· บทที่ . 1 . ข...

170
Risk Management Plan กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และพันธุ ์พืช

Upload: others

Post on 26-Dec-2019

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

Risk Management Plan

กรมอทุยานแห่งชาติ สตัวป่์า และพนัธ ุพื์ช

Page 2:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 3:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 4:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

บทท่ี 1 ขอมูลพ้ืนฐานของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

เดิมงานดานปาไมท้ังหมด อันไดแก งานปลูกบํารุงปา งานวนวัฒนวิจัย งานอุทยานแหงชาติ งานทางดานสัตวปา งานตนน้ํา และงานดานปองกันปราบปรามและไฟปา เปนตน ลวนอยูกับกรมปาไม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (เดิมสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ) ท้ังสิ้น แตเม่ือวันท่ี 20 กันยายน2545 วุฒิสภาไดมีมติดวยคะแนน 127 ตอ 23 ใหแยกงานท่ีเก่ียวกับปาเศรษฐกิจและงานดานอนุรักษและการคุมครองปาไมออกจากกัน โดยใหงานทางดานปาเศรษฐกิจอยูกับกรมปาไม สวนงานดานอนุรักษและการคุมครองปาไมใหไปตั้งเปนกรมข้ึนมาใหม และใหสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซ่ึงเปนกระทรวงใหม

ตอมาสภาผูแทนราษฎรก็ไดมีมติเห็นชอบตามผลการประชุมของวุฒิสภาดังกลาว ซ่ึงจะตางไปจากมติเดิมของสภาผูแทนราษฎร ในการพิจารณาในวาระท่ี 3 วันท่ี 29 มิถุนายน 2545 ซ่ึงความเห็นดังกลาวแตเดิมเหลานี้ไมมีการแยกกรมปาไมเปน 2 กรมตอมาไดมีพระราชกฤษฎีกาเลมท่ี 119 ตอนท่ี 99 ก.ลงวันท่ี 2 ตุลาคม 2545ใหจัดตั้งกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และเม่ือวันท่ี 9 ตุลาคม 2545 ไดมีคําสั่งแตงตั้งให ดร.ปลอดประสพสุรัสวดีปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในขณะนั้นดํารงตําแหนงรักษาราชการแทนอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืชจึงถือไดวาเปนอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืชคนแรกและไดดํารงตําแหนงอยูจนถึงวันท่ี 14 พฤศจิกายน2545 จึงไดมีการแตงตั้งนายสมชัย เพียรสถาพรข้ึนดํารงตําแหนงอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืชอยางเปนทางการ

กรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืชดําเนินภารกิจเก่ียวกับการอนุรักษสงเสริม และฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ สัตวปา และพันธุพืชในเขตพ้ืนท่ีปาเพ่ือการอนุรักษ โดยการควบคุมปองกันพ้ืนท่ีปาอนุรักษเดิมท่ีมีอยูและพ้ืนท่ีปาเสื่อมโทรมใหกลับสมบูรณดวยกลยุทธการสงเสริมกระตุนและปลูกจิตสํานึกใหชุมชนมีความรูสึกหวงแหนและการมีสวนรวมในการดูแลทรัพยากรทองถ่ินเพ่ือเปนการรักษาสมดุลของระบบนิเวศและสิ่งแวดลอมตลอดจนความหลากหลายทางชีวภาพสําหรับเปนแหลงตนน้ําลําธาร แหลงท่ีอยูอาศัยของสัตวปาแหลงอาหาร แหลงนันทนาการและการทองเท่ียวทางธรรมชาติของประชาชนดังวิสัยทัศนของกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืชท่ีวา “องคกรนําในการบริหารจัดการพื้นที่ปาอนุรักษ โดยการมีสวนรวม อยางยั่งยืน”

1

Page 5:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

หนาที่ตามกฎหมาย ตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2547 ไดแก 1) อนุรักษ คุมครอง ดูแล รักษาทรัพยากรปาไมและสัตวปาให สมบูรณและสมดุลตามธรรมชาติ โดยใหมีการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืนที่เกิดประโยชนสูงสุดทางดานเศรษฐกิจและสังคม 2) ฟนฟู แกไข ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศในพื้นที่ปาไม 3) ควบคุม กํากับดูแล ปองกันการบุกรุก การทําลายปาและการกระทําผิดตามกฎหมายวาดวยปาไม กฎหมายวาดวยปาสงวนแหงชาติ กฎหมายวาดวยอุทยานแหงชาติ กฎหมายวาดวยการสงวนและคุมครองสัตวป าและกฎหมายอ่ืนที่เก่ียวของ 4) ศึกษา วิจัย และพัฒนาวิธีการอนุรักษ การบริหารจัดการ และ การฟนฟูทรัพยากรปาไม สัตวป า และความหลากหลายทางชีวภาพ 5) กําหนดมาตรการและมาตรฐานเก่ียวกับการอนุรักษ การบริหารจัดการและการใชประโยชนจากทรัพยากรปาไมและสัตวปา 6) บริการขอมูลสารสนเทศและถายทอดเทคโนโลยีดานปาไม 7) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช หรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

พ้ืนที่อนุรักษหมายถึง พื้นที่ในความรับผิดชอบของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

วิสัยทัศน “เพิ่มพื้นที่ปาอนุรักษใหไดรอยละ 25 ของพื้นที่ประเทศ ภายในป พ.ศ. 2569”

ภารกิจ

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช มีภารกิจเก่ียวกับการอนุรักษ สงวน คุมครอง ฟนฟู ดูแลรักษา สงเสริมและทํานุบํารุงทรัพยากรปาไม สัตวปา และพันธุพืช การจัดใหใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน โดยการควบคุมปองกันพื้นที่ปาอนุรักษที่มีอยูเดิมและฟนฟูปาเสื่อมโทรมใหกลับสมบูรณดวยกลยุทธการสงเสริม กระตุนและปลุกจิตสํานึกใหชุมชนมีความรูสึกหวงแหนและมีสวนรวมในการดูแลทรัพยากรในทองถ่ิน เพื่อเปนการรักษาสมดุลของระบบนิเวศและสิ่งแวดลอม ตลอดจนความหลากหลายทางชีวภาพ สําหรับเปนแหลงตนน้ําลําธารแหลงที่อยูอาศัยของสัตวปา แหลงอาหาร แหลงนันทนาการและการทองเที่ยวทางธรรมชาติของประชาชน

พันธกิจ 1. อนุรักษ คุมครองและฟนฟูทรัพยากรปาไมและสัตวปา 2. วิจัย พัฒนาและใหบริการดานวิชาการ 3. บริหารจัดการทรัพยากรปาไมและสัตวปาโดยการมีสวนรวมบนพื้นฐานเทคโนโลยีที่เหมาะสม 4. สงเสริมการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติอยางสมดุลและยั่งยืน

2

Page 6:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

คานิยม PROTECT หมายถึงคุมครองรักษา P = Participation (ทุกภาคสวนมีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ) R = Relevance (งานตรงภารกิจ) O = Outcome (มุงเนนผลลัพธจากการดําเนินงานเปนหลัก) T = Team (ทํางานเปนทีม) E = Efficiency (ทํางานอยางมีประสิทธิภาพ) C = Conservation (อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติใหคงความอุดมสมบูรณ สามารถใชประโยชนอยางยั่งยืน ) T = Technology (นําวิทยาการมาใชในการปฏิบัติงาน) วัฒนธรรม มุงมั่นทํางานใหสําเร็จ และทํางานเปนทีม

3

Page 7:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณพ.ศ. 2560 สํานักงบประมาณ

4

Page 8:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แผนยุทธศาสตรกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช พ.ศ. 2559 -2564 (ในสวนของปงบประมาณ 2560 ท่ีไดรับจัดสรรงบประมาณ)

ยุทธศาสตรดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน 1. แผนงานบุคลากรภาครัฐ - ยุทธศาสตรดานการสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ 2. แผนงานพ้ืนฐานดานการสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ

เปาประสงค 5 : พัฒนาองคความรูและการจัดการทรัพยากรปาไมและสัตวปา จากการวิจัยและพัฒนา

เปาประสงค 9 : บูรณาการความรวมมือในการจัดการทรัพยากรปาไมและสัตวปา ทุกภาคสวนรวมถึงประชาคมอาเซียนและระหวางประเทศ

เปาประสงค 14 : ทรัพยากรปาไมและสัตวปาไดรับการจัดการอยางสมดุลและยั่งยืน

ยุทธศาสตรดานการการจัดการนํ้าและสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 3. แผนงานพ้ืนฐานดานการจัดการนํ้าและสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอยางย่ังยืน

เปาประสงค 6 : พัฒนาเครือขายการสื่อสาร และระบบฐานขอมูลดานปาไมและสัตวปาใหมีประสิทธิภาพ

เปาประสงค 9 : บูรณาการความรวมมือในการจัดการทรัพยากรปาไมและสัตวปา ทุกภาคสวนรวมถึงประชาคมอาเซียนและระหวางประเทศ

เปาประสงค 12 : ประชาชนสามารถปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและรับมือกับภัยพิบัติในพื้นที่ปาอนุรักษไดอยางมีประสิทธิภาพ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง

เปาประสงค 17 : เพิ่มประสิทธิภาพในการกักเก็บคารบอนของพื้นที่อนุรักษ

4. แผนงานยุทธศาสตรอนุรักษ ฟนฟู และปองกันทรัพยากรธรรมชาติ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง

แผนบูรณาการ

แผนงานบูรณาการการสรางรายไดจากการทองเที่ยวและบริการ แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา แผนบูรณาการจัดการขยะและสิ่งแวดลอม

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ เพื่อพัฒนาและเพิ่มรายไดจากการทองเที่ยวและบริการ ดวยการสงเสริมการตลาด เพื่อยกระดับภาพลักษณของประเทศ และสนับสนุนการเปนเจาภาพจัดประชุมระดับนานาชาติจากทุกภาคสวน ยกระดับสินคาและบริการใหมรวมทั้งธุรกิจที่เก่ียวเนื่องกับการทองเที่ยวใหมีคุณภาพ พัฒนาการทองเที่ยวรายสาขาอยางสรางสรรค รวมทั้งพัฒนาแหลงทองเที่ยวในเชิงกลุมใหสอดคลองกับพื้นที่และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกและโครงสรางพื้นฐาน สรางความเชื่อมั่นและแกไขปญหาดานความปลอดภัย ควบคูไปกับการบริหารจัดการดานการทองเที่ยว โดยมุงเนนการบูรณาการการทํางานรวมกันของหนวยงานที่เก่ียวของพัฒนาระบบขอมูล พัฒนาบุคลากรและผูประกอบการดานการทองเที่ยวในทุกระดับใหมีศักยภาพ เพื่อขยายโอกาสทางการตลาดและการลงทุนทั้งในระดับประเทศและภูมิภาค อันนําไปสูการเติบโตดานการทองเที่ยวอยางสมดุลและยั่งยืน

5

Page 9:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

อัตรากําลังขาราชการ ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

กระทรวง กรม สํานัก/กอง

ระดับตําแหนง รวม

ที่ ปฏิบัติ งาน

ชํานาญ งาน

อาวุโส ทักษะ พิเศษ

ปฏิบัติ การ

ชํานาญ การ

ชํานาญ การพิเศษ

เชี่ยว ชาญ

ทรง คุณวุฒิ

อํานวยการ ตน

อํานวยการ สูง

บริหาร ตน

บริหาร สูง

คน

กรมอุทยานแหงชาติสัตวปา และพันธุพืช 139 1,436 297 - 521 774 353 3 - 1 23 3 1 3,551

1 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช - - - - - - - - - - 3 3 1 7

2 กลุมตรวจสอบภายใน 1 - - - 3 3 1 - - - - - - 7

3 กลุมพัฒนาระบบบริหาร - - - - 2 1 4 - - - - - - 8

4 สํานักบริหารงานกลาง 42 56 3 - 49 51 11 1 - - 1 - - 213

5 กองคุมครองพันธุสัตวปาและพืชปาตามอนุสัญญา - 13 - - 9 16 13 - - 1 - - - 52

6 กองนิติการ 2 4 2 - 7 10 2 - - - 1 - - 28

7 สํานักปองกัน ปราบปราม และควบคุมไฟปา 5 23 3 - 11 17 6 - - - 1 - - 65

8 สํานักแผนงานและสารสนเทศ 1 8 - - 20 16 7 - - - 1 - - 53

9 สํานักฟนฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ 25 79 6 - 14 19 26 - - - 1 - - 170

10 สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช - 9 - - 4 11 45 2 - - 1 - - 72

11 สํานักอนุรักษและจัดการตนน้ํา 3 25 2 - 15 32 23 - - - 1 - - 101

12 สํานักอนุรักษสัตวปา 2 16 2 - 16 26 22 - - - - - - 84

13 สํานักอุทยานแหงชาต ิ 4 13 2 - 22 31 16 - - - - - - 88

14 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 1(ปราจีนบุร)ี 6 55 24 - 24 31 10 - - - 1 - - 151

15 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 2(ศรีราชา) 5 41 14 - 16 18 11 - - - 1 - - 106

16 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 3(บานโปง) 3 118 24 - 26 46 15 - - - 1 - - 233

17 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 4(สุราษฎรธานี) 6 57 17 - 20 33 9 - - - 1 - - 143

18 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 5(นครศรีธรรมราช) 1 96 18 - 20 37 11 - - - 1 - - 184

19 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 6(สงขลา) 4 68 25 - 28 25 11 - - - 1 - - 162

20 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 7(นครราชสีมา) 3 58 12 - 16 24 8 - - - 1 - - 122

21 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 8(ขอนแกน) 2 54 15 - 18 25 13 - - - 1 - - 127

22 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 9(อุบลราชธานี) 1 50 13 - 20 33 11 - - - 1 - - 129

23 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 10(อุดรธานี) 2 51 21 - 19 34 6 - - - 1 - - 134

6

Page 10:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

อัตรากําลังขาราชการ ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

ที่ กระทรวง กรม สํานัก/กอง ระดับตําแหนง รวม

ปฏิบัติ งาน

ชํานาญ งาน

อาวุโส ทักษะ พิเศษ

ปฏิบัติ การ

ชํานาญ การ

ชํานาญ การพิเศษ

เชี่ยว ชาญ

ทรง คุณวุฒิ

อํานวยการ ตน

อํานวยการ สูง

บริหาร ตน

บริหาร สูง

คน

24 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 11(พิษณุโลก) 5 69 15 - 24 31 11 - - - 1 - - 156

25 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 12(นครสวรรค) 3 42 11 - 17 21 9 - - - 1 - - 104

26 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 13(แพร) 6 161 20 - 28 53 16 - - - - - - 284

27 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 14(ตาก) 1 58 9 - 19 17 10 - - - 1 - - 115

28 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 15(เชียงราย) 4 53 9 - 22 33 9 - - - 1 - - 131

29 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 16(เชียงใหม) 3 159 30 - 32 80 17 - - - 1 - - 322

รวม 139 1,436 297 - 521 774 353 3 - 1 23 3 1 3,551

ขอมูล ณ วันท่ี 1 ตุลาคม 2559 ท่ีมา : สวนการเจาหนาท่ี สํานักบริหารงานกลาง

7

Page 11:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

อัตรากําลังลูกจางประจํา ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

ที่ กระทรวง กรม สํานัก/กอง

ระดับตําแหนง

รวม

บ1

บ2 บ2/หน.

ส1 ส2 ส2/หน.

ส3 ส3/หน.

ส4 ส4/หน.

ช1 ช2 ช2/หน.

ช3 ช3/หน.

ช4 ช4/หน.

ท1

ท2

ท2/หน.

ท3 ท3/หน.

คน

กรมอุทยานแหงชาติสัตวปา และพันธุพืช 5 134 2 27 2,085 1 387 - 20 - 1 117 - 37 - 4 - - - - - - 2,820

1 สํานักบริหารงานกลาง - 6 - - 16 - 29 - 4 - - 2 - 2 - 1 - - - - - - 60

2 กองคุมครองพันธุสัตวปาและพืชปาตามอนุสัญญา 1 1 - - 15 - 6 - 2 - - - - - - - - - - - - - 25

3 กองนิติการ - - - - 1 - - - - - - - - - - - - - - - - - 1

4 สํานักปองกัน ปราบปราม และควบคุมไฟปา - - - 1 22 - 11 - - - - 1 - 1 - - - - - - - - 36

5 สํานักแผนงานและสารสนเทศ - - - - 4 - 1 - - - - - - - - - - - - - - - 5

6 สํานักฟนฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ - 1 - - 33 - 24 - 1 - - 52 - 8 - 3 - - - - - - 122

7 สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช - 11 1 - 29 - 16 - 1 - - 7 - - - - - - - - - - 65

8 สํานักอนุรักษและจัดการตนน้ํา - 1 - 1 9 - 12 - 1 - - - - - - - - - - - - - 24

9 สํานักอนุรักษสัตวปา - 5 - 2 24 - 20 - - - - 1 - - - - - - - - - - 52

10 สํานักอุทยานแหงชาต ิ - 1 - - 26 - 31 - - - - 3 - - - - - - - - - - 61

11 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 1(ปราจีนบุร)ี 1 4 - 1 89 - 25 - - - - 5 - 1 - - - - - - - - 126

12 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 2(ศรีราชา) - 3 - - 119 - 21 - - - - 3 - - - - - - - - - - 146

13 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 3(บานโปง) 1 9 - 7 232 - 4 - 1 - 1 3 - 2 - - - - - - - - 260

14 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 4(สุราษฎรธานี) - 6 - 1 146 - 13 - 1 - - 1 - 4 - - - - - - - - 172

8

Page 12:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

อัตรากําลังลูกจางประจํา ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

ที่ กระทรวง กรม สํานัก/กอง

ระดับตําแหนง

รวม

บ1

บ2 บ2/หน.

ส1 ส2 ส2/หน.

ส3 ส3/หน.

ส4 ส4/หน.

ช1 ช2 ช2/หน.

ช3 ช3/หน.

ช4 ช4/หน.

ท1

ท2

ท2/หน.

ท3

ท3/หน.

