูลทรัพยากรแรภาคเหนอื............................................................. 6 2. ขอมูลจํานวนประทานบตัรเหมืองแรดําเนนิการท่ัวประเทศ.................. 7

3. ขอมูลจํานวนประทานบตัรเหมืองแรดําเนนิการภาคเหนือ................... 8

4. ขอมูลแหลงหินอุตสาหกรรมดําเนนิการท่ัวประเทศ............................ 9

5. ขอมูลแหลงหินภาคเหนือ............................................................. 10

6. แหลงแรดีบุกท่ีสําคญัในบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย.................. 12

7. ปริมาณธาตุหายากในแร Alkaline Feldspar และหินแกรนติตางๆ

จากบริเวณตางๆ.......................................................................... 16

8. ตารางแสดงปริมาณธาตุหายากทีป่ระกอบอยูในหินแกรนิตตางๆ

บริเวณ อ.บานไร จ.อุทัยธานี.......................................................... 17

9. ตารางแสดงปริมาณธาตุคาเฉลี่ยของธาตุหายากเปน ppm ในแรปริมาณ

นอยและแรประกอบหิน ในหินแกรนิตตางๆ บริเวณ อ.บานไร จ.อุทัยธานี... 18

Page 7: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

รายงานสถานะภาพแหลงแรดีบุก แรหนักมีคา แรหายาก

และแรโลหะหายาก ในภาคเหนือ ความเปนมา

จากการที่กรมทรัพยากรธรณีไดมีการปรับโครงสรางภายใน โดยจัดใหมี

หนวยงานภูมิภาค 4 แหง ไดแก สํานกังานทรัพยากรธรณี เขต 1 (ลําปาง) รับผิดชอบงาน

ภาคเหนือ สํานักงานทรัพยากรธรณี เขต 2 (ขอนแกน) รับผดิชอบงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สํานักงานทรัพยากรธรณี เขต 3 (ปทุมธานี) รับผิดชอบงานภาคกลาง และสํานักงานทรัพยากรธรณี เขต 4 (สุราษฎรธานี) รับผดิชอบงานภาคใต (รูปท่ี 1) สวนทรัพยากรแรซึ่งเปนสวนหนึ่งในส่ีสวนของสํานักงานทรัพยากรธรณี เขต 1

(ลําปาง) รับผิดชอบงานสํารวจ ตรวจสอบ และวิเคราะหขอมูลเพ่ือประเมินศักยภาพทรัพยากรแร

ใหบริการความรูดานทรัพยากรแร พัฒนาและบริหารคลังหลักฐานดานทรัพยากรแรในระดบัภาค

โดยเฉพาะในภาคเหนือท้ังหมด ดังนั้นสวนทรัพยากรแรจึงมีความจาํเปนตองทําการรวบรวมขอมูล

ธรณีวิทยาแหลงแร แหลงแรในเขตประทานบตัรท้ังหมด ทําการสํารวจ ตรวจสอบสถานภาพแหลง

แรในปจจปุนใหทันสมัย

วัตถุประสงค 1. เพ่ือรวบรวมขอมูลธรณีวิทยาและธรณีวิทยาแหลงแร แผนท่ีแหลงแร ในพ้ืนท่ี

แหลงแร พ้ืนท่ีศักยภาพแร ในเขตภาคเหนือ โดยเฉพาะแรดีบุก แรหนักมีคา แรหายาก และแร

โลหะหายาก

2. เพ่ือทําการตรวจสอบสถานภาพแหลงแรในเขตพ้ืนท่ีประทานบัตรของกลุมแร

ดังกลาวขางตน 3. เพ่ือสรุปและจัดทํารายงาน

พ้ืนที่ดําเนินการ

พ้ืนท่ีภาคเหนือ ซึ่งอยูในความรับผิดชอบของสํานักงานทรัพยากรธรณี เขต 1

ลําปาง (สทข. 1) ครอบคลุมพ้ืนท่ีของ 17 จังหวัด ไดแก เชียงราย เชียงใหม ลําปาง แพร นาน

พะเยา ลําพูน แมฮองสอน อุตรดิตถ สุโขทัย ตาก กําแพงเพชร พิษณุโลก พิจิตร นครสวรรค

อุทัยธานี และเพชรบูรณ มีเนื้อท่ีท้ังหมด 172,900 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 34 ของพ้ืนท่ี

ท้ังหมดท่ัวประเทศ (รูปท่ี 2)

Page 8: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก
Page 9: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก
Page 10: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

4

ผลการดําเนินงาน

จากการตรวจสอบสถานการณแหลงแรในภาคเหนือพบวาสามารถแยกกลุมแร

ออกเปน 40 ชนิด มีพ้ืนท่ีศักยภาพแหลงแรรวมกัน 1,579 แหลง คิดเปนพ้ืนท่ีรวมกันได

14,210.4 ตร.กม. หรือคิดเปนรอยละ 8.22 ของพ้ืนท่ีภาคเหนือท้ังหมด (ตารางท่ี 1) ใน

จํานวนนี้พบกลุมแรท่ีมีมากท่ีสุด ไดแก หินปูน รวมถึงหินปูนเพ่ืออุตสาหกรรมกอสราง หินปูนท่ี

จําแนกไมไดเนื่องจากไมมีขอมูลการวิเคราะห รวมกับ 742 แหลง เนื้อท่ี 9,919.28 ตร.กม. คิด

เปนรอยละ 5.74 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด โดยพบมากทางดานตะวันตกของภาคเหนือ รองลงมาไดแก ดีบุก รวมถึงแรดีบุกท่ีเกิดรวมกับทังสเตน มีจํานวน 55 แหลง เนื้อท่ี 802.28 ตร.กม. คิดเปน

รอยละ 0.46 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด ซึ่งจะพบมากในบริเวณท่ีมีหินแกรนิตทางดานตะวันตกของ

ภาคเหนือ ในเขต จังหวัดเชียงราย เชียงใหม แมฮองสอน ลําพูน ตาก และอุทัยธานี

หินแกรนิต หินแกรนิตชนิดหินประดับ มีจํานวน 37 แหลง เนื้อท่ี 501.63 ตร.

กม. คิดเปนรอยละ 0.29 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด สวนใหญแหลงหินอยูในจังหวัดตาก นครสวรรค

สุโขทัย เพชรบูรณ และอุทัยธานี

แรฟลูออไรต มีจํานวน 49 แหลง เนื้อท่ี 480.9 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 0.28

ของพ้ืนท่ีท้ังหมดโดยพบมากทางดานตะวันตกของภาคเหนือ ในเขต จังหวัด แมฮองสอน

เชียงใหม ลําพูน กําแพงเพชร และตาก

ถานหิน มีจํานวน 31 แหลง เนื้อท่ี 392.6 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 0.23 ของ

พ้ืนท่ีท้ังหมด โดยพบมากบริเวณท่ีเปนแองทางตอนกลางของภาคเหนือ จ.ลําปาง ลําพูน เชียงใหม

แมฮองสอน พะเยา และตาก

หินปูนเพ่ืออุตสาหกรรมซีเมนต มีจํานวน 213 แหลง เนื้อท่ี 361.43 ตร.กม.

