เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ...

47
รายงานโครงการหมายเลข EE2003-68 เครื่องผาตัดโดยใชความถี่วิทยุ นายชัชวาล ทองทํามา เลขประจําตัว 443040136-1 นายสุทธิภาคย สุขสนิท เลขประจําตัว 443040245-6 รายงานนี้เปนรายงาน งานโครงการของนักศึกษาชั้นปที4 ซึ่งเสนอเปนสวนหนึ่งใน หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ..2546

Upload: others

Post on 08-Mar-2021

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

รายงานโครงการหมายเลข EE2003-68

เครื่องผาตัดโดยใชความถี่วิทย ุ

นายชัชวาล ทองทํามา เลขประจําตัว 443040136-1

นายสุทธิภาคย สุขสนิท เลขประจําตัว 443040245-6

รายงานนี้เปนรายงาน งานโครงการของนักศึกษาชั้นปที่4 ซึง่เสนอเปนสวนหนึ่งใน

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

พ.ศ.2546

Page 2: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

Project Report No. EE2003-68

Radio Electrosurgical Generator

Mr. Chuchawan Tongtumma ID 443040136-1 Mr. Sutthiphark Suksanit ID 443040245-6

This is report of fouth year project assignment submitted in partial fulfillment of the requirement for the degree of bachelor of engineering.

Department of Electrical Engineering

Faculty of Engineering , Khonkean University 2003

Page 3: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

ใบประเมินผลงานโครงการ

ช่ือเรื่องภาษาไทย เครื่องผาตดัโดยใชความถี่วทิยุ ช่ือเรื่องภาษาอังกฤษ Radio Electrosurgical Generator ช่ือผูเสนอโครงการ นายสุทธภิาคย สุขสนิท เลขประจําตัว 443040245-6 นายชัชวาล ทองทํามา เลขประจําตัว 443040136-1 อาจารยที่ปรึกษาโครงการ ........................................ ( อ.กฤษ เฉยไสย ) อาจารยที่ปรึกษารวม

........................................ ( อ.อํานาจ สุขศรี ) อาจารยผูรวมประเมินผลโครงการ

........................................ ( อ.กิตติพงษ ตันมติร )

ประเมินผล ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ 2547

Page 4: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

กิตติกรรมประกาศ

ในการทําโครงการที่ 2003-68 เครื่องผาตัดโดยใชความถี่วิทยุ สามารถสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี โดยขอขอบพระคุณทานอาจารย ดร.กฤษ เฉยไสย ท่ีใหความอนุเคราะห ท้ังคําปรึกษาและแนะนําเก่ียวกับโครงการท้ังหมดที่ทําใหเกิดแนวความคิดในการทําโครงการมากมาย ขอขอบพระคุณทานอาจารย อํานาจ สุขศรี และทานอาจารย บุญยิ่ง ท่ีใหคําแนะนําและมอบหลอดสุญญากาศ 6146B ให ซึ่งเปนอุปกรณท่ีมีความสําคัญมากที่ใชในการทําโครงงานนี้ พรอมกันนี้ขอขอบคุณ เจาหนาท่ีสารบรรณภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาทุกทานที่อํานวยความสะดวกในการยืมเบิกจายอุปกรณตางๆรวมทั้งขอขอบคุณเพ่ือนๆและผูมีสวนรวมทุกทานที่ไดชวยใหคําแนะนําเก่ียวกับโครงงานนี้เปนอยางดี

นายสุทธิภาคย สุขสนิท นายชัชวาล ทองทํามา

Page 5: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

บทคัดยอ โครงงานนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือทําการสรางเครื่องกําเนิดที่มีสัญญาณไฟฟาความถี่สูงซึ่งอยูในยานความถี่วิทยุและแรงดันสูง โดยมีวงจรซัพพลายจายไฟเลี้ยงวงจรทั้งหมดและวงจรออสซิลเลเตอรจายสัญญาณใหวงจรขยายเพื่อทําการขยายสัญญาณออสซิลเลสนี้ใหสัญญาณมีความถี่สูงและโวลตเตจสูงขึ้นแลวสงสัญญาณผานอิเล็กโตรดท่ีเปนเสนลวดใชในการตัดชิ้นเนื้อ จากการทดลองเมื่อจายไฟใหวงจร เม่ือเกิดการออสซิลเลสแลวคา เอาพุตที่ไดมีความถี่ประมาณ 1-2 MHz และมีแรงดันประมาณ 2kV ซึ่งจายผานหัวอิเล็กโตรดแลวสามารถตัดชิ้นเนื้อได

Page 6: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

ABSTRACT

The object of project is build a Radio Electronsurgical Generator with distribute high frequency signal and high voltage. The supply distribute to all circuit and osillate signal is send to amplifier circuit for extend. Osillate signal have high frequency and high voltage is send to eletrode. Examination when supply distribute to all circuit and Osillation. Frequency output and voltage output are 1-2 MHz , 2kV respectively. It distributed to electrode for cut meat.

Page 7: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

สารบัญ

หนา กิตติกรรมประกาศ ก บทคัดยอภาษาไทย ข บทคัดยอภาษาอังกฤษ ค สารบัญ ง สารบัญรูป จ สารบัญตาราง ฉ บทที่ 1 บทนํา 1

1.1 ท่ีมาของโครงการ 1 1.2 ขอบขายงาน 1 1.3 แนวทางระยะเวลาในการดําเนินการ 2 1.4 ผลที่คาดวาจะไดรับ 2

บทที่ 2 ทฤษฎีพ้ืนฐาน 3 2.1 หลักการทํางานของเครื่องผาตัดโดยใชความถี่วิทยุ 3 2.2 Wave Form ของกระแสไฟฟาสลับ 4 2.3 การทํางานเครื่องตัดจ้ีไฟฟา 6 2.4 ขอดีขอเสีย 7