คน

15 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 5(นครศรีธรรมราช) - 14 - - 142 - 21 - - - - 3 - 1 - - - - - - - - 181

16 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 6(สงขลา) 1 10 - 2 147 - 19 - - - - 1 - 4 - - - - - - - - 184

17 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 7(นครราชสีมา) - - - 1 94 - 11 - 1 - - 1 - - - - - - - - - - 108

18 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 8(ขอนแกน) 1 10 - 3 124 - 1 - - - - 4 - - - - - - - - - - 143

19 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 9(อุบลราชธานี) - 6 - - 78 - 14 - - - - 1 - 1 - - - - - - - - 100

20 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 10(อุดรธานี) - 1 1 5 96 1 13 - 2 - - - - - - - - - - - - - 119

21 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 11(พิษณุโลก) - 2 - 1 105 - 21 - - - - 7 - 3 - - - - - - - - 139

22 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 12(นครสวรรค) - 1 - - 62 - 1 - - - - 1 - - - - - - - - - - 65

23 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 13(แพร) - 8 - 1 89 - 30 - 3 - - 6 - 5 - - - - - - - - 142

24 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 14(ตาก) - 6 - - 79 - 15 - - - - 2 - - - - - - - - - - 102

25 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 15(เชียงราย) - 2 - - 66 - 15 - 3 - - 1 - 4 - - - - - - - - 91

26 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 16(เชียงใหม) - 26 - 1 238 - 13 - - - - 12 - 1 - - - - - - - - 291

รวม 5 134 2 27 2,085 1 387 - 20 - 1 117 - 37 - 4 - - - - - - 2,820

ขอมูล ณ วันท่ี 1 ตุลาคม 2559 ท่ีมา : สวนการเจาหนาท่ี สํานักบริหารงานกลาง

9

Page 13:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

อัตรากําลังพนักงานราชการ ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

ที่

กระทรวง กรม สํานัก/กอง

ระดับตําแหนง

รวม บริการ เทคนิคทั่วไป บริหารทั่วไป วิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญ

เฉพาะ เทคนิคพิเศษ ระดับทั่วไป ระดับ

ประเทศ ระดับสากล คน

กรมอุทยานแหงชาติสัตวปา และพันธุพืช 9,351 4,268 1,363 21 - - 1 - - 15,004

1 กลุมตรวจสอบภายใน 5 - 2 - - - - - - 7

2 กลุมพัฒนาระบบบริหาร 6 - 2 - - - - - - 8

3 สํานักบริหารงานกลาง 48 3 36 - - - - - - 87

4 กองคุมครองพันธุสัตวปาและพืชปาตามอนุสัญญา 13 76 15 - - - - - - 104

5 กองนิติการ 10 - 4 - - - - - - 14

6 สํานักปองกัน ปราบปราม และควบคุมไฟปา 138 196 44 - - - - - - 378

7 สํานักแผนงานและสารสนเทศ 32 - 77 - - - - - - 109

8 สํานักฟนฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ 67 37 82 4 - - - - - 190

9 สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช 27 2 47 - - - 1 - - 77

10 สํานักอนุรักษและจัดการตนน้ํา 23 31 52 - - - - - - 106

11 สํานักอนุรักษสัตวปา 23 86 64 11 - - - - - 184

12 สํานักอุทยานแหงชาต ิ 23 34 67 6 - - - - - 130

13 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 1(ปราจีนบุร)ี 459 250 43 - - - - - - 752

14 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 2(ศรีราชา) 445 203 42 - - - - - - 690

15 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 3(บานโปง) 820 293 59 - - - - - - 1,172

16 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 4(สุราษฎรธานี) 525 247 66 - - - - - - 838

17 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 5 (นครศรีธรรมราช) 738 267 66 - - - - - - 1,071

18 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 6(สงขลา) 703 280 56 - - - - - - 1,039

10

Page 14:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

อัตรากําลังพนักงานราชการ ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

ที ่

กระทรวง กรม สํานัก/กอง

ระดับตําแหนง

รวม

บริการ เทคนิคทั่วไป บริหารทั่วไป วิชาชีพเฉพาะ เช่ียวชาญเฉพาะ เทคนิคพิเศษ ระดับทั่วไป ระดับ ประเทศ

ระดับสากล คน

19 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 7(นครราชสีมา) 423 189 40 - - - - - - 652

20 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 8(ขอนแกน) 569 203 41 - - - - - - 813

21 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 9(อุบลราชธานี) 562 202 42 - - - - - - 806

22 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 10(อุดรธานี) 368 171 33 - - - - - - 572

23 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 11(พิษณุโลก) 640 281 56 - - - - - - 977

24 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 12(นครสวรรค) 293 195 26 - - - - - - 514

25 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 13(แพร) 560 233 88 - - - - - - 881

26 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 14(ตาก) 422 238 39 - - - - - - 699

27 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 15(เชียงราย) 292 185 47 - - - - - - 524

28 สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 16(เชียงใหม) 1,117 366 127 - - - - - - 1,610

รวม 9,351 4,268 1,363 21 - - 1 - - 15,004

ขอมูล ณ วันท่ี 1 ตุลาคม 2559 ท่ีมา : สวนการเจาหนาท่ี สํานักบริหารงานกลาง

11

Page 15:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ขอกําหนดพิเศษในการปฏิบัติงาน (นักวิชาการปาไม เจาพนักงานปาไม และพนักงานพิทักษปา) ซึ่งมีหนาที่ในการปองกันการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมและสัตวปา การปองกันไฟปา และการใหบริการดานการทองเท่ียวและนันทนาการ จะตองมีความรู ทักษะ และสมรรถนะ ดังนี้ 1. การดํารงชีพในปา 2. การใชอาวุธปนประจํากายในการออกตรวจปราบปราม 3. การใชเคร่ืองมือหาตําแหนงพิกัดจากดาวเทียม ( GPS) และการลาดตระเวนเชิงคุณภาพ 4. การใชเคร่ืองมือวิทยุสื่อสาร 5. การใชเคร่ืองมือในการควบคุมไฟปา 6. ความรูดานสัตวปา 7. ความรูดานกฎหมายที่เก่ียวของ 8. สภาพรางกายและจิตใจที่เก่ียวของ 9. การใหบริการดานการทองเที่ยวและนันทการตลอดจนการดูแลความปลอดภัยนักทองเที่ยว 10. การใชอุปกรณดําน้ําในอุทยานแหงชาติทางทะเล

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืชมีเทคโนโลยี อุปกรณ และสิ่งอํานวยความสะดวก รวมทั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศตางๆ ในการใหบริการและการปฏิบัติงาน

เทคโนโลยี: - ระบบงานหองสมุด - ระบบงานการจองที่พักอุทยานแหงชาติ - ระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจในการบริหารจัดการอุทยานแหงชาติ - ระบบฐานขอมูลความหลากหลายทางชีวภาพ - ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส - ระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส - ระบบงานเงินเดือนขาราชการ และลูกจางประจํา และสวัสดิการ - ระบบงานเงินเดือน/คาจาง พนักงานราชการ - ระบบบริหารงานคลัง - ระบบบริหารงานพัสดุ - ระบบแผนการขอตั้งงบประมาณ - ระบบการติดตามและประเมินผล - โปรแกรมระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม ( DPIS) - ระบบแผนที่และฐานขอมูลการถือครองที่ดิน - ระบบงานทะเบียนวิจัย - ระบบเชื่อมโยงคําขอกลางและระบบสนับสนุนใบอนุญาตและใบรับรองผานอินเตอรเน็ต ( CITES) - ระบบเผยแพรขอมูลขาวสาร - ระบบรับเร่ืองรองเรียนผานเว็บไซต - ระบบบริหารจัดการเร่ืองรองเรียน - ระบบขอมูลสวนบุคคล - ระบบการบันทึกงบเดือน วันลา - ระบบจองหองประชุมออนไลน - ระบบรายงานการดําเนินงาน ตามแผนการฟนฟูการอนุรักษปาและดิน การทําฝาย - ระบบการรับเงินกลาง (ใบเสร็จกลาง) - ระบบ GIS - เว็บไซตกรม อุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช - ระบบเครือขายภายใน ( LAN) - ระบบเครือขาย Internet - ระบบไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ( E-mail) 12

Page 16:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

- ระบบวิทยุสื่อสาร - ระบบโทรศัพท (โทรสาร โทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบสายดวนแจงเหตุดวน 1362) - ระบบจายตรงคารักษาพยาบาล - ระบบ GFMIS (การบริหารงบประมาณและพัสดุ) - โปรแกรมการขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ - ระบบพัสดุผานเครือขาย Internet

อุปกรณ: - หมวดครุภัณฑสํานักงาน - หมวดครุภัณฑพาหนะและขนสง - หมวดครุภัณฑโฆษณาและเผยแพร - หมวดครุภัณฑการเกษตร - หมวดครุภัณฑกอสราง - หมวดครุภัณฑสํารวจ - หมวดครุภัณฑวิทยาศาสตร - หมวดครุภัณฑคอมพิวเตอร - หมวดครุภัณฑงานบานงานครัว - หมวดครุภัณฑสนาม - หมวดครุภัณฑอาวุธยุทโธปกรณทางทหาร - หมวดครุภัณฑอ่ืน

สิ่งอํานวยความสะดวก: 1. กลุมบริการอาคารสถานที่ - หองสมุด - หองประชุม - ศูนยอาหารวนาลี - สถานที่บํารุงรักษารถราชการ - อาคารจอดรถ - รานคาสวัสดิการ - ศูนยฝกอบรม - บานพักขาราชการ - ลาดจอดเฮลิคอปเตอร 2. กลุมอํานวยความสะดวก - สหกรณออมทรัพยกรมปาไม - ตู ATM - ตูโทรศัพทสาธารณะ - ตูน้ําดื่ม - มุมพักผอน - สวนหยอม - ระบบโทรศัพทภายใน - ทาเทียบเรือลอยน้ําและทุนผูกเรือบริเวณจุดดําน้ําดูปะการัง 3. กลุมรักษาความปลอดภัย : เจาหนาที่รักษาความปลอดภัย, กลองวงจรปด 4. กลุมสื่อสารและเผยแพร : โทรทัศน, การกระจายเสียงตามสาย, ศูนยฺบริการประชาชน, สิ่งพิมพ, แผนพับ, จุลสาร

13

Page 17:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืชดําเนินการภายใตกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับที่สําคัญดังน้ี

กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ เน้ือหาสาระสําคัญของกฎหมาย

กฎ ระเบียบ ขอบังคับ สวนราชการท่ีเปน

ผูรักษาการตามกฎหมาย 1. พระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2504 พระราชกําหนดแกไขเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2504 พ.ศ. 2532

เพ่ือคุมครองรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ท่ีมีอยู เชนพันธุไมและของปาสัตวปาตลอดจนทิวทัศน ปา และภูเขา ใหคงอยูในสภาพธรรมชาติเดิม มิใหถูกทําลาย หรือเปลี่ยนแปลงไปเพ่ืออํานวยประโยชนท้ังทางตรงและทางออมแกรัฐและประชาชน

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

2. พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2546 และพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2557

เพ่ือสงวนและคุมครองพันธุสัตวปาและ ถ่ินท่ีอยูอาศัยของสัตวปา เปดโอกาสใหมีการเพาะพันธุและคาสัตวปาบางชนิดได รวมท้ังจะตองเรงรัดการขยายพันธุสัตวปา และใหการสงวนและคุมครองสัตวปาควบคูกันไป ตลอดจนความตกลงระหวางประเทศในการท่ีจะรวมมือกันเพ่ือสงวนและคุมครองสัตวปาของทองถ่ินอันเปนทรัพยากรท่ีสําคัญของโลก รวมท้ังการบริหารจัดการซากของสัตวปา ผลิตภัณฑจากซากของสัตวปา

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

3. พระราชบัญญัติงาชาง พ.ศ. 2558 เพ่ือควบคุมการคาการนําเขาสงออก และการครอบครองงาชางหรือผลิตภัณฑงาชางบาน

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

4. พระราชบัญญัติปาไมพุทธศักราช 2484

เพ่ือคุมครองและบํารุงรักษาปาไมอันเปนทรัพยากรธรรมชาติใหไดผลดียิ่งข้ึน

กรมปาไม

5. พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม

เพ่ือสงวนปาไมไวเปนเน้ือท่ีประมาณ รอยละ 40 ของเน้ือท่ีประเทศไทย เน่ืองจากปาไมท่ีสงวนคุมครองไวแลว และท่ียังมิไดสงวนคุมครองไดถูกบุกรุกและถูกทําลายเปนจํานวนมาก ซึ่งอาจเปนตนเหตุใหเกิดความแหงแลงพ้ืนดินพังทลาย ลํานํ้าตื้นเขิน หรือเกิดอุทกภัยอันเปนผลเสียหายแกการเกษตรและเศรษฐกิจของประเทศอยางรายแรงวาดวยการกําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการอนุญาตใหเอกชนเขาทําประโยชนในปาสงวนแหงชาติดานตาง ๆ และสงเสริมใหเอกชนมีการปลูกปามากข้ึน

กรมปาไม

6. พระราชบัญญัติเลื่อยโซยนต พ.ศ. 2545

เพ่ือควบคุมการมีไวในครอบครอง และการนําเขามาในราชอาณาจักร ซึ่งจะเปนการเพ่ิมมาตรการในการปองกันและปราบปรามการบุกรุกตัดไมทําลายปาตามนโยบายของรัฐบาล และในขณะเดียวกไมเปนอุปสรรคตอการประกอบอาชีพท่ีตองใชเลื่อยโซยนตโดยสุจริต

กรมปาไม

14

Page 18:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ เน้ือหาสาระสําคัญของกฎหมาย

กฎ ระเบียบ ขอบังคับ สวนราชการท่ีเปน

ผูรักษาการตามกฎหมาย 7. พระราชบัญญัติสงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535

1. เพ่ือกําหนดประเภทและขนาดของ โครงการท่ีตองการทําการประเมินผล กระทบสิ่งแวดลอม (EIA) 2. กําหนดหลักเกณฑระเบียบปฏิบัติ 3. คณะกรรมการผูชํานาญการพิจารณา EIA 4. นิติบุคคลผูมีสิทธิทํา EIA 5. นํามาตรการ EIA เปนเง่ือนไขการ อนุญาต

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

8. พระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2544

เพ่ือรับรองสถานะทางกฎหมายของขอมูลอิเล็กทรอนิกสท่ีใชในการทําธุรกรรมหรือสัญญา ใหมีผลเชนเดียวกับการทําสัญญาตามหลักเกณฑท่ีกฎหมายปจจุบัน (ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย) กําหนดไว กลาวคือ ถามีการทําสัญญาระหวางบุคคลท่ีใชขอมูลอิเล็กทรอนิกสหรือลายมือช่ืออิเล็กทรอนิกสตามความหมายของกฎหมายแลว ถือวาการทําสัญญาน้ันไดทําตามหลักเกณฑขางตนของกฎหมายแพงและพาณิชยแลว เปนผลทําใหสัญญาน้ันมีผลสมบูรณหรือใชบังคับไดตามกฎหมาย ท้ังน้ี เปนไปตามเง่ือนไข ท่ีกฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสกําหนด

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT)

9. พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550

เตรียมความพรอมรับมือเพ่ือปองกันไมใหเกิดการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอรและพัฒนาใหการใชงานคอมพิวเตอรในประเทศไทยเปนไปในทิศทางท่ีเหมาะสม เกิดประโยชน และสรางสรรค และกําหนดบทลงโทษสําหรับผูกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT))

10. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

เพ่ือกําหนดหลักเกณฑ และข้ันตอนตางๆ สําหรับการดําเนินงานทางปกครองข้ึน เพ่ือใหการดําเนินงานเปนไปโดยถูกตองตามกฎหมาย มีประสิทธิภาพในการใชบังคับกฎหมายใหสามารถรักษาประโยชนสาธารณะได และอํานวยความเปนธรรมแกประชาชน อีกท้ังยังเปนการปองกันการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ

สํานักนายกรัฐมนตรี

11.พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. 2539 และระเบียบ สํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเก่ียวกับความรับผิดทางละเมิดของ เจาหนาท่ี พ.ศ. 2539

เพ่ือใหการบริหารงานของรัฐเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เจาหนาท่ีกลาตัดสินใจในการดําเนินงานตาง ๆ อันเน่ืองจากการไดทราบถึงความรับผิดชอบท่ีจะเกิดแกตน จะมีกระบวนการท่ีเปนธรรม

กระทรวงการคลัง

15

Page 19:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ เน้ือหาสาระสําคัญของกฎหมาย

กฎ ระเบียบ ขอบังคับ สวนราชการท่ีเปน

ผูรักษาการตามกฎหมาย 12. พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของทางราชการพ.ศ. 2540

เพ่ือใหประชาชนมีโอกาสไดรับขอมูลขาวสารเก่ียวกับการดําเนินการตาง ๆ ของรัฐท่ีจําเปน เพ่ือท่ีประชาชนจะสามารถแสดงความคิดเห็นและใชสิทธิ ทางการเมืองโดยถูกตองกับความเปนจริง กําหนดใหประชาชนมีสิทธิไดรูขอมูลขาวสารของทางราชการ โดยมีขอยกเวนอันไมตองเปดเผยท่ีแจงชัดและจํากัดเฉพาะขอมูลขาวสารท่ีหากเปดเผยแลวจะเกิดความเสียหายตอประเทศชาติหรือตอประโยชนท่ีสําคัญของเอกชน

สํานักนายกรัฐมนตรี

13. พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542

เพ่ือใหการพิจารณาพิพากษาคดีท่ีมีขอพิพาททางกฎหมายปกครองระหวางเอกชนกับหนวยงานของรัฐ หรือเจาหนาท่ีของรัฐ หรือระหวางหนวยงานของรัฐ หรือเจาหนาท่ีของรัฐดวยกัน เก่ียวกับการกระทําหรือการละเวนการกระทําท่ีหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาท่ีของรัฐตองปฏิบัติตามกฎหมาย หรือเน่ืองจากการกระทําหรือการละเวนการกระทําท่ีหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาท่ีของรัฐตองรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาท่ีตามกฎหมายซึ่งตามอํานาจหนาท่ีของศาลปกครองเปนเรื่องท่ีเก่ียวของกับการออกกฎหรือคําสั่งทางปกครอง อันเปนเรื่องของกฎหมายมหาชน

ศาลปกครอง

14.พระราชบัญญัติการบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต พ.ศ. ๒๕๕๓

เพ่ือใหมีหนวยปฏิบัติงานหลักท่ีสามารถดําเนินการบูรณาการในการพัฒนาและแกไขปญหาในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใตใหเปนระบบมีเอกภาพท้ังในเรื่องนโยบาย ยุทธศาสตรการบังคับบัญชาและการปฏิบัติรวมท้ังการใหความสําคัญกับกระบวนการมีสวนรวมของภาคประชาชนอันจะสงผลใหเกิดการพัฒนาและแกไขปญหาในจังหวัดชายแดนภาคใตไดอยางมีประสิทธิภาพ

สํานักนายกรัฐมนตรี

15. พระราชบัญญัติการอํานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการพ.ศ. ๒๕๕๘

เพ่ือใหมีกฎหมายกลางท่ีจะกําหนดข้ันตอนและระยะเวลาในการพิจารณาอนุญาตและมีการจัดตั้งศูนยบริการรวม เพ่ือรับคํารองและศูนยรับคําขออนุญาต ณจุดเดียวเพ่ือใหขอมูลท่ีชัดเจนเก่ียวกับการขออนุญาตซึ่งจะเปนการอํานวยความสะดวกแกประชาชน

สํานักนายกรัฐมนตรี

16

Page 20:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ เน้ือหาสาระสําคัญของกฎหมาย

กฎ ระเบียบ ขอบังคับ สวนราชการท่ีเปน

ผูรักษาการตามกฎหมาย 16. ประมวลกฎหมายอาญา กฎหมายเก่ียวกับการปาไม เปนกฎหมาย

ท่ีมีโทษทางอาญา จึงตองนําบทบัญญัติประมวลกฎหมายอาญาและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาใช

หนวยงานสังกัดกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานตํารวจแหงชาติ

17. ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

เมื่อเกิดความเสียหายกับนิติกรรมสัญญาตางๆ จึงตองมีการฟองรองดําเนินคดีกับ ผูท่ีเก่ียวของในการทําละเมดิ

หนวยงานสังกัดกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานตํารวจแหงชาติ

18. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

กฎหมายเก่ียวกับการปาไม ถือวาเปนกฎหมายอาญาชนิดหน่ึง ฉะน้ันการดําเนินคดีจึงตองดําเนินการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

หนวยงานสังกัดกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานตํารวจแหงชาติ

19. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง

การกระทําผิดตามกฎหมายเก่ียวกับการปาไม ถือเปนการกระทําละเมิด บางครั้งทําใหเกิดความเสียหายกับรัฐ จึงตองมีการฟองรองเรียกคาเสียหาย จากผูกระทําผิดหรือผูมีสวนเก่ียวกับการกระทําผิด ฉะน้ันการดําเนินคดีจึงตองดําเนินการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง

หนวยงานสังกัดกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานตํารวจแหงชาติ

20. พระราชกฤษฎีกากําหนดหลักเกณฑและวิธีการในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ พ.ศ. 2549

เพ่ือตองการใหการทําธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสภาครัฐมีผลทางกฎหมาย เพ่ือพัฒนาการทําธุรกรรมทางออนไลน ของภาครัฐใหอยูภายใตมาตรฐานหรือทิศทางเดียวกัน โดยมีการจัดทํา - แนวนโยบาย/แนวทางปฏิบัติในการ รักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ - แนวนโยบาย/แนวทางปฏิบัติในการคุมครองขอมูลสวนบุคคล

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT))

21. ระเบียบวาดวยการบริหาร งบประมาณ พ.ศ. 2548 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม

กําหนดวิธีการจักสรรงบประมาณรายจายตามพระราชบัญญัติงบประมาณ รายจายประจําป หรือพระราชบัญญัต ิงบประมาณรายจายเพ่ิมเติมรวมถึงการ โอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณ รายจาย เพ่ือใหสวนราชการและรัฐวิสาหกิจใชจายงบประมาณรายจายไดอยางรวดเร็วใหเกิดประโยชนสูงสุดและคุมคา

สํานักงบประมาณ

22. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม

ดําเนินการจัดหา ควบคุม และจําหนายพัสดุตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสด ุซึ่งมาจากเงินงบประมาณ เงินกู และเงินชวยเหลือ

สํานักนายกรัฐมนตรี

23. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ วาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิส พ.ศ. 2549

ดําเนินการจัดหาพัสดุตามระเบียบ สํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสด ุ พ.ศ. 2535 และฉบับท่ีแกไขเพ่ิมเติมดวยวิธีการซื้อหรือการจาง แตไมรวมถึง การจางท่ีปรึกษา การจางออกแบบและ

สํานักนายกรัฐมนตรี

17

Page 21:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ เน้ือหาสาระสําคัญของกฎหมาย

กฎ ระเบียบ ขอบังคับ สวนราชการท่ีเปน

ผูรักษาการตามกฎหมาย ควบคุมงาน การซื้อหรือการจางโดยวิธีพิเศษและวิธีกรณีพิเศษท่ีสามารถทําไดตามระเบียบอ่ืน ท่ีมีมูลคาตั้งแต 2 ลานบาทข้ึนไป

24. กฎกระทรวง ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2540 กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขการจัดตั้ง และดําเนินกิจการสวนสัตวสาธารณะ

เพ่ือหลักเกณฑการขอใบอนุญาตใหจัดตั้ง และดําเนินกิจการสวนสัตวสาธารณะ และตอใบอนุญาตใหจัดตั้งและดําเนินกิจการสวนสัตวสาธารณะ

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

25. กฎกระทรวง กําหนดชนิดของ สัตวปาคุมครองใหเปนสัตวปาชนิด ท่ีเพาะพันธุได พ.ศ.2546

เพ่ือกําหนดชนิดของสัตวปาคุมครองใหเปนสัตวปาชนิดท่ีเพาะพันธุได ดังน้ี 1. สัตวปาจําพวกสัตวเลี้ยงลูกดวยนม8 ชนิ 2. สัตวปาจําพวกนก 42 ชนิด 3.สัตวปาจําพวกสัตวเลื้อยคลาน7 ชนิด 4. สัตวปาจําพวกปลา 3 ชนิด

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

26. กฎกระทรวง กําหนดแบบและวิธีการครอบครองสัตวปาคุมครองและซากของสัตวปาคุมครอง การออกใบอนุญาตใหครอบครองสัตวปาคุมครองช่ัวคราว และการออกใบรับรองการครอบครองของสัตวปาคุมครอง พ.ศ. 2550

เพ่ือกําหนดรูปแบบและการแจงครอบครองสัตวปา ตามมาตรา 61 แหงพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 (แบบ สป. 1) และสถานท่ียื่นคําขอ โดยในกรุงเทพมหานคร ใหยื่นท่ีสํานักอนุรักษสัตวปา กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช สวนในทองท่ีอ่ืนนอกเหนือจากกรุงเทพมหานคร ใหยื่นท่ีสํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ี 1 - 16 และสาขา ท่ีมีการครอบครองหรือซากของสัตวปาคุมครองน้ัน เวนแตเปนการแจงครอบครองสัตวปาคุมครองหรือซากของสัตวปาคุมครองท่ีเปนสัตวนํ้า โดยในกรุงเทพมหานคร ใหยื่นท่ีสํานักจัดการดานการประมง กรมประมง สวนในทองท่ีอ่ืนนอกจากกรุงเทพมหานคร ใหยื่นท่ีสํานักงานประมงจังหวัดท่ีสัตวนํ้าน้ันอยู

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

27. กฎกระทรวง กําหนดคาธรรมเนียมใบอนุญาตและรับรอง พ.ศ. 2550

เพ่ือกําหนดคาธรรมเนียมใบอนุญาต ดังน้ี ใหเพาะพันธุ ใหมีไวครอบครองซึ่งสัตวปาคุมครองท่ีไดมาจากการเพาะพันธุ ใหคาสัตวปาคุมครอง หรือซากของสัตวปาคุมครองท่ีไดมาจากการเพาะพันธุ ใหนําเขาหรือสงออกซึ่งสัตวปาคุมครอง หรือซากของสัตวปาคุมครองท่ีไดมาจากการเพาะพันธุ ใหนําเขาหรือสงออกซึ่งสัตวปาหรือซากของสัตวปาท่ีเปนสัตวนํ้า ใหนําผานซึ่งสัตวปาสงวนหรือซากของสัตวปาคุมครอง นําสัตวปาหรือซากของสัตวปาคุมครองเคลื่อนท่ีเพ่ือการคา ใบรับรองใหนําเขาสงออกหรือนําผานซึ่งสัตวปาหรือซากของสัตวปา ใหจัดตั้งและดําเนินกิจการสวนสัตวสาธารณะ ใบแทน

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

18

Page 22:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ เน้ือหาสาระสําคัญของกฎหมาย

กฎ ระเบียบ ขอบังคับ สวนราชการท่ีเปน

ผูรักษาการตามกฎหมาย ใบอนุญาตหรือใบรับรอง ใบตออายุใบอนุญาตเทากับอัตราคาธรรมเนียมใบอนุญาตเดิม

28. กฎกระทรวง กําหนดใหสัตวปาบางชนิดเปนสัตวปาคุมครอง พ.ศ. 2546

เพ่ือกําหนดบัญชีสัตวปาคุมครอง ประกอบดวย 1. สัตวปาจําพวกสัตวเลี้ยงลูกดวยนม 201 ชนิด 2. สัตวปาจําพวกนก 952 ชนิด 3.สัตวปาจําพวกสัตวเลื้อยคลาน 91 ชนิด 4.สัตวปาจําพวกสะเทินนํ้าสะเทินบก 12 ช 5. สัตวปาไมมีกระดูกสันหลัง (แมลง) 20 6. สัตวปาจําพวกปลา 14 ชนิด

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

29. กฎกระทรวง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขการขอและการออกใบอนุญาตในการเพาะพันธุสัตวปาสงวนหรือสัตวปาคุมครอง การครอบครองและการนําเคลื่อนท่ี เพ่ือการคาซึ่งสัตวปาคุมครอง และซากของสัตวปาคุมครอง และการคาสัตวปาคุมครอง ซากของสัตวปาคุมครอง และผลิตภัณฑท่ีทําจากซากสัตวปาคุมครอง พ.ศ. 2551

เพ่ือกําหนดหลักเกณฑการขอใบอนุญาต ดังน้ี 1. การเพาะพันธุสัตวปาสงวนหรือ สัตวปาคุมครอง 2. ใบอนุญาตใหคาสัตวปาคุมครองท่ีไดมาจากการเพาะพันธุ 3. ใบอนุญาตใหนําสัตวปาคุมครองเคลื่อนท่ีเพ่ือการคา 4. ใบอนุญาตใหมีไวในครองครองซึ่ง สัตวปาคุมครองท่ีไดมาจากการเพาะพันธุ

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

30. ระเบียบกรมปาไม วาดวยการอนุญาตใหเขาไปดําเนินกิจการทําเหมืองแรหรือปโตเลียม ท่ีไดรับใบอนุญาต อาชญาบัตร ประทานบัตร หรือสัมปทาน อยูกอนวันท่ีพระราชกฤษฎีกากําหนดอุทยานแหงชาติแหงชาติใชบังคับ พ.ศ. 2539 (ใชควบคูกับพระราชกฤษฎีกาแบงราชการ)

บุคคลใดไดรับใบอนุญาต อาชญาบัตร และประทานบัตร ตามกฎหมายวาดวย ปโตเลียมอยูกอนวันท่ีพระราชกฤษฎีกากําหนดอุทยานแหงชาติแหงใดใชบังคับและมีความประสงคจะดําเนินกิจการทําเหมืองแรหรือปโตเลียมในเขตอุทยานแหงชาติน้ันตอไป ใหยื่นคําขอตอหัวหนาอุทยานแหงชาติน้ันตามแบบ อ.ช.5 ทายระเบียบน้ี พรอมดวยหลักฐานตาม ท่ีระบุไวในคําขอ ซึ่งเปนไปตามมาตรา 3 ของพระราชกําหนดแกไขเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2504 พ.ศ. 2532

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

31. ระเบียบกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช วาดวยการอนุญาตใหผูไดรับอนุญาตเก็บรังนกอีแอนเขาไปในอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2549

เพ่ือใหผูไดรับอนุญาตเก็บรังนกอีแอน ตามพระราชบัญญัติอากรรังนกอีแอน พ.ศ. 2549 สามารถเขาไปในอุทยานแหงชาติ เพ่ือเก็บรังนกอีแอนโดยชอบ ดวยกฎหมาย วาดวยอุทยานแหงชาติ

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

32. อนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศซึ่งชนิดพันธุสัตวปาและพืชปาท่ีใกลสูญพันธุ(Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora : CITES)

อนุสัญญา CITES กระทําข้ึน ณ กรุงวอชิงตัน เมื่อวันท่ี 3 มีนาคม ป 1973 (3 มีนาคม 2516) เพ่ือใชบังคับใหประเทศภาคีตองปฏิบัติตามมาตรการการคา ซึ่งมีการนําเขา สงออก สงกลับออกไป และการนําเขาจากทะเลซึ่งชนิดพันธุสัตวปาและพืชปา หามการคาชนิด

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช (เฉพาะในสวนท่ีเก่ียวของ)

19

Page 23:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ เน้ือหาสาระสําคัญของกฎหมาย

กฎ ระเบียบ ขอบังคับ สวนราชการท่ีเปน

ผูรักษาการตามกฎหมาย พันธุท่ีเปนการฝาฝนอนุสัญญา ตลอดการลงโทษทางการคาการริบของกลาง หรือการสงคืนไปยังประเทศผูสงออกซึ่งชนิดพันธุท่ีฝาฝนอนุสัญญา โดยประเทศไทยเขารวมเปนภาคีในอนุสัญญาเมื่อวันท่ี 21 มกราคม 2526

33.อนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ (Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage: The World Heritage Convention)

เพ่ือการสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศในการคุมครองและอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติใหดํารงคุณคาความโดดเดนเปนมรดกของมวลมนุษยชาติท้ังในปจจุบันและอนาคตตอไป สําหรับแหลงมรดกโลกของประเทศไทยท่ีไดรับการประกาศเปนแหลงมรดกโลก มีจํานวน 5 แหง ประกอบดวย แหลงมรดกทางวัฒนธรรม 3 แหง คือ อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย-ศรีสัชนาลัย อุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา และโบราณคดีบานเชียง แหลงมรดกทางธรรมชาติ 2 แหง คือ เขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวร-หวยขาแขงและพ้ืนท่ีกลุมปาดงพญาเย็น-เขาใหญ

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช (เฉพาะในสวนท่ีเก่ียวของ)

34.อนุสัญญาวาดวยพ้ืนท่ีชุมนํ้า หรืออนุสัญญาแรมซาร(The Convention on Wetlands or Ramsar Convention)

เพ่ืออนุรักษและยับยั้งการสูญหายของพ้ืนท่ีชุมนํ้าในโลก ซึ่งตองมีการจัดการเพ่ือใชประโยชนอยางชาญฉลาด หลักการของอนุสัญญา คือ การดําเนินงานระดับชาติและความรวมมือระหวางประเทศในการอนุรักษและใชประโยชนพ้ืนท่ีชุมนํ้าและทรัพยากรในพ้ืนท่ีชุมนํ้าอยางยั่งยืน โดยเฉพาะพ้ืนท่ีชุมนํ้าท่ีมีความสําคัญระหวางประเทศ และพ้ืนท่ีชุมนํ้าท่ีหลายประเทศเปนเจาของและใชประโยชนรวมกัน ปองกันและยับยั้งการสูญเสียพ้ืนท่ีชุมนํ้าของโลก โดยสงเสริมสนับสนุนใหมีการอนุรักษควบคูกับการใชประโยชนพ้ืนท่ีชุมนํ้าอยางชาญฉลาด

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช (เฉพาะในสวนท่ีเก่ียวของ)

35. อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity : CBD)

เปนความตกลงดานสิ่งแวดลอมระหวางประเทศท่ีมีเจตนารมณใหรัฐบาลทุกประเทศเครงครัดตอการรักษาวินัยสิ่งแวดลอม หมายถึง มีความตองการอยางมากท่ีจะพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ แตก็ตองไมละเลยการอนุรักษธรรมชาติดวย มีวัตถุประสงค ดังน้ี 1) เพ่ืออนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช (เฉพาะในสวนท่ีเก่ียวของ)

20

Page 24:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ เน้ือหาสาระสําคัญของกฎหมาย

กฎ ระเบียบ ขอบังคับ สวนราชการท่ีเปน

ผูรักษาการตามกฎหมาย 2) เพ่ือใชประโยชนองคความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน 3) เพ่ือแบงปนผลประโยชนจากการใช ทรัพยากรพันธุกรรมอยางเทาเทียมและยุติธรรม

36. อนุสัญญาสหประชาชาติ วาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change : UNFCCC)

เพ่ือรักษาระดับความเขมขนของปริมาณกาซเรือนกระจกในช้ันบรรยากาศใหอยูในระดับท่ีปลอดภัย เพ่ือใหธรรมชาติสามารถปรับตัวได และเพ่ือเปนการประกันวาจะไมมีผลกระทบตอความ มั่นคงทางอาหารและการพัฒนาเศรษฐกิจท่ียั่งยืน

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช (เฉพาะในสวนท่ีเก่ียวของ)

37. อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานการแปรสภาพเปนทะเลทราย (United Nations Convention to Combat Desertification : UNCCD)

เพ่ือตอตานการแปรสภาพเปนทะเลทรายและการแกไขผลกระทบของความแหงแลง และ/หรือ การแปรสภาพเปนทะเลทรายอยางรุนแรง โดยเฉพาะในทวีปแอฟริกา ดวยการปฏิบัติการท่ีมีประสิทธิภาพในทุกๆ ระดับท่ีสนับสนุนโดยความรวมมือระหวางประเทศ ท้ังในลักษณะของการประสานงานและการใหความรวมมือภายใตกรอบของแนวทางการบูรณาการท่ีสอดคลองกับแผนปฏิบัติการ 21 (Agenda 21)

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช (เฉพาะในสวนท่ีเก่ียวของ)

หมายเหตุ สวนราชการท่ีเปนผูรักษาการตามกฎหมาย หมายถึง สวนราชการท่ีเปนผูวินิจฉัยหรือตีความในกรณีท่ีมีปญหาในการดําเนินการตามกฎหมายน้ันๆ

21

Page 25:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ข.ความสัมพันธภายในภายนอกองคการ

(6)โครงสรางองคการ และวิธีการจัดการท่ีแสดงถึงการกํากับดูแลตนเองท่ีดีเปนเชนใด (#) วิธีการจัดการท่ีแสดงถึงการกํากับดูแลตนเองท่ีดี ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช คือ 1. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช มีกลุ มตรวจสอบภายในซึ่งเป นหน วยงานอิสระ ท่ีรายงานผลการ

ดําเนินงานตรงต ออธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช โดยมีหน าท่ีตรวจสอบ วิเคราะห รวมท้ังประเมินผลการดําเนินการตามนโยบายกฎหมายระเบียบข อบังคับคําสั่งและมติคณะรัฐมนตรีท่ีเก่ียวข องกับการบริหารงบประมาณการบริหารพัสดุ และทรัพยสินเพ่ือใหการใช ทรัพยากรของทางราชการทุกประเภท เปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

2. มีการวิเคราะหโครงการสําคัญของกรมและนํามาจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง 4 ดานและดําเนินการตามแผน 3. มีศูนยราชการใสสะอาดเพ่ือรับเรื่องรองทุกข รองเรียนตางๆ เก่ียวกับการประพฤติปฏิบัติหนาท่ีโดยมิชอบ โดยมี

ชองทางการสื่อสาร ผานทาง Internet ตูไปรษณีย และหนังสือโดยตรง 4. มีระบบควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ นดินว าดวยการกําหนดมาตรฐาน การควบคุม

ภายในพ.ศ. 2544 5. มีผูตรวจราชการกรมอุทยานแหงชาติสัตวปา และพันธุพืช ทําหนาท่ีรับผิดชอบและมีอํานาจและหนาท่ีในการ

ตรวจราชการเก่ียวกับการปฏิบัติราชการของหนวยงานของรัฐและเจาหนาท่ีของรัฐ เฉพาะในขอบเขตอํานาจและหนาท่ีของกรม ในฐานะผูสอดสองดูแลแทนอธิบดี

6. มีการจัดทําแผนการปองกันและปราบปรามทุจริตและประพฤติมิชอบ

22

Page 26:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

(

หมายเหตุ * หนวยงานที่จัดตั้งเปนการภายใน

อธิบดี

ผูตรวจราชการกรม (4)

รองอธิบดี(2)

กลุมพัฒนาระบบบริหาร กลุมตรวจสอบภายใน

สํานักบริหารงานกลาง สวนอํานวยการ สวนการเจาหนาที่ สวนฝกอบรม สวนการคลัง สวนประชาสัมพันธและเผยแพร สวนการพัสดุ ศูนยปฏิบัติการและอาคารสถานที่

สํานักแผนงานและสารสนเทศ สวนอํานวยการ สวนนโยบายและแผน สวนติดตามประเมินผล สวนจัดการงบประมาณ สวนความรวมมือระหวางประเทศ ศูนยสารสนเทศ

สํานักปองกัน ปราบปราม และควบคุมไฟปา สวนอํานวยการ สวนแผนการปองกันพ้ืนที่อนุรักษ สวนควบคุมไฟปา สวนยุทธการดานปองกันและปราบปราม สวนประสานงานความรวมมือดานทรัพยากรธรรมชาติ

สํานักอนุรักษสัตวปา ผุเช่ียวชาญเฉพาะดานอนุรักษสัตวปา สวนอํานวยการ สวนจัดการพื้นท่ีอนุรักษสัตวปา สวนคุมครองสัตวปา สวนสงเสริมและเผยแพร กลุมงานวิจัยสัตวปา กลุมงานเพาะเลี้ยงสัตวปา สวนสารสนเทศดานการอนุรักษสัตวปา ศูนยศึกษาการพัฒนาการจัดการเขตรักษาพันธุสัตวปา

สํานักอุทยานแหงชาติ สวนอํานวยการ สวนอนุรักษและจัดการทรัพยากร สวนจัดการการทองเที่ยวและนันทนาการ สวนพัฒนาอุทยานแหงชาติ สวนศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ สวนจัดการอุทยานแหงชาติทางทะเล

สํานักอนุรักษและจัดการตนน้ํา สวนอํานวยการ สวนวิจัยตนน้ํา สวนจัดการทรัพยากรตนน้ํา สวนประเมินทรัพยากรตนน้ํา สวนสงเสริมและพัฒนาชุมชนตนน้ํา สวนศึกษาและพัฒนาการอนุรักษตนน้ํา

สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช สํานักงานผูเชี่ยวชาญ สํานักงานหอพรรณไม สวนอํานวยการ สวนวิจัยการอนุรักษปาไม สวนสิ่งแวดลอมปาไม สวนความหลากหลายทางชีวภาพ สวนพัฒนาและเผยแพรองคความรู

สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ สวนอํานวยการ สวนฟนฟูพ้ืนที่อนุรักษ สวนสํารวจและวิเคราะหทรัพยากรปาไม สวนภูมิสารสนเทศ สวนจัดการที่ดินและชุมชนในพ้ืนที่ปาอนุรักษ สวนมาตรฐานและเทคนิคดานวิศวกรรม สวนรังวัดแนวเขตที่ดินปาไม สวนพัฒนาการวิศวกรรมปาไม ศูนยปฏิบัติการโครงการปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกียรติ ศูนยสนับสนุนการปลูกและบํารุงรักษาตนไมขนาดใหญ ในเขตพระราชฐาน

สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 1-16และสาขาภายใต้สาํนัก 5 สาขา

สวนอํานวยการ สวนอุทยานแหงชาติ สวนอนุรักษสัตวปา สวนจัดการตนน้ํา สวนควบคุมและปฏิบัติการไฟปา สวนอนุรักษและปองกันทรัพยากร สวนฟนฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ กลุมงานวิชาการ กลุมงานกฎหมาย สวนประสานโครงการพระราชดําริและกิจการพิเศษ

กองคุมครองพันธุสัตวปาและพืชปาตามอนุสัญญา ฝายบริหารท่ัวไป กลุมงานควบคุมและตรวจสอบการคาสัตวปาระหวางประเทศ กลุมงานวิชาการดานพันธุสัตวปาและพันธุพืชปาตามอนุสัญญา กลุมงานประสานงานและเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศ กลุมงานดานตรวจสัตวปา กลุมงานวิจัยพันธุพืชปามีคา หายาก และใกลสูญพันธุ กลมงานควบคมการคางาชาง

กองนิติการ ฝายบริหารทั่วไป กลุมงานกฎหมาย กลุมงานสืบสวนสอบสวน กลุมงานคดี

*สํานักสนองงานพระราชดําริ สวนอํานวยการ สวนแผนงานและงบประมาณ สวนประสานงานโครงการภาคกลาง สวนประสานงานโครงการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนประสานงานโครงการภาคเหนือ สวนประสานงานโครงการภาคใต สวนศึกษาและพัฒนา สวนประสานโครงการพระราชดํารแิละกิจการ พิเศษสํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ 1 - 16

*ศูนยบริการประชาชน

แผนภูมิแสดงโครงสรางและการแบงงานภายในของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

23

Page 27:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แนวทาง/วิธีการวิเคราะหความเส่ียงของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

บทท่ี 2 1. การคัดเลือก โครงการ/กิจกรรม ในการวิเคราะหเพ่ือจัดทําแผนบริหารความเส่ียงในป 2560 จากนโยบายการบริหารความเสี่ยงของ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดกําหนดหลักเกณฑการคัดเลือก โครงการ/กิจกรรม ในการวิเคราะหความเสี่ยงไวใหหนวยงานในสังกัดพิจารณาคัดเลือก โครงการ/กิจกรรม ในการวิเคราะหเพ่ือจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง ป 2560 ดังนี้ 1. การบรรลุเปาหมายภายใตกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช 2. เปนโครงการ/กิจกรรม ท่ีไดรับงบประมาณประจําป พ.ศ. 2560 3. เปนโครงการ/กิจกรรม ท่ีดําเนินการแลวเกิดเปนผลผลิตหรือบริการท่ีสงตอผูรับบริการภายนอกกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ท้ังนี้ ในการพิจารณาคัดเลือก โครงการ/กิจกรรม ในการวิเคราะหเพ่ือจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงในป 2560 ตามขอ 1-3 ใหใชเกณฑการพิจารณาเพ่ือใหคะแนน ดังนี้

ปจจัยท่ีพิจารณา เกณฑการพิจารณา

1 2 3

1. การบรรลุเปาประสงคภายใตกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

เปนโครงการ/กิจกรรมหลัก ท่ีดําเนินการเพ่ือใหบรรลุ

เปาประสงคของกรม ดานการพัฒนาองคกร

เปนโครงการ/กิจกรรมหลักท่ีดําเนินการเพ่ือใหบรรลุ

เปาประสงคของกรม ดานการประเมินคุณภาพ

และดานการประเมิน ประสิทธิภาพ

เปนโครงการ/กิจกรรมหลัก ท่ีดําเนินการเพ่ือใหบรรลุ

เปาประสงคของกรม ดานการประเมิน

ประสิทธิผล

2. ไดรับงบประมาณประจําป 2560

ไดรับงบประมาณสูงเปน ลําดับ ๓ และต่ํากวา

ไดรับงบประมาณสูงเปน ลําดับ ๒

ไดรับงบประมาณสูงเปน ลําดับ 1

3. ระดับการนําสงผลผลิตหรือบริการตอผูรับบริการในแตละโครงการ/กิจกรรม

เปนผูรับบริการ ภายในสํานัก/กอง/กลุม

เปนผูรับบริการ ภายในกรม

เปนผูรับบริการ ภายนอกกรม

วิธีดําเนินการ

1. ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของ สํานัก/กอง/กลุม พิจารณาคัดเลือกโครงการหรือกิจกรรมยอยภายใตกิจกรรมหลักท่ีระบุในแผนปฏิบัติราชการประจําป 2560 ตามแบบฟอรมท่ี 1.1 การพิจารณาคัดเลือก โครงการ/กิจกรรม ท่ีดําเนินการวิเคราะหความเสี่ยง โดยพิจารณาคัดเลือกโครงการ/กิจกรรม/กิจกรรมยอย ท่ีดําเนินการ เพ่ือใหบรรลุเปาประสงคในมิติประสิทธิผลของแผนยุทธศาสตรของสํานัก/กอง/กลุม ท่ีนําสงตอเปาประสงคในมิติประสิทธิผลของแผนยุทธศาสตร กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

2. ในกรณีท่ีการดําเนินการเพ่ือใหบรรลุเปาประสงคในมิติประสิทธิผล ของแผนยุทธศาสตรของ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ท่ี สํานัก/กอง/กลุม รับผิดชอบหลายเปาประสงค ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของสํานัก/กอง/กลุม พิจารณาจัดลําดับความสําคัญ โดยคัดเลือก โครงการ/กิจกรรม ตามหลักเกณฑ

24

Page 28:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ท่ีกําหนดโดยนําโครงการ/กิจกรรม ท่ีมีผลคะแนนการคัดเลือกสูงสุดในแตละเปาประสงคของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ท่ีสํานัก/กอง/กลุม รับผิดชอบ มาวิเคราะหและจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง (เชน ถามีสํานัก/กอง/กลุม รับผิดชอบเปาหมายของกรม จํานวน 2 เปาประสงค ใหพิจารณาคัดเลือก โครงการ/กิจกรรม ท่ีมีผลคะแนนการคัดเลือกสูงสุดเปาประสงคละ 1 โครงการ/กิจกรรม มาวิเคราะหและจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง)

2. วิธีการวิเคราะหความเส่ียง สํานักงาน ก.พ.ร. กําหนดใหสวนราชการตองมีข้ันตอนการดําเนินการ หลักการวิเคราะห ประเมิน และจัดทําความเสี่ยงอยางเหมาะสม ตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน COSO (Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) ดังนี ้

ข้ันตอนท่ี 1 การกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมาย (Set Objectives) การกําหนดวัตถุประสงคภายในองคกรจะตองมีความสอดคลองและเปนไปในทิศทางเดียวกัน กลาวคือ วัตถุประสงคขององคกรจะตองสอดคลองกับวิสัยทัศน พันธกิจ และยุทธศาสตรการดําเนินงานขององคกร และจะตองสอดคลองกันตั้งแตระดับองคกร หนวยงาน กิจกรรม จนถึงระดับบุคคล เพ่ือใหวัตถุประสงคในภาพรวมบรรลุเปาประสงค ทราบขอบเขตการดําเนินงานในแตละระดับ และสามารถวิเคราะหความเสี่ยงท่ีจะเกิดข้ึนไดครบถวน ดังนั้น วัตถุประสงคจะตองแสดงใหเห็นถึง “ผลลัพธ” ท่ีองคกรตองการบรรลุ ไมใชการกลาวถึง “กระบวนการ” ในการปฏิบัติงาน สําหรับวัตถุประสงคของการบริหารความเสี่ยง อาจแบงเปน 2 ระดับ 1. วัตถุประสงคระดับองคกร (Corporate Objective) เปนวัตถุประสงคของการดําเนินงานภาพรวมขององคกร ตามแผนปฏิบัติราชการประจําป และแผนปฏิบัติราชการ 4 ป 2. วัตถุประสงคระดับกิจกรรม (Activities Objective) เปนวัตถุประสงคของการดําเนินงาน ท่ีเฉพาะเจาะจงลงไปสําหรับแตละกิจกรรมท่ีองคกรกําหนด เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคขององค กร ซ่ึงวัตถุประสงคของแตละกิจกรรมจะตองสนับสนุนและสอดคลองกับวัตถุประสงคในระดับองคกร

วิธีดําเนินการ 1. การระบุวัตถุประสงคระดับองคกรนั้น ใหคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของกรม พิจารณาระบุวัตถุประสงคระดับองคกร ในท่ีนี้สามารถนําเปาประสงคภายใตกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช 2. การระบุวัตถุประสงคระดับสํานัก/กอง/กลุม ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของ สํานัก/กอง/กลุม พิจารณาระบุวัตถุประสงคระดับสํานัก/กอง/กลุม ในท่ีนี้สามารถพิจารณานําเปาประสงคของสํานัก/กอง/กลุม ท่ีนําสงเปาประสงคของกรม 3. การระบุวัตถุประสงค ระดับโครงการ/กิจกรรม และข้ันตอน ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงานพิจารณาระบุวัตถุประสงคในระดับโครงการ/กิจกรรม และข้ันตอนท่ีหนวยงานตนรับผิดชอบ โดยสามารถพิจารณานําวัตถุประสงคท่ีไดกําหนดไวแลว มาใชระบุในการกําหนดวัตถุประสงคเพ่ือบริหาร ความเสี่ยงได หากยังไมเคยมีการระบุมากอนใหกําหนดข้ึนใหม 4. ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงาน ระบุวัตถุประสงคในแตละระดับในแบบฟอรม 1.2 การระบุความเสี่ยง

25

Page 29:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ข้ันตอนท่ี 2 การระบุความเส่ียงและปจจัยเส่ียง (Event Identification) การระบุความเสี่ยงและปจจัยเสี่ยง เปนกระบวนการท่ีผูบริหารและผูปฏิบัติงาน รวมกันระบุ

ความเสี่ยงและปจจัยเสี่ยง โดยตองคํานึงถึงความเสี่ยงมีสาเหตุมาจากปจจัยท้ังภายในและภายนอก ซ่ึงปจจัยเหลานี้มีผลกระทบตอวัตถุประสงคและเปาหมายขององคกร หรือผลการปฏิบัติงานท้ังในระดับองคกรและระดับกิจกรรม ในการระบุปจจัยเสี่ยงจะตองพิจารณาวามีเหตุการณใดหรือกิจกรรมใดของกระบวนการปฏิบัติงาน ท่ีอาจเกิดความผิดพลาดความเสียหายและไมบรรลุวัตถุประสงคท่ีกําหนด รวมท้ังมีทรัพยสินใดท่ีจําเปนตองไดรับการดูแล ปองกัน รักษา การระบุปจจัยเสี่ยงของการท่ีจะไมบรรลุวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว ควรเริ่มดวย การแจกแจงกระบวนการปฏิบัตงานท่ีจะทําใหบรรลุวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว แลวจึงระบุปจจัยเสี่ยงท่ีมีผลกระทบตอกระบวนการปฏิบัติงานนั้นๆ ทําใหเกิดความผิดพลาด ความเสียหายและเสียโอกาส ปจจัยเสี่ยงนั้นควรจะเปนตนเหตุท่ีแทจริงเพ่ือท่ีจะสามารถนําไปใชประโยชนในการหามาตรการลดความเสี่ยงในภายหลังได

2.1 สาเหตุของความเส่ียง โดยสาเหตุของความเสี่ยงแบงได 2 ดาน ดังนี ้ 1) ปจจัยภายนอก คือ ความเสี่ยงท่ีไมสามารถควบคุมการเกิดไดโดยองคกร เชน สังคม ภาวะเศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย คูแขง เทคโนโลยี ภัยธรรมชาติ สิ่งแวดลอม เปนตน 2) ปจจัยเส่ียงภายใน คือ ความเสี่ยงท่ีสามารถควบคุมโดยองคกร เชน กฎระเบียบ ขอบังคับภายในองคกร วัฒนธรรมองคกร นโยบายการบริหารและการจัดการ ความรู/ความสามารถของบุคลากร กระบวนการทํางาน ขอมูล/สารสนเทศ เครื่องมือ/อุปกรณ เปนตน

2.2 ประเภทความเส่ียง แบงเปน 4 ประเภท ดังนี้ 1) ความเส่ียงดานกลยุทธ หมายถึง ความเสี่ยงท่ีเกิดจากนโยบาย การบริหารแผนงาน หรือการตัดสินใจผิดพลาด ทําใหองคกรไมสามารถบรรลุวัตถุประสงค และตัวชี้วัดท่ีระบุไวในแผนปฏิบัติราชการประจําป และแผนปฏิบัติราชการ 4 ป เชน ความเสี่ยงตอการสูญเสียชื่อเสียง ความเสี่ยงท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมภายนอก 2) ความเส่ียงดานการเงิน หมายถึง ความเสี่ยงท่ีเก่ียวของกับการบริหารและควบคุมทาง การเงิน และงบประมาณขององคกรใหเปนไปอยางมีประสิทธิผล ผลกระทบทางการเงินท่ีเกิดจากปจจัยภายนอก เชน ขอบังคับเก่ียวกับการเงินและงบประมาณของหนวยงานท่ีเก่ียวของ ไดแก กรมบัญชีกลาง สํานักงานตรวจเงินแผนดิน และสํานักงบประมาณ 3) ความเส่ียงดานการดําเนินงาน หมายถึง ความเสี่ยงท่ีเกิดจากระบบงาน กระบวนการทํางาน เทคโนโลยี รวมท้ังคนในองคกรท่ีสงผลกระทบและทําใหองคกรไมบรรลุผลตามเปาหมายท่ีกําหนด เชน ความเสี่ยงจากการท่ีบุคลากรท่ีมีความรู ความเชี่ยวชาญลาออก ความเสี่ยงจากการมอบหมายอํานาจหนาท่ีความรับผิดชอบไมชัดเจน ความเสี่ยงจากความลมเหลวของระบบ IT ขององคกรสงผลใหเกิดความสูญหายของขอมูล 4) ความเส่ียงดานการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ หมายถึง ความเสี่ยงท่ีเกิดจากการฝาฝนหรือไมสามารถปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบขอบังคับหรือมาตรฐานท่ีเก่ียวของกับการดําเนินงาน รวมท้ังไมสามารถปฏิบัติตามนโยบาย และวิธีการปฏิบัติงานท่ีองคกรไดกําหนดข้ึน เชน ความเสี่ยงจากการถูกรองเรียนในการจัดซ้ือจัดจาง

26

Page 30:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

2.3 การวิเคราะหความเส่ียงตามหลักธรรมาภิบาล ในการวิเคราะหความเสี่ยงนั้น เนื่องจาก สวนราชการจะพิจารณาปจจัยเสี่ยงดานตางๆ แลว สวนราชการตองนําแนวคิดเรื่องธรรมาภิบาลท่ีเก่ียวของ ในแตละดานมาเปนปจจัยในการวิเคราะหความเสี่ยง เชน ดานยุทธศาสตร โครงการท่ีคัดเลือกมานั้นอาจมี ความเสี่ยงตอเรื่องประสิทธิผลและการมีสวนรวม ดานการดําเนินการ อาจมีความเสี่ยงตอเรื่องประสิทธิภาพและความโปรงใส ดานการเงิน อาจมีความเสี่ยงตอเรื่องนิติธรรม และภาระรับผิดชอบ ดานกฎระเบียบอาจมี ความเสี่ยงตอเรื่องนิติธรรมและความเสมอภาค

ท้ังนี้ ความเสี่ยงเรื่องธรรมาภิบาลท่ีอาจเกิดข้ึนจากการดําเนินแผนงาน/โครงการ เพ่ือใหเปนไปตามหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ไดแก

1. หลักประสิทธิผล (Effectiveness) : ตองมีวิสัยทัศนเชิงยุทธศาสตรเพ่ือตอบสนอง ความตองการของประชาชนและผูมีสวนไดสวนเสียทุกฝาย ปฏิบัติหนาท่ีตามพันธกิจใหบรรลุวัตถุประสงคขององคการ มีการ วางเปาหมายการปฏิบัติงานท่ีชัดเจนและอยูในระดับท่ีตอบสนองตอความคาดหวังของประชาชน สรางกระบวนการปฏิบัติงานอยางเปนระบบ และมีมาตรฐาน มีการจัดการความเสี่ยงและมุงเนนผลการปฏิบัติงานท่ีเปนเลิศ รวมถึงมีการติดตาม ประเมินผลและพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานใหดีข้ึนอยางตอเนื่อง

2. หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) : ในการปฏิบัติงานตองมีการใชทรัพยากรอยางประหยัด เกิดผลิตภาพคุมคาการลงทุนและบังเกิดประโยชนสูงสุดตอสวนรวม รวมท้ังตองมีการลดข้ันตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติงานเพ่ืออํานวยความสะดวก และลดภาระคาใชจายตลอดจนยกเลิกภารกิจท่ีลาสมัยและไมมีความจําเปน

๓. หลักการตอบสนอง (Responsiveness) : ตองสามารถใหบริการไดอยางมีคุณภาพสามารถดําเนินการแลวเสร็จภายในระยะเวลาท่ีกําหนด สรางความเชื่อม่ันไววางใจ รวมถึงตอบสนองตามความคาดหวัง/ ความตองการของประชาชนผูรับบริการ และผูมีสวนไดสวนเสียท่ีมีความหลากหลายและมีความแตกตางกัน ไดอยางเหมาะสม

๔. หลักภาระรับผิดชอบ (Accountability) : ในการปฏิบัติงานตองสามารถตอบคําถามและชี้แจงไดเม่ือมีขอสงสัย รวมท้ังตองมีการจัดวางระบบการรายงานความกาวหนาและผลสัมฤทธิ์ตามเปาหมาย ท่ีกําหนดไวตอสาธารณะเพ่ือประโยชนในการตรวจสอบและการใหคุณใหโทษ ตลอดจนมีการจัดเตรียมระบบ การแกไขหรือบรรเทาปญหาและผลกระทบใดๆ ท่ีอาจจะเกิดข้ึน

5. หลักความโปรงใส (Transparency) : ตองปฏิบัติงานดวยความซ่ือสัตยสุจริตตรงไปตรงมา รวมท้ังตองมีการเปดเผยขอมูลขาวสารท่ีจําเปนและเชื่อถือไดใหประชาชนไดรับทราบอยางสมํ่าเสมอ ตลอดจน วางระบบใหการเขาถึงขอมูลขาวสารดังกลาวเปนไปโดยงาย

๖. หลักการมีสวนรวม (Participation) : ตองรับฟงความคิดเห็นของประชาชน รวมท้ังเปดใหประชาชนมีสวนรวมในการรับรู เรียนรู ทําความเขาใจ รวมแสดงทัศนะ รวมเสนอปญหา/ประเด็นท่ีสําคัญท่ีเก่ียวของรวมคิดแกไขปญหา รวมในกระบวนการตัดสินใจและการดําเนินงาน และรวมตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน

๗. หลักการกระจายอํานาจ (Decentralization) : ในการปฏิบัติงานควรมีการมอบอํานาจและ กระจายความรับผิดชอบในการตัดสินใจและการดําเนินการใหแกผูปฏิบัติงานในระดับตางๆ ไดอยางเหมาะสม รวมท้ังมีการโอนถายบทบาทและภารกิจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน หรือภาคสวนอ่ืนๆ ในสังคม

๘. หลักนิติธรรม (Rule of Law) : ตองใชอํานาจของกฎหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับในการปฏิบัติงานอยางเครงครัดดวยความเปนธรรม ไมเลือกปฏิบัติ และคํานึงถึงสิทธิเสรีภาพของประชาชนและ ผูมีสวนไดสวนเสียฝายตาง ๆ

9. หลักความเสมอภาค (Equity) : ตองใหบริการอยางเทาเทียมกัน ไมมีการแบงแยก ดานชาย/หญิง ถ่ินกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทาง

27

Page 31:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

เศรษฐกิจและสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม และอ่ืน ๆ นอกจากนี้ ยังตองคํานึงถึงโอกาส ความทัดเทียมกันของการเขาถึงบริการสาธารณะของกลุมบุคคลผูดอยโอกาสในสังคม

10. การมุงเนนฉันทามติ (Consensus Oriented) : ในการปฏิบัติงานตองมีกระบวนการ ในการแสวงหาฉันทามติหรือขอตกลงรวมกันระหวางกลุมผูมีสวนไดสวนเสียท่ีเก่ียวของ โดยเฉพาะกลุมท่ีไดรับผลกระทบโดยตรงจะตองไมมีขอคัดคานท่ีหาขอยุติไมไดในประเด็นท่ีสําคัญ

วิธีดําเนินการ 1. ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของสํานัก/กอง/กลุม รวมกันระบุปจจัยเสี่ยงโดยใชแบบฟอรม 1.2

ในการระบุปจจัยเสี่ยง 2. พิจารณาระบุปจจัยเสี่ยงท้ังท่ีเปนปจจัยภายในและปจจัยภายนอกท่ีอาจเกิดข้ึนและสงผลกระทบ

ตอวัตถุประสงค/เปาหมาย ในแตละข้ันตอนของ โครงการ/กิจกรรม ซ่ึงในแตละข้ันตอนอาจมีความเสี่ยงมากกวา 1 ปจจัยในระบุใหครบถวน

3. พิจารณาระบุประเภทของความเสี่ยงในแตละปจจัยเสี่ยง โดยพิจารณาตามความหมายท่ีระบุไวในขอ 2.2 ประเภทของความเสี่ยง

4. พิจารณาวิเคราะหความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล โดยประกอบดวย หลักประสิทธิผล หลักประสิทธิภาพ หลักการมีสวนรวม หลักความโปรงใส หลักการตอบสนอง หลักภาระรับผิดชอบ หลักนิติธรรม หลักการกระจายอํานาจ หลักความเสมอภาค และหลักฉันทามติ โดยพิจารณาความหมายในขอ 2.3 การวิเคราะหความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล

ข้ันตอนท่ี 3 การประเมินความเส่ียง (Risk Assessment) การประเมินความเสี่ยงเปนการประเมินระดับโอกาสท่ีจะเกิดและผลกระทบของความเสี่ยงตางๆ

โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงตองกําหนดเกณฑการประเมินมาตรฐานเพ่ือประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและดําเนินการวิเคราะหและจัดลําดับความเสี่ยง ซ่ึงมีข้ันตอนดังนี้

3.1 กําหนดเกณฑการประเมินมาตรฐาน เปนการกําหนดเกณฑท่ีจะใชในการประเมินความเสี่ยง ไดแก ระดับโอกาสท่ีจะเกิดความเสี่ยง ระดับความรุนแรงของผลกระทบ และระดับความเสี่ยง โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจะตองกําหนดเกณฑของหนวยงานข้ึน ซ่ึงสามารถกําหนดเกณฑไดท้ังเกณฑในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ท้ังนี้ข้ึนอยูกับขอมูลสภาพแวดลอมในหนวยงานและดุลยพินิจการติดสินใจของ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และผูบริหารของหนวยงาน โดยเกณฑในเชิงปริมาณจะเหมาะกับหนวยงานท่ีมีขอมูลตัวเลข หรือจํานวนเงินมาใชในการวิเคราะหอยางพอเพียง สําหรับหนวยงานท่ีมีขอมูลเชิงพรรณนา ไมสามารถระบุเปนตัวเลขหรือจํานวนเงินท่ีชัดเจนไดใหกําหนดเกณฑในเชิงคุณภาพ หรือกําหนดเปนเกณฑเฉพาะในแตละประเภทความเสี่ยง ซ่ึงคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ไดกําหนดแนวทางการพิจารณาโอกาสในการเกิดและความรุนแรงของเหตุการณตาง ๆ ท่ีจะเกิดผลกระทบตอการดําเนินงานของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ซ่ึงมีเกณฑในการใหคะแนนผลกระทบ เปนดังนี้

28

Page 32:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

1. ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (Likelihood) กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี ้

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (เชิงปริมาณ) ระดับ โอกาสที่จะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก 5 คร้ัง/ป 4 สูง 4 คร้ัง/ป 3 ปานกลาง 3 คร้ัง/ป 2 นอย 2 คร้ัง/ป 1 นอยมาก 1 คร้ัง/ป

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (เชิงคุณภาพ) ระดับ โอกาสที่จะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูงหรือบอยๆ 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางคร้ัง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ คร้ัง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

2. ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง (Impact) กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี้ 2.1 กรณีเปนความรุนแรงท่ีสามารถวัดเปนตัวเงินได

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก > 10 ลานบาท 4 สูง > 5 แสนบาท - 10 ลานบาท 3 ปานกลาง > 2.5 แสนบาท - 5 แสนบาท 2 นอย > 1 แสนบาท - 2.5 แสนบาท 1 นอยมาก ไมเกิน 100,000 บาท

2.2 กรณีเปนความรุนแรงท่ีไมสามารถวัดเปนตัวเงินได

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 รุนแรงที่สุด มีการสูญเสียทรัพยสินอยางมหันต มีการบาดเจ็บถึงชีวิต 4 คอนขางรุนแรง มีการสูญเสียทรัพยสินมาก มีการบาดเจ็บสาหัสถึงข้ันพักงาน 3 ปานกลาง มีการสูญเสียทรัพยสินมาก มีการบาดเจ็บสาหัสถึงข้ันหยุดงาน 2 นอย มีการสูญเสียทรัพยสินพอสมควร มีการบาดเจ็บรุนแรง 1 นอยมาก มีการสูญเสียทรัพยสินเล็กนอย ไมมีการบาดเจ็บรุนแรง

29

Page 33:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

2.3 กรณีเปนความรุนแรงท่ีสงผลกระทบดานกลยุทธ

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอเปาหมายและช่ือเสียงขององคกรในระดับสูงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอเปาหมายและช่ือเสียงขององคกรในระดับสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอเปาหมายบางอยางและช่ือเสียงขององคกรบาง 2 นอย มีผลกระทบตอเปาหมายและช่ือเสียงขององคกรนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอเปาหมายและช่ือเสียงขององคกรเลย

2.4 กรณีเปนความรุนแรงท่ีสงผลกระทบดานการดําเนินงาน (ตอระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ)

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก เกิดความสูญเสียตอระบบ IT ท่ีสําคัญท้ังหมด และเกิด ความเสียหายอยางมากตอความปลอดภัยของขอมูลตางๆ

4 สูง เกิดความสูญเสียตอระบบ IT ท่ีสําคัญ และระบบความปลอดภัย ซึ่งสงผลตอความถูกตองของขอมูลบางสวน

3 ปานกลาง ระบบมีปญหาและมีความสูญเสียไมมาก 2 นอย เกิดเหตุท่ีแกไขได 1 นอยมาก เกิดเหตุท่ีไมมีความสําคัญ

2.5 กรณีเปนความรุนแรงท่ีสงผลกระทบดานการดําเนินงาน (บุคลากร)

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก ถูกเลิกจางหรือออกจากงานเน่ืองจากเปนอันตรายตอรางกาย และชีวิตผูอ่ืนโดยตรง

4 สูง ถูกลงโทษทางวินัย ตัดเงินเดือน ไมไดข้ึนเงินเดือน 3 ปานกลาง ถูกทําทัณฑบน ความรุนแรงสงผลตอคุณภาพชีวิตของผูอ่ืน

และสรางบรรยากาศการปฏิบัติงานท่ีไมเหมาะสม 2 นอย สรางความไมสะดวกตอการปฏิบัติงานบอยครั้ง 1 นอยมาก สรางความไมสะดวกตอการปฏิบัติงานนานๆ ครั้ง

2.6 กรณีเปนความรุนแรงท่ีสงผลกระทบดานการดําเนินงาน (กระบวนการ)

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอกระบวนการและการดําเนินงานรุนแรงมาก เชน หยุดดําเนินการมากกวา 1 เดือน

4 สูง มีผลกระทบตอกระบวนการและการดําเนินงานรุนแรง เชน หยุดดําเนินการ 1 เดือน

3 ปานกลาง มีการชะงักงันอยางมีนัยสําคัญของกระบวนการและการดําเนินงาน 2 นอย มีผลกระทบเล็กนอยตอกระบวนการและการดําเนินงาน 1 นอยมาก ไมมีการชะงักงันของกระบวนการและการดําเนินงาน

30

Page 34:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

3.2 การประเมินโอกาสและผลกระทบของความเส่ียง เปนการนําความเสี่ยงและปจจัยเสี่ยงแตละปจจัยท่ีระบุไวมาประเมินโอกาสท่ีจะเกิดเหตุการณความเสี่ยงตางๆ และประเมินระดับความรุนแรงหรือมูลคาความเสียหายจากความเสี่ยง เพ่ือใหเห็นถึงระดับของความเสี่ยงท่ีแตกตางกัน ทําใหสามารถกําหนด การควบคุมความเสี่ยงไดอยางเหมาะสม ซ่ึงจะชวยใหหนวยงานสามารถวางแผนและจัดสรรทรัพยากรได อยางถูกตองภายใตงบประมาณ กําลังคน หรือเวลาท่ีจํากัด โดยอาศัยเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนดไวขางตน ซ่ึงมีข้ันตอนการดําเนินการดังนี ้

1) พิจารณาโอกาส/ความถ่ีในการเกิดเหตุการณตางๆ วามีโอกาส/ความถ่ีท่ีจะเกิด มากนอยเพียงใด ตามเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนด

2) พิจารณาความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ท่ีมีผลตอหนวยงานวามีระดับความรุนแรงหรือมีความเสียหายเพียงใด ตามเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนด

3.3 การวิเคราะหความเส่ียง เม่ือพิจารณาโอกาส/ความถ่ีท่ีจะเกิดเหตุการณและ ความรุนแรงของผลกระทบของแตละปจจัยเสี่ยงแลว ใหนําผลท่ีไดมาพิจารณาความสัมพันธระหวางโอกาสท่ีจะเกิดความเสี่ยง และผลกระทบของความเสี่ยงวาความเสี่ยงอยูในระดับใด

3.4 การจัดลําดับความเส่ียง เม่ือไดคาระดับความเสี่ยงแลว นํามาจัดลําดับความรุนแรงของความเสี่ยงท่ีมีผลตอ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เพ่ือพิจารณากําหนดกิจกรรมการควบคุม ในแตละสาเหตุของความเสี่ยง ท่ีสําคัญใหเหมาะสม โดยพิจารณาจากระดับความเสี่ยง และผลกระทบของ ความเสี่ยงท่ีประเมินไดตามตารางการประเมินความเสี่ยงโดยจัดเรียงตามลําดับ สูงมาก สูง ปานกลาง และต่ํา และเลือกความเสี่ยงท่ีมีระดับสูงมากและสูง มาจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงในข้ันตอนตอไป

ในการประเมินความเสี่ยงจะตองมีการกําหนด แผนภูมิความเสี่ยง ท่ีไดจากการพิจารณา จัดระดับความสําคัญของความเสี่ยงจากโอกาสท่ีจะเกิดความเสี่ยง และผลกระทบท่ีเกิดข้ึน และขอบเขตของระดับความเสี่ยงท่ีสามารถยอมรับได ระดับความเสี่ยง = โอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ x ความรุนแรงของเหตุการณตางๆ ซ่ึงใชเกณฑในการจัดแบงดังนี้ ระดับคะแนนความเส่ียง จัดระดับความเส่ียง กลยุทธในการจัดการความเส่ียง พ้ืนท่ีสี

1 - 4 ต่ํา ยอมรับความเสี่ยง ขาว 5 - 8 ปานกลาง ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม) เหลือง 9 - 15 สูง ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง) เขียว 16 - 25 สูงมาก ถายโอนความเสี่ยง แดง

31

Page 35:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แผนภูมิความเส่ียง (Risk Map) การวัดระดับความเส่ียง

ความเส่ียงปานกลาง ความเส่ียงสูง - ผลกระทบรุนแรงมาก - ผลกระทบรุนแรงมาก - โอกาสเกิดนอย - โอกาสเกิดมาก

ความเส่ียงต่ํา ความเส่ียงปานกลาง - ผลกระทบนอย - ผลกระทบนอย - โอกาสเกิดนอย - โอกาสเกิดมาก

การประเมินความเส่ียง

นโยบายของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กําหนดคาคะแนนโอกาสและผลกระทบตั้งแต 9 ข้ึนไป นําไปจัดทําแผนบริหารความเส่ียง

วิธีดําเนินการ 1. ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงาน ประเมินความเสี่ยงในแตละปจจัยเสี่ยงลงใน

แบบฟอรมท่ี 1.3 การประเมินและการกําหนดแนวทางการตอบสนองความเสี่ยง 2. พิจารณาประเมินโอกาส (Likelihood) ท่ีจะเกิดเหตุการณความเสี่ยงตาง ๆ และประเมิน

ระดับความรุนแรง (Impact) จากปจจัยเสี่ยงจากผลการวิเคราะหในแบบฟอรมท่ี 1.2 ใหครบถวนทุกปจจัยเสี่ยง โดยพิจารณาจากเกณฑการประเมินมาตรฐานท่ีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงกําหนด (ระบุอยูในขอ 3.1 การกําหนดเกณฑการประเมินมาตรฐาน)

3. ในกรณีท่ีคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงานพิจารณาแลวเห็นวาเกณฑการประเมินมาตรฐานตามระบุในขอ 3.1 ท่ีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงกําหนด ยังไมสามารถนําไปเปนเกณฑเพ่ือประเมินความเสี่ยงได เนื่องจากเห็นวาความเสี่ยงหรือปจจัยเสี่ยงของโครงการ/กิจกรรมท่ีรับผิดชอบ

5 5 10 15 20 25

4 4 8 12 16 20

3 3 6 9 12 15

2 2 4 6 8 10

1 1 2 3 4 5

1 2 3 4 5

ผลกระทบ

โอกาสท่ีจะเกิด นอย มาก

มาก

ผลกระทบ

โอกาสท่ีจะเกิด

1-4 ความเสี่ยงต่ํา (สามารถยอมรับได)

9-15 ความเสี่ยงสูง

16-25 ความเสี่ยงสูงมาก

5-8 ความเสี่ยงปานกลาง

32

Page 36:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

มีลักษณะเฉพาะและไมสามารถนําเกณฑการประเมินมาตรฐานไปประเมินได ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงานพิจารณากําหนดเกณฑการประเมินข้ึนใหม โดยยึดหลักการกําหนดเกณฑการประเมินใน 5 ระดับ ตามเกณฑการประเมินมาตรฐาน เพ่ือใหสามารถนําไปเทียบเคียงในเวลาจัดลําดับความเสี่ยงในภาพรวมของกรม รวมถึงการกําหนดแนวทางการตอบสนองความเสี่ยงตอไป ข้ันตอนท่ี ๔ การกําหนดกลยุทธในการจัดการความเส่ียง

การกําหนดแนวทางการตอบสนองความเสี่ยงมุงเนนใหองคกรสามารถบริหารความเสี่ยงใหอยูในระดับท่ียอมรับได โดยการกําหนดแนวทางการตอบสนองความเสี่ยงสามารถทําไดหลายวิธี และสามารถปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับสถานการณ ข้ึนอยูกับดุลยพินิจของผูรับผิดชอบ แตอยางไรก็ตามแนวทางการบริหารความเสี่ยงตองคุมคากับการลดระดับผลกระทบความเสี่ยงทางเลือกหรือกลยุทธในการจัดการความเสี่ยงแบงได 4 แนวทาง ดังนี้

1) ยอมรับความเสี่ยง คือความเสี่ยงท่ีมีโอกาสและผลกระทบอยูในระดับต่ําซ่ึงหนวยงานสามารถบริหารจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับท่ียอมรับได

2) ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการ ติดตาม) คือ ความเสี่ยงท่ีมีโอกาสและผลกระทบอยูในระดับปานกลางเปนความเสี่ยงท่ีมีตนทุนในการจัดการความเสี่ยงสูงกวาประโยชนท่ีจะไดรับจึงตองยอมรับความเสี่ยงและหามาตรการติดตามอยางใกลชิดเพ่ือรองรับผลท่ีจะเกิดข้ึน

3) ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง) คือ ความเสี่ยงท่ีมีคาโอกาสและผลกระทบอยูในระดับสูงและจักตองกําหนดแผนในการควบคุมความเสี่ยงเพ่ือลดหรือควบคุมความเสี่ยงใหลดลงใหอยูในระดับท่ียอมรับได

4) การถายโอนความเสี่ยง คือ ความเสี่ยงท่ีมีคาโอกาสและผลกระทบอยูในระดับสูงมากจนหนวยงานไมสามารถบริหารจัดการความเสี่ยงไดจึงยกภารกิจนั้นๆใหหนวยงานอ่ืนบริหารจัดการแทน

วิธีดําเนินการ ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของ สํานัก/กอง/กลุม กําหนดแนวทางการตอบสนองความเสี่ยง

ลงในแบบฟอรมท่ี 1.3 การประเมินและกําหนดแนวทางการตอบสนองความเสี่ยง โดยมีแนวทางในการพิจารณาเปนรายกรณี ดังนี ้

1. กรณีปจจัยเสี่ยงเปนปจจัยภายนอก และเปนระดับความเสี่ยงสูงและสูงมาก ซ่ึงยังไมมีมาตรการใดรองรับความเสี่ยงนั้น ๆ ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงานกําหนดแนวทางการตอบสนองความเสี่ยง โดยคํานึงถึงประเด็นตาง ๆ ดังนี้

1.1 ปจจัยเสี่ยงมีความสอดคลองกับภารกิจของหนวยงานและอยูในขอบเขตท่ีหนวยงานสามารถบริหารจัดการได รวมท้ัง มีความคุมคาในการดําเนินการ ใหใชแนวทางการลดความเสี่ยง และกําหนดมาตรการ/กิจกรรมเพ่ือลดความเสี่ยง

1.2 ปจจัยเสี่ยงมีความสอดคลองกับภารกิจของหลายหนวยงานในสังกัดกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช และอยูในขอบเขตท่ีหนวยงานท่ีเก่ียวของสามารถรวมดําเนินการได รวมท้ังมีความคุมคา ในการดําเนินการ ใหสามารถใชแนวทางการลดความเสี่ยง โดยคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงาน จัดทําขอเสนอแนวทางการตอบสนองความเสี่ยงรวมท้ังมาตรการ/กิจกรรมรองรับความเสี่ยงเพ่ือพิจารณา

1.3 ปจจัยเสี่ยงอยูนอกเหนือภารกิจของหนวยงานแตสอดคลองกับภารกิจของหนวยงานอ่ืนในสังกัดกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงาน จัดทําขอเสนอแนวทางการตอบสนองความเสี่ยง โดยการถายโอนความเสี่ยงใหหนวยงานท่ีรับผิดชอบโดยตรง รวมท้ังมาตรการ/

33

Page 37:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

กิจกรรมรองรับความเสี่ยงเสนอตอคณะกรรมการความเสี่ยงเพ่ือพิจารณามอบหมายใหหนวยงานท่ีดําเนินการ ในภารกิจดังกลาว เพ่ือลดความเสี่ยงนั้นๆ ตอไป

1.4 ปจจัยเสี่ยงอยูนอกเหนือภารกิจของทุกหนวยงานในสังกัดกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงานพิจารณา สามารถกําหนดมาตรการ/กิจกรรมรองรับท่ีมีความคุมคาในการดําเนินการไดหรือไม ถาไดใหกําหนดมาตรการ/กิจกรรมรองรับความเสี่ยงข้ึนใหมแลวเสนอตอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงพิจารณา

2. กรณีปจจัยเสี่ยงเปนปจจัยภายนอก และเปนระดับความเสี่ยงปานกลางและต่ํา มีแนวทางใหคณะทํางานพิจารณาเปนรายกรณี ดังนี้

2.1 เปนปจจัยเสี่ยงท่ีสามารถยอมรับไดและกิจกรรม/ข้ันตอนการดําเนินงานปกติสามารถควบคุมใหความเสี่ยงอยูในระดับท่ียอมรับได แตพิจารณาแลวมีความเปนไปไดท่ีความเสี่ยงนั้นยังมีโอกาสเกิดข้ึนและมีโอกาสสงผลกระทบตอวัตถุประสงค/เปาหมาย ของหนวยงานมากข้ึน ใหเลือกแนวทางการควบคุม ความเสี่ยง (นําไปบริหารจัดการตามแนวทางการควบคุมภายในของสวนราชการ)

2.2 เปนปจจัยเสี่ยงท่ีสามารถยอมรับไดแตไมมีกิจกรรม/ข้ันตอนการดําเนินงานตามปกติ ท่ีสามารถนําไปควบคุมความเสี่ยงนั้นได รวมท้ัง มีความเปนไดท่ีความเสี่ยงนั้น จะมีโอกาสสงผลกระทบตอ วัตถุประสงค/เปาหมาย ของหนวยงานมากข้ึน ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงานพิจารณาเลือกแนวทางการควบคุม (นําไปบริหารจัดการตามแนวทางการควบคุมภายในของสวนราชการ) และกําหนดมาตรการและกิจกรรมควบคุมความเสี่ยงข้ึนใหม

2.3 เปนปจจัยเสี่ยงท่ีสามารถยอมรับได ภายใตการควบคุมท่ีมีอยูในปจจุบัน ซ่ึงคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงานพิจารณาแลวเห็นวาไมตองดําเนินการใด ๆ เชน กรณีท่ีมีความเสี่ยงในระดับ ไมรุนแรงและไมคุมคาท่ีจะดําเนินการใดๆ ใหเลือกแนวทางการยอมรับความเสี่ยง

3. กรณีปจจัยเสี่ยงเปนปจจัยภายใน และเปนระดับความเสี่ยงสูงและสูงมาก มีแนวทางใหคณะทํางานพิจารณาเปนรายกรณี ดังนี้

3.1 เปนปจจัยเสี่ยงท่ีอาจเกิดจากการดําเนินการของหนวยงานโดยตรงและอยูในขอบเขตท่ีหนวยงานสามารถบริหารจัดการ แตไมมีมาตรการหรือกิจกรรมในการควบคุมอยู รวมท้ังเม่ือพิจารณาแลวเห็นวามีความคุมคาในการดําเนินการ ใหใชแนวทางการลดความเสี่ยงและกําหนดมาตรการ/กิจกรรมเพ่ือลดความเสี่ยงข้ึนใหม

3.2 เปนปจจัยเสี่ยงท่ีอาจเกิดจากการดําเนินงานของหลายหนวยงานในสังกัดกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช และอยูในเขตท่ีหนวยงานท่ีเก่ียวของสามารถรวมดําเนินการได รวมท้ังมีความคุมคาในการดําเนินการ ใหใชแนวทางการลดความเสี่ยง โดยคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงานจัดทําขอเสนอแนวทางการตอบสนองความเสี่ยงรวมท้ังมาตรการ/กิจกรรมเพ่ือลดความเสี่ยงเสนอตอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพ่ือพิจารณา

3.3 อยูนอกเหนือภารกิจของหนวยงานแตสอดคลองกับภารกิจของหนวยงานอ่ืนในสังกัดกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงาน จัดทําขอเสนอแนวทางการตอบสนองความเสี่ยง โดยการถายโอนความเสี่ยงใหหนวยงานท่ีรับผิดชอบโดยตรง รวมท้ังมาตรการ/กิจกรรมรองรับความเสี่ยงเสนอตอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพ่ือพิจารณามอบหมายใหหนวยงาน ท่ีดําเนินการในภารกิจดังกลาวเพ่ือลดความเสี่ยงนั้นๆ ตอไป

3.4 อยูนอกเหนือภารกิจของทุกหนวยงานในสังกัดกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงานพิจารณาวา สามารถกําหนดมาตรการ/โครงการรองรับท่ีมี

34

Page 38:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ความคุมคาในการดําเนินการไดหรือไม ถาไดใหใชแนวทางการลดความเสี่ยงและกําหนดมาตรการ/กิจกรรมเพ่ือลดความเสี่ยงข้ึนใหม และเสนอตอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงพิจารณา

4. กรณีปจจัยเสี่ยงเปนปจจัยภายใน และเปนระดับความเสี่ยงปานกลางและต่ํา มีแนวทางใหคณะทํางานพิจารณาเปนรายกรณี ดังนี้

4.1 เปนปจจัยเสี่ยงท่ีสามารถยอมรับไดและกิจกรรม/ข้ันตอนการดําเนินงานตามปกติสามารถควบคุมใหความเสี่ยงอยูในระดับท่ียอมรับได ใหเลือกแนวทางการควบคุมความเสี่ยง (นําไปบริหารจัดการตามแนวทางการควบคุมภายในของสวนราชการ)

4.2 เปนปจจัยเสี่ยงท่ีสามารถยอมรับไดแตไมมีกิจกรรม/ข้ันตอนการดําเนินงานตามปกติท่ีสามารถนําไปควบคุมความเสี่ยงนั้นได รวมท้ัง มีความเปนไปไดท่ีความเสี่ยงนั้น จะมีโอกาสสงผลกระทบตอ วัตถุประสงค/เปาหมาย ของหนวยงานมากข้ึน ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงานพิจารณาเลือก แนวทางการควบคุมความเสี่ยง (นําไปบริหารจัดการตามแนวทางการควบคุมภายในของสวนราชการ) และกําหนดมาตรการและกิจกรรมควบคุมความเสี่ยงเพ่ิมเติม

4.3 เปนปจจัยเสี่ยงท่ีสามารถยอมรับได ภายใตการควบคุมท่ีมีอยูในปจจุบัน ซ่ึงคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงานพิจารณาแลวเห็นวาไมตองดําเนินการใด ๆ เชน กรณีท่ีมีความเสี่ยงในระดับ ไมรุนแรงและไมคุมคาท่ีจะดําเนินการใดๆ ใหเลือกแนวทางการยอมรับความเสี่ยง ข้ันตอนท่ี 5 การกําหนดกิจกรรมควบคุม

ภายหลังจากท่ีคณะทํางานบริหารความเสี่ยงระบุแนวทางการตอบสนองความเสี่ยงในแตละปจจัยเสี่ยงแลว ใหคณะทํางานกําหนดกิจกรรมเพ่ือควบคุมหรือลดความเสี่ยงท่ีอยูระดับสูง และสูงมาก ใหลดลงอยู ในระดับท่ียอมรับได และสามารถปฏิบัติไดจริง รวมท้ังตองพิจารณาถึงความคุมคาในดานคาใชจายและตนทุน ท่ีตองใชในการลงทุนในการดําเนินมาตรการและแผนปฏิบัติการนั้นเปรียบเทียบกับผลประโยชนท่ีจะไดรับดวย

วิธีดําเนินการ 1. การพิจารณากําหนดกิจกรรมในการรองรับความเสี่ยงตางๆ สามารถพิจารณากําหนด

ไปพรอมกับการกําหนดแนวทางการตอบสนองความเสี่ยงได โดยภายหลังจากการกําหนดแนวทางการตอบสนองความเสี่ยงแลว ใหพิจารณากําหนด มาตรการ/กิจกรรม ควบคุมความเสี่ยง ระบุลงในแบบฟอรม 1.4 การประเมินและการกําหนดแนวทางการตอบสนองความเสี่ยง โดยมีแนวทางการพิจารณาเปนรายกรณี ดังนี้

1.1 กรณีเลือกใชแนวทางการยอมรับความเสี่ยง ใหระบุมาตรการ/กิจกรรมท่ีเปนการควบคุมความเสี่ยงในปจจุบันและประเมินผลความสามารถของ มาตรการ/กิจกรรม ในการควบคุมความเสี่ยงดวย

1.2 กรณีเลือกใชแนวทางการควบคุมความเสี่ยง ในกรณีท่ีมีมาตรการ/กิจกรรมท่ีเปน การควบคุมความเสี่ยงในปจจุบัน ใหประเมินผลความสามารถของ มาตรการ/กิจกรรม ในการควบคุมความเสี่ยง โดยพิจารณาวาควรกําหนด มาตรการ/กิจกรรม เพ่ิมเติมหรือไม สําหรับกรณีท่ีไมมีมาตรการ/กิจกรรม ท่ีเปน การควบคุมความเสี่ยงในปจจุบัน ใหพิจารณากําหนดมาตรการ/กิจกรรมเพ่ิมเติม

1.3 กรณีเลือกใชแนวทางการลดความเสี่ยง ในกรณีท่ีมีมาตรการ/กิจกรรมท่ีเปนการควบคุมความเสี่ยงในปจจุบัน ใหพิจารณาประเมินผลความสามารถของ มาตรการ/กิจกรรม ในการควบคุมความเสี่ยงวา ยังไมสามารถควบคุมความเสี่ยงไดเนื่องจากปจจัยใด และใหกําหนด มาตรการ/กิจกรรม เพ่ิมเติม เพ่ือลด ความเสี่ยงนั้นใหอยูในระดับท่ียอมรับได โดยคํานึงถึงความเปนไปไดและความคุมคาในการดําเนินการเปนสําคัญ สําหรับกรณีท่ีไมมี มาตรการ/กิจกรรม ท่ีเปนการควบคุมความเสี่ยงในปจจุบันใหพิจารณากําหนด มาตรการ/กิจกรรม เพ่ิมเติม โดยคํานึงถึงความเปนไปไดและความคุมคาในการดําเนินการเปนสําคัญดวย

35

Page 39:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

1.4 กรณีเลือกใชแนวทางการยกเลิกหรือหลีกเลี่ยงความเสี่ยง เนื่องจากเปนความเสี่ยงท่ี ไมสามารถยอมรับไดและประเมินแลวตองจัดการใหความเสี่ยงนั้นไปอยูนอกเง่ือนไขการดําเนินงาน โดยมีวิธีการจัดการความเสี่ยงในกลุมนี้ เชน การหยุดดําเนินงานหรือกิจกรรมท่ีกอใหเกิดความเสี่ยงนั้น การเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงคในการดําเนินงาน การลดขนาดของงานท่ีจะดําเนินการหรือกิจกรรมลง เปนตน

1.5 กรณีเลือกใชแนวทางการถายโอนความเสี่ยง เนื่องจากเปนความเสี่ยงท่ีอยู นอกเง่ือนไขการดําเนินงาน และถาถายโอนใหผูอ่ืนดําเนินการแทนจะมีความคุมคาในการรองรับ ความเสี่ยงมากกวา เชน การทําประกันภัย/ประกันทรัพยสินกับบริษัทประกัน การจางบุคคลภายนอกหรือการจางบริษัทภายนอกมาจัดการในงานบางอยางแทน เชน งานรักษาความปลอดภัย เปนตน ใหพิจารณากําหนดมาตรการ/กิจกรรมท่ีเหมาะสม และระบุผูท่ีรับผิดชอบในมาตรการดังกลาว นําเสนอคณะกรรมบริหารความเสี่ยงพิจารณา

2. การพิจารณาความคุมคาของมาตรการ/กิจกรรม ในการรองรับความเสี่ยง ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของหนวยงานพิจารณาทางเลือกของมาตรการ/กิจกรรมท่ีหนวยงานจะดําเนินการ โดยมาตรการ/กิจกรรม ท่ีกําหนด ตองมีความคุมคาในเชิงคาใชจาย กลาวคือ ภายหลังจากการระบุถึงมาตรการ/กิจกรรม ในการรองรับความเสี่ยงแลว ใหประมาณการคาใชจายในแตละกิจกรรมและนําไปเปรียบเทียบกับผลการประมาณการมูลคาความเสียหายท่ีเกิดจากความเสี่ยงนั้น ๆ โดยคาใชจายในการดําเนินการตามมาตรการ/กิจกรรมตองต่ํากวามูลคาความเสียหายท่ีเกิดจากความเสี่ยง ท้ังนี้ หากไมสามารถประมาณการมูลคาความเสียหายท่ี เกิดจากความเสี่ยงนั้นๆ ได ใหพิจารณาวาเปนคาใชจายท่ีไมสงผลกระทบตองบประมาณของหนวยงานและมาตรการ/กิจกรรมท่ีกําหนด เปนการสงเสริมใหการปฏิบัติภารกิจมีประสิทธิภาพมากข้ึน ท้ังนี้ หากพิจารณาแลวเปนกิจกรรมท่ีจําเปนตองดําเนินการแตงบประมาณของหนวยงานไมเพียงพอจําเปนตองไดรับการสนับสนุนงบประมาณเพ่ิมเติมใหนําเสนอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพ่ือพิจารณาตอไป

ข้ันตอนท่ี 6 กิจกรรมการบริหารความเส่ียง

ใหคณะทํางานบริหารความเสี่ยงของ สํานัก/กอง/กลุม จัดทําแผนบริหารความเสี่ยงของสํานัก/กอง/กลุม ลงในแบบฟอรม 1.5 แผนปฏิบัติการบริหารความเสี่ยง ของสํานัก/กอง/กลุม โดยนําผลการระบุปจจัยเสี่ยงและการกําหนดกิจกรรมควบคุมความเสี่ยงจากแบบฟอรม 1.4 การกําหนดมาตรการ/กิจกรรม ควบคุม ความเสี่ยง มาใสและระบุระยะเวลา งบประมาณ ผลผลิต/ผลลัพธ/ตัวชี้วัด และผูรับผิดชอบ เพ่ิมเติมใหครบถวน และสงผลการวิเคราะหความเสี่ยงของหนวยงานตามแบบฟอรมท่ี 1 ใหฝายเลขานุการภายในกําหนดเวลา เพ่ือทําการประมวลขอมูลและจัดทํา (ราง) แผนบริหารความเสี่ยงเสนอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เพ่ือพิจารณาตอไป

ข้ันตอนท่ี 7 ติดตามผลและเฝาระวังความเส่ียงตางๆ การติดตามและประเมินผลตามแผนบริหารความเสี่ยง เม่ือหนวยงานไดดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงไประยะหนึ่งแลว หนวยงานจะตองรายงานผลการดําเนินงานในรอบ 6 เดือน 9 เดือน และ 12 เดือน พรอมท้ังนําผลการดําเนินงานในรอบ 12 เดือนมาวิเคราะหและสรุปผลรวมถึงระบุปญหาและอุปสรรคเพ่ือนําไปแกไขปรับปรุง ในปงบประมาณถัดไป โดยนําเสนอตอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพ่ือพิจารณาใหความเห็นชอบ จากนั้นจึงนําเสนอตออธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เพ่ือโปรดทราบ

36

Page 40:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ตัวอยางปจจัยเสี่ยง

ความเสี่ยงดาน หลักธรรมภิบาลท่ีเก่ียวของ

กลยุท

การดํ

าเนิน

งาน

การเ

งิน

กฎหม

าย/ร

ะเบีย

1. ป

ระสิท

ธิผล

2. ป

ระสิท

ธิภาพ

3. ต

อบสน

อง

4. รั

บผิดช

อบ

5. โป

รงใส

6. ม

ีสวนร

วม

7. ก

ระจา

ยอําน

าจ

8. น

ิติธรร

9.เส

มอภา

10.ก

ารมุง

ฉันทา

มติ

1. ปจจัยภายนอก 1.1 ผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสียภายนอกองคกร

1) ความรวมมือจากภาคสวนตางๆ ท่ีเก่ียวของยังมีไมเพียงพอ 2) ประชาชนสวนใหญขาดโอกาสในการเขาถึงแหลงขอมูลขาวสารและองคความรูดานปาไม 3) ผูปฏิบัติงานของหนวยงานภายนอกท่ีเก่ียวของไมศึกษาระเบียบวิธีการดําเนินงานกอนเขาปฏิบัติงาน

1.2 ดานการเมือง กฎหมาย และนโยบาย 1) มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและนโยบายของรัฐบาล 2) กฎ ระเบียบของตางประเทศมีรายละเอียดตางจากประเทศไทย สงผลตอการเจรจาความรวมมือตางๆ 3) การกําหนดทาทีเจรจาความรวมมือกับตางประเทศอาจขัดแยงกับกฎ ระเบียบท่ีเก่ียวของตางๆ 4) มีการแทรกแซงจากฝายการเมือง

1.3 สภาพเศรษฐกิจ 1) ปญหาการวางงาน 2) การเคลื่อนยายแรงงานภาคเกษตร 3) ภาวะเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจภายในประเทศมีความผันผวน 4) ความผันผวนของราคาวัตถุดิบ (น้ํามันเชื้อเพลง) 5) ปญหาขาดท่ีดินทํากินของราษฏร

37

Page 41:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ตัวอยางปจจัยเสี่ยง

ความเสี่ยงดาน หลักธรรมภิบาลท่ีเก่ียวของ

กลยุท

การดํ

าเนิน

งาน

การเ

งิน

กฎหม

าย/ร

ะเบีย

1. ป

ระสิท

ธิผล

2. ป

ระสิท

ธิภาพ

3. ต

อบสน

อง

4. รั

บผิดช

อบ

5. โป

รงใส

6. ม

ีสวนร

วม

7. ก

ระจา

ยอําน

าจ

8. น

ิติธรร

9.เส

มอภา

10.ก

ารมุง

ฉันทา

มติ

1.4 สภาพแวดลอม 1) สภาพอากาศมีความแปรปรวนเพ่ิมมากข้ึน 2) ปญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติทวีความรุนแรงและขยายวงกวางมากข้ึน

1.5 สภาพสังคม 1) ความหลากหลายทางความคิด ความเชื่อทางศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิตท่ีเปนอัตลักษณเฉพาะ

จังหวัด ทําใหภาคประชาชนขาดความรวมมือในการแกไขปญหาและมีสวนรวมในการดําเนินงาน

2) สถานการณปญหาท่ีมีความซับซอนและเชื่อมโยงหลายมิติทําใหการแปลงนโยบายไปสูภาคปฏิบัติ ไมสามารถตอบสนองตอความตองการของภาคประชาชนในพ้ืนท่ีไดอยางครบถวน

3) ความหลากหลายทางภาษา ทําใหการสื่อสารแนวทางปฏิบัติระหวางเจาหนาท่ีและประชาชนไมตรงตาม วัตถุประสงคท่ีตั้งไว

1.6 เทคโนโลยี 1) เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทําใหเทคโนโลยีขององคกรลาสมัยอยางรวดเร็ว 2) การโจมตีและการรบกวนทางอิเล็กทรอนิกส 3) ความลมเหลวในการสื่อสารและการบริการภายนอก 4) การเขาถึงขอมูล การเขาถึงโดยในโมเด็ม หรือการเปลี่ยนแปลงขอมูล โดยไมไดรับอนุญาต 5) ความลมเหลวของโครงสรางพ้ืนฐานดานสารสนเทศท่ีสําคัญ

2. ปจจัยภายใน 2.1 โครงสราง กลยุทธและการวางแผนองคกร

38

Page 42:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ตัวอยางปจจัยเสี่ยง

ความเสี่ยงดาน หลักธรรมภิบาลท่ีเก่ียวของ

กลยุท

การดํ

าเนิน

งาน

การเ

งิน

กฎหม

าย/ร

ะเบีย

1. ป

ระสิท

ธิผล

2. ป

ระสิท

ธิภาพ

3. ต

อบสน

อง

4. รั

บผิดช

อบ

5. โป

รงใส

6. ม

ีสวนร

วม

7. ก

ระจา

ยอําน

าจ

8. น

ิติธรร

9.เส

มอภา

10.ก

ารมุง

ฉันทา

มติ

1) ขาดการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียในการวางแผน 2) การจัดทําแผนลาชาเสร็จไมทันเวลาในการนําไปใชประโยชน 3) แผนการดําเนินงานขาดความชัดเจนไมสามารถนําไปใชไดในทางปฏิบัติ 4) ผลการดําเนินงานไมตอบสนองตอความตองการของผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย 5) การขออนุมัติแผนลาชา 6) แผนงาน/โครงการ ไมสอดคลองกันนโยบายขององคกรเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงนโยบาย 7) แผนงานและโครงการไมตอบสนองตอความตองการของผูรับบริการอยางแทจริง 8) การกําหนดกลยุทธและนโยบายขององคกรไมครอบคลุมทําใหไมทราบปญหาและความตองการของ

ผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย

9) การสรุปและประเมินผลการดําเนินงานบางสวนยังไมครอบคลุมในมิติตางๆ ท่ีสําคัญ เชน ผลผลิต ผลลัพธ และผลกระทบจากการดําเนินงาน

10) ผูรับผิดชอบยังขาดทักษะท่ีจําเปนในการสรุปและประเมินผลการดําเนินงาน 11) องคประกอบของรางแผนฯ ไมครบถวนตามขอกําหนด ของหนวยงานกลาง 12) การดําเนินงานไมสําเร็จตามแผนท่ีกําหนด 13) ประเด็นการประชุม/หารือ/เจรจาท่ีไมครบถวน 14) ไมมีขอมูลประกอบการประชุม/หารือในกรณีเรงดวน 15) องคกรไมสามารถกําหนดทาท่ีการประชุม/เจรจาไดอยางถูกตองและเหมาะสมกับประเทศคูเจรจา

39

Page 43:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ตัวอยางปจจัยเสี่ยง

ความเสี่ยงดาน หลักธรรมภิบาลท่ีเก่ียวของ

กลยุท

การดํ

าเนิน

งาน

การเ

งิน

กฎหม

าย/ร

ะเบีย

1. ป

ระสิท

ธิผล

2. ป

ระสิท

ธิภาพ

3. ต

อบสน

อง

4. รั

บผิดช

อบ

5. โป

รงใส

6. ม

ีสวนร

วม

7. ก

ระจา

ยอําน

าจ

8. น

ิติธรร

9.เส

มอภา

10.ก

ารมุง

ฉันทา

มติ

16) ยังไมมีการทบทวนทาท่ีการพัฒนาความรวมมือกับตางประเทศ /สถานะความรวมมือ กับหนวยงาน ท่ีเก่ียวของ

17) ไมมีการติดตามผลการดําเนินงาน ตามผลการประชุม หารือ/เจรจา อยางเพียงพอ 2.2 ระบบและกระบวนการทํางาน 2.2.1 ระบบการทํางาน

1) การปฏิบัติงานไมดําเนินการตามข้ันตอนท่ีกําหนดในแผน 2) ไมมีคูมือเปนกรอบในการดําเนินงาน 3) มีข้ันตอนการปฏิบัติงานมากเกินไป 4) การประสานงานระหวางหนวยงานในสังกัดกรม ขาดความคลองตัว 5) วิธีการดําเนินงานไมดีเพียงพอ 6) การชวยเหลือประชาชนเก่ียวกับภัยพิบัติทางธรรมชาติเปนไปอยางลาชา 7) ไดรับรายงานผลการดําเนินงานลาชา 8) ตอบสนองความตองการของผูรับบริการไมครอบคลุมทุกพ้ืนท่ี 9) ยังไมมีการชี้แจงแนวทางปฏิบัติใหแกผูท่ีเก่ียวของอยางเพียงพอ 10) การปฏิบัติงานไมเปนไปตามแผนท่ีกําหนด

2.2.2 การบริหารงบประมาณ งานพัสดุ และบริหารการเบิกจาย 1) ไดรับผูรับจางท่ีไมมีศักยภาพตรงตามความตองการ

40

Page 44:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ตัวอยางปจจัยเสี่ยง

ความเสี่ยงดาน หลักธรรมภิบาลท่ีเก่ียวของ

กลยุท

การดํ

าเนิน

งาน

การเ

งิน

กฎหม

าย/ร

ะเบีย

1. ป

ระสิท

ธิผล

2. ป

ระสิท

ธิภาพ

3. ต

อบสน

อง

4. รั

บผิดช

อบ

5. โป

รงใส

6. ม

ีสวนร

วม

7. ก

ระจา

ยอําน

าจ

8. น

ิติธรร

9.เส

มอภา

10.ก

ารมุง

ฉันทา

มติ

2) การจัดซ้ือจัดจางลาชากวาท่ีกําหนด 3) มีการเลือกปฏิบัติตอผูยื่นซอง 4) ขาดผูเชี่ยวชาญในการกําหนด TOR ทําใหการดําเนินงานไมเปนไปตามแผน 5) ขาดการบริหารสัญญาท่ีดี 6) ไมมีการตรวจสอบคุณสมบัติของผูรับจางใหละเอียดถ่ีถวน 7) การเบิกจายงบประมาณไมทันในปงบประมาณ 8) ไดรับงบประมาณไมเพียงพอ 9) การใชจายงบประมาณผิดประเภท / วัตถุประสงค 10) ความผิดพลาดในการอนุมัติวงเงินเกินอํานาจ 11) ขาดความรวมมือจากหนวยงานในการจัดสงรายงานใชจายงบประมาณอยางสมํ่าเสมอ 12) ทรัพยสินทางราชการสูญหาย 13) การพัฒนาระบบ GFMIS ยังไมสมบูรณ 14) ระบบการจัดซ้ือจัดจางดวยระบบอิเล็กทรอนิกสไมสามารถปองกันการสมยอมกัน

ระหวางผูขาย/ผูรับจาง

15) ไมดําเนินการตามระเบียบพัสดุ 16) กฎ ระเบียบไมชัดเจน รัดกุม สําหรับการกําหนดแนวทางการดําเนินงาน 17) ขาดความรูความเขาใจในเรื่องกฎ ระเบียบ

41

Page 45:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ตัวอยางปจจัยเสี่ยง

ความเสี่ยงดาน หลักธรรมภิบาลท่ีเก่ียวของ

กลยุท

การดํ

าเนิน

งาน

การเ

งิน

กฎหม

าย/ร

ะเบีย

1. ป

ระสิท

ธิผล

2. ป

ระสิท

ธิภาพ

3. ต

อบสน

อง

4. รั

บผิดช

อบ

5. โป

รงใส

6. ม

ีสวนร

วม

7. ก

ระจา

ยอําน

าจ

8. น

ิติธรร

9.เส

มอภา

10.ก

ารมุง

ฉันทา

มติ

18) ขาดการกํากับ ควบคุมการปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ 19) ไมดําเนินการตามกฎ ระเบียบ พระราชบัญญัติ.......................... 20) ขาดงบประมาณดําเนินการ/งบประมาณไมเพียงพอ 21) การพิจารณาวงเงินไมสอดคลองกับการดําเนินงาน 22) การพิจารณาวงเงินมีขอผิดพลาด

2.2.3 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และอุปกรณในการปฏิบัติงาน 1) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีใชในการปฏิบัติงานไมมีประสิทธิภาพเทาท่ีควร 2) การเชื่อมโยงระบบเครือขายขาดประสิทธิภาพ 3) ระบบคอมพิวเตอรและเครือขายไมสามารถใชงานไดอยางตอเนื่อง 4) ขาดการกํากับ ควบคุม การนําซอฟแวรมาใช 5) อุปสรรค/ความไมสะดวกในการสื่อสาร การประสานงานกับองคกรภายนอก 6) การสื่อสารและเผยแพรแผน (หรืออ่ืน ๆ) ไมท่ัวถึงหรือลาชา 7) ความชํารุดของเครื่องมือตาง ๆ 8) ระบบสารสนเทศไมสามารถใชงานไดอยางตอเนื่อง 9) ยังไมมีการชี้แจงแนวทางปฏิบัติใหแกผูท่ีเก่ียวของทราบและใหความรวมมืออยางเพียงพอ 10) การเฝาระวังดานระบบความปลอดภัยสารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพไมเพียงพอ

42

Page 46:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ตัวอยางปจจัยเสี่ยง

ความเสี่ยงดาน หลักธรรมภิบาลท่ีเก่ียวของ

กลยุท

การดํ

าเนิน

งาน

การเ

งิน

กฎหม

าย/ร

ะเบีย

1. ป

ระสิท

ธิผล

2. ป

ระสิท

ธิภาพ

3. ต

อบสน

อง

4. รั

บผิดช

อบ

5. โป

รงใส

6. ม

ีสวนร

วม

7. ก

ระจา

ยอําน

าจ

8. น

ิติธรร

9.เส

มอภา

10.ก

ารมุง

ฉันทา

มติ

11) การกระทําผิดตามพระราชบัญญัติการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 และพระราชบัญญัต ิธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสโดยไมเจตนา

2.2.4 เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน 1) การปฏิบัติงานในพื้นที่ที่เสี่ยงภัย 2) ขาดความเขมงวดในการรักษาความปลอดภัยของอาคารสถานที่ 3) พื้นที่การปฏิบัติงานสวนใหญเปนพื้นที่เสี่ยงภัยทําใหชองทางการสื่อสารงานโครงการตางๆ ไมสามารถ

กระจายครอบคลุมทุกพื้นที่

4) พื้นที่การปฏิบัติงานสวนใหญเปนพื้นที่เสี่ยงภัยทําใหประชาชนในพื้นที่ยังขาดโอกาสเขาถึงการมีสวนรวม ในงานนโยบายและภาคปฏิบัติ

2.3 รูปแบบในการบริหารและการดําเนินงาน 1) ขาดการมอบหมายผูรับผิดชอบที่ชัดเจน 2) มีการเปลี่ยนแปลงเจาหนาที่ที่รับผิดชอบการแปลงนโยบายและแนวทาง/แผนปฏิบัติการ 3) การตอบสนองตอการพัฒนาระบบราชการยังไมมุงเนนในเชิงผลสัมฤทธิ์อยางแทจริง 4) ขาดการมีสวนรวมจากผูบริหารระดับกลางอยางเพียงพอ 5) ขาดความชัดเจนในแนวทางการดําเนินงาน 6) ผูบริหารที่เปนคณะกรรมการบางสวนไมไดเขาประชุมดวยตนเอง 7) องคกรยังไมมีกระบวนการกํากับดูแลการปฏิบัติงานอยางเพียงพอเพื่อใหการดําเนินงานบรรลุตามพันธกิจ

ที่กําหนด

43

Page 47:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ตัวอยางปจจัยเสี่ยง

ความเสี่ยงดาน หลักธรรมภิบาลท่ีเก่ียวของ

กลยุท

การดํ

าเนิน

งาน

การเ

งิน

กฎหม

าย/ร

ะเบีย

1. ป

ระสิท

ธิผล

2. ป

ระสิท

ธิภาพ

3. ต

อบสน

อง

4. รั

บผิดช

อบ

5. โป

รงใส

6. ม

ีสวนร

วม

7. ก

ระจา

ยอําน

าจ

8. น

ิติธรร

9.เส

มอภา

10.ก

ารมุง

ฉันทา

มติ

8) มีการเปลี่ยนแปลงผูรับผิดชอบของหนวยงานฯ ทําใหสืบคนขอมูลไดไมตอเนื่อง 9) สวนราชการขาดการบูรณาการ 10) การแตงตั้งโยกยายไมเปนธรรม

2.4 บุคลากรขององคกร 1) ขาดแรงจูงใจในการทํางานใหกับเจาหนาท่ี 2) บุคลากรขาดการพัฒนาตนเอง 3) การตอบสนองตอความตองการของผูรับบริการบางแหงลาชาเนื่องจากบุคลากรไมเพียงพอ 4) ผูปฏิบัติงานไมดําเนินการตามคูมือการปฏิบัติงานและขาดการควบคุมกํากับดูแลจากผูรับผิดชอบ 5) บุคลากรขาดความเขาใจในวัตถุประสงคแนวทางการดําเนินงาน และขาดการศึกษาเกณฑในชองทางอ่ืน 6) การไมปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมาย เก่ียวกับการปาไม 7) ผูรับผิดชอบไมมีการตรวจสอบความถูกตองและความสมบูรณของรายงานผลการปฏิบัติงาน 8) เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานแทนไมมีความชํานาญในการตรวจสอบเอกสาร 9) เจาหนาท่ีไมสามารถกลั่นกรองและสรุปเรื่องเสนอผูมีอํานาจสั่งการได 10) เจาหนาท่ีสรุปเรื่องเสนอผูมีอํานาจสั่งการลาชา 11) เกิดความลาชาในการสั่งการของผูมีอํานาจสั่งการและหนวยงานท่ีเก่ียวของ 12) เจาหนาท่ีจัดทําขอเสนอการดําเนินงานไมทันตามกําหนดการประชุม/หารือ 13) เจาหนาท่ีขาดความรูเก่ียวกับงาน/โครงการท่ีนํามาคัดเลือกเพ่ือบรรจุในแผนการตรวจราชการ

44

Page 48:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ตัวอยางปจจัยเสี่ยง

ความเสี่ยงดาน หลักธรรมภิบาลท่ีเก่ียวของ

กลยุท

การดํ

าเนิน

งาน

การเ

งิน

กฎหม

าย/ร

ะเบีย

1. ป

ระสิท

ธิผล

2. ป

ระสิท

ธิภาพ

3. ต

อบสน

อง

4. รั

บผิดช

อบ

5. โป

รงใส

6. ม

ีสวนร

วม

7. ก

ระจา

ยอําน

าจ

8. น

ิติธรร

9.เส

มอภา

10.ก

ารมุง

ฉันทา

มติ

2.5 การจัดการความรู ความสามารถและทักษะขององคกร 1) ผลงานวิจัยไมไดถูกนํามาใชประโยชนอยางเปนรูปธรรม 2) ขาดการถายทอดความรูระหวางผูปฏิบัติงาน 3) บุคลากรแตละระดับขาดทักษะความรูประสบการณ 4) การกําหนดหลักสูตรการฝกอบรมไมสอดคลองกับความจําเปนในการพัฒนา 5) กระบวนการวิจัยใชระยะเวลาในการดําเนินงานนานทําใหไมสามารถตอบสนองหรือแกไขปญหา

เฉพาะหนาไดทันทวงที

6) ไมมีผูรับผิดชอบท่ีชัดเจนในการติดตามประเมินผลการวิจัย 7) เจาหนาท่ีผูไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบมีความรูและทักษะไมเพียงพอในการดําเนินงาน 8) ขาดระบบการสื่อสารถายทอดและแลกเปลี่ยนใหท่ัวท้ังองคกร 9) ผลงานวิจัยไมตอบสนองตอความตองการของผูใช (นักวิชาการ) 10) ขาดการมีสวนรวมจากนักวิชาการในการกําหนดแผนงาน/โครงการวิจัยในกระบวนงานวิจัย

2.6 คานิยมรวมกันของสมาชิกในองคกร 1) ขาดจิตสํานึกรับผิดชอบในหนาท่ีของตนเอง 2) ไมใหความรวมมือในการทํางานระหวางหนวยงาน 3) เพิกเฉยตอปญหาขององคกรเนื่องจากคิดวาไมใชความรับผิดชอบของตนเอง

45

Page 49:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

บทท่ี 3 การจัดทําแผนบริหารความเส่ียง

ผลการวิเคราะหจากการพิจารณาความเส่ียงของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช การจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ในปงบประมาณ พ.ศ. 2560ไดดําเนินการตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีสํานักงาน ก.พ.ร. กําหนด ดังนี้

1. คัดเลือก แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ในปงบประมาณ พ.ศ. 2560 อยางนอยประเด็นยุทธศาสตร

ละ 1 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม โดยเปนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ท่ีไดรับงบประมาณ และมีผลกระทบสูงตอการบรรลุความสําเร็จตามประเด็นยุทธศาสตรนั้น 2 . วิเคราะหความเสี่ยงของแผนงาน/โครงการตามมาตรฐาน COSO (Committee of Sponsoring Organization of the Tread way Commission) ซ่ึงตองนําความเสี่ยงเรื่องธรรมาภิบาลท่ีเก่ียวของมาเปนปจจัยในการวิเคราะหดวย 3. มีแผนบริหารความเสี่ยงท่ีสอดคลองกับผลการวิเคราะห 4. มีแผนบริหารความเสี่ยงท่ีมีตัวชี้วัดความสําเร็จของเปาหมายตามแผนบริหารความเสี่ยง

การกําหนดวัตถุประสงคการดําเนินการบริหารความเส่ียง เพ่ือใหโครงการสําคัญท่ีมีนัยสําคัญตอการบรรลุความสําเร็จตามประเด็นยุทธศาสตร จัดสรรของกรม

อุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช สามารถดําเนินการไดบรรลุเปาหมายท่ีกําหนดไว

วิสัยทัศนกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช “เพิ่มพื้นที่ปาอนุรักษใหไดรอยละ 25 ของพื้นที่ประเทศ ภายในป พ.ศ. 2569”

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดจัดการประชุมคณะกรรมการบริหาร

ความเสี่ยงของ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ครั้งท่ี 3/255 9 เม่ือวันท่ี 7 ธันวาคม 2559 ณ หองประชุมชั้น 4 อาคารปลอดประสพ เพ่ือคัดเลือกแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ท่ีจะนํามาจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง โดยพิจารณาจากเอกสารงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ดังนี้

46

Page 50:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ขอมูลจากแผนยุทธศาสตรกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2559-2564 (ในสวนของปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ที่ไดรับการจัดสรร) และเอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 งบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 เลมที่ 5

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวช้ีวัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม งบประมาณป

๒๕60

ยุทธศาสตรดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน

1. แผนงานบุคลากรภาครัฐ

- - แผนงานบุคลากรภาครัฐ 5,092,673,500

ยุทธศาสตรดานการสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ

2. แผนงานพ้ืนฐานดานการสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ พัฒนาและสงเสริมการทองเท่ียวเชิงอนุรักษในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ

เปาประสงค 14 : ทรัพยากรปาไมและสัตวปาไดรับการจัดการอยางสมดุลและยั่งยืน ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : บริการดานการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ 243 แหง เชิงคุณภาพ : ดูแลแหลงทองเท่ียวใหไดตามเกณฑมาตรฐานคุณภาพแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศ รอยละ 80

แผนงานพัฒนาและเพ่ิมรายไดจากการทองเท่ียวและบริการ ผลผลิตท่ี 1 : แหลงทองเท่ียวในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ 1. กิจกรรมทองเท่ียวเชิงอนุรักษ

207,928,700

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ วิจัย พัฒนา และถายทอดองคความรูดานการอนุรักษปาไมและสัตวปา เพ่ือใชในการแกปญหาทรัพยากรปาไมและสัตวปาในระยะเรงดวน และการบริหารจัดการพ้ืนท่ีปาอนุรักษอยางมีประสิทธิภาพและถูกตองตามหลักวิชากา ร

เปาประสงค 5 : พัฒนาองคความรูและการจัดการทรัพยากรปาไมและสัตวปา จากการวิจัยและพัฒนา ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : 1.จํานวนงานวิจัยดานการอนุรักษปาไมและสัตวปา 22 โครงการ 2.จํานวนขอมูลท่ีบันทึกในฐานขอมูล 100 รายการ 3.ใหบริการและถายทอดองคความรูดานการอนุรักษปาไมและสัตวป 1,620 ครั้ง เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอการพัฒนา ถายทอด และใชประโยชนองคความรูดานการอนุรักษปาไมและสัตวปา รอยละ 85

ผลผลิตท่ี 2 : องคความรูดานการอนุรักษปาไมและสัตวปา 1. กิจกรรมบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ 2. กิจกรรมการวิจัยดานการปาไมและสัตวปา 3. กิจกรรมพรรณพฤกษชาติประเทศไทย 4. กิจกรรมบริหารจัดการดานปาไมและสัตวปา 5. กิจกรรมงานพฤกษศาสตรปาไม

26,187,400

16,491,700

3,344,900

52,832,100

96,737,600

47

Page 51:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวช้ีวัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม งบประมาณป

๒๕60 วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ 1. ริเริ่มความรวมมือระหวางประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และราชอาณาจักรกัมพูชา ในการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพในเขตพ้ืนท่ีอนุรักษติดตอชายแดน 2. เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการพ้ืนท่ีมรดกแหงอาเซียนและมรดกโลก 3.นําเสนอพ้ืนท่ีคุมครองท่ีมีศักยภาพหรือมีคุณคาระดับภูมิภาคเปนมรดกแหงอาเซียนและมรดกโลกตอไป 4. ดําเนินงานใหเปนไปตามพันธกรณีอนุสัญญาคุมครองมรดกโลกและโปรแกรมมรดกอาเซียน

เปาประสงค 9 : บูรณาการความรวมมือในการจัดการทรัพยากรปาไมและสัตวปา ทุกภาคสวนรวมถึงประชาคมอาเซียนและระหวางประเทศ ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : บริหารจัดการและดูแลทรัพยากรธรรมชาติแนวเช่ือมตอระหวางประเทศ 4 แนว เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอการบริหารจัดการและดูแลทรัพยากรธรรมชาติแนวเช่ือมตอระหวางประเทศ รอยละ 80

โครงการท่ี 1 : โครงการจัดการพ้ืนท่ีคุมครองท่ีเปนมรดกโลก มรดกแหงอาเซียนและพ้ืนท่ีคุมครองขามพรมแดนระหวางประเทศใหเปนไปตามมาตรฐาน 1. กิจกรรมจัดการพ้ืนท่ีคุมครองเช่ือมตอระหวางประเทศ พ้ืนท่ีมรดกโลกและมรดกอาเซียน

22,769,400

ยุทธศาสตรดานการการจัดการน้ําและสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม

3. แผนงานพ้ืนฐานดานการจัดการน้ําและสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอมอยางย่ังยืน

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

แผนงานพ้ืนฐานดานการจัดการนํ้าและสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอยางย่ังยืน ผลผลิตท่ี 1 พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 1. กิจกรรมอนุรักษ ฟนฟู และพัฒนาปาไม 1.1 ดานอุทยานแหงชาติ 1.1.1 กิจกรรมงานอุทยานแหงชาต ิ

847,540,400

48

Page 52:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวช้ีวัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม งบประมาณป

๒๕60 วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.2 ดานสัตวปา 1.2.1 กิจกรรมงานสงวนและคุมครองสัตวปา 1.2.2 กิจกรรมเพาะพันธุและปลอยสัตวปคืนสูธรรมชาต ิ1.2.3 กิจกรรมงานปองกันและควบคุมโรคอุบัติใหมในสัตวธรรมชาต ิ1.2.4 กิจกรรมโครงการดูแลสัตวปาของกลาง

548,093,400

66,536,900

32,419,900

9,249,200

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.3 ดานการคุมครองพ้ืนท่ีปาอนุรักษ 1.3.1 กิจกรรมงานคุมครองพ้ืนท่ีปาอนุรักษ

158,676,800

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.4 ดานตรวจสัตวปา 1.4.1 กิจกรรมงานคุมครองพันธุสัตวปาตามอนุสัญญา 1.4.2 กิจกรรมงานสงวนและคุมครองพันธุพืช 1.4.3 กิจกรรมงานเครือขายการปองกันและปราบปรามการคาสัตวปาและพืชปาท่ีผิดกฎหมายในภูมิภาคเอเชีย

31,017,700

8,257,600

3,401,300

49

Page 53:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวช้ีวัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม งบประมาณป

๒๕60 วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.5 ดานควบคุมไฟปา 1.5.1 กิจกรรมงานควบคุมไฟปา

336,870,400

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.6 ดานพระราชดําริและโครงการหลวง 1.6.1 กิจกรรมงานพัฒนาปาไมอันเน่ืองมาจากพระราชดําร ิ1.6.2 กิจกรรมโครงการอนุรักษทรัพยากรปาไมและสัตวปารอยตอ 5 จังหวัด (ภาคตะวันออก) 1.6.3 กิจกรรมงานพัฒนาปาไมในเขตพ้ืนท่ีเฉพาะ 1.6.4 กิจกรรมพัฒนา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต 1.6.5 กิจกรรมโครงการหลวง 1.6.6 กิจกรรมพัฒนาและรณรงคการใชหญาแฝกอันเน่ืองมาจากพระราชดําร ิ

300,134,800

18,940,900

10,874,700

8,187,400

5,072,000 1,386,900

50

Page 54:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวช้ีวัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม งบประมาณป

๒๕60 วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.7 ดานจัดการพ้ืนท่ีปา 1.7.1 กิจกรรมงานบํารุงปา 1.7.2 กิจกรรมโครงการหมูบานพิทักษปารักษาสิ่งแวดลอม 1.7.3 กิจกรรมงานอนุรักษฟนฟูทรัพยากรปาไมและสัตวในเขตพระราชฐาน 1.7.4 กิจกรรมโครงการพุทธยานในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ 1.7.5 กิจกรรมโครงการประชาคมเศรษฐกิจพอเพียงในพ้ืนท่ีปาไม 1.7.6 กิจกรรมโครงการฟนฟูพ้ืนท่ีตนนํ้าทะเลสาบสงขลา

65,904,800 31,134,100

11,698,200

9,260,000

7,850,000

637,800

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.8 ดานวิศวกรรมและรังวัด 1.8.1 กิจกรรมงานรังวัดหมายแนวเขตพ้ืนท่ีปาอนุรักษ 1.8.2 กิจกรรมงานบริการวิศวกรรมปาไม 1.8.3 กิจกรรมศูนยการเรียนรูดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

51,002,300

47,199,000

824,400

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.9 ดานบริหารและอํานวยการหนวยงาน 1.9.1 กิจกรรมงานบริหารท่ัวไป 1.9.2 กิจกรรมงานบริหารสวนภูมิภาค 1.9.3 กิจกรรมงานพัฒนาบุคลากร 1.9.4 กิจกรรมงานสารสนเทศปาไม

435,830,500 48,501,600 25,708,900

8,952,900

51

Page 55:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวช้ีวัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม งบประมาณป

๒๕60 วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.10 ดานตนนํ้า 1.10.1 กิจกรรมงานจัดการลุมนํ้า

256,069,300

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.11 ดานปรับปรุงสิ่งกอสราง 1.11.1 กิจกรรมปรับปรุงสิ่งกอสรางหนวยงานในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ

62,995,600

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

2. กิจกรรมฟนฟู ดูแล รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษ

537,199,700

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

3. กิจกรรมพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

74,476,900

52

Page 56:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวช้ีวัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม งบประมาณป

๒๕60 วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

4. กิจกรรมปองกัน ปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ

1,605,100

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ ฐานขอมูลดานการอนุรักษทรัพยากรปาไมและสัตวปา ไดรับการพัฒนาและใชประโยชน

เปาประสงค 6 : พัฒนาเครือขายการสื่อสาร และระบบฐานขอมูลดาปาไมและสัตวปาใหมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : จํานวนช้ันขอมูลท่ีสามารถนําไปใชเพ่ือการบริหารจัดการในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ 5 ช้ัน เชิงคุณภาพ : ผูใชบริการมีความพึงพอใจในการใชบริการขอมูลไมนอยกว า รอยละ 80

ผลผลิตท่ี 2 ฐานขอมูลพ้ืนท่ีปาอนุรักษ 1. กิจกรรมจัดทําฐานขอมูล 2. กิจกรรมพัฒนาภูมิสารสนเทศ

38,316,500

6,742,100

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ 1. เพ่ือการเตรียมความพรอมและสรางความรูความเขาใจใหแกเจาหนาท่ี และชุมชนในการดําเนินงานดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและกลไกเรดดพลัส 2. เพ่ือสรางจิตสํานึกและความตระหนักถึงบทบาทของทรัพยากรปาไมท่ีมีตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 3. เพ่ือสรางเครือขายในการดําเนินกิจกรรมโครงการเรดดพลัสในทุกระดับในอนาคต 4. เพ่ือจัดทําโครงการนํารองเพ่ือพัฒนาชุมชนในพ้ืนท่ีคุมครองในการจัดการทรัพยากรปาไมอยางยั่งยืนและเพ่ิมพ้ืนท่ีปาในการกักเก็บคารบอนดวยกลไกเรดดพลัส

เปาประสงค 17 : เพ่ิมประสิทธิภาพในการกักเก็บคารบอนของพ้ืนท่ีอนุรักษ ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : 1. มีชุมชนตนแบบนํารองในการลดการปลอยกาซเรือนกระจกภาคป 12 ชุมชน เชิงคุณภาพ : 1. ชุมชนในพ้ืนท่ีนํารองมีความรูความเขาใจเรื่องการจัดการทรัพยากรปาไมอยางยั่งยืนและเพ่ิมการกักเก็บคารบอนดานกลไกเรดดพลัส รอยละ 75

โครงการท่ี 1 : โครงการลดการปลอยกาซเรือนกระจกในภาคปาไม โดยสรางแรงจูงใจและกระบวนการมีสวนรวม 1. กิจกรรมเตรียมความพรอม เสริมความแข็งแกรงและพัฒนาเทคนิคการดําเนินกิจกรรมกลไกเรดดพลัส 2. กิจกรรมนํารองเพ่ือพัฒนาชุมชนในพ้ืนท่ีคุมครองในการจัดการทรัพยากรปาไมอยางยั่งยืนและเพ่ิมพ้ืนท่ีปาในการกักเก็บคารบอนดวยกลไกเรดดพลัส 3. กิจกรรมสํารวจ ศึกษา และการประเมินการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและการกักเก็บคารบอนในพ้ืนท่ีปา

14,393,100

8,280,200

4,750,500

53

Page 57:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวช้ีวัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม งบประมาณป

๒๕60 วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการปองกันไฟปาและเสริมสรางความรวมมือในการแกไขปญหาไฟปา และหมอกควันขามแดน

เปาประสงค 9 : บูรณาการความรวมมือในการจัดการทรัพยากรปาไมและสัตวปา ทุกภาคสวนรวมถึงประชาคมอาเซียนและระหวางประเทศ ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : มีเครือขายการแกไขปญหาไฟปาและหมอกควัน 1,370 หมูบาน เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอการแกไขปญหาไฟปาและหมอกควันไมนอยกวา รอยละ 80

โครงการท่ี 2 : โครงการเสริมสรางความรวมมือในการแกไขปญหาไฟปาและหมอกควันขามแดนบริเวณพ้ืนท่ีปาอนุรักษ 1. กิจกรรมเสริมสรางความรวมมือในการแกไขปญหาไฟปาและหมอกควันบริเวณพ้ืนท่ีปาอนุรักษ

92,709,700

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ เพ่ือพัฒนาระบบและใหมีระบบเฝาระวังและติดตาม และเตือนภัยสถานการณท่ีเก่ียวของกับการเปลี่ยนแปลงพ้ืนท่ีปาและเตือนภัยในพ้ืนท่ีปาอนุรักษดวยการใชเทคโนโลยีท่ีทันสมัยรวมท้ังนําผลท่ีไดเพ่ือใชในภารกิจดานการควบคุมพ้ืนท่ีใหมีประสิทธิภาพภายใตการบูรณาการหรืองานท่ีเก่ียวของ

เปาประสงค 12 : ประชาชนสามารถปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและรับมือกับภัยพิบัติในพ้ืนท่ีปาอนุรักษไดอยางมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : 1.ติดตามการบุกรุกทําลายพ้ืนท่ีปาอนุรักษในขนาดไมนอยกวา 5 ไร ไมนอยกวา 1,200 จุด 2.ประมวลผลการเปลี่ยนแปลงอันกอใหเกิดภัยพิบัติท่ีเกิดข้ึนบนพ้ืนท่ีอนุรักษไดอยางตอเน่ือง รวมถึงการรายงานผานระบบไมนอยกวา 208 ครั้ง เชิงคุณภาพ : 1.ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานมีความสมบูรณไมนอยกวา รอยละ 90 2.ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอประสิทธิภาพของระบบปองกันและเตือนภัยพิบัติธรรมชาติในพ้ืนท่ีอนุรักษ รอยละ 85

โครงการท่ี 3 : โครงการศูนยขอมูลติดตามการเปลี่ยนแปลงพ้ืนท่ีปาและเตือนภัยพิบัติในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ระยะท่ี 2) 1. กิจกรรมศูนยขอมูลและเตือนภัยพิบัติในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ

14,742,700

54

Page 58:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวช้ีวัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม งบประมาณป

๒๕60 4. แผนงานยุทธศาสตรอนุรักษ ฟนฟู และปองกันทรัพยากรธรรมชาติ

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ 1.เพ่ือปองกันและปราบปรามการลักลอบทําลายทรัพยากรปาไมและสัตวปาในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ 2.เพ่ือพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานของหนวยงานและบุคลากร รวมถึงการพัฒนาเครื่องมือและกลไกเพ่ือสนองตอการปฏิบัติงานอยางประสิทธิภาพ 3. เพ่ือฟนฟูสภาพปาท่ีเสื่อมโทรมใหฟนคืนสภาพปาดังเดิม 4.เพ่ือสรางความรูความเขาใจแกประชาชน สนับสนุน และสงเสริมใหเกิดการมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากร ปาไม เพ่ือลดความขัดแยงของประชาชนและชุมชนในพ้ืนท่ี 5.เพ่ือจัดทําเครื่องหมายแสดงแนวเขตพ้ืนท่ีปาอนุรักษ ตลอดจนขอบเขตการครอบครองท่ีดินของประชาชนในพ้ืนท่ีปาท่ีชัดเจน

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : 1.จํานวนชุมชนท่ีมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรปาไม 100 หมูบาน 2.จํานวนแปลงท่ีดินท่ีสามารถทําการตรวจสอบพิสูจนการครอบครองท่ีดิน 10,000 แปลง 3. ปรับปรุงพระราชกฤษฎีกาแนวเขตพ้ืนท่ีอนุรักษ 4,000 ระวาง 4.พ้ืนท่ีตนนํ้าในลุมนํ้าขนาดเล็กท่ีวิกฤติไดรับการอนุรักษ ฟนฟู และจัดการอยางมีประสิทธิภาพ 100 ลุมนํ้า (ขนาดเล็ก) 5.จํานวนหนวยงานท่ีดําเนินการตามแผนปฏิบัติการงาชางแหงประเทศไทยไดรับการจั ดการ 22 ศูนย 6.จํานวนหมูดับไฟปาเคลื่อนท่ีท่ีไดรับการจัดตั้งเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการดับไฟปา 20 หมู 7. จํานวนพ้ืนท่ีปาอนุรักษท่ีไดมีการติดตามแกไขปญหาชางปาและสัตวปาท่ีสรางผลกระทบตอราษฎรนอกพ้ืนท่ีอนุรักษ จํานวน 38 แหง 8. พ้ืนท่ีปาอนุรักษท่ีเสื่อมสภาพไดรับการฟนฟู จํานวน 18,500 ไร 9. ทรัพยากรปะการังในอุทยานแหงชาติไดรับการคุมครอง จํานวน 48,212 ไร 10. จํานวนหนวยพิทักษปาและจุดสกัดท่ีไดรับการจัดตั้งเพ่ือประสิทธิภาพในการคุมครองพ้ืนท่ีปาอนุรักษ จํานวน 20/35 หนวย/จุด

โครงการท่ี 3 โครงการรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ 1. กิจกรรมปองกันรักษาปาแบบบูรณาการ 2. กิจกรรมปองกันไมพะยูงและไมมีคา 3. กิจกรรมจัดการพ้ืนท่ีตนนํ้าในพ้ืนท่ีลุมนํ้าวิกฤต ิ4. กิจกรรมแกไขปญหาท่ีดินในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ 5. กิจกรรมฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษท่ีเสื่อมสภาพ 6. กิจกรรมเพ่ิมประสิทธิภาพการแกไขปญหาไฟปา 7. กิจกรรมแกไขปญหาชางปาและสัตวปาท่ีสรางผลกระทบตอราษฎรนอกพ้ืนท่ีอนุรักษสัตวปา 8. กิจกรรมจัดการพ้ืนท่ีอนุรักษอยางมีสวนรวม 9. กิจกรรมควบคุมการคางาชาง 10. กิจกรรมอนุรักษและพ้ืนฟูทรัพยากรอุทยานแหงชาติทางทะเล

369,950,100

170,173,700 120,936,200

110,753,300

99,798,000

86,520,000

46,089,800

16,140,000

12,604,900 12,522,000

55

Page 59:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวช้ีวัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม งบประมาณป

๒๕60 เชิงคุณภาพ : 1.ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอการอนุรักษทรัพยากรปาไม รอยละ 80 2.ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอการแกไขปญหาท่ีดินในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

แผนบูรณาการ

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ เพ่ือพัฒนาและเพ่ิมรายไดจากการทองเท่ียวและบริการ ดวยการสงเสริมการตลาด เพ่ือยกระดับภาพลักษณของประเทศ และสนับสนุนการเปนเจาภาพจัดประชุมระดับนานาชาติจากทุกภาคสวน ยกระดับสินคาและบริการใหมรวมท้ังธุรกิจท่ีเก่ียวเน่ืองกับการทองเท่ียวใหมีคุณภาพ พัฒนาการทองเท่ียวรายสาขาอยางสรางสรรค รวมท้ังพัฒนาแหลงทองเท่ียวในเชิงกลุมใหสอดคลองกับพ้ืนท่ีและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกและโครงสรางพ้ืนฐาน สรางความเช่ือมั่นและแกไขปญหาดานความปลอดภัย ควบคูไปกับการบริหารจัดการดานการทองเท่ียว โดยมุงเนนการบูรณาการการทํางานรวมกันของหนวยงานท่ีเก่ียวของ พัฒนาระบบขอมูล พัฒนาบุคลากรและผูประกอบการดานการทองเท่ียวในทุกระดับใหมีศักยภาพ เพ่ือขยายโอกาสทางการตลาดและการลงทุนท้ังในระดับประเทศและภูมิภาค อันนําไปสูการเติบโตดานการทองเท่ียวอยางสมดุลและยั่งยืน

แผนงานบูรณาการการสรางรายไดจากการทองเท่ียวและบริการ โครงการเพ่ิมศักยภาพการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ

46,435,800

56

Page 60:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวช้ีวัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม งบประมาณป

๒๕60 วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ เพ่ือพัฒนาและเพ่ิมรายไดจากการทองเท่ียวและบริการ ดวยการสงเสริมการตลาด เพ่ือยกระดับภาพลักษณของประเทศ และสนับสนุนการเปนเจาภาพจัดประชุมระดับนานาชาติจากทุกภาคสวน ยกระดับสินคาและบริการใหมรวมท้ังธุรกิจท่ีเก่ียวเน่ืองกับการทองเท่ียวใหมีคุณภาพ พัฒนาการทองเท่ียวรายสาขาอยางสรางสรรค รวมท้ังพัฒนาแหลงทองเท่ียวในเชิงกลุมใหสอดคลองกับพ้ืนท่ีและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกและโครงสรางพ้ืนฐาน สรางความเช่ือมั่นและแกไขปญหาดานความปลอดภัย ควบคูไปกับการบริหารจัดการดานการทองเท่ียว โดยมุงเนนการบูรณาการการทํางานรวมกันของหนวยงานท่ีเก่ียวของ พัฒนาระบบขอมูล พัฒนาบุคลากรและผูประกอบการดานการทองเท่ียวในทุกระดับใหมีศักยภาพ เพ่ือขยายโอกาสทางการตลาดและการลงทุนท้ังในระดับประเทศและภูมิภาค อันนําไปสูการเติบโตดานการทองเท่ียวอยางสมดุลและยั่งยืน

แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า โครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมนํ้า) ระยะท่ี 1

39,000,000

57

Page 61:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวช้ีวัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม งบประมาณป

๒๕60 วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ เพ่ือพัฒนาและเพ่ิมรายไดจากการทองเท่ียวและบริการ ดวยการสงเสริมการตลาด เพ่ือยกระดับภาพลักษณของประเทศ และสนับสนุนการเปนเจาภาพจัดประชุมระดับนานาชาติจากทุกภาคสวน ยกระดับสินคาและบริการใหมรวมท้ังธุรกิจท่ีเก่ียวเน่ืองกับการทองเท่ียวใหมีคุณภาพ พัฒนาการทองเท่ียวรายสาขาอยางสรางสรรค รวมท้ังพัฒนาแหลงทองเท่ียวในเชิงกลุมใหสอดคลองกับพ้ืนท่ีและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกและโครงสรางพ้ืนฐาน สรางความเช่ือมั่นและแกไขปญหาดานความปลอดภัย ควบคูไปกับการบริหารจัดการดานการทองเท่ียว โดยมุงเนนการบูรณาการการทํางานรวมกันของหนวยงานท่ีเก่ียวของ พัฒนาระบบขอมูล พัฒนาบุคลากรและผูประกอบการดานการทองเท่ียวในทุกระดับใหมีศักยภาพ เพ่ือขยายโอกาสทางการตลาดและการลงทุนท้ังในระดับประเทศและภูมิภาค อันนําไปสูการเติบโตดานการทองเท่ียวอยางสมดุลและยั่งยืน

แผนบูรณาการจัดการขยะและสิ่งแวดลอม โครงการจัดการขยะแบบองครวมในพ้ืนท่ีอุทยานแหงชาติทางทะเล

6,890,000

58

Page 62:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.1 การพิจารณาคัดเลือก โครงการ/กิจกรรม ท่ีจะดําเนินการวิเคราะหความเสี่ยง

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

ยุทธศาสตรดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน

1. แผนงานบุคลากรภาครัