บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 ....

22
บทท 3 ดําเน นการว จัย การพัฒนาคู อการเร ยนรู วชาภาษาไทย โดยใชการเร ยนแบบร วมม อร วมกับ การสอนอานแบบ PANORAMA เพ ่อเสร มสร างทักษะการอ าน การค ดว เคราะห และผลสัมฤทธ ์ทางการเร ยน ของนักเร ยนชั นมัธยมศ กษาป 2 ผู จัยได ดําเนนการ ตามขั นตอนของการว จัย ดังต อไปน 1. ประชากรและกลุ มตัวอยาง 2. แบบแผนการว จัย 3. เคร ่องมอท ่ใช ในการวจัย 4. การสร างและการหาประส ทธ ภาพของเคร ่องม 5. การเก็บรวบรวมข อมูล 6. การว เคราะห อมูล 7. สถ ่ใช ในการว เคราะหข อมูล ประชากรและกลุมตัวอยาง 1. ประชากร ประชากรท ่ใช ในการว จัยครังน ได แก นักเร ยนชั นมัธยมศ กษาป 2 ภาคเร ยนท 2 การศ กษา 2558 โรงเร ยนในสังกัดองคการบร หารส วนจังหวัดสกลนคร จํานวน 6 โรงเร ยน ได แก โรงเร ยนสกลทวาป โรงเร ยนร มไทรว ทยา โรงเร ยนภูด นแดงว ทยา โรงเร ยนธาตุทองอํานวยว ทย โรงเร ยนเด ่อศร ไพรวัลย และโรงเร ยนคํายางพ ทยาคม จํานวนนักเร ยน 452 คน จํานวน 11 หองเร ยน 2. กลุมตัวอยาง กลุ มตัวอย างท ่ใช ในการว จัยครั งน ได แก นักเร ยนชั นมัธยมศ กษาป 2/1 โรงเร ยนร มไทรว ทยา สังกัดองค การบร หารส วนจังหวัดสกลนคร ภาคเร ยนท 2 การศ กษา 2559 จํานวน 25 คน ได มาโดยการสุ มแบบแบ งกลุ (Cluster Random Sampling) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

Upload: others

Post on 25-Sep-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

บทที่ 3

วธิดํีาเนนิการวจัิย

การพัฒนาคูมอืการเรยีนรูวิชาภาษาไทย โดยใชการเรยีนแบบรวมมอืรวมกับ

การสอนอานแบบ PANORAMA เพื่อเสรมิสรางทักษะการอาน การคดิวเิคราะห

และผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีน ของนักเรยีนช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2 ผูวจัิยไดดําเนินการ

ตามขัน้ตอนของการวจัิย ดังตอไปนี้

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง

2. แบบแผนการวจัิย

3. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

4. การสรางและการหาประสทิธภิาพของเครื่องมอื

5. การเก็บรวบรวมขอมูล

6. การวเิคราะหขอมูล

7. สถติทิี่ใชในการวเิคราะหขอมูล

ประชากรและกลุมตัวอยาง

1. ประชากร

ประชากรที่ใชในการวจัิยครั้งนี้ ไดแก นักเรยีนช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2

ภาคเรยีนที่ 2 ปการศกึษา 2558 โรงเรยีนในสังกัดองคการบรหิารสวนจังหวัดสกลนคร

จํานวน 6 โรงเรยีน ไดแก โรงเรยีนสกลทวาป โรงเรยีนรมไทรวทิยา โรงเรยีนภูดนิแดงวทิยา

โรงเรยีนธาตุทองอํานวยวทิย โรงเรยีนเดื่อศรไีพรวัลย และโรงเรยีนคํายางพทิยาคม

จํานวนนักเรยีน 452 คน จํานวน 11 หองเรยีน

2. กลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยางที่ใชในการวจัิยครัง้นี้ ไดแก นักเรยีนช้ันมัธยมศกึษาปที ่2/1

โรงเรยีนรมไทรวทิยา สังกัดองคการบรหิารสวนจังหวัดสกลนคร ภาคเรยีนที่ 2

ปการศกึษา 2559 จํานวน 25 คน ไดมาโดยการสุมแบบแบงกลุม (Cluster Random

Sampling)

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 2: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

112

แบบแผนการวิจัย

ในการวจัิยครัง้นี้ ผูวิจัยใชแบบแผนการวจัิยเชิงทดลอง (Experimental

Reseaech) แบบ One Group Pre-test Post-test Design ปรากฏในตาราง ดังนี้

ตาราง 4 แบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง One Group Pre-test Post-test Design

การทดสอบกอนการทดลอง ตัวแปรทดลอง การทดสอบหลังการทดลอง

1T X 2T

เมื่อ X แทน วธิกีารจัดการเรยีนรูโดยใชคูมอืการเรยีนรูวชิาภาษาไทย

โดยใชการเรยีนแบบรวมมอืรวมกับการสอนอาน

แบบ PANORAMA

1T แทน การทดสอบกอนที่จะทําการทดลอง (Pretest)

2T แทน การทดสอบหลังจากทําการทดลอง (Posttest)

เครื่องมอืท่ีใชในการวิจยั

เครื่องมอืที่ใชในการวิจัยแบงออกเปน 2 ประเภท ประกอบดวยเครื่องมอืที่ใช

ในการทดลอง และเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ดังนี้

1. เครื่องมือที่ใชในการทดลอง คอื คูมอืการเรยีนรูวชิาภาษาไทย

โดยใชการเรยีนแบบรวมมอืรวมกับการสอนอานแบบ PANORAMA เรื่อง การอาน จํานวน

11 ชุด

2. เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ไดแก

2.1 แบบทดสอบวัดทักษะการอาน วชิาภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2

เปนแบบปรนัยชนดิ 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ขอ

2.2 แบบทดสอบวัดการคดิวเิคราะห เปนแบบทดสอบปรนัยชนดิ

เลอืกตอบ 4 ตัวเลอืก จํานวน 30 ขอ

2.3 แบบทดสอบวัดผลสมัฤทธิ์ทางการเรยีน วชิาภาษาไทย

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 3: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

113

ช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2 เปนแบบปรนัยชนดิ 4 ตัวเลือก จํานวน 40 ขอ

2.4 แบบประเมนิความฉลาดทางอารมณของกรมสุขภาพจติ สําหรับ

วัยรุน (อายุ 12–17 ป) จํานวน 52 ขอ

การสรางและหาประสิทธภิาพของเครื่องมอื

1. คูมอืการจัดการเรยีนรูวชิาภาษาไทย โดยใชการเรยีนแบบรวมมอื

รวมกับการสอนอานแบบ PANORAMA

คูมอืการจัดการเรยีนรูวิชาภาษาไทย โดยใชการเรยีนแบบรวมมอื

รวมกับการสอนอานแบบ PANORAMA ผูวจัิยไดดําเนินการสราง ดังนี้

1.1 ศกึษาหลักสูตรแกนกลางการศกึษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

กลุมสาระการเรยีนรูภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2

1.2 ศกึษาการจัดการเรยีนรูโดยใชการเรียนรูแบบรวมมือและศกึษา

การสอนอานแบบ PANORAMA เพื่อใหทราบแนวทางการจัดกจิกรรมการเรยีนรู

1.3 วเิคราะหความสัมพันธของเนื้อหา สาระการเรยีนรูตัวช้ีวัดจุดประสงค

การเรยีนรู ความมุงหมายของหลักสูตร เวลาเรยีน ของนักเรยีนช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2