บทที่ 3 การออกแบบ 8 3.1 การออกแบบตัวเหนี่ยวนํา 8

บทที่ 4 การทดลองปฏิบัติ 11 4.1 ภาพวงจรโดยรวมของเครื่องผาตัด 11 4.2 การทดลองที่ทําท้ังหมดในโครงงาน 13 4.3 สรุปผลการทดลอง 20

บทที่ 5 สรุปผลและขอเสนอแนะ 21 5.1 สรุป 21 5.2 ปญหาท่ีพบในการทดสอบโครงการ 21 5.3 ขอเสนอแนะ 21

เอกสารอางอิง 22 ภาคผนวก ก. อุปกรณชวยที่ใชในการทดลอง ก-1 ภาคผนวก ข. รายละเอียดอุปกรณหลอดอิเล็กโตรด 6146B ข-1

Page 8: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

สารบัญรูป

หนา รูปที่ 2.1 ตัวเครื่อง Eletrosurgical Generator ตนแบบ 3 รูปที่ 2.2 Active Eletrode หรือหวงโลหะ 4 รูปที่ 2.3 Cut Waveform 4 รูปที่ 2.4 Coag Waveform 5 รูปที่ 2.5 Block Diagram เครื่องตัดจ้ีดวยไฟฟา 6 รูปที่ 3.1 รูปแสดงดานการมองบนและดานขางของตัว Inductor ท่ีออกแบบในการพัน 8 รูปที่ 3.2 ขนาดความยาวและพื้นที่หนาตัดของตัวเหนี่ยวนําท่ีทําการออกแบบโดยคา L = 20 µH 9 รูปที่ 3.3 ขนาดความยาวและพื้นที่หนาตัดของตัวเหนี่ยวนําท่ีทําการออกแบบโดยคา L = 2.4 mH 9 รูปที่ 3.4 ขนาดความยาวและพื้นที่หนาตัดของตัวเหนี่ยวนําท่ีทําการออกแบบโดยคา L = 2.5 mH 10 รูปที่ 4.1 ภาพโดยรวมของเครื่องผาตัด 11 รูปที่ 4.2 วงจรของเครื่องผาตัด 12 รูปที่ 4.3 บล็อคไดอะแกรมแสดงสวนตางๆของวงจร 13 รูปที่ 4.4 วงจรการตอวัดคาหมอแปลง 13 รูปที่ 4.5 การตอวัดแรงดันของวงจรซัพพลายที่จายใหวงจรภาคขยาย 14 รูปที่ 4.6 Wave Form ของจุดที่ 1ท่ีจายให Topcap 15 รูปที่ 4.7 หลอดสุญญากาศ 6146B ของจริง 15 รูปที่ 4.8 เม่ือจายคา Voltage ต่ําๆ 16 รูปที่ 4.9 เม่ือจายคา Voltage สูงขึ้น 17 รูปที่ 4.10 วงจรการทดลองขยายสัญญาณโดยใช Function Genaretor จายใหวงจรขยาย 17 รูปที่ 4.11 Input และ จากการวัดวงจรขยายสัญญาณโดยใช Function Genaretor จายใหวงจรขยาย 18 รูปที่ 4.12 วงจรการตอวัดคาความถี่ท่ีวงจร Osillator 18 รูปที่ 4.13 Wave From ท่ีวัดไดจากขาท่ี 5 และ Topcap 19 รูปที่ 4.14 Wave Form ของ Input เม่ือตอวงจรออสซิเลเตอร 19 รปูที่ 4.15 Wave Form ของ Output เม่ือตอวงจรออสซิเลเตอร 20

Page 9: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

ฉ สารบัญตาราง

หนา ตารางที่ 1.1 แสดงแนวทางระยะเวลาดําเนินการ 2

Page 10: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

1บทที่ 1 บทนํา

1.1 ที่มาของโครงการ ในปจจุบันการแพทยมีบทบาทสําคัญมากตอประชาชนทุกๆคนซึ่งในแตละวันมีผูคนที่ตองประสบกับโรคภัยไขเจ็บมากมาย โดยเฉพาะบางโรคที่ไมสามารถรับประทานยาแลวหายไดตองมีการผาตัดซึ่งผูเสนอโครงการมีความสนใจในดานนี้และเพ็งเล็งเห็นประโยชนของการผาตัดซึ่งการแพทยไทยตองเสียเงินทองมากมายในการสั่งซื้ออุปกรณการผาตัดจากตางประเทศซึ่งมีราคาสูงมาก การทําโครงการเครื่องผาตัดโดยใชความถี่วิทยุนี้เปนการศึกษาเก่ียวกับเรื่องการทํางานของเครื่องผาตัดโดยใชความถี่ผานหวงไฟฟา (Eletrtode) ใชสําหรับผาชิ้นเนื้อเพ่ือนําไปวินิจฉัยและรักษาโรคมะเร็งปากมดลูกในเยื่อบุ ซึ่งในการผาตัดทํางายและรวดเร็ว ภาวะแทรกซอนต่ําและท่ีสําคัญเนื้อเยื่อท่ีตัดออกสามารถนําไปตรวจพยาธิวิทยาได การผาตัดเนื้อเยื่อท่ีปากมดลูกดวยหวงไฟฟาเปนหัถการที่นํามาใชดูแลรักษาสตรี เพ่ือผาตัดชิ้นเนื้อเพ่ือวินิจฉัยและรักษาโรคมะเร็งปากมดลูกภายในเยื่อบุ ในป 1981 Cartier เปนคนแรกที่ใชหวงไฟฟาขนาด 5 × 5 mm. มาใชในการตัดชิ้นเนื้อปากมดลูก ตอมา Prendiville และคณะไดใชหวงขนาดใหญกวาและดัดแปลงเทคนิคพ้ืนฐานใหม โดยบริเวณ Tranformation Zone (TZ) ของปากมดลูกท้ังหมดเรียกวา Large Loop Excision of the Tranformation zone (LLETZ) เปนคํานิยมที่ใชเรียกกันในยุโรปและจากนั้น Wright และคณะไดใชหวงขนาดเล็กและใหญเรียกวา Loop Electrosurgical Exicision Procedure (LOOP) นิยมเรียกกันในอเมริกา 1.2 ขอบขายงาน