คิดเปนรอยละ 0.21 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด พบมากที่ จ. ลําปาง เชียงราย นครสวรรค และอุทัยธานี

หินปูนเพ่ืออุตสาหกรรมอ่ืนๆ มีจํานวน 145 แหลง เนื้อท่ี 267.48 ตร.กม. คิด

เปนรอยละ 0.16 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด โดยพบมากทางดานตะวันตกของภาคเหนือ หินออนรวมถึงหินออนชนิดอ่ืนๆท่ีใชในอุตสาหกรรมซีเมนต กอสราง จําแนก

ไมได รวมกัน 76แหลง เนื้อท่ี 160.80 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 0.09 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด โดยพบมากในเขต จังหวัดลําปาง และสุโขทัย

หินปูนเพ่ืออุตสาหกรรมเคมี มีจํานวน 12 แหลง เนื้อท่ี 5.59 ตร.กม. คิดเปน

รอยละ 0.003 ของพ้ืนท่ีท้ังหมดโดยพบมากทางดานตะวันตกของภาคเหนือ แรแมงกานิส มีจํานวน 17 แหลง เนื้อท่ี 204.93 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 0.12

ของพ้ืนท่ีท้ังหมด พบท่ีจังหวัดเชียงใหม ลําพูน และลําปาง

หินน้ํามัน มีจํานวน 2 แหลง เนื้อท่ี 253.24 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 0.15 ของ

พ้ืนท่ีท้ังหมด พบท่ี จ. ตาก

พลวง มีจํานวน 28 แหลง เนื้อท่ี 109.68 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 0.06 ของ

พ้ืนท่ีท้ังหมด พบท่ี จังหวัดตากและแพร

Page 11: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

กรวดและทรายกอสราง มีจํานวน 5 แหลง เนื้อท่ี 166.17 ตร.กม. คิดเปนรอย

ละ 0.09 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด พบตามลําน้ําปงเปนสวนใหญ เพลดสปาร มีจํานวน 13 แหลง เนื้อท่ี 94.67 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 0.06 ของ

พ้ืนท่ีท้ังหมด พบท่ี จ. ตาก มากท่ีสุด ดินขาวและดิลไลต มีจํานวน 21 แหลง เนื้อท่ี 69.97 ตร.กม. คิดเปนรอยละ

0.04 ของพ้ืนท่ีท้ังหมดพบท่ี จ. ลําปาง มากท่ีสุด แบไรต มีจํานวน 21 แหลง เนื้อท่ี 72.1 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 0.04 ของพ้ืนท่ี

ท้ังหมด พบท่ี จ. ลําพูน มากท่ีสุด รัตนชาติ มีจํานวน 10 แหลง เนื้อท่ี 75.89 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 0.04 ของ

พ้ืนท่ีท้ังหมด พบท่ีจังหวัดแพร สุโขทัย และเพชรบูรณ

นอกจากนั้น เปนแหลงแรท่ีมีขนาดเล็ก มีเนื้อท่ีต่ํากวา 50 ตร.กม. ไดแก ทองคํา

เงิน ทองแดง เหล็ก ตะก่ัว สังกะสี โครไมต โคโลไมต ยิปซั่ม ฟอสเฟต แม็กนีไซต ไพโรฟลไลต

เซอรเพนทีไนต ทัลต บอลเคล ดินเหนียว หินแอนดีไซต หินภูเขาไฟเพ่ือการกอสราง ไดอะตอม

ไมต ศิลาแลง และแหลงลูกรัง แหลงแรท่ีคาดวาจะพบในอนาคตไดแก แรโลหะหายาก (Rare Earth Element) ในหินแกรนิต เปนแรท่ีตองการของตลาดโลกมากในปจจุบัน นาจะเปนบริเวณทางดานตะวันตก

ของภาคเหนือ ในเขต จ. แมฮองสอน และเชียงใหม จากขอมูลประทานบัตรเหมืองแรท่ีไดดําเนินการ ในป พ.ศ. 2552 ในภาคเหนือ

มีท้ังหมด 452 ประทานบัตร คิดเปนรอยละ 36.9 ของประทานบัตรท้ังหมดท่ัวประเทศ โดยได

เปดดําเนินการ 292 ประทานบัตร (ตารางที่ 2) และพบเหมืองแรดีบุกที่เปดดําเนินการอยูในปจจุ

ปนเพียงแหลงเดียวที่จังหวัดเชียงใหม คือเหมืองแรบานบอแกว อําเภอสะเมิง นอกจากนี้ยังพบวาใน

จังหวัดลําปาง มีประทานบัตรมากที่สุด ถึง 151 ประทานบัตร คิดเปนรอยละ 33.4 ของประทาน

บัตรภาคเหนือ (ตารางที่ 3) แหลงหินอุตสาหกรรมในภาคเหนือ มีมากท่ีสุดถึง 118 แหลงในจํานวน 318

แหลงท่ัวประเทศ คิดเปนรอยละ 41.2 ของแหลงท่ัวประเทศ โดยมีปริมาณสํารองของหิน ถึง

2,574 ลานเมตริกตัน คิดเปนรอยละ 32 ของท่ัวประเทศ (ตารางที่ 4) โดยพบวาใน จ.

เพชรบูรณ มีแหลงหินมากท่ีสุด ถึง 19 แหลง เนื้อท่ีแหลงหิน 5,814 ไรโดยมีปริมาณสํารองของ

หิน ถึง 460 ลานเมตริกตัน คิดเปนรอยละ 18 ของแหลงหินภาคเหนือ แตอยางไรก็ตาม ใน

จังหวัดลําปางนี้ มีแหลงหิน 10 แหลง เนื้อท่ีแหลงหินมากท่ีสุดถึง 7,371 ไรโดยมีปริมาณสํารอง

ของหิน ถึง 584.77 ลานเมตริกตัน คิดเปนรอยละ 22.72 ของแหลงหินภาคเหนือ แตท่ีมีนอย

ท่ีสุดก็ไดแก จ.อุทัยธานี มีแค 2 แหลง เนื้อท่ี 136 ไร โดยมีปริมาณสํารองของหิน 10.47 ลาน

เมตริกตัน คิดเปนรอยละ 0.41 ของแหลงหินภาคเหนือ (ตารางที่ 5)