เพื่อนํามาประกอบการวางคูมอืการเรยีนรูรายวชิา ภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2

จํานวน 11 แผน เวลา 40 ช่ัวโมง ดังตาราง 5

ตาราง 5 การจัดหนวยการเรียนรู เนื้อหาและจํานวนช่ัวโมงเรยีน

หนวยการเรยีนรู เนื้อหา จํานวน

ช่ัวโมง

1 การอานจับใจความบทความ 3

2 การอานวรรณคดี 3

3 การอานวรรณกรรม 3

4 บทละครเรื่อง รามเกยีรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก 3

5 อศิรญาณภาษติ 4

6 ศลิาจารกึ หลักที่ 1 4

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 4: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

114

ตาราง 5 (ตอ)

หนวยการเรยีนรู เนื้อหา จํานวน

ช่ัวโมง

7 กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง ตอน พรรณนา

สัตวในปา

4

8 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร 4

9 สามกก ตอน จิวยี่ซอนกลโจโฉ 4

10 บทเสภาสามัคคเีสวก ตอน

วศิวกรรมาและสามัคคเีสวก

4

11 โคลงสุภาษติ พระราชนพินธพระบาทสมเด็จ

พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว

4

รวม 40

1.4 สรางคูมอืการเรยีนรู ซึ่งมอีงคประกอบตอไปนี้

1.4.1 สวนที่ 1 คําแนะนําในการใช

1.4.2 สวนที่ 2 แผนการจัดการเรยีนรู

1.4.2.1 สาระ มาตรมาตรฐานการเรยีนรู ตัวช้ีวัด

1.4.2.2 ผลการเรยีนรู

1.4.2.3 สาระการเรยีนรู

1.4.2.4 กจิกรรมการเรยีนรู ใชวธิกีารเรยีนแบบรวมมอื

รวมกับการสอนอานแบบ PANORAMA ม ี5 ขั้นตอนดังนี้

1) ขัน้เตรยีม

2) ขัน้สอน

3) ขัน้อานโดยใชเทคนคิ PANORAMA

3.1) การสํารวจ

3.2) การคดิตาม

3.3) การจดบันทกึ

4) ขัน้ตรวจสอบผลงานและทดสอบ

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 5: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

115

5) ขัน้สรุปบทเรยีนและประเมนิผลการทํางานกลุม

1.4.6 สื่อ/นวัตกรรม และแหลงเรียนรู

1.4.7 การวัดและประเมินผล

1.5 นําคูมอืการเรยีนรูวชิาภาษาไทย โดยใชการเรยีนแบบรวมมอืรวมกับ

การสอนอานแบบ PANORAMA ที่สรางขึ้นเสนอตออาจารยที่ปรกึษาวทิยานพินธ และ

ผูเช่ียวชาญ 5 ทาน เพื่อวิเคราะหความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) โดยอาศัยดุลพนิจิ

ของผูเช่ียวชาญ ที่มีความรูเรื่องหลักสูตร และดานเนื้อหาวชิา เปนผูพิจารณาโดยใชดัชนี

ความเหมาะสม ระหวางคูมือการจัดการเรียนรูที่ผูวิจัยสรางขึ้น กับจุดประสงคดาน

เนื้อหารวมถึง องคประกอบของแผนการจัดการเรียนรูตามแนวคดิ ทฤษฎ ีโดยผูวิจัย

ออกแบบ แบบประเมนิเปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ สําหรับผูเช่ียวชาญ

5 ทาน ประเมนิ 8 ดาน คอื 1) สวนประกอบของคูมอื 2) ผลการเรยีนรู 3) จุดประสงค

การเรยีนรู 4) สาระการเรยีนรู 5) กจิกรรมการเรยีนรู 6) สื่อ/นวัตกรรม และแหลงเรยีนรู

7) การวัดผลประเมนิผล 8) ใบความรู/ใบงาน ใชเกณฑการประเมนิ ดังนี้

ระดับ 5 หมายถงึ เหมาะสมมากที่สุด

ระดับ 4 หมายถงึ เหมาะสมมาก

ระดับ 3 หมายถงึ เหมาะสมปานกลาง

ระดับ 2 หมายถงึ เหมาะสมนอย

ระดับ 1 หมายถงึ เหมาะสมนอยที่สุดหรอืไมเหมาะสมเลย

โดยกําหนดเกณฑการแปลความหมายคาเฉลี่ยของความคิดเห็น ดังนี้ (บุญชม ศรสีะอาด,

2546, หนา 162)

คาเฉลี่ยตัง้แต 4.51-5.00 หมายถงึ เห็นสอดคลองมากที่สุด

คาเฉลี่ยตัง้แต 3.51-4.50 หมายถงึ เห็นสอดคลองมาก

คาเฉลี่ยตัง้แต 2.51-3.50 หมายถงึ เห็นสอดคลองปานกลาง

คาเฉลี่ยตัง้แต 1.51-2.50 หมายถงึ เห็นสอดคลองนอย

คาเฉลี่ยตัง้แต 0.00-1.50 หมายถงึ เห็นสอดคลองนอยที่สุด

ทัง้นี้ผูเช่ียวชาญ 5 ทาน ประกอบดวย

1.5.1 ดร.อุษา ปราบหงษ อาจารยประจําคณะครุศาสตร มหาวทิยาลัย

ราชภัฏสกลนคร ผูเช่ียวชาญดานหลักสูตรและการสอน

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 6: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

116

1.5.2 ผูชวยศาสตราจารยแจมจันทร สุวรรณรงค อาจารยประจํา

หลักสูตร สาขาวิจัยและพัฒนาการศกึษา มหาวทิยาลัยราชภัฏสกลนคร ผูเช่ียวชาญ

ดานวชิาภาษาไทย

1.5.3 นางปรชิาต ิ ชิณโน ตําแหนง ครูชํานาญการพเิศษ

วชิาภาษาไทย โรงเรยีนบานโพนวัฒนา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศกึษาประถมศึกษา

สกลนคร เขต 1 ผูเช่ียวชาญดานวชิาภาษาไทย

1.5.4 นางปยรัตน สังชาตรี ตําแหนง ครู ชํานาญการพิเศษ

วชิาภาษาไทย โรงเรยีนบานอนิทรแปลง สํานักงานเขตพื้นที่การศกึษาประถมศกึษา

สกลนคร เขต 3 ความเช่ียวชาญดานวชิาภาษาไทย

1.5.5 นายกําแพง ไชยมาตย ตําแหนง นเิทศกชํานาญการพเิศษ

สํานักการศกึษา ศาสนาและวัฒนธรรม องคการบรหิารสวนจังหวัดสกลนคร ความสํานัก

การศกึษา ศาสนาและวัฒนธรรม องคการบรหิารสวนจังหวัดสกลนคร ความเช่ียวชาญ

ดาน หลักสูตรและการสอน

ผลการประเมนิคุณภาพของคูมอืการเรยีนรูวิชาภาษาไทย โดยใชการ

เรยีนแบบรวมมอืรวมกับการสอนอาน แบบ PANORAMA โดยผูเช่ียวชาญ มคีาเทากับ 4.28

หมายความวาคูมอืการจัดการเรยีนรูมคีวามเหมาะสมในระดับมาก

1.6 นําคูมือการเรยีนรูวชิาภาษาไทย โดยใชการเรยีนแบบรวมมอืรวม

กับการสอนอาน แบบ PANORAMA ที่ปรับปรุงแลวไปทดลองใช (Try out) กับนักเรยีน

ช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2 โรงเรยีนสกลทวาป สังกัดองคการบรหิารสวนจังหวัดสกลนคร