1. สรางแหลงจายกระแสไฟฟาความถ่ีสูงปอนผานเขาไปท่ีหวงโลหะ 2. ทดลองทําการผาตัดชิ้นเนื้อโดยใชเนื้อหมูเปนเนื้อเยื่อทดลอง

Page 11: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

21.3 แนวทางระยะเวลาในการดําเนินการ ตารางที่ 1.1 แสดงแนวทางระยะเวลาดําเนินการ

เดือน ป กิจกรรม มิ.ย.

46 ก.ค.46

ส.ค.46

ก.ย.46

ต.ค.46

พ.ย. 46

ธ.ค.46

ม.ค.47

ภาคการศึกษาตน 1.ศึกษาการทํางานภาพรวมของวงจรคราวๆ 2.ศึกษาการทํางานของวงจรแหลงจาย 3.ศึกษาการทํางานของวงจรภาคขยาย

ภาคการศึกษาปลาย 4.ศึกษาการทํางานของวงจรออสซลิเลเตอร 5. ประวงจรทั้งหมดรวมกัน 6. ประกอบวงจรทัง้หมดรวมกัน 7.ทํารายงานฉบับสมบูรณนําเสนอ

1.4 ผลที่คาดวาจะไดรับ

1. ไดเรียนรูหลักการทํางานของภาพรวมของวงจรเครื่องผาตัดโดยใชความถี่วิทยุ 2. ไดเรียนรูหลักการทํางานของวงจรแหลงจาย 3. ไดเรียนรูหลักการทํางานของวงจรภาคขยาย 4. ไดเรียนรูหลักการทํางานของวงจรออสซิลเลเตอร 5. สามารถนําเครื่องผาตัดโดยใชความถี่สูงมาใชงานไดจริงจากอุปกรณที่ราคาถูกกวาตางประเทศ

Page 12: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

3บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐาน

2.1 หลักการทํางานของเครื่องผาตัดโดยใชความถี่วิทยุ มีหวงไฟฟา (Eletrtode) เปนอุปกรณใชตอรวมกับตัวเครื่องกําเนิดสัญญาณ (Electrosurgical

Generator) หลักการคือเม่ือจายกระแสไฟฟาสลับความถี่สูง เขาไปในหวงโลหะ (Active electrode) ซึ่งมีพ้ืนที่ผิวนอยมาก ทําใหมี Current Density สูงมีความหนาแนนของอิเล็กตรอนมาก สงผลใหเกิดความรอนขึ้นและมีผลตอเนื้อเยื่อได 3 อยาง คือ ตัดใหขาดจากกัน (Cutting) จ้ีแบบตื้น (Fulgurating) และจ้ีแบบลึก (Desiccating) เม่ืออิเล็กตรอนวิ่งออกจากหวงโลหะ เขาสูเนื้อเยื่อก็จะมุงไปยัง Return Eletrode หรือ Ground Plant ซึ่งมีพ้ืนที่ผิวมากทําให Current Density ต่ํา ไมเกิดความรอนขึ้นมาทั้งการตัดและจ้ีแบบตื้นเกิดขึ้นขณะ Active Eletrode ไมสัมผัสกับเนื้อเยื่อเทานั้น สวนการจ้ีแบบลึกนั้นเกิดขึ้นเมื่อหวงโลหะสัมผัสกับเนิ้อเยื่อโดยตรง

รูปที่ 2.1 ตัวเครื่อง Eletrosurgical Generator ตนแบบ

Page 13: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

4

2.2 รูปคลื่นของก มีลักษณะแบบBlended Waveform

รูปที่ 2.2 Active Eletrode หรือหวงโลหะ

ระแสไฟฟาสลับ Sinusoidal Pattern แบงออกเปน 3 รูปแบบ คือ Cut Waveform , Coag Waveform และ

รูปที่ 2.3 Cut Waveform

Page 14: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

5 1. คัทเวฟฟอรม (Cut Waveform) : High Current , Low Voltage Waveform นี้ทําใหอุณหภูมิในเนื้อเยื่อสูงขึ้นรวดเร็ว (มากกวาหรือเทากับ100°c) ทําใหน้ําในเซลล

ระเหยกลายเปนไอ (Vaporization) และเนื้อเยื่อแยกออกจากกันโดยมีความรอนกระจายออกขางเคียงนอยที่สุด จึงมี Thermal Injury ตอเนื้อเยื่อเกิดขึ้นนอยที่สุด ขณะตัดเนื้อเยื่อหวงไฟฟาจะเคลื่อนผานไปในไอน้ําท่ีระเหยออกมาอยูระหวางเนื้อเยื่อกับตัวหวง (Steam Envelope) โดยหวงจะไมสัมผัสกับเนื้อเยื่อโดยตรงดังนั้นขณะที่ตัดเนื้อเยื่อ ถาเคลื่อนหวงเร็วและแรงเกินไปหวงจะสัมผัสกับเนื้อเยื่อ Steam Envelope จะหายไป ทําใหตัดเนื้อเยื่อไมขาด และมีผลตอเนื้อเยื่อแบบจ้ีลึกแทน

รูปที่ 2.4 coagwave form

2. เคิกเวฟฟอรม (Coag Waveform) : Low Current , High Voltage Waveform นี้มีลักษณะของ Sinwave ท่ีไมตอเนื่องคือมีระยะที่มีกระแสไฟฟาปลอยออกมาเปนชวงๆ

สลับกับระยะที่ไมมีกระแสไฟฟา ซึ่งทําใหเนื้อเยื่อเย็นลง (Cooling Effect) แทรกระหวางการจี้ อุณหภูมิของเนื้อเยื่อบริเวณนั้นจะเพิ่มขึ้นอยางชาๆ ไมเกิน 100 °c ทําใหโปรตีนในเซลลจับตัวกัน เนื้อเยื่อจะแหงเหมือนถูกไฟไหม (Eschar) ทําใหเลือดหยุดเกิด Coagulation Effect ขึ้นยังแบงเปน 2 ชนิดคือ Fulgulation และDesccation ตามความลึกของการทําลายเนื้อเยื่อท่ีเกิดขึ้น

3. แบลนดเวฟฟอรม (Blanded Waveform) เปนการผสมระหวาง Cut และ Coag Waveform โดยมีระยะหยุดปลอยกระแสไฟฟานาน 20 –50 %

ของเวลาทั้งหมดทําใหคุณสมบัติท้ังการตัดและจ้ีแตกตางกันไปมี 3 แบบ คือ Blend1 (On 80% , Off 20%) Blend2 (On 60% ,Off 40%) Blend3 (On 50%, Off 50%) โดยมีความลึกของ Coagulation เพ่ิมขึ้นตามลําดับ

4. รูปคลื่นที่ใชในการทดลอง ในการทําโครงการเครื่องผาตัดโดยใชความถี่วิทยุนี้เราจะใชการตอวงจรและศึกษาเฉพาะ Cut

Waveform ท่ีใชในการตัดเทานั้น

Page 15: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

6 2.3 การทํางานเครื่องตัดจี้ไฟฟา เครื่องตัดจ้ีไฟฟาเปนเครื่องไดอะเธอมียท่ีใชอิเล็กโตรดโดยเฉพาะ อิเล็กโตรดที่ใชมี 2 ชนิดคือ Indiffenrt Eletrode ซึ่งเปนแผนโลหะขนาดใหญมีพ้ืนที่สัมผัสกับผิวหนังของผูปวย เม่ือมีกระแสไฟฟาไหลผานจึงถูกแบงกระจายไปไมทําใหเกิดความรอน สวนอิเล็กโตรดอีกอันหนึ่งอาจทําเปนครีมปากคีบหรือโลหะปลายเล็กซึ่งทําใหเกิดความรอนที่เนื้อเยื่อ ใชหามเลือดหรือตัดเนื้อไดจึงเรียกวา Eletrotomy , Eletrocoagulation , Eletrofulgulationand Eletrodesiccation คลื่นไฟฟาท่ีใชในการจ้ีมี 2 อยาง คลื่นไฟฟารูปไซน และ Damped Spark Discharge ระบบตางๆของเครื่องจ้ีไฟฟาในรูปที่ 2.5 ในการทํางาน ไฟฟาจากแหลงจายภายหลังจากที่ผานทรานฟอเมอรเพ่ิมศักยไฟฟา อาจแบงเปน 2 ทางคือผานชอง Spark หรือผาน Vaccuum Tube Amplifier พรอมกันนั้นสวิตชจะนําไปสูวงจรรีโซแนนทท่ีเหมาะสมกันดวย เม่ือศักไฟฟาของขดเซ็คคันดารีในทรานฟอเมอรชนิดเพ่ิมศักยไฟฟามีคาสูงสุด จะเกิด Break Down Voltage ของชอง สปารคจึงปลอยไฟฟาออกมา พลังงานท่ีกับไวในคาปาซิเตอรขณะท่ีศักยไฟฟาเพ่ิม ก็จะปลอยออกและแกวงไปมาระหวางสนามแมเหล็กของอินดักเตอรและสนามไฟฟาของคาปาซิเตอรสนามแมเหล็กสวนหนึ่งจะเหนี่ยวนําใหมีศักยไฟฟาออกไปทางขดลวดสงออกเพ่ือนําไปใช โดยการจัด Indifferent Eletrode และหัวสําหรับตัดหรือจ้ีใหเหมาะสม จะทําใหเกิดกระแสไฟฟาไหลเขาไปในตัวผูปวย ความเขมของกระแสไฟฟาไปที่ปลายหัวสําหรับจ้ีหรือตัดสูงมาก จึงสามารถทําอันตรายตอเนื้อเยื่อนั่นคือสามารถตัดเนื้อเยื่อไดนั่นเอง

รูปที่ 2.5 Block Diagram เครื่องตัดจี้ดวยไฟฟา

Page 16: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

7 2.4 ขอดีขอเสีย ขอดี

1. เครื่องมือทนตอการใชงาน 2. การฝกหัดเทคนิคการใชงานทําไดงาย ไมตองการทักษะพิเศษ 3. ชิ้นเนื้อท่ีตัดออกมาสามารถสงตรวจทางพยาธิวิทยาไดเพ่ือยืนยันผลวิฉัยเบื้องตนทางเซลลวิทยา,

ทางพยาธิวิทยาคลีนิค 4. เปนหัตถการท่ีสามารถปรับเปลี่ยนขนาดของชิ้นเนื้อท่ีตองตัดออกไดตามขนาดของรอยโรค 5. เม่ือใชในรูปแบบ See-And–Treat สามารถวินิจฉัยและรักษาไดในครั้งเดียวกัน 6. เปนหัถการที่ใชเวลาทั้งหมดในการทํานอยไมถึง 10นาที ใชยาชาเฉพาะที่และทําผูปวยนอกได 7. หลังผาตัด 6 เดือนสามารถมองเห็น TZ ไดชัดเจนถึง 91.2% ของผูปวย ทําใหติดตามการรักษา

ดวย Pap Smear และคอลโปสโคปไดงาย ขอดอย

1. ถาเทคนิคไมดี อาจกอใหเกิด Thermal Destruction อยางรุนแรง และชิ้นเนื้ออาจถูกตัดขาดเปนชิ้น เล็กชิ้นนอย

2. อาจเกิด Thermal Injury ตอชองคลอดและตําแหนงท่ีวาง Ground Pad 3. มีเลือดออกจากบริเวณที่ตัดชิ้นเนื้อภายหลังการทําหัถการ 4. มีการติดเชื้อของเนื้อเยื่อออนภายหลังจากการทําหัถการ 5. อาจเปนการรักษาเกินความจําเปนหากนําไปใชตั้งแตขั้นตอนแรกในการตรวจสอบสตรีท่ีมีอายุนอย

และมี Pap Smear ผิดปกติแค LGSIL

Page 17: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

8

บทที่ 3 การออกแบบ

3.1 การออกแบบตัวเหนี่ยวนํา (Inductor)

ในวงจรเครื่องผาตัดนี้พารามิเตอรตางๆ ในวงจรนั้นทําการคัดลอกมาจากเครื่องตนแบบดังนั้นในการออกแบบจึงทําการออกแบบการพันคาตัว Inductor ท่ีใชในวงจรเทานั้นซึ่งมีอยู 3 ขดในวงจร เนื่องจากวงจรเครื่องผาตัดฯเปนวงจรความถี่สูงเราจึงทําการพัน Inductor โดยใชแกนอากาศเทานั้น เพราะถาใชแกนเหล็กหรือแกนเฟอรไรดท่ีความถี่สูงๆจะทําใหเกิดความรอนที่แกนเนื่องจากการที่เกิดกระแสไหลวนในแกนเหล็กได (Eddy Current) ในการทดลองไดใชทอ PVC เปนแกนกลางในการพัน การพัน Inductor มีสูตรในการคํานวณหาคาจํานวนรอบดังนี้

ℜ = /µA L = N2 / ℜ

∴ N = √ L ℜ Top view Side view

(ก) (ข)

รูปที่ 3.1 รูปแสดงดานการมองบนและดานขางของตัว Induc(ก) ขดลวดดานบน (ข) ขดลวดดานลาง

เม่ือ ℜ = Reluctance (ampere-turn/weber)

µ = Permeability (henry/meter) N = จํานวนรอบของขดลวดที่ใชพัน (turn) L = คาความเหนี่ยวนําของขดลวดที่ใชพัน (henry) A = พ้ืนที่หนาตัดของรอบขดลวด = πr2 (meter2)

= ความยาวของ Inductorท่ีทําการพัน (meter)

torท่ีออกแบบในการพัน

Page 18: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

9

ขดลวดในวงจรนี้มี 3 ขดคือ 20 µH , 2.4 mH , 2.5 mH

1. ขดลวดที่คา L = 20 µH

รูปที่ 3.2 ขนาดความยาวและพื้นที่หนาตัดของตัวเหนี่ยวนําท่ีทําการออกแบบโดยคา L = 20µH

2. ขดลวดที่คา L = 2.4 mH

1.27cm

10 cm.

1.27cm

10 cm.

คาพารามิเตอรท่ีใชมีดังนี้ L = 20µH

= 0.1 m A = π(0.0127)2 = 5.07 m2

µ = ใชแกนอากาศ µr= 1 ดังนั้น µ=µ0 = 4π × 10-7

ℜ = /µA = 0.1/(4π × 10-7×π×0.01272) = 157048148.7

N = √ L ℜ = √20 × 10-6 × 157048148.7 = 56 รอบ

คาพารามิเตอรท่ีใชมีดังนี้ L = 2.4 mH

= 0.1 m A = π(0.0127)2 = 5.07 m2

µ = ใชแกนอากาศ µr= 1 ดังนั้น µ=µ0 = 4π × 10-7

ℜ = /µA = 0.1/(4π × 10-7×π×0.01272) = 157048148.7 N = √ L ℜ = √2.4 × 10-3 ×157048148.7 = 613 รอบ

รูปที่ 3.3 ขนาดความยาวและพื้นที่หนาตัดของตัวเหนี่ยวนําท่ีทําการออกแบบโดยคา L = 2.4 mH

Page 19: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

10

3. ขดลวดที่คา L = 2.5 mH

1.27cm

10 cm.

คาพารามิเตอรท่ีใชมีดังนี้ L = 2.5mH

= 0.1 m A = π(0.0127)2 = 5.07 m2

µ = ใชแกนอากาศ µr= 1 ดังนั้น µ=µ0 = 4π × 10-7

ℜ = /µA = 0.1/(4π × 10-7×π×0.01272) = 157048148.7 N = √ L ℜ = √ 2.5 × 10-3 × 157048148.7 = 626 รอบ

รูปที่ 3.4 ขนาดความยาวและพื้นที่หนาตัดของตัวเหนี่ยวนําท่ีทําการออกแบบโดยคา L = 2.5 mH

เม่ือทําการพันคาแลวเราจะทําการตรวจสอบคาโดยใช LCR มิเตอรในการวัดคาขดลวดที่ทําการพันทั้งหมด

Page 20: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

11บทที่ 4 การทดลองและสรุปผลการทดลอง

4.1 ภาพวงจรโดยรวมของเครื่องผาตัด

รูปที่ 4.1 ภาพโดยรวมของเครื่องผาตัด

Page 21: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

12

รูปที่ 4.2 วงจรของเครื่องผาตัด

Page 22: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

13 4.2 การทดลองที่ทําทั้งหมดในโครงงาน

สามารถแบงการทํางานในสวนตางๆของวงจรได 3 สวนดังนี้ 1. วงจรซัพพลาย 2. วงจรขยายโดยใชหลอดสุญญากาศ 6146B 3. วงจรออสซิเลเตอร

Supply Amplifier Output

Osillator

Input

รูปที่ 4.3 บล็อคไดอะแกรมแสดงสวนตางๆของวงจร

4.2.1 สวนของวงจรซัพพลาย 1. การวัดคาหมอแปลง

รูปที่ 4.4 วงจรการตอวัดคาหมอแปลง

Page 23: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

14 จากรูปที่ 4.4 เม่ือทําการตอวัดแลวไดคาท่ีวัดตามจุดตางๆดังนี้ V1 = 225 V. V2 = 6.7 V. V3 = 342 V. V4 = 342 V. V5 = 688 V. 2. การวัดคาวงจรซัพพลาย เปนการวัดแรงดันของวงจรซัพพลายโดยวัดคาตามจุดที่จะจายใหกับภาคขยายโดยจุดที่ 1 คือจุดจายให Topcap Waveform ท่ีไดดังรูปที่ 4.5

รูปที่ 4.5 การตอวัดแรงดันของวงจรซัพพลายที่จายใหวงจรภาคขยาย

Page 24: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

15 จากรูปที่ 4.6 แรงดันที่วัดไดเปน DC Voltage มีคา 943.3 V.

4.2.2 วงจรข 1. หล

รูปที่ 4.6 Wave Form ของจุดที่1ท่ีจายให Topcap

ยายโดยใชหลอดสุญญากาศ 6146B ักการทํางานของหลอดสุญญากาศ 6146B

รูปท

ี่ 4.7 หลอดสุญญากาศ 6146B ของจริง
Page 25: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

16การทํางานของหลอดเริ่มตนโดยการจายสัญญาณจาก Function Genaretor ผานความตานทานเขาท่ี

ขา 5 (G1) จากนั้นจายไฟกระแสตรงผานตัว Inductor ซึ่งทําหนาท่ีเปน Load ของวงจร สวน Center Tap ตอผานความตานทานแลวตอเขาท่ีขา 3 และขาที่ 2 ,7 ซึ่งเปน Heater ของหลอดจายไฟ AC 6.3 V.ให

เม่ือทําการจายสัญญาณตางๆใหวงจรแลวสามารถอธิบายการทํางานไดดังนี้จากรูปที่ 4.8 เม่ือจายสัญญาณจาก Function Genaretor ท่ีขา 5 (G1) จะเกิดอิเล็กตรอนขึ้น โดยที่ Topcap เปน Anode จะมีศักยเปนบวกจะทําใหเกิด อิเล็กตรอนที่ G1 เคลื่อนที่โดยที่ G2 จะเปนตัวกําหนดการวิ่งของอิเล็กตรอนโดยการกําหนดแรงดันที่จายใหขา 3 ถา Voltage นอยการวิ่งของอิเล็กตรอนจาก G1 จะวิ่งชา ถา Voltage มากการวิ่งของอิเล็กตรอนจะเร็วขึ้นเนื่องจากมีการเรงประจุลบที่ G2 ทําใหเกิดอิเล็กตรอนเปนจํานวนมากและเคลื่อนที่ไปที่ Topcap ท่ีเปน Anode

จะเห็นวาเมื่อจายคา Voltage ต่ําๆจะมีจํานวนอิเล็กตรอนจํานวนหนึ่งท่ี G2 ซึ่งรวมกับ G1 จะเคลื่อนที่ไป ท่ี Topcap ท่ีเปน Anode ซึ่งเปนบวกดังรูปที่ 4.8

แตเม่ือเพ่ิมคา Voltage ขึ้นอิเล็กตรอนที่ G2 มากขึ้นทําใหเกิดการเคลื่อนที่ไปที่ Topcap ท่ีเปน Anode ไดเร็วขึ้นดังรูปที่ 4.9

รูปที่ 4.8 เม่ือจายคา Voltage ต่ําๆ

Page 26: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

17

รูปที่ 4.9 เม่ือจายคา Voltage สูงขึ้น

1 การทดลองขยายสัญญาณโดยใช Function Genaretor จายใหวงจรขยาย ในการทดลองนี้เราตองการขยายสัญญาณที่จุด Output โดยใช Function Genaretor จายสัญญาณรูป

Sine Wave, Triangular Wave และ Squar Wave (สัญญาณใชแทนสัญญาณของวงจร Osillator ซึ่งจะตอภายหลัง)

รูปที่ 4.10 วงจรการทดลองขยายสัญญาณโดยใช Function Genaretor จายใหวงจรขยาย

Page 27: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

18เม่ือใชสโคปทําการวัดที่ Input และ Output แลวไดคาดังนี้

รูปที่ 4.11 รูปคลื่นอินพุทที่วัดจากฟงชันกเจนเนอรเรเจอร

รูปที่ 4.12 รูปคลื่นเอาทพุทที่วัดได จะเห็นวาจายสัญญาณจาก Sinwave 10 Vp-p จาก Function Genaretor แลวคา Output มีคาสูงขึ้น

เปน Sine Wave 318 Vp-p ซึ่งแสดงวาหลอดหลอดสุญญากาศ 6146B ทําการขยายสัญญาณที่จายใหขา 5 ซึ่งการทดลองตอไปจะนําวงจร Osillator มาทําการตอแทน Function Genaretor

Page 28: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

19 4.2.3 วงจรออสซิเลเตอร

1 การตอวัดคาความถ่ีท่ีวงจร Osillator จายใหวงจรขยาย

รูปที่ 4.13 วงจรการตอวัดคาความถี่ท่ีวงจรOsillator

ทําการตอวงจรตามรูปที่ 4.2 จากนั้นทําการวัดคา Input เทียบกับ Output มี Wave form ดังนี้โดยทําารวัดที่ขา 5 และวัดที่ Topcap

รูปที่ 4.14 Waveform ของ Input เม่ือตอวงจรออสซิเลเตอร

Page 29: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

20

4.3 สรุป

จVp-p ปราอัตราขยายแรงดันไมเคาประมาณสามารถที่จ2 kV. 2 Mแกไขในกาสามารถจา

รูปที่ 4.15 Waveform ของ Output เม่ือตอวงจรออสซิเลเตอร

ผลการทดลอง ากการทดลองเมื่อตอวงจรวงจร Supply และวงจรขยาย แลวจาย Function Generator ท่ี 10 กฏวาเกิดการขยาย Amplitude ของแรงดันทําใหแรงดันที่ Output ขยายเปน 300 Vp-p ซึ่งเปน 30 เทา แตพอทําการตอวงจร Osillator เขามาแทนที่ Function Generator ปรากฏวาคากิดการขยายซึ่งเนื่องมาจากการตอแบบ Class C โดยใช Self Osillator คาแรงดันที่จายเขาจะมี Output จะเห็นวาไมเกิดการขยายเลย ปญหาท่ีเกิดขึ้นเนื่องมาจากวงจร Osillator ทําใหไมะทําการผาตัดได เนื่องมาจากแรงดันที่ขยาย ไมสามารถขยายแรงดันและสรางความถี่ท่ีตองการไดคือ Hz สวนคาท่ีไดจากการทดลองจากการตอวงจร Osillator คือ 510 V. 200 kHz ดังนั้นในการรสรางสัญญาณ Osillate ควรที่จะสรางแหลงจายที่สามารถสรางรูปคลื่นสัญญาณขนาด 70 Vp-p และยความถี่ได 2 MHz มาจายใหแทนวงจร Osillator

Page 30: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

21บทที่ 5 สรุปวิจารณและขอเสนอแนะ

5.1 สรุปวิจารณ

ในการทําโครงการ 2003-68 เครื่องผาตัดโดยใชความถี่วิทยุ จากการทดลองพบวาการทํางานโดยรวมของวงจรคือจายไฟฟา 220 V. ทางขด Primary ซึ่งจะมีแรงดันทางขด Secondary 2 สวนคือตอผานวงจร Brigde เปนไฟ DC แลวจายใหที่สวนหัวของหลอด (Topcap) ในสวนของตัวหลอดจะเปนตัวขยายสัญญาณโดยเมื่อไดรับไฟจากสวนแหลงจายแลวยังรับสัญญาณ Osillate ที่มีความถี่สูงจากวงจร Osillator ซึ่งวงจรขยายจะทําหนาท่ีขยาย Voltage ใหมีคาแอมปลิจูดสูงขึ้นและจายสัญญาณออกทาง Output ดังนั้น Output ที่ไดจึงเปนสัญญาณที่มี Voltage และความถี่สูง แตในการทดลองยังไมสามารถทําใหเกิดแรงดันที่ตองการไดยังตองมีการแกไขและปรับปรุงโครงงานตอไป 5.2 ปญหาที่พบในการทดสอบโครงการ 1.ใชเวลานานพอสมควรเนื่องจากอุปกรณในการทดลองคอนขางจะหายากจะตองสั่งซื้อจึงตองใชอุปกรณที่มีคุณสมบัติใกลเคียง 2. ในการวัดคากระแสและแรงดันบางจุดในวงจรนั้นไมสามารถวัดไดโดยตรงจาก Meter เพราะคาแรงดันของวงจรนั้นมีคาสูงมากจึงตองใชวงจร Voltage Divider เขามาชวยในการวัดและคํานวณหาคาท่ีแทจริงอีก 3. คา Inductor (2.4 mH) ที่ใชในการทดลองจากวงจรตนแบบตรงที่ Topcap ซึ่งเปน Load ของวงจรขยายนั้นเมื่อทําการพันแลวตอในวงจรปรากฏวาคานี้ไมสามารถทําใหเกิดการ Osillate ในวงจรไดจึงตองทําการพันคา Inductor ที่คาตางๆแลวทําการตอดูวาเกิดการ Osillate หรือไมเกิดขยายแอมปลิจูดเทาใดที่ความถี่ที่มีคาเปน MHz 5.3 ขอเสนอแนะ ในการทดลองนี้เนื่องจากสัญญาณที่ออกมาจากภาคขยายนั้นมีแรงดันสูงมากฉะนั้นผูทดลองจะตองรอบคอบและตรวจสอบวงจรเปนอยางดี

1. ควรมีการติดตั้ง Fuse ไวในวงจรเพื่อปองกันอันตรายจากกระแสสูงๆในวงจร 2. หมอแปลงที่จายใหวงจรและหลอดในการทําโครงการนี้ไดสั่งพันหมอแปลงจากทางราน ควรที่จะสั่ง

หมอแปลงท่ีทนกระแสไดมากกวาเดิมเล็กนอย เพราะถาในการทดลองเกิดมีกระแสไหลเกินหมอแปลงจะไดไมเสียหาย

3. เม่ือหลอดสุญญากาศ 6146B ทํางานจะเกิดความรอนสูง บริเวณที่ทดลองควรมีอากาศถายเทพอสมควรและไมวางอุปกรณอ่ืนๆใหใกลหลอดขณะที่ทดลองอยู

4. เพ่ือปองกันการผิดพลาดในการวัดควรมีการเซ็ทคาอุปกรณที่วัดเสียกอน เชนควรทําการ Calibrate สโคปเสียกอนที่จะวัดและดูที่สาย Prob วาตัวคูณเปนเทาใดโดยสาย Prob ทั่วไปมีตัวคูณ 2 คาคือ ×1และ ×10

5. การตอวัดคา Voltage และ Current ควรมีการใชวงจร Voltage divider และ Current divider เขามาตอรวมในการวัดคาแรงดันและกระแส เพ่ือปองกันเครื่องวัดแลวจึงคํานวณหาคาท่ีแทจริง 6. ในการตอทดลองควรมีการทําฐานเพื่อรองรับอุปกรณทั้งหมดและจัดเรี่ยงอุปกรณใหเปนระเบียบ รวบสายที่ตอวงจรเขาดวยกันโดยใชเข็มขัดรัดสาย

Page 31: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

22เอกสารอางอิง

1. DiSaia PJ, Creasman WT, editors. Clinical Gynecologic Oncology. 5th ed. St. Loius: Mosby Year Book; 1997: 26-7.

2. Cartier R. Practical colposcopy. 2nd ed. Paris: Laboratolie Cartier,1984 : 139-56. 3. Prendiville W, Cullimore J, Norman S. Large loop excision of the tranformation zone

(LLETZ) : a new method of management for women with cervical intraepithelial neoplasia. Bri J Obstet Gynecol 1989; 96: 1054-60.

4. Wright TC Jr, Gagnon S, Richart RM, Ferenczy A. Treatment of cervical intraepithelial neoplasia using the loop electrosurgical excision procedure. Obstet Gynecol 1992;79 : 173-8

5. Soderstrom R. Principles of electrosurgery as applied to gynecology. In : Rock JA, Thompson JD, editors. Operative gynecology. 8th ed.

Page 32: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

โครงการที ่2003-68

เครื่องผาตัดโดยใชความถี่วิทยุโดย

นายชัชวาล ทองทํามา เลขรหัสประจําตัว 443040136-1

นายสุทธิภาคย สุขสนิท เลขรหัสประจําตัว 443040245-6

Page 33: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

จุดประสงคของโครงงาน

สรางเครื่องกําเนิดสัญญาณความถี่อยูในยาน 1-2 MHz ทีแ่รงดัน 2KV.

นําสัญญาณนี้ไปจายผาน eletrode ซึ่งเปนลวดที่ใชสาํหรับการใชตัดเนื้อเยื่อ

ไฟ 220Vความถี่ 50Hz

Input

ตัวเครื่องผาตัด

Process

ไฟ 2000Vความถี่ 1- 2MHz

Output

Page 34: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

การทํางานของวงจรแบงการทาํงานของวงจรเปน 3 สวน ไดดงันี้

1. วงจรซัพพลาย

2. วงจรขยายโดยใชหลอด 6146B

3. วงจรออสซิลเลเตอร

Page 35: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

ภาพโดยรวมของเครื่องผาตัดที่ทําในโครงงาน

Page 36: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

บล็อกไดอะแกรมของวงจร

OutputSupply

Osillator

AmplifierInput

Page 37: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

การวัดคาหมอแปลง

225V

6.7V

342V

342V

688V

Page 38: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

การวัดคาวงจรซัพพลาย1

ทําการวัดคาWave formที่จุดที่ 1 ( No load )

Page 39: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

943.3V500V

Wave form ที่จุดที่ 1

Page 40: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

วงจรขยายโดยใชหลอด6146B

ฐานรองขั้วหลอด

ตัวหลอด

TOPCAP

หลอดสุญญากาศ6146B

Page 41: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

การทดลองขยายสัญญาณ

โดยใชFunction Generatorจายใหวงจรขยาย

Function

Generator

วงจรขยาย

วัด OUTPUT

วัด INPUT

Page 42: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

50V

300Vp-p10Vp-p

5V.

สัญญาณที่ไดทางInput

วัดจากFunction Generator

สัญญาณที่ไดทางOutput

Page 43: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

การทดลองโดยใชวงจรOsillatorเมื่อทําการทดลองโดยจาย Function Generator จนวงจรขยายทํางานและขยายสัญญาณแลว

จากนั้นเราจะทําการตอวงจร Osillator ซึ่งเปนวงจรสุดทายที่ตอรวม

Osillator Circuit

Amplifier CircuitSupply Circuit

วัด INPUT

วัด OUTPUT

Page 44: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

100V.

510Vp-p 510Vp-p

100V.

INPUT OUTPUT

Page 45: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองเมื่อตอวงจรวงจรSupply และวงจรขยาย แลวจาย Function Generator ที่ 10 Vp-p ปรากฏวาเกิดการขยาย Amplitude ของแรงดันทําใหแรงดันที่Output ขยายเปน300Vp-p ซึ่งอัตราขยายเปน 30 เทา

แตพอทาํการตอวงจรOsillator เขามาแทนที่ Function Generator ปรากฏวาคาแรงดันไมเกิดการขยายซึ่งเนื่องมาจากการตอแบบClass Cโดยใช Self Osillator คาแรงดันที่จายเขาจะมีคาประมาณ Output จะเห็นวาไมเกิดการขยายเลย

Page 46: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

ปญหาและอุปสรรคในการทดลอง

1.ในการทดลองแตละครั้งคาของ Load Inductor ที่หัวTopcap จะเปนตัวกําหนดจุดทํางานของหลอดที่ความถี่ตางกัน ฉะนัน้ในการทดลองที่ความถีต่างกัน คาของ Load Inductor จะตองเปลี่ยนแปลงตามไปดวย2. ในการพัน Inductor เราตองใชแกนอากาศในการพัน เพราะถาใชแกนเหล็กและแกนเฟอรไรดเมื่อความถี่สูงๆจะเกิดความรอนที่แกน3. เนื่องจากการทดลองที่ความถี่สูงๆทําใหเกิดNoise รบกวนงาย4.ในการตอวงจร Osillator ไมเกิดการขยายสัญญาณเมื่อตอเขาวงจรขยาย

Page 47: เครื่ องผัาตดโดยใช ความถี่วิุ ทยeestaff.kku.ac.th/~krit/book_project4/Project B4/2546... · 2006. 4. 6. · รายงานโครงการหมายเลข

แนวทางการแกไขและพัฒนา

1.ทําการสรางแหลงจายที่สามารถจายความถี่ในยาน 1-2 MHzและคาแรงดันที่ประมาณ 70Vp-p และจายกระแสที่20mA. เพื่อจายใหวงจรขยาย