Page 12: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

ตารางที่ 1 ขอมูลทรัพยากรแรในภาคเหนือ

ลําดับ name Eng name thai จํานวนแหลง เนื้อที่ (ตร.กม.) เนื้อที่ภาคเหนือ (ตร.กม.) %1 And หนิแอนดีไซต 3 3.3 172900 0.0022 Au ทองคํา 11 44.2 172900 0.0263 Bas หนิภูเขาไฟเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง 18 41.1 172900 0.0244 Bcl บอลลเคลย 20 17.2 172900 0.0105 Brt แบไรต 21 72.1 172900 0.0426 C ถานหนิ 31 392.60 172900 0.2277 Cly ดินเหนียว 1 1.24 172900 0.0018 Cr โครไมต 2 12.45 172900 0.0079 Cu ทองแดง 3 25.53 172900 0.01510 Dol โดโลไมต 8 13.29 172900 0.00811 Dtm ไดอะทอไมต 4 2.03 172900 0.00112 Fe เหล็ก 9 10.32 172900 0.00613 Fl ฟลูออไรต 49 475.28 172900 0.27514 Fld เฟลดสปาร 13 94.67 172900 0.05515 Gem รัตนชาติ 10 75.89 172900 0.04416 Gp ยิปซัม 5 25.51 172900 0.01517 Gr หนิแกรนิต 2 2.23 172900 0.00118 Gr(Ds) หนิแกรนิตชนิดหนิประดับ 35 499.40 172900 0.28919 Gv/Sd กอนกรวด, ทราย 5 166.17 172900 0.09620 Ill อิลไลต 1 23.74 172900 0.01421 Kln แรดินขาว 20 46.23 172900 0.02722 Lat ศิลาแลง (เหล็ก) 1 1.86 172900 0.00123 Ls หนิปูน 557 9440.47 172900 5.46024 LsAgg หนิปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง 151 454.24 172900 0.26325 LsCem หนิปูนเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนต 213 361.43 172900 0.20926 LsChm หนิปูนเพื่ออุตสาหกรรมเคมี 12 5.59 172900 0.00327 LsOth หนิปูนเพื่ออุตสาหกรรมอื่นๆ 145 267.48 172900 0.15528 LsUncls หนิปูนที่จําแนกไมไดเนื่องจากไมมีขอมูลผลวิเคราะห 34 24.57 172900 0.01429 Lt แหลงลูกรัง 1 1.84 172900 0.00130 Mb หนิออน 76 160.80 172900 0.09331 Mgs แมกนีไซต 5 0.16 172900 9.37224E-0532 Mn แมงกานีส 17 204.93 172900 0.11933 Osh หนิน้ํามัน 2 253.24 172900 0.14634 P ฟอสเฟต 1 0.12 172900 0.00035 Pb ตะกั่ว 5 20.26 172900 0.01236 Prl ไพโรฟลไลต 1 31.06 172900 0.01837 Sb พลวง 28 109.68 172900 0.06338 Serp หนิเซอรเพนทิไนต 1 3.39 172900 0.00239 Sn ดีบุก 55 802.28 172900 0.46440 Tlc ทัลก 3 16.81 172900 0.010

1579 14204.7

Page 13: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก
Page 14: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก
Page 15: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก
Page 16: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก
Page 17: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

ธรณีวิทยาแหลงแรดีบุก แรหนักมีคา และแรหายากในภาคเหนือ

แหลงแรดีบุก แรหนักมีคา และแรหายากในภาคเหนือ พบในเขตจังหวัดเชียงราย

เชียงใหม ลําพูน แมฮองสอน ตาก อุทัยธานี และกําแพงเพชร โดยมีลักษณะการเกิดท่ีแตกตางกันไป

(ตารางท่ี 6) โดยพบกระจายตัวอยูในแนวหินแกรนิตท่ีเปนหินแมท่ีใหกําเนิดแรเหลานี้ สามารถแบง

ออกเปน 3 แนวใหญ คือ (รูปท่ี 3) แนวตะวันออก ไดแกแหลงแรดีบุกของจังหวัดเชียงราย ลําปาง

และลําพูน แนวกลาง ไดแกแหลงแรดีบุกของจังหวัดแมฮองสอน เชียงใหม ตาก อุทัยธานี และ

กําแพงเพชร และแนวตะวันตก ไดแกแหลงแรดีบุกของจังหวัดแมฮองสอนและเชียงใหม ดาน

อําเภอขุนยวม และอําเภอแมสะเรียง

จากการตรวจสอบสภาพแหลงแรในเขตประทานบัตรในภาคเหนือ พบวามีเหมืองแร

ดีบุก ท่ียังดําเนินการอยูเพียงแหงเดียว ไดแกเหมืองแรบานบอแกว อ. สะเมิง จ. เชียงใหม มีการผลิต

แรดีบุกมานานกวา 30 ป เดิมเปนเหมืองแรของกรมทรัพยากรธรณี ตอมาไดโอนใหเอกชนดําเนินการ

ปจจุปนมีอัตราการผลิตแรเดือนละ 20 ตัน ในป 2553 (มค.-พค. ) ผลิตแรได 151.3 ตัน และในป

พ.ศ. 2552 ผลิตแรได จํานวน 261.9 เมตริกตัน ไมมีรายงานผลผลิตของแรหนักมีคา แรหายาก

และแรโลหะหายาก แรดีบุกสะสมตัวกระจายอยูในหินแกรนิต (disseminated in granite) และในสายควอตซ แอพไฟต และเพกมาไทต (รูปท่ี 4) ในบริเวณนี้ มีหินแกรนิตผุพบอยูคอนขางหนา ซึ่งนาจะมี

แรโลหะหายาก สะสมตัวอยูดวย และนาจะทําการสํารวจในรายละเอียดตอไป แหลงแรดีบุกท่ีสําคัญใน

ภาคเหนือไดแสดงไวในตารางที่ 6

แหลงแรดีบุก จ. อุทัยธานี ในเขตบริเวณบานบุง บานทองหลาง บานปางสวรรค และ

บานอีพุงใหญ อ.บานไร จ. อุทัยธานี พบแรดบีุก แรหนักมีคา แรหายาก สะสมตัวอยูในตะกอนน้ําพา

เปนแหลงแรประเภทลานแร (placer deposit) โดยมีเหมืองแรดีบุกซึ่งไดหยุดดําเนนิการมานานแลว

หลายแหลง และยังมีกองทรายทายรางที่มีแรพลอยจากการทําเหมืองแรซึ่งเปนแรหนักมีคาปะปนอยู

ดวย และจากการประเมินแหลงแรข้ันตนจากการสํารวจของสํานักทรัพยากรแรพบวาในพ้ืนท่ีบานบุง

มีปริมาณสํารองแรดีบุกประมาณ 713.6 ตัน แรโมนาไซตประมาณ 438.6 ตัน อิลเมไนตประมาณ

545.9 ตัน และเซอรคอน ประมาณ 1357.6 ตัน พ้ืนท่ีทองหลาง มีปริมาณสาํรองแรดีบุกประมาณ

19.1 ตัน แรโมนาไซตประมาณ 20.2 ตนั อิลเมไนตประมาณ 6.0 ตนั และเซอรคอน ประมาณ 24.9

ตัน พ้ืนท่ีบานปางสวรรค มีปริมาณสํารองแรดีบุกประมาณ 491.3 ตัน แรโมนาไซตประมาณ 80.6

ตัน อิลเมไนตประมาณ 85.5 ตัน และเซอรคอน ประมาณ 101.7 ตัน พ้ืนท่ีบานอีพุงใหญ มีปริมาณ

สํารองแรดีบุกประมาณ 473.3 ตัน แรโมนาไซตประมาณ 73.7 ตัน อิลเมไนตประมาณ 124.0 ตนั

และเซอรคอนประมาณ 75.1 ตัน

Page 18: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก
Page 19: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก
Page 20: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

รูปท่ี 4 สภาพเหมืองแรดีบุกบานบอแกว อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม

Page 21: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

ธรณีวิทยาแหลงแรโลหะหายากในภาคเหนือ

จากการศึกษาธรณีวิทยาแหลงแรโลหะหายากที่พบในโลก สามารถแบงแหลงแรออก

ไดประมาณ 5 ชนดิ คือ Carbonatite/alkaline rock complex, Placers, Residual deposits (Ion-

absorption type), Alkaline granite และ Others โดยท่ีแหลงแรท่ีมีความสําคญัทางเศรษฐกิจปจจุบัน

ไดแกแหลงแรจาก Carbonatites และจาก Placers รวมท้ังแหลงแร Residual deposits ท่ีกําลังจะมีความสําคญัทางเศรษฐกิจในอนาคต สําหรับในภาคเหนือของประเทศไทยนัน้ แหลงแรโลหะหายากยังไมไดมีการศึกษากัน

อยางจริงจังมาตั้งแตอดตี ขอมูลเก่ียวกับเร่ืองแรโลหะหายากจึงมีอยูนอยมากและอยูอยางกระจัด

กระจาย ดังนั้นปริมาณสาํรองของแรโลหะหายากจึงยังไมเปนท่ีทราบกันเลย ท้ังนี้อาจเปนเพราะวายัง

ไมมีหนวยงานไหนในกรมทรัพยากรธรณีรับผดิชอบในการศึกษาเร่ืองนี้โดยตรง จากการศึกษาเบื้องตนเก่ียวกับแหลงแรโลหะหายากของประเทศไทยนัน้ สามารถ

แบงแหลงแรโลหะหายาก ไดเปน 2 ชนดิใหญ ๆ คอื แหลงแรปฐมภูมิ (Primary RE deposits) และแหลงแรทุติยภูมิ (Secondary RE deposits)

แหลงแรโลหะหายากปฐมภูมิ (Primary RE deposits)

แหลงแรโลหะหายากแบบปฐมภูมิของประเทศไทยนัน้ มีลักษณะการเกิด ลักษณะทาง

ธรณีวิทยา และชวงเวลาการเกิดแตกตางไปจากแหลงแรปฐมภูมิตางๆ ท่ีพบในโลก โดยที่แหลงแร

ดังกลาวจะเกิดปะปนอยูในบริเวณท่ีมีหินแกรนิตชนดิ S-type หรือ Ilmenite-Series ท่ีมีอายุประมาณ

Tertiary-Cretaceous (55-80 ลานป) (ชัยยุทธ ขันทปราบ และคณะ,2533) แตธาตุหายากท่ีพบ

ในหินแกรนิตนั้น อาจจะสะสมตัวอยูในแรประกอบหิน (Rock-forming minerals) เชนแร Feldepar

หรือ อาจจะอยูในแรโลหะหายากที่มีปริมาณนอยคือ Accessory minerals ในหินเชนแร Monazite

Xenotime และ Allanite เปนตน จากตารางท่ี 7 แสดงผลวิเคราะหหาปริมาณของธาตุหายากใน

หินแกรนิตชนดิ S-type และ I-type จากบริเวณตาง ๆ 4 บริเวณไดแก หินแกรนิต I-type อายุ

Triassic จากดอยหมอก จ.เชียงราย หินแกรนิตชนดิ S-type อายุ Triassic จากสะเมิง จ.เชียงใหม จาก จ.กระบี่ และอายุ Tertiary จาก จ.ภูเก็ต แสดงใหเห็นวาหินแกรนิต S-type ท่ีมีอายุนอยจะมี

ปริมาณ REE มากกวาในหินชนิดเดียวกันแตมีอายุมากกวารวมท้ังในหินแกรนิต I-type เม่ือพิจารณา

ถึงอัตราสวนระหวางปริมาณธาตุหายากเบา (ธาต ุLa ถึง Eu หรือ Cerium Group) กับปริมาณธาตุ

หายากหนัก (ธาต ุ Gd ถึง Lu หรือ Yttrium Group) หรือ LREE/HREE ซึ่งโดยทั่วไปมักใช

อัตราสวนของปริมาณของ La กับ Lu โดยเทียบกับอุกาบาตชนดิ Chondrite หรือเขียนงาย ๆ วา

(La / Lu) cn หิน I-type จ.เชียงราย มี (La / Lu) cn = 17.6 หิน I-type จ.กระบี่ มี (La / Lu) cn =

12.1 หิน S-type จ.เชียงใหม มี (La / Lu) cn = 65.3 หิน S-type จ.ภูเก็ต มี (La / Lu) cn = 28.9

จากขอมูลดังกลาวนี้พอสรุปไดวาหินแกรนติ S-type จะประกอบดวยปริมาณธาตุหายากเบา

Page 22: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

ตารางท่ี 7 ปริมาณธาตุหายากในแร Alkali Feldspar และหินแกรนิตตาง ๆ จากบริเวณตาง ๆ CHANGWAT   CHIANG  MAI     PHUKET   CHAING  RAI       KRABI Granite  Type               S                                    S                               I I SM-12 OSK-4 DM-3 BC-1 La 36.833 65.354 34.180 51.588 Ce 67.246 143.519 68.817 89.885 Pr 7.161 16.649 8.047 9.806 Nd 22.647 54.643 27.510 32.956 Sm 3.361 11.278 5.699 6.018 Eu 0.818 0.368 0.825 1.195 Gd 2.117 7.882 4.524 5.181 Tb 0.248 1.241 0.700 0.816 Dy 1.262 6.109 3.744 4.708 Ho 0.204 1.000 0.639 0.947 Er 0.538 2.465 1.735 2.804 Tm 0.068 0.316 0.226 0.409 Yb 0.382 1.824 1.453 2.794 Lu 0.057 0.228 0.196 0.435 REE (t) 142.942 312.886 158.295 29.542 Y 5.619 27.391 16.892 27.897 N . B * = Alkali Feldspar sample

1. Rare-earth element concentrations were determined at Memoriral University, St. John’s

Newfoundland, Canada, using ICP techniques 2. All values are in ppm.

มากกวาในหินแกรนิต I-type จากการศึกษาของ Charusiri (1989) พบวาหินแกรนิต S-type จะมี

ปริมาณแร K-feldspar มากกวาในหินแกรนิต I-type และจากขอมูลแร K-feldspar ท่ี จ.ภูเก็ตทําให

ทราบวา แร K-feldspar มีปริมาณธาตุหายากเบามากกวาธาตุหายากหนักมากท่ีเดียว แนวทางท่ี

เปนไปไดอีกประการหนึ่งก็คอื แรธาตปุริมาณนอยในหิน (Addessory Minerals) เชน Monazite,

Xenotime และ Allanite คงจะมีบทบาทตอการกระจายตัวของธาตุหายากนี้เปนอยางมาก

(Henderson, 1984)

Nakapadungrat (1982) ไดทําการศกึษาธรณีเคมีธาตุหายากในหินแกรนิตชนดิ

S-type ท่ีบริเวณ อ.บานไร จ.อุทัยธานี รายละเอียดเก่ียวกับผลวิเคราะหปริมาณธาตุหายากใน

หินแกรนิตชนดิตาง ๆ ไดแสดงไวในตาราง 8 จะเห็นวาหินแกรนติทุกชนิดจะมีปริมาณธาตุหายาก

มากกวาหินอุกาบาตร Chondrite โดยเฉล่ียและหินแกรนิตท่ีมีอายุประมาณ 240 ลานป

(Triassic) จะมีปริมาณของธาตหุายากลดลงจากหินแกรนิต (GG-1) ไปยังหินแกรนิต GG-3 (ซึ่งมี

การแยกสวนออกไปมากกวา) สวนหิน Aplitic granite GG-4 ท่ีมีอายุนอยกวาคือประมาณ 70

ลานป (Cretaceous-Tertiary) ก็ใหปริมาณธาตุหายากที่ลดนอยลงเม่ือเทียบกับหินแกรนิตชนิดท่ีแก

กวาแตจะมีมากกวาในหินแกรนิต GG-3 โดยเฉล่ีย Nakapadungrat (1982) ยังไดทําการวิเคราะห

Page 23: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

หาปริมาณธาตุหายากของแรประกอบหิน (Rock-forming minerals) และแรปริมาณนอย

(Accessory minerals) ในหินแกรนิตบริเวณแถบ อ.บานไร จ.อุทัยธานี จากการวิเคราะหปรากฏพบวา

ธาตุหายากทั้งชนิดเบาและหนักมีอยูในปริมาณที่คอนขางมาก ในแร Accessory เชนแร Monazite

และ Allanite แตจะมีอยูในปริมาณที่นอยกวามากในแรประกอบหินหลัก (Essential Minerals) เชน

แร Alkali Feldspar และแรประกอบหินรอง (Subordinate Minerals) เชนแร Biotite, Muscovite

หรือ Tourmaline (ตารางที่ 9) ตารางที่ 8 ตารางแสดงปริมาณธาตุหายากท่ีประกอบอยูในหินแกรนิตชนิดตาง ๆ บริเวณ อําเภอ บานไร จังหวัดอุทัยธานี Type GG-1 GG-2 GG-3 GG-4 REE no.

Tl-3 Tl-8 Tl-49 Tl-2 Tl-37 Tl-6 Tl-9 Tl-129 Tl-216 Tl-4

La 69.7 96.0 69.4 48.0 45.1 7.5 3.0 71.9 3.0 10.7 Ce 147.9 175.4 132.5 86.7 92.6 15.9 6.4 142.7 5.4 20.2 Pr 24.2 24.9 17.4 12.1 11.8 1.8 0.9 21.8 0.8 2.1 Nd 111.4 85.0 60.9 43.0 46.0 7.6 3.8 78.6 2.4 9.4 Sm 31.9 12.7 9.5 6.7 9.2 2.2 1.2 14.7 0.9 2.0 Eu 6.5 1.5 1.4 1.2 0.9 0.3 0.5 1.1 0.1 0.3 Gd 28.9 8.1 5.8 4.4 7.0 2.1 1.2 9.8 0.7 1.5 Dy 15.4 6.3 4.4 3.4 6.5 2.6 1.3 6.7 1.3 1.3 Ho 2.2 1.1 0.7 0.6 1.3 0.5 0.2 1.2 0.2 0.2 Er 4.9 4.0 2.8 2.0 4.1 1.4 0.6 4.1 0.7 0.8 Yb 2.8 2.5 1.9 1.4 3.9 1.5 0.8 2.7 1.5 0.7 Lu 0.4 0.3 0.2 0.17 0.6 0.2 0.1 0.4 0.2 0.1 Y 51.1 31.6 21.3 18.0 38.2 15.3 7.2 38.1 8.3 7.1 Eu/Eu* 0.71 0.46 0.57 0.67 0.38 0.45 1.39 0.29 0.16 0.54 EREE 446.2 449.4 306.9 209.7 229 43.6 20 355.7 17.2 49.3 N.B. 1. GG-1 = allanite-biotite granite GG-2 = biotite granite GG-3 = leucocratic granite GG-4 = aplitic granite

2. All values are in ppm. 3. Data from Nakapadungrat (1982)

Page 24: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

ตารางที่ 9 ตารางแสดงปริมาณธาตุคาเฉล่ียของธาตุหายากเปน ppm ในแรปริมาณนอย

และแรประกอบหิน ในหินแกรนิตชนิดตาง ๆ บริเวณ อ.บานไร จ.อุทัยธานี

Type GG-1 (3) GG-2 (2) REE\MIN A B C D J A C D F K A CLa 1.3 35488 177 6 245 1.7 3.9 6.5 69303 114 1.1 26Ce 3.1 71492 618 12 1973 3 967 13 153026 227 2 82Pr 0.4 8684 119 1.4 465 0.3 145 1.6 19664 26 0.3 11Nd 2.7 26279 749 5.5 3076 2.1 759 6.1 66940 97 1.1 53Sm 0.2 3052 360 0.9 1549 0.2 286 1.1 10060 16 0.2 21Eu 1.5 138 16 0.2 81 1.6 10 0.1 386 0.9 0.5 7.6Gd 0.2 1452 405 0.7 1598 0.2 331 0.8 6225 6.8 0.2 23Dy 0.2 507 464 0.5 1769 0.1 412 1.1 3289 6.2 0.2 34Ho 0.04 84 91 0.1 315 0.01 75 0.3 468 1.5 0.05 52Er 0.1 306 213 0.4 749 0.1 188 0.8 940 3.5 0.1 16Yb 0.05 81 200 0.3 766 0.03 182 0.8 281 2.1 0.2 18Lu 0.01 12 28 0.04 86 0.01 24 0.1 23 0.4 0.02 23Y 0.3 1177 2346 2.7 8316 0.4 2122 6.3 9220 25 1.3 193

N.B. 1. All granite types are the same as those of Table 10-2 2. A = Alkali feldspar, B = Allanite, C = Apatite, D = Biotite, E = Garnet, F = Monazite, G = Muscovite, J = Sphene, and K = Tourmaline 3. Number in ( ) = no. of samples analyzed 4. Data from Nakapadungras (1982)

ผลการวิเคราะหทําให Nakapadungrat (1982) สรุปวาแรปริมาณนอยในหิน (Accessories) เชน

แร Monazite และ Allanite มีผลตอการกระจายตัวและปริมาณของธาตุหายากในหิน และเกิดการแยก

สวน หรือการวิวัฒนาการของหินหนืดมากกวาตัวแรประกอบหิน (Rock-forming minerals) เชนแร

Feldspar

จากการศึกษาวิจัยคร้ังนี้แมจะไมชัดเจนและเดนชัด (ตาราง 7 ถึง 9) แตก็พบความ

แตกตางระหวางปริมาณธาตหุายากในหินแกรนิต S-type ท่ีมีตางอายุกันอยูบางซึ่งอาจเปนเพราะ

ขอมูลมีไมมากเทาใดนัก จากการศึกษาของ Aranyakanon (1969) ในหินแกรนิต S-type จ.

ระนอง และ Garson และคณะ (1975) ไดศึกษาหินแกรนิตในแถบ จ.ภูเก็ต และพังงา ท่ีพบแร

Monazite ในหินแกรนิตอยูในปริมาณมากพอสมควร หินแกรนิตเหลานี้จากการศึกษาของ

Charusiri (1989) พบวามีอายุประมาณ Tertiary-Cretaceous (55-80 ลานป) ดังนั้นจึงพอจะ

อนุมารณโดยอาศัยขอมูลดงัท่ีไดกลาวมาไดวา หินแกรนิตประเภท S-type ท่ีมีอายุออนกวาเชน

Page 25: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

Tertiary (นอยกวา 70 ลานป) จะมีโอกาสที่จะใหธาตุหายากในปริมาณมากกวาหินแกรนิตประเภท

เดียวกันท่ีอายุแกกวาเชน Triassic

แหลงแรโลหะหายากทุติยภูมิ (Secondary RE deposits)

แรโลหะหายากที่พบในประเทศไทยและมีการผลิตนํามาใชประโยชนนัน้มีเพียง 2

ชนิดเทานั้นคอื แร Monazite และแร Xenotime เนือ่งจากแร Monazite และ Xenotime รวมท้ัง

แรธาตุหายากอื่นๆ บางตัวมีลักษณะท่ีมีทนทานท้ังทางกายภาพและทางเคมีสูง เม่ือเกิดการผพัุงของ

หิน (Weathering) จึงไมเกิดการสลายตัวแตจะตกตะกอนสะสมตัวเหมือนอยางแรโลหะหนักท่ัวไป

เชนทองคํา และดบีุก จนในท่ีสุดจึงสะสมตัวกันเปนแหลงแรทุติยภูมิซึ่งในเมืองไทยเราพบอยูใน

รูปแบบท่ีสําคญั 4 แบบ คอืแหลงแรแบบลานแรบนบก (alluvial placer deposits) แหลงแรแบบ

ชายหาดและชายหาดเกา (beach and old beach deposits) แหลงแรในทะเล (off-shore deposits)

และแหลงแรเปลือกผิวผุพัง (weathering crust)

1. แหลงแรแบบลานแร (Placer Deposits)

แหลงแรชนิดนี้โดยทั่วๆ ไป เกิดจากการผุพังทลายตามธรรมชาติของหินท่ีมีแรปะปน

อยู ทําใหแรหลุดออกจากหินและเคล่ือนตัวลงสูท่ีราบเบื้องลาง โดยมีน้ําเปนตัวพัดพาไป โดยท่ีแร

เหลานี้มีคุณสมบัติทนทานตอการกัดกรอน และมีน้าํหนักมาก ก็จะสะสมอยูตามทองหวย หรือทอง

แมน้ํา ไมไกลจากแหลงกําเนิดมากนัก แหลงลานแรนี ้ มักพบแรธาตุโลหะหายากปะปนอยูกับแรหนัก

อื่น ๆ เชนดีบกุ แหลงลานแรท่ีสําคัญสวนมากพบในบริเวณภาคใตของประเทศไทย

2. แหลงแรเปลือกผิวผุพัง (Weathering Crust)

หินแกรนิตชนดิ S-type ท่ีมีปริมาณธาตุหายากอยูมาก (REE enrichment) เม่ือไดรับอิทธิพลของการผุพังโดยเฉพาะทางเคมีท่ีเปนอยางรวดเร็ว ประกอบกับมีสภาพภมิูอากาศท่ี

เหมาะสมเพราะเปนเขตรอนช้ืนและมีฝนตกพอควร จึงยังผลใหเกิดการสลายตัวในลักษณะออนยุย

(friable) ซึ่งเรียกวา saprolite (หรือดนิแกรนิต) ซึง่โดยท่ัวไปจะทําใหแรจําพวก feldspar สลาย

ไปเปนแรดิน (clay minerals) เชน kaolinite หรือ illite ได แรธาตุบางอยางอาจเกิดการกลาย

สภาพเปนแรอ่ืนได เชนแร biotite อาจสลายกลายเปน Fe-oxides ซึ่งจะถูกขับออกไปสูน้ําใตดิน

ในท่ีสุด ธาตบุางตัวเชน Ca , Mg ซึ่งเปนพวก alkali earths จะถูกละลายตัวออกไปจนหมดส้ินจาก

ระบบในขณะท่ีธาตุท่ีมีความสามารถในการเคล่ือนตัวชากวา (less mobile elements) อาทิเชน Zr

Sr Ba V และ Th จะถูกกักตัวอยูในระบบ ในรูปของ phosphates, carbonates และ sulfates

(Mariano, 1989 a) เม่ือหินแกรนิตเกิดการผุพังในระดบัลึกไปเร่ือยๆ จะเกิดการสะสมตัวของธาตตุาง

ๆ นี้ในสวนบนสุดของหิน และในบางคร้ังก็อาจจะไดดนิลักษณะคลายศิลาแรง (lateritic soils) ใน

สวนช้ันบนสุดของ saprolite ซึ่งในแตละสวนของการสลายตัวนี้จะมีธาตุหายากในรูปสารประกอบ

Page 26: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

ซับซอนปะปนอยูในดนินัน้ ซึ่งในบางคร้ังอาจไดช้ันดนิท่ีมีแรธาตุหายากดังกลาวอยูลึกถึง 300 เมตร

(Mariano, 1989 a) ในกรณีธาตุหายากอาจจะถูกแรดนิจับเอาไวโดยขบวนการ Chelation ในลักษณะ

เดียวกันท่ีประจุบวกโลหะถูกสารอินทรียจบัไว หรืออาจอยูในสภาพ colloidal complex ปนอยูกับแรดิน

โดยขบวนการ coagulation ได ในอีกกรณีถาหินแกรนิตมีแรธาตุหายากปนอยูในสภาพแรปริมาณนอยอยูแลวในหิน

เชน แร Monazite Xenotime Allanite Anatase หรือ Euxenite พวกแรธาตุหายากเหลานี้มักจะ

อยูในสภาพทีค่งทนไมคอยเปล่ียนแปลงไปจากเดิม เนื่องจากปฏิกิริยาทางเคมีในสภาวะของการเกิด

ศิลาแรง (laterilite weathering) ดังนั้นเม่ือเกิดการผพัุงของหินแกรนิตในแนวลึกข้ึนเร่ือย ๆ จึงเช่ือ

วาแรธาตุโลหะหายากพวกนี้รวมท้ังแรหนักบางตัว เชน ilmenite และ magnetite ยังสะสมตัวอยูใน

ช้ันดินในปริมาณท่ีมากพอ

ศักยทางแรโลหะหายากในภาคเหนือ

จากขอมูลธรณีวิทยาแหลงแรโลหะหายากของประเทศไทย ตลอดจนขอมูลเก่ียวกับ

สถิติการผลิตแรโลหะหายากซึ่งเปนผลพลอยไดจากการทําเหมืองแรดีบุก โดยเฉพาะทางภาคเหนือ

ของประเทศไทยสามารถจําแนกพ้ืนท่ีศักยทางแรโลหะหายาก ตามลักษณะการเกิดและชนิดของแหลง

แรโลหะหายากที่พบในประเทศไทย ดังนี ้

พ้ืนที่ในแนวหินแกรนิต

หินแกรนิตชนดิ S-type หรือ Ilmenite-Series อายุนอย คือ Tertiary-Cretaceous (55-80 ลานป) เปนหินแกรนิตท่ีใหแรโลหะหายากมากกวาในหินแกรนิตชนดิอ่ืนๆ ดังนั้นในบริเวณ

ท่ีพบหินแกรนิตชนดิ S-type อายุออนนี้ จึงมีศักยภาพทางแรโลหะหายากสูง หินแกรนิตชนดินี้พบ

ในบริเวณแนวหินแกรนิตตอนกลางและตอนตะวนัตก

ในพ้ืนท่ีของหินแกรนิตชนิด S-type ดังกลาวมีโอกาสที่จะพบแหลงแรโลหะหายาก

ชนิดปฐมภูมิและทุติยภูมิประเภทลานแรและประเภทเปลือกผิวผุพัง สําหรับแหลงแรโลหะหายาก

ประเภทเปลือกผิวผุพังนั้นมีโอกาสที่จะพบในแนวหินแกรนิตภาคเหนอืของประเทศไทย เพราะวา

ภาคเหนือของประเทศไทยม ี weathering zone หนาและยังไมถูกพัดพาออกไปจากแนวหินเดิม

โอกาสที่แรจําพวก Clay minerals ซึ่งเปน residual material ไดมีโอกาสดดูซับเอาธาตโุลหะหายากเขาไวในตวัมากพอสมควร แหลงแรท่ีคาดวาจะพบในอนาคตไดแก แรโลหะหายาก (Rare Earth Element) ในหินแกรนิต เปนแรท่ีตองการของตลาดโลกมากในปจจุบัน นาจะเปนบริเวณทางดานตะวันตกของ

ภาคเหนือ ในเขต จ. แมฮองสอน และเชียงใหม

Page 27: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

สรุปและขอเสนอแนะ จากการสาํรวจสถานะภาพแหลงแรดีบุก แรหนักมีคา แรหายาก และแรโลหะหายาก ใน

ภาคเหนือครอบคลุม 17 จงัหวัดไดแก จังหวัดเชียงราย เชียงใหม ลําปาง แพร นาน พะเยา ลําพูน

แมฮองสอน อุตรดติถ สุโขทัย ตาก กําแพงเพชร พิษณุโลก พิจิตร นครสวรรค อุทัยธานี และ

เพชรบูรณ เน้ือที่ 172,900 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 34 ของพ้ืนท่ีท้ังหมดท่ัวประเทศ เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานสาํหรับใชประโยชนอยางถูกตอง เหมาะสมและทันสมัย สามารถสรุปไดดังน้ี

1. ในพื้นที่ภาคเหนือมีกลุมแรชนิดตางๆ 40 ชนิด มพีื้นที่ศักยภาพแหลงแร รวมกัน

1,579 พื้นที่ คิดเปนพื้นที่รวมกันได 14,210.4 ตารางกิโลเมตร หรอื คิดเปนรอยละ 8.22 ของพื้นที่

ภาคเหนือทั้งหมด โดยที่มีกลุมแรดีบุกและแรที่เกิดรวม มีจาํนวนมากเปนอันดับที่สอง รองมาจากหินปูน ซ่ึง

แรดีบุก แรหนักมีคา แรหายาก และแรโลหะหายากเหลาน้ี พบอยูจํานวน 55 แหลง เน้ือที่ 802.28 ตาราง

กิโลเมตร คิดเปนรอยละ 0.46 ของพื้นทีท่ั้งหมด โดยพบอยูในบริเวณแนวหินแกรนิตทางดานตะวันตกของ

ภาคเหนือ 2. จากขอมูลประทานบตัรเหมืองแรท่ีไดดําเนินการ ในป พ.ศ. 2552 ใน

ภาคเหนือมีท้ังหมด 452 ประทานบัตร คิดเปนรอยละ 36.9 ของประทานบตัรท้ังหมดท่ัวประเทศ

โดยไดเปดดาํเนินการ 292 ประทานบัตร และพบเหมืองแรดีบุกที่เปดดําเนินการอยูในปจจุปนเพียงแหลงเดียวที่จังหวัดเชียงใหม คือเหมืองแรบานบอแกว อําเภอสะเมิง

3. แหลงแรดีบุก แรหนักมีคา และแรหายาก รวมทั้งแรโลหะหายากทีเ่กิดรวมกัน

พบในเขตจังหวัดเชียงราย เชียงใหม ลําพูน แมฮองสอน ตาก อุทัยธานี และกําแพงเพชร โดยมี

ลักษณะการเกิดท่ีแตกตางกันไป โดยพบกระจายตัวอยูในแนวหนิแกรนิตท่ีเปนหินแมท่ีใหกําเนิดแร

เหลานี้ สามารถแบงออกเปน 3 แนวใหญ คือ แนวตะวันออกไดแกแหลงแรดีบกุของจังหวัดเชียงราย

ลําปาง และลําพูน แนวกลางไดแกแหลงแรดีบุกของจังหวัดแมฮองสอน เชียงใหม ตาก อุทัยธานี

และกําแพงเพชร และแนวตะวันตกไดแกแหลงแรดีบกุของจังหวัดแมฮองสอนและเชียงใหม อําเภอ

ขุนยวมและอําเภอแมสะเรียง 4. ศักยภาพของแหลงแรดีบุก แรหนักมีคา และแรหายาก พบในเขตอําเภอบานไร

จังหวัดอุทัยธานี ซ่ึงจากการสํารวจของสาํนักทรัพยากรแร พบวามีปริมาณสํารองแรดีบุกประมาณ 1,697 ตัน

และแรโมนาไซต ประมาณ 613 ตัน นอกจากน้ียังพบวาพื้นที่ภาคเหนือยังคงมีศักยภาพของแรโลหะหายาก

ในหินแกรนิตผุหรือในเปลือกหินผุพังของหินแกรนิต โดยเฉพาะที่อําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน อําเภอแม

แจม จังหวัดเชยีงใหม และในอําเภอบานไร จังหวัดอุทัยธาน ี 5. แรดีบุกมีราคาท่ีคอนขางสูงเปนแรท่ีมีคุณคาทางเศรษฐกิจมากนาจะ

สนับสนนุใหมีการสํารวจเพ่ิมข้ึน เชนเดียวกับแรโลหะหายากมีราคาสูงมากเปนท่ีตองการของตลาดโลก

มากดวย และมีแนวโนมท่ีจะขยายตัวเพ่ิมข้ึนทุกป แหลงแรเหลานี้ยังไมมีการสํารวจในข้ันรายละเอียด

สมควรท่ีจะใหการสนับสนนุใหมีการสํารวจอยางรีบดวน ใหทันกบัสถานการณของโลก

Page 28: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

เอกสารอางอิง จํารูญ อุยศริิไพศาล และสุรกิต ชูสุวรรณ, 2530, ธรณีวิทยาแหลงแร นอกชายฝงทะเลอันดามัน

พ้ืนที่ A, B และ C และการประเมินปริมาณแหลงแรดบีุกและแรหนกัมีคา ขาวสารการธรณีปท่ี 32 ฉบบัท่ี 9 กันยายน 2530 หนา 16-32

จํารูญ อุยศิริไพศาล, สุรกิต ชูสุวรรณ และอําไพ โภควรรณวิทย, 2532,รายงานการสาํรวจ วิจัย

และการประเมินแหลงแรดบีุกและแรหนกัมีคาพ้ืนท่ี A แปลง IISS , รายงานเศรษฐธรณีวิทยา

ฉบับท่ี 31/2531,กันยายน 2531, 74 หนา

จํารูญ อุยศริิไพศาล, ธีรโชค มุกด ีและนิมิตร ศรคลัง, 2534, รายงานการสํารวจแรกัมมันตรังสีและแรหนัก บริเวณชายหาดบานสุวรรณเขตและบานเขาทราย อําเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช

, รายงานเศรษฐธรณีวิทยาฉบับท่ี 40/2533, กรกฎาคม 2534, 70 หนา

ชัยยุทธ ขันทปราบ และคณะ, 2532, รายงานความกาวหนาฉบับที ่1 โครงการประเมินศักยภาพทาง

ธรณีวิทยาเก่ียวกับปริมาณของแรซึ่งมีโลหะหายากในประเทศไทย จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย,

ธันวาคม 2532, 71 หนา

ชัยยุทธ ขันทปราบ และคณะ,2533, รายงานความกาวหนา ฉบบัท่ี 2 โครงการประเมินศกัยภาพ

ทางธรณีวิทยาเกี่ยวกับปริมาณของแรซึ่งมีโลหะหายากในประเทศไทย จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, กรกฎาคม 2533, 77 หนา

เดชา ชุตินาธ, 2531, แรเอิรธ บทบาทแหงเทคโนโลยี ขาวสารการธรณี ปท่ี 33 ฉบบัท่ี 11 ,

พฤศจิกายน 2531, หนา 9-14

บุญหมาย อินทุภูมิ, พิภพ อิศรางกูร ณ อยุธยา และเชิงชาย ไกรคง, 2530 แรโมนาไซตและกลุมธาตุ

โลหะหายาก เอกสารฝายสํารวจแรยุทธปจจัยและนิวเคลียร กองเศรษฐธรณวิทยา กรม

ทรัพยากรธรณี, กุมภาพันธ 2530, 22 หนา

วิชาญ อมตาริยกุล, 2531 แรพลอยไดจากแรดีบุก แรธาตุหายากจากแหลงแรดีบุก เอกสาร ฝายแตง

แรและใชประโยชนแร สํานกังานทรัพยากรธรณีเขต 2 ภูเก็ต, 25 หนา

สุรกิต ชูสุวรรณ และ จาํรูญ อุยศิริไพศาล, 2532,รายงานการสํารวจและการประเมินแหลงแรดีบุก

และแรหนักมีคาพ้ืนท่ี A แปลง IISS นอกชายฝงทะเล อ.คุระบุรีและอ.ตะก่ัวปา จ.พังงา

รายงานเศรษฐธรณีวิทยา ฉบับท่ี /2532, กันยายน 2532, 7 หนา

Aranyakanon, P., 1969, Tin deposits in Thailand, In Proc. of 2 nd Technical Con-ference on

Tin Bangkok, V.l, p. 81-104.

Charusiri, P., Khantaprab, C., Pisutha-Arnond, V., and Yumuang, S., 1991, Classification of

Rare-Earth Element (REE) Deposits in Thailand A Genetic Approach, in Inernational

Page 29: ฉบัี่บท 1 สทข 1/2553รายงานวิชาการ. ฉบัี่บท. 1. สทข. 1/2553. สถานะภาพแหล งแร ดีบุก

Conference on Rare-Earth Minerals and Minerals for Electronics Uses, Jan. 23-25,

1991, HatYai, Thailand, p. 105-124

Garson, M.S., Yong, B., Miatchell, A.H.G., and Tait, B.A.R. 1975, The Geology of Tin Belt in

peninsular Thailand around Phuket, Phangnga and Takua-pa, oversea Mem., Inst

Henderson, P. ed. 1984m Rare earth element geochemistry, 510 p. Elsevier, Amsterdam

Mariano, A.N., 1989 a. Economic geology of rare-earth minerals : in Lipin, B.R. and Mckay,

G.d. (eds.) Geochemistry and Mineralogy of Rare-Earth Elements, Reviews in

Mineralogy, vo;. 21, p. 309-337.

Nakhapadungrat, S., 1982, Isotope and REE Studies of Triassic Granites from

central Thailand, (In prep.)

Nicola, R., 1990, Rare Earths, Metals + Minerals Annual Review, 1990 p. 78-80.

Usiriprisan, C., Chiem chindaratana, S., Shoosuwan, S., and Chatrapakpong, v., 1987,

Report on offshore Exploration for Tin and Heavy Minerals in the Andaman

Sea, West Goast of Thailand, Areas A, B and C, Final Report of Andaman

Sea Project, Dept. of Mineral Resources of Thailand, 1987, 132 p.