จํานวน 100 คน ที่ไมใชกลุมตัวอยาง เพื่อหาขอบกพรองตางๆ และความเหมาะสมของ

กจิกรรมการเรยีนการสอนกับเวลาที่กําหนด เมื่อทราบปญหาตางๆ แลวก็นํามาปรับปรุง

ใหดยีิ่งขึ้นกอนนําไปใชกับนักเรยีนกลุมตัวอยาง

2. แบบทดสอบวัดทักษะการอาน

แบบทดสอบวัดทักษะการอาน วิชาภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2 ผูวจัิย

ไดดําเนนิการสราง ดังนี้

2.1 ศกึษาทฤษฎแีละวธิกีารสรางแบบทดสอบวัดทักษะการอานเนื้อหาเรื่อง

หลักภาษาไทย วรรณคดลีํานํา วรรณกรรมวิจักษณ วชิาภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 7: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

117

2.2 สรางแบบทดสอบวัดทักษะการอาน เปนแบบปรนัยชนดิเลอืกตอบ

4 ตัวเลอืก เนื้อหาเรื่อง หลักภาษาไทย วรรณคดีลํานํา วรรณกรรมวจัิกษณ จํานวน 40 ขอ

ตองการใชจรงิ 30 ขอ

2.4 นําแบบทดสอบที่สรางขึ้นเสนอตออาจารยที่ปรกึษา เพื่อพจิารณา

ความเที่ยงตรงของเนื้อหา ความเหมาะสมของภาษา แลวนําไปปรับปรุงแกไข

2.5 นําแบบทดสอบวัดทักษะการอานที่ปรับปรุงแกไขแลว

เสนอผูเช่ียวชาญประเมนิความสอดคลองระหวางแบบทดสอบวัดการคดิวเิคราะหแตละขอ

กับจุดมุงหมายในการวัด โดยผูเช่ียวชาญชุดเดิม จํานวน 5 ทาน โดยใชแนวคดิการประเมนิ

ดังนี้

ใหคะแนน +1 เมื่อแนใจวา ขอสอบนัน้วัดไดตรงตามจุดประสงคเชิง

พฤตกิรรมที่ระบุ

ใหคะแนน 0 เมื่อไมแนใจวา ขอสอบนัน้วัดตามจุดประสงค

เชิงพฤตกิรรมที่ระบุไว

ใหคะแนน -1 เมื่อแนใจ วา ขอสอบนัน้วัดไดไมตรงตามจุดประสงค

เชิงพฤตกิรรมที่ระบุไว

2.6 วเิคราะหหาคาดัชนคีวามสอดคลองระหวางขอคําถามของแบบทดสอบ

กับจุดประสงคที่ตองการวัด โดยใชสูตร IOC ที่มคีา IOC ตัง้แต .50 ถงึ 1.00 เปนขอสอบ

ที่มีคุณภาพตามเกณฑ ผลการวิเคราะห พบวาคา IOC มีคาระหวาง 0.80-1.00 แสดง

วาแบบทดสอบที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา พรอมทั้งปรับปรุงแกไข

ขอบกพรองที่ผูเช่ียวชาญแนะนําใหสมบูรณขึ้น

2.7 นําแบบทดสอบวัดทักษะการอานมาแกไขตามคําแนะนํา

ของผูเช่ียวชาญแลวนํา ไปทดลอง (Try Out) กับนักเรยีนช้ันมัธยมศกึษาปที่ 3 โรงเรยีน

สกลทวาป จํานวน 100 คน ซึ่งไมใชกลุมตัวอยาง และเคยเรยีนเนื้อหาเรื่อง หลักภาษาไทย

วรรณคดลีํานํา วรรณกรรมวิจักษณ วชิาภาษาไทยช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2 มาแลว

2.8 นําคะแนนของนักเรยีนแตละคนมาเรยีงจากคะแนนสูงสุด

ไปหาต่ําสุด แลวใชเทคนคิ 27% ของ จุง เต ฟาน จากคะแนนกลุมสูงกลุมตํ่าที่ไดแลว

นํามาคํานวณหาคาความยากงาย (Difficulty) (p) และคํานวณหาคาอํานาจจําแนก

(Discrimination Power) (r)

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 8: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

118

การวเิคราะหหาความยาก (p) และคาอํานาจจําแนก (r) รายขอ ซึ่งคา

ความยากมคีาตัง้แต 0 ถงึ 1 ขอสอบที่มคีาความยาก (p) ระหวาง .21 ถงึ .80

เปนขอสอบที่มคีวามยากอยูในเกณฑใชได โดยใชดัชนวีัดคาความยากดังนี้

(สุวมิล ตริกานันท, 2551, หนา 147-150)

.81–1.00 หมายถงึ เปนขอสอบที่งายมาก ไมควรใชหรือปรับปรุง

.61–.80 หมายถึง เปนขอสอบที่คอนขางงาย แตใชได

.41–.60 หมายถงึ เปนขอสอบความยากปานกลาง

เปนขอสอบที่ดมีาก

.21–.40 หมายถงึ เปนขอสอบที่คอนขางยาก แตใชได

.00–.20 หมายถงึ เปนขอสอบที่ยากมาก ไมควรใช

หรอืปรับปรุง สวนเกณฑคาอํานาจจําแนก (r) มคีาตั้งแต -1 ถงึ +1 และคาที่อยู

ระหวาง .20 ถงึ 1.00 เปนเกณฑที่มคีุณภาพ โดยใชดัชนวีัดคาอํานาจจําแนกดังนี้

(สุวมิล ตริกานันท, 2551, หนา 150-162)

คา r ตัง้แต .40 ขึ้นไป แสดงวาขอสอบมคีาอํานาจจําแนก ดมีาก

คา r ตัง้แต .30–.39 แสดงวาขอสอบมคีาอํานาจจําแนก ดี

พอสมควร

คา r ตัง้แต .20–.29 แสดงวาขอสอบมคีาอํานาจจําแนก พอใชได

อาจตองปรับปรุง

คา r ต่ํากวา .19 แสดงวาขอสอบมคีาอํานาจจําแนก ไมดี

ตองปรับปรุง

หากขอใด มคีาความยาก และคาอํานาจจําแนกไมอยูในเกณฑ ก็จะ

ปรับปรุงตัวเลอืกใหมๆ เฉพาะขอนัน้

2.9 นําขอสอบที่คัดเลอืกไวจํานวน 30 ขอ หาความเช่ือม่ันของ

แบบทดสอบโดยวธิกีารคํานวณจากสูตร KR-20 ของ Kuder-Richardson ซึ่งการวเิคราะห

หาคาความเช่ือม่ันของแบบทดสอบทัง้ฉบับพจิารณาตามเกณฑตอไปนี้

.71- 1.00 ถอืวาแบบทดสอบมคีวามเช่ือถอืไดสูง

.30-.70 ถอืวาแบบทดสอบมคีวามเช่ือถอืไดปานกลาง

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 9: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

119

นอยกวา .30 ถอืวาแบบทดสอบเช่ือถอืไดต่ํา

ผลการวเิคราะหคาความยากรายขอ (p) มคีาตั้งแต .24 ถงึ .76

และคาอํานาจจําแนกรายขอ (r) มคีาตัง้แต .30 ถงึ .75 ผลการวเิคราะหคาความเช่ือม่ัน

ของแบบทดสอบทัง้ฉบับเทากับ .78

2.10 นําแบบทดสอบที่เลอืกไว จัดพมิพแบบวัดทักษะการอาน

ทีผ่านการตรวจสอบคุณภาพ จํานวน 30 ขอ เพื่อใชเปนแบบทดสอบกอนเรยีนและ

หลังเรยีนกับนักเรยีนช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2/1 โรงเรยีนรมไทรวทิยา สังกดัองคการบรหิาร

สวนจังหวัดสกลนคร ภาคเรยีนที่ 1 ปการศกึษา 2559 ที่เปนกลุมตัวอยาง จํานวน 25 คน

ตอไป

3. แบบทดสอบการคิดวเิคราะห

แบบทดสอบวัดการคดิวเิคราะห วชิาภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2 ผูวจัิย

ไดดําเนนิการสราง ดังนี้

3.1 ศกึษาทฤษฎแีละวธิกีารสรางแบบทดสอบวัดการคิดวเิคราะห เนื้อหา

เรื่อง หลักภาษาไทย วรรณคดลีํานํา วรรณกรรมวจัิกษณ วชิาภาษาไทย

ช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2 โดยอาศัยหลักการของ Bloom (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ,

2548, หนา 149–154) ดังนี้

3.1.1 วเิคราะหความสําคัญ หมายถงึ การแยกแยะสิ่งที่กําหนด

มาใหวาอะไรสําคัญหรอืจําเปนหรอืมบีทบาทมากที่สุด ตัวไหนเปนเหตุ ตัวไหนเปนผล

3.1.2 วเิคราะหความสัมพันธ หมายถงึ การคนหาวาความสําคัญ

ยอยๆ ของเรื่องราวหรือเหตุการณเกี่ยวพันกันอยางไร สอดคลองหรอืขัดแยงกันอยางไร

3.1.3 วเิคราะหหลักการ หมายถงึ การคนหาโครงสรางและระบบ

ของวัตถุ สิ่งของเรื่องราว และการกระทําตางๆ วาสิ่งเหลานัน้รวมกันจนดํารงสภาพเชนนัน้

อยูไดเนื่องจากอะไรโดยยดึหลัก มีสิ่งใดเปนตัวเช่ือมโยง ยดึหลักการใด มเีทคนคิอยางไร

หรอืยดึคตใิด

3.2 ศกึษาเอกสาร และงานวจัิยที่เกี่ยวของการสรางแบบทดสอบ

วัดการคดิวเิคราะห (สุวทิย มูลคํา, 2548, หนา 66–67)

3.3 สรางแบบทดสอบวัดการคดิวเิคราะห เปนแบบปรนัยชนดิเลอืกตอบ

4 ตัวเลอืก เนื้อหาเรื่อง หลักภาษาไทย วรรณคดีลํานํา วรรณกรรมวจัิกษณ จํานวน 40 ขอ

ตองการใชจรงิ 30 ขอ

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 10: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

120

3.4 นําแบบทดสอบที่สรางขึ้นเสนอตออาจารยที่ปรกึษา เพื่อพจิารณา

ความเที่ยงตรงของเนื้อหา ความเหมาะสมของภาษา แลวนําไปปรับปรุงแกไข

3.5 นําแบบทดสอบวัดการคดิวเิคราะหที่ปรับปรุงแกไขแลว

เสนอผูเช่ียวชาญประเมนิความสอดคลองระหวางแบบทดสอบวัดการคดิวเิคราะหแตละขอ

กับจุดมุงหมายในการวัด โดยผูเช่ียวชาญชุดเดิม จํานวน 5 ทาน โดยใชแนวคดิการประเมนิ

ดังนี้

ใหคะแนน +1 เมื่อแนใจวา ขอสอบนัน้วัดไดตรงตามจุดประสงค

เชิงพฤตกิรรมที่ระบุ

ใหคะแนน 0 เมื่อไมแนใจวา ขอสอบนัน้วัดตามจุดประสงค

เชิงพฤตกิรรมที่ระบุไว

ใหคะแนน -1 เมื่อแนใจ วา ขอสอบนัน้วัดไดไมตรงตามจุดประสงค

เชิงพฤตกิรรมที่ระบุไว

3.6 วเิคราะหหาคาดัชนคีวามสอดคลองระหวางขอคําถามของ

แบบทดสอบกับจุดประสงคที่ตองการวัด โดยใชสูตร IOC ที่มคีา IOC ตัง้แต .50 ถงึ 1.00

เปนขอสอบที่มีคุณภาพตามเกณฑ ผลการวิเคราะห พบวาคา IOC มีคาระหวาง

0.80-1.00 แสดงวาแบบทดสอบที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา พรอมทั้ง

ปรับปรุงแกไขขอบกพรองที่ผูเช่ียวชาญแนะนําใหสมบูรณขึ้น

3.7 นําแบบทดสอบวัดการคดิวเิคราะหมาแกไขตามคําแนะนํา

ของผูเช่ียวชาญแลวนําแบบทดสอบวัดการคดิวเิคราะห ไปทดลอง (Try Out) กับนักเรยีน

ช้ันมัธยมศกึษาปที่ 3 โรงเรยีนสกลทวาป จํานวน 100 คน ซึ่งไมใชกลุมตัวอยาง และเคย

เรยีนเนื้อหาเรื่อง หลักภาษาไทย วรรณคดลีํานํา วรรณกรรมวจัิกษณ วชิาภาษาไทย

ช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2 มาแลว

3.8 นําคะแนนของนักเรยีนแตละคนมาเรยีงจากคะแนนสูงสุด

ไปหาต่ําสุด แลวใชเทคนคิ 27% ของ จุง เต ฟาน จากคะแนนกลุมสูงกลุมตํ่าที่ไดแลว

นํามาคํานวณหาคาความยากงาย (Difficulty) (p) และคํานวณหาคาอํานาจจําแนก

(Discrimination Power) (r)

การวเิคราะหหาความยาก (p) และคาอํานาจจําแนก (r) รายขอ

ซึ่งคาความยากมคีาตัง้แต 0 ถงึ 1 ขอสอบที่มคีาความยาก (p) ระหวาง .21 ถงึ .80

เปนขอสอบที่มคีวามยากอยูในเกณฑใชได โดยใชดัชนวีัดคาความยากดังนี้

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 11: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

121

(สุวมิล ตริกานันท, 2551, หนา 147-150)

.81–1.00 หมายถงึ เปนขอสอบที่งายมาก ไมควรใชหรือปรับปรุง

.61–.80 หมายถึง เปนขอสอบที่คอนขางงาย แตใชได

.41–.60 หมายถงึ เปนขอสอบความยากปานกลาง

เปนขอสอบที่ดมีาก

.21–.40 หมายถงึ เปนขอสอบที่คอนขางยาก แตใชได

.00–.20 หมายถงึ เปนขอสอบที่ยากมาก ไมควรใช

หรอืปรับปรุง สวนเกณฑคาอํานาจจําแนก (r) มคีาตัง้แต -1 ถงึ +1 และคาที่อยู

ระหวาง .20 ถงึ 1.00 เปนเกณฑที่มคีุณภาพ โดยใชดัชนวีัดคาอํานาจจําแนกดังนี้

(สุวมิล ตริกานันท, 2551, หนา 150-162)

คา r ตัง้แต .40 ขึ้นไป แสดงวาขอสอบมคีาอํานาจจําแนก ดมีาก

คา r ตัง้แต .30–.39 แสดงวาขอสอบมคีาอํานาจจําแนก

ดพีอสมควร

คา r ตัง้แต .20–.29 แสดงวาขอสอบมีคาอํานาจจําแนก

พอใชได อาจตองปรับปรุง

คา r ต่ํากวา .19 แสดงวาขอสอบมคีาอํานาจจําแนก ไมด ี

ตองปรับปรุง

หากขอใด มคีาความยาก และคาอํานาจจําแนกไมอยูในเกณฑ

ก็จะปรับปรุงตัวเลอืกใหมๆ เฉพาะขอนัน้

3.9 นําขอสอบที่คัดเลอืกไวจํานวน 30 ขอ หาความเช่ือม่ันของ

แบบทดสอบโดยวธิกีารคํานวณจากสูตร KR-20 ของ Kuder–Richardson ซึ่งการวเิคราะห

หาคาความเช่ือม่ันของแบบทดสอบทัง้ฉบับพจิารณาตามเกณฑตอไปนี้

.71-1.00 ถอืวาแบบทดสอบมคีวามเช่ือถอืไดสูง

.30-.70 ถอืวาแบบทดสอบมคีวามเช่ือถอืไดปานกลาง

นอยกวา .30 ถอืวาแบบทดสอบเช่ือถอืไดต่ํา

ผลการวเิคราะหคาความยากรายขอ (p) มคีาตั้งแต .43 ถงึ .75 และคา

อํานาจจําแนกรายขอ (r) มีคาตัง้แต .30 ถงึ .68 ผลการวเิคราะหคาความเช่ือม่ันของ

แบบทดสอบทัง้ฉบับเทากับ .80

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 12: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

122

3.10 นําแบบทดสอบที่เลอืกไว จัดพมิพแบบวัดการคดิวิเคราะห

ผานการตรวจสอบคุณภาพ จํานวน 30 ขอ เพื่อใชเปนแบบทดสอบกอนเรยีนและหลังเรยีน

กับนักเรยีนช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2/1 โรงเรยีนรมไทรวทิยา สังกดัองคการบรหิารสวนจังหวัด

สกลนคร ภาคเรยีนที่ 1 ปการศกึษา 2559 ที่เปนกลุมตัวอยาง จํานวน 25 คน ตอไป

4. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีน

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีน วชิาภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึษา

ปที่ 2 ผูวจัิยไดดําเนนิการสราง ดังนี้

4.1 ศกึษาทฤษฎแีละวธิกีารสรางแบบทดสอบ ความเที่ยงตรง และหาคา

ความเช่ือม่ันของแบบทดสอบ จากหนังสอืการวิจัยเบื้องตน เทคนคิการวจัิยทางการศกึษา

การวัดผลทางการศึกษา เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวของ วเิคราะหเนื้อหาและผลการเรยีนรู

ของแตละคูมอื

4.2 สรางแบบทดสอบชนดิเลอืกตอบแบบปรนัย 4 ตัวเลอืก โดยสราง

ใหครอบคลุมเนื้อหา ผลการเรยีนรู จํานวน 60 ขอ ตองการใชจรงิ จํานวน 40 ขอ

4.3 นําแบบทดสอบเสนอตออาจารยที่ปรกึษา เพื่อตรวจสอบ

แกไขปรับปรุง

4.4 นําแบบทดสอบที่สรางขึ้นเสนอตออาจารยที่ปรกึษา

เพื่อพจิารณาความเที่ยงตรงของเนื้อหา ความเหมาะสมของภาษา แลวนําไปปรับปรุงแกไข

4.5 ประเมนิความสอดคลองระหวางขอสอบกับผลการเรยีนรู

โดยผูเช่ียวชาญชุดเดมิ โดยใชแนวคดิการประเมิน ดังนี้

ใหคะแนน +1 เมื่อแนใจวา ขอสอบนัน้วัดไดตรงตามจุดประสงค

เชิงพฤตกิรรมทีร่ะบุ

ใหคะแนน 0 เมื่อไมแนใจวา ขอสอบนัน้วัดตามจุดประสงค

เชิงพฤตกิรรมที่ระบุไว

ใหคะแนน -1 เมื่อแนใจ วา ขอสอบนัน้วัดไดไมตรงตาม

จุดประสงคเชิงพฤตกิรรมที่ระบุไว

4.6 วเิคราะหหาคาดัชนคีวามสอดคลองระหวางขอคําถามของ

แบบทดสอบกับจุดประสงคที่ตองการวัด โดยใชสูตร IOC ที่มคีา IOC ตัง้แต .50 ถงึ 1.00

เปนขอสอบที่มีคุณภาพตามเกณฑ ผลการวิเคราะห พบวาคา IOC มีคาระหวาง

0.67–1.00 แสดงวาแบบทดสอบที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 13: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

123

พรอมทั้งปรับปรุงแกไขขอบกพรองที่ผูเช่ียวชาญแนะนําใหสมบูรณขึ้น

4.7 นําแบบทดสอบวัดการคดิวเิคราะหมาแกไขตามคําแนะนํา

ของผูเช่ียวชาญแลวนําแบบทดสอบวัดการคดิวเิคราะห ไปทดลอง (Try Out)

กับนักเรยีนช้ันมัธยมศกึษาปที่ 3 โรงเรยีนสกลทวาป จํานวน 100 คน ซึ่งไมใชกลุมตัวอยาง

4.8 นําคะแนนของนักเรยีนแตละคนมาเรยีงจากคะแนนสูงสุดไปหาต่ําสุด

แลวใชเทคนคิ 27% ของ จุง เต ฟาน จากคะแนนกลุมสูงกลุมต่ําที่ไดแลว แลวนํามา

คํานวณหาคาความยากงาย (Difficulty) (p) และคํานวณหาคาอํานาจจําแนก

(Discrimination Power) (r)

การวเิคราะหหาความยาก (p) และคาอํานาจจําแนก (r) รายขอ

ซึ่งคาความยากมคีาตัง้แต 0 ถงึ 1.00 ขอสอบที่มคีาความยาก (p) ระหวาง .21 ถงึ .80

เปนขอสอบที่มคีวามยากอยูในเกณฑใชได โดยใชดัชนวีัดคาความยากดังนี้

(สุวมิล ตริกานันท, 2551, หนา 147-150)

.81–1.00 หมายถงึ เปนขอสอบที่งายมาก ไมควรใชหรือปรับปรุง

.61–.80 หมายถึง เปนขอสอบที่คอนขางงาย แตใชได

.41–.60 หมายถงึ เปนขอสอบความยากปานกลาง

เปนขอสอบที่ดมีาก

.21–.40 หมายถงึ เปนขอสอบที่คอนขางยาก แตใชได

.00–.20 หมายถงึ เปนขอสอบที่ยากมาก ไมควรใชหรือปรับปรุง

สวนเกณฑคาอํานาจจําแนก (r) มคีาตัง้แต -1 ถงึ +1 และคาที่อยู

ระหวาง .21 ถงึ 1.00 เปนเกณฑที่มคีุณภาพ โดยใชดัชนีวัดคาอํานาจจําแนกดังนี้ (สุวมิล

ตริกานันท, 2551, หนา 150-162)

คา r ตัง้แต .40 ขึ้นไป แสดงวาขอสอบมคีาอํานาจจําแนก ดมีาก

คา r ตัง้แต .30–.39 แสดงวาขอสอบมคีาอํานาจจําแนก

ดพีอสมควร

คา r ตัง้แต .20–.29 แสดงวาขอสอบมคีาอํานาจจําแนก พอใชได

อาจตองปรับปรุง

คา r ต่ํากวา .19 แสดงวาขอสอบมคีาอํานาจจําแนก ไมดี

ตองปรับปรุง

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 14: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

124

หากขอใด มคีาความยาก และคาอํานาจจําแนกไมอยูในเกณฑ ก็จะ

ปรับปรุงตัวเลอืกใหมๆ เฉพาะขอนัน้

4.9 นําขอสอบที่คัดเลอืกไวจํานวน 40 ขอ หาความเช่ือม่ันของ

แบบทดสอบโดยวธิกีารคํานวณจากสูตร KR 20 ของ Kuder-Richardson ซึ่งการวเิคราะห

หาคาความเช่ือม่ันของแบบทดสอบทัง้ฉบับพจิารณาตามเกณฑตอไปนี้

.71-1.00 ถอืวาแบบทดสอบมคีวามเช่ือถอืไดสูง

.30-.70 ถอืวาแบบทดสอบมคีวามเช่ือถอืไดปานกลาง

นอยกวา .30 ถอืวาแบบทดสอบเช่ือถอืไดต่ํา

ผลการวเิคราะหคาความยากรายขอ (p) มคีาตั้งแต .23 ถงึ .76 และคา

อํานาจจําแนกรายขอ (r) มีคาตัง้แต .26 ถงึ .78 ผลการวเิคราะหคาความเช่ือม่ันของ

แบบทดสอบทั้งฉบับเทากับ .79

4.10 นําแบบทดสอบที่เลอืกไว จัดพมิพแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีนที่

ผานการตรวจสอบคุณภาพ จํานวน 40 ขอ เพื่อใชเปนแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรยีน

กับนักเรยีน ช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2/1 โรงเรยีนรมไทรวทิยา สังกดัองคการบรหิารสวนจังหวัด

สกลนคร ภาคเรยีนที่ 1 ปการศกึษา 2559 ที่เปนกลุมตัวอยาง จํานวน 25 คน ตอไป

5. แบบประเมนิความฉลาดทางอารมณ

แบบประเมนิความฉลาดทางอารมณ (EQ) ใชแบบประเมนิความฉลาด

ทางอารมณ สําหรับเด็กวัยรุน อายุ 12-17 ป ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

(กรมสุขภาพจิต, 2548, หนา 39-42) มลีักษณะเปนแบบมาตรสวนประมาณคา

(Rating Scale) 4 ระดับ คอื ไมจรงิ จรงิบางครัง้ คอนขางจรงิ และจรงิมาก แบงเปน 9 ดาน

หลัก 9 ดานยอย รวม จํานวน 52 ขอ

5.1 ดานด ีประกอบดวย

5.1.1 การควบคุมอารมณ เริ่มขอที่ 1-6 จํานวน 6 ขอ

5.1.2 การเห็นใจผูอื่น เริ่มขอที่ 7-12 จํานวน 6 ขอ

5.1.3 ความรับผดชอบ เริ่มขอที่ 13-18 จํานวน 6 ขอ

5.2 ดานเกง ประกอบดวย

5.2.1 การมแีรงจูงใจ เริ่มขอที่ 19–24 จํานวน 6 ขอ

5.2.2 การตัดสนิใจการแกปญหา เริ่มขอที่ 25-30 จํานวน 6 ขอ

5.2.3 ความรับผิดชอบ เริ่มขอที่ 31-36 จํานวน 6 ขอ

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 15: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

125

5.3 ดานสุข ประกอบดวย

5.3.1 ความภูมใิจในตนเอง เริ่มขอที่ 37–40 จํานวน 4 ขอ

5.3.2 ความพอใจชีวติ เริ่มขอที่ 41–46 จํานวน 6 ขอ

5.3.3 ความรับผิดชอบ เริ่มขอที่ 47-52 จํานวน 6 ขอ

ลักษณะของคําถามเปนแบบมาตรสวนประมาณคา 4 ระดับ ซึ่งแตละชวง

คําตอบมคีวามหมายดังนี้

ตอบไมจรงิ หมายถงึ ขอความทัง้หมดในประโยคนัน้ไมตรงกับ

พฤตกิรรมตามประสบการณที่เกดิขึ้นเลย

ตอบไมจรงิบางครัง้ หมายถงึ ขอความทัง้หมดในประโยคนัน้ตรงกับ

พฤตกิรรมตามประสบการณที่เกดิขึ้นบางครัง้

ตอบคอนขางจรงิ หมายถงึ ขอความทัง้หมดในประโยคนัน้ตรงกับ

พฤตกิรรมตามประสบการณที่เกดิขึ้นเกอืบทุกครัง้

ตอบจรงิ หมายถงึ ขอความทัง้หมดในประโยคนัน้ตรงกับพฤตกิรรม

ตามประสบการณที่เกดิขึ้นทุกครัง้

เกณฑการใหคะแนน แบงออกเปน 2 กลุม

กลุมที่ 1 ขอ 1, 4, 6, 7, 11, 12, 14, 15, 17, 20, 22, 23, 25, 28, 31,

32, 34, 36, 38, 41, 42, 43, 44, 46, 48, 49, 50

ตอบไมจรงิ 1 คะแนน

ตอบจรงิบางครัง้ 2 คะแนน

ตอบคอนขางจรงิ 3 คะแนน

ตอบจรงิมาก 4 คะแนน

กลุมที่ 2 ขอ 2, 3, 5, 8, 9, 11, 13, 16, 18, 19, 21, 24, 26, 27, 29,

30, 33, 35, 37, 40, 45, 47, 51, 52

ตอบไมจรงิ 4 คะแนน

ตอบจรงิบางครัง้ 3 คะแนน

ตอบคอนขางจรงิ 2 คะแนน

ตอบจรงิมาก 1 คะแนน

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 16: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

126

เกณฑแบบประเมนิความฉลาดทางอารมณ (EQ) นี้จะมกีารแปลผล

คะแนนที่ไดเปนเกณฑคะแนน ซึ่งเปนเกณฑที่ทําใหทราบวานักเรยีนมรีะดับพัฒนาการ

ความฉลาดทางอารมณอยูในระดับใด ดังนี้

คะแนนรวม ตั้งแต 170 ขึ้นไป บงบอกวานักเรยีนมคีวามฉลาด

ทางอารมณอยูในเกณฑที่ด ีหรอืมคีวามฉลาดทางอารมณระดับสูง

คะแนนรวม 140-169 บงบอกวานักเรยีนควรไดรับการพัฒนา

ความฉลาดทางอารมณในดานนัน้ๆ ใหดยีิ่งขึ้น หรอืมคีวามฉลาดทางอารมณระดับกลาง

คะแนนรวมต่ํากวา 140 บงบอกวานักเรยีนจําเปนตองไดรับการ

พัฒนาความฉลาดทางอารมณในดานนั้นๆ ใหดยีิ่งขึ้น หรอืมคีวามฉลาดทางอารมณ

ระดับต่ํา

นําแบบประเมนิความฉลาดทางอารมณ (EQ) ของกรมสุขภาพจิต

พุทธศักราช 2548 ที่ผานการพิจารณาความเหมาะสมแลวเสนอประธานที่ปรกึษา

และกรรมการที่ปรกึษาวทิยานิพนธ เพื่อขอคําแนะนําตรวจสอบความถูกตอง และนําไป

ปรับปรุงแกไข แบบประเมนิความฉลาดทางอารมณ (EQ) ที่ปรับปรุงแกไขตามคําแนะนํา

ของคณะกรรมการที่ปรกึษาวทิยานพินธ ไปใชกับกลุมตัวอยาง คือ นักเรยีนช้ันมัธยมศกึษา

ปที่ 2/1 โรงเรยีนรมไทรวทิยา เพื่อแบงนักเรยีนตามระดับความฉลาดทางอารมณ

เปน 3 กลุม คอื กลุมที่มคีวามฉลาดทางอารมณระดับสูง กลุมที่มคีวามฉลาดทางอารมณ

ระดับกลาง และกลุมที่มคีวามฉลาดทางอารมณระดับตํ่า โดยแบงนักเรยีนออกเปน 3 กลุม

คอื กลุมสูงกลุมปานกลาง และกลุมตํ่าโดยใชเกณฑรอยละ 33 ของลวน สายยศ และ

อังคณา สายยศ (2539, หนา 248-249)

การเก็บรวบรวมขอมูล

การดําเนนิการทดลองเก็บรวบรวมขอมูล ผูวจัิยคนควาไดดําเนนิการ

ตามขัน้ตอน ดังนี้

1. ขัน้เตรยีม

ผูวจัิยไดทําการเลอืกกลุมตัวอยาง การสุมแบบแบงกลุม (Cluster Random

Sampling) เปนนักเรยีนช้ันมัธยมศกึษาปที ่2/1 ภาคเรยีนที ่1 ปการศกึษา 2559 โรงเรยีน

รมไทรวทิยา สังกัดองคการบรหิารสวนจังหวัดสกลนคร จํานวน 25 คน

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 17: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

127

2. การดําเนินการ

ดําเนนิการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศกึษา 2559 โดยสอนครัง้ละ

2 ช่ัวโมง รวม 40 ช่ัวโมง และเวลาในการทดสอบกอนเรยีนและหลังเรยีน จํานวน 4 ช่ัวโมง

รวม 40 ช่ัวโมง

3. ขัน้เก็บรวบรวมขอมูล

ผูวจัิยไดดําเนนิการเก็บรวบรวมขอมูล ดังขัน้ตอนตอไปนี้

3.1 ตดิตอขอหนังสอืขอความอนุเคราะหทดลองใชเครื่องมอืการวิจัย

และหนังสอืขอความอนุเคราะหเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัย จากบัณฑิตวิทยาลัย

มหาวทิยาลัยราชภัฏสกลนคร ถงึผูอํานวยการโรงเรยีนสกลทวาป สังกัดองคการบรหิาร

สวนจังหวัดสกลนคร เพื่อขออนุญาตทดลองใชเครื่องมือวจัิย เรื่อง การพัฒนาคูมอืการ

เรยีนรูวชิาภาษาไทย โดยใชการเรยีนแบบรวมมอืรวม กับการสอนอานแบบ PANORAMA

เพื่อเสรมิสรางทักษะการอาน การคดิวเิคราะห และผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีน ของนักเรยีน

ช้ันมัธยมศกึษาปที ่2

3.2 ผูวจัิยลงมอืทําการวจัิย โดยผูวจัิยดําเนินการตอเนื่องเปนระยะ ดังนี้

3.2.1 การดําเนนิการกอนเริ่มการทดลอง ผูวจัิยดําเนนิการเก็บรวบรวม

ขอมูลกอนเรยีน โดยทดสอบนักเรยีน ดังนี้

3.2.1.1 ทดสอบดวยแบบทดสอบทักษะการอาน

3.2.1.2 ทดสอบดวยแบบประเมนิความฉลาดทางอารมณ

ของกรมสุขภาพจิต

3.2.1.3 ทดสอบดวยแบบวัดการคดิวเิคราะห ที่ผูวจัิยสรางขึ้น

3.2.1.4 ทดสอบดวยแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีน ที่ผูวจัิย

สรางขึ้น

3.2.2 การดําเนนิการทดลอง ผูวิจัยเปนผูจัดกระบวนการเรยีนรูใหกับ

นักเรียน รวมจํานวนทัง้หมด 36 ช่ัวโมง ใชเวลา 14 สัปดาห 3.3 การดําเนนิการหลังการทดลอง

เมื่อสิ้นสุดการทดลองผูวจัิยไดดําเนนิการเก็บรวบรวมขอมูล

โดยทดสอบนักเรยีน ดังนี้

3.3.1 ทดสอบวัดทักษะการอาน ดวยแบบทดสอบวดัทักษะ

การอาน ที่ผูวจัิยสรางขึ้น ซึ่งเปนแบบทดสอบฉบับเดยีวกับ กับที่ใชทดสอบกอนเรยีน

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 18: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

128

โดยทําการทดสอบทันทหีลังการทดลองเสร็จสิ้น

3.3.2 ทดสอบวัดการคดิวเิคราะห ซึ่งเปนแบบทดสอบฉบับเดยีวกับกับที่

ใชทดสอบกอนเรยีน โดยทําการทดสอบทนัทหีลังการทดลองเสร็จสิ้น

3.3.3 ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีน ดวยแบบทดสอบ

วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีน ที่ผูวจัิยสรางขึ้น ซึ่งเปนแบบทดสอบฉบับเดยีวกบักับ

ที่ใชทดสอบกอนเรยีน โดยทําการทดสอบทันทหีลังการทดลองเสร็จสิ้น

4. นําผลคะแนนที่ไดจากการเก็บรวบรวมขอมูลทัง้หมด มาวเิคราะหขอมูล

เพื่อทดสอบสมมตฐิานการวิจัย

การวิเคราะหขอมูล

ผูวจัิยไดดําเนนิการวเิคราะหขอมูล ดังนี้

1. หาคาสถติพิื้นฐาน ไดแก รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ของคะแนนที่ไดจาก แบบทดสอบวัดการคดิวเิคราะห และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรยีน

2. วเิคราะหดัชนปีระสทิธผิลการเรยีนรู (E.I.) จากการเรยีนโดยใชคูมอืการ

เรยีนรูวชิาภาษาไทย โดยใชการเรยีนแบบรวมมือ รวมกับการสอนอานแบบ PANORAMA

เพื่อเสรมิสรางทักษะการอาน

3. เปรยีบเทยีบทักษะการอานของนักเรยีนช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2 ระหวาง

ระหวางกอนเรยีนและหลังเรยีน โดยใชคูมอืการเรยีนรูวิชาภาษาไทย โดยใชการเรยีน

แบบรวมมอื รวมกับการสอนอานแบบ PANORAMA ดวยการทดสอบคาท ี(t-test

dependent Samples)

4. เปรยีบเทยีบการคดิวเิคราะห ของนักเรยีนช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2 ระหวาง

ระหวางกอนเรยีนและหลังเรยีน โดยใชคูมอืการเรยีนรูวิชาภาษาไทย โดยใชการเรยีน

แบบรวมมือ รวมกับการสอนอานแบบ PANORAMA ดวยการทดสอบคาที (t-test

dependent Samples)

5. เปรยีบเทยีบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีนของนักเรยีนช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2

ระหวางระหวางกอนเรยีนและหลังเรยีน โดยใชคูมอืการเรยีนรูวชิาภาษาไทย โดยใช

การเรยีนแบบรวมมอื รวมกับการสอนอานแบบ PANORAMA ดวยการทดสอบคาท ี(t-test

dependent Samples)

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 19: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

129

6. เปรยีบเทยีบ ทักษะการอาน การคดิวเิคราะห และผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรยีนของนักเรยีนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่มคีวามฉลาดทางอารมณแตกตางกัน ที่เรียน

โดยใชคูมอืการเรยีนรูวิชาภาษาไทย โดยใชการเรยีนแบบรวมมือ รวมกับการสอนอาน

แบบ PANORAMA ใชการวเิคราะหความแปรปรวนทางเดยีว (One-way ANOVA)

กอนเรยีน และหลังเรยีนวเิคราะห ความแปรปรวนพหุคูณรวมทางเดยีว (MANCOVA)

และวเิคราะหความแปรปรวนรวม (ANCOVA)

สถติิท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

สถติทิี่ใชในการวเิคราะหขอมูล มดีังนี้

1. สถิตพิื้นฐาน

1.1 คารอยละ (Percentage) โดยใชสูตร ดังนี้ (บุญชม ศรสีะอาด,

2547, หนา 101)

P = fN

× 100

เมื่อ P แทน รอยละ

f แทน ความถี่ที่ตองการแปลงใหเปนรอยละ

N แทน จํานวนความถี่

1.2 คะแนนเฉลี่ย (Mean) โดยใชสูตร ดังนี้ (ชูศร ี วงศรัตนะ, 2553,

หนา 33)

X = ∑XN

เมื่อ 𝑋𝑋 แทน คะแนนเฉลี่ย

N แทน จํานวนคนในกลุมตัวอยาง

∑𝑋𝑋 แทน ผลรวมของคะแนนทัง้หมดในกลุม

1.3 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใชสูตร ดังนี้

(ชูศรี วงศรัตนะ, 2553, หนา 60)

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 20: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

130

S.D. = �𝑁𝑁∑𝑥𝑥2−(∑𝑥𝑥)2

𝑁𝑁(𝑁𝑁−1)

เมื่อ S.D. แทน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

∑ 2X แทน ผลรวมทัง้หมดของคะแนนแตละคนยกกําลังสอง

(∑𝑥𝑥) 2แทน ผลรวมของคะแนนแตละคนยกกําลังสอง

N แทน จํานวนคนในกลุมตัวอยาง

2. สถิตท่ีิใชในการหาคุณภาพเครื่องมอื

2.1 หาคาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ของแบบวัดทักษะ

การอาน แบบวัดการคดิวเิคราะห แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีน โดยพจิารณา

จากคาดัชนคีวามสอดคลองระหวางขอสอบแตละขอ กับพฤตกิรรมที่ตองการวัด (IOC)

โดยใชสูตรดังนี้

IOC = ∑𝑅𝑅𝑁𝑁

เมื่อ IOC แทน คาดัชนคีวามสอดคลอง

∑𝑅𝑅 แทน ผลรวมของคะแนนความคดิเห็นของผูเช่ียวชาญ

ทัง้หมด

N แทน จํานวนผูเช่ียวชาญทัง้หมด

2.2 หาคาความยาก (Difficulty) ของ แบบวัดทักษะการอาน แบบวัด

การคดิวเิคราะห และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีน เปนรายขอ จากสูตร

(บุญชม ศรสีะอาด, 2553, หนา 133) ดังนี้

P = fRR lu

2+

เมื่อ P แทน ระดับความยาก

f แทน จํานวนคนในกลุมสูงหรอืกลุมตํ่าซึ่งเทากัน

Ru แทน จํานวนคนกลุมสูงที่ตอบถูก

Rl แทน จํานวนคนกลุมตํ่าที่ตอบถูก

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 21: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

131

2.3 หาคาอํานาจจําแนก (Discrimination) ของวัดทักษะการอาน

แบบวัดการคดิวเิคราะห แบบทดสอบวัดผลสมัฤทธิ์ทางการเรยีน จากสูตร

(บุญชม ศรสีะอาด, 2553, หนา 135) คํานวณไดโดยใชสูตร ดังนี้

f

RR lu −

เมื่อ r แทน คาอํานาจจําแนก

f แทน จํานวนคนในกลุมสูงหรอืกลุมต่ํา ซึ่งเทากัน

Ru แทน จํานวนคนกลุมสูงที่ตอบถูก

Rl แทน จํานวนคนกลุมต่ําที่ตอบถูก

2.4 หาคาความเที่ยงหรอืความเช่ือม่ันของแบบวัดการคดิวเิคราะห

แบบทดสอบวัดทักษะการอาน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีน ที่เปนแบบปรนัย

ชนดิเลอืกตอบ 4 ตัวเลือกโดยใชสูตรของ คูเดอร ริชารดสัน KR-20 โดยวธิคีํานวณ

(สมนกึ ภัททยิธนี, 2553, หนา 220) ดังนี้

rtt =

−∑

211 s

pqk

k

เมื่อ rtt แทน คาความเช่ือม่ันของแบบทดสอบ

k แทน จํานวนขอสอบ

s2 แทน ความแปรปรวน

p แทน คะแนนของแตละคน

q แทน คะแนนเกณฑหรอืจุดตัดของแบบทดสอบ

3. สถิตท่ีิใชในการทดสอบสมมตฐิาน

3.1 วเิคราะหดัชนปีระสทิธผิลของ คูมอืการเรยีนรูวิชาภาษาไทย โดยใช

การเรยีนแบบรวมมอื รวมกับการสอนอานแบบ PANORAMA เพื่อเสรมิสรางทักษะการอาน

การคดิวเิคราะห และผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีน ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2 โดยใช

เกณฑประสทิธผิล (Effectiveness Index : E.I.) ซึ่งดัชนีประสทิธผิล หมายถงึ ตัวเลขที่แสดง

ถงึความกาวหนาในการเรยีนรูของนักเรยีนสําหรับสมมตฐิานขอ 1

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร

Page 22: บทที่ วิธีดําเนินการวิจัยบทที่ 3 . วิธีดําเนินการวิจัย. การพัฒนาคู

132

หาคา 1

12..PTotal

PPIE−

−=

เมื่อ ..IE แทน คาดัชนปีระสทิธผิล

1P แทน ผลรวมคะแนนกอนเรยีนของนักเรยีนทุกคน

2P แทน ผลรวมคะแนนหลังเรยีนของนักเรยีนทุกคน

Total แทน ผลรวมของคะแนนเต็มของนักเรยีนทุกคน

(คะแนนเต็ม X จํานวนนักเรยีน)

�̅�𝑥2 แทน จํานวนนักเรยีนในกลุมควบคุม

3.2 วเิคราะหเปรยีบเทยีบความแตกตางของคะแนนการคดิวเิคราะห

ทักษะการอาน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีน โดยใชสตูรการทดสอบคาท ี(t-test)

ชนดิไมเปนอสิระตอกัน (Dependent Samples) สําหรับสมมตฐิานขอ 2-3 และ 4 วเิคราะห

โดยใชโปรแกรมคอมพวิเตอร

3.3 เปรยีบเทยีบ การคดิวเิคราะห ทักษะการอาน และผลสัมฤทธิ์

ทางการเรยีนของนักเรยีนช้ันมัธยมศกึษาปที่ 2 ที่มคีวามฉลาดทางอารมณแตกตางกัน

ที่เรยีนโดยใชคูมอืการเรยีนรูวชิาภาษาไทย โดยใชการเรยีนแบบรวมมือ รวมกับการสอน

อานแบบ PANORAMA เพื่อเสรมิสรางทักษะการอาน ใชการวเิคราะหความแปรปรวน

พหุคูณรวมทางเดยีว (One-way MANCOVA) การวเิคราะหความแปรปรวนทางเดยีว

(One-way ANOVA และการวเิคราะหความแปรปรวนรวมทางเดยีว (One-way ANCOVA)

สําหรับสมมตฐิาน ขอ 5 วเิคราะหโดยใชโปรแกรมคอมพวิเตอร

บัณฑิต

วิทยาลัย

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

สกลน

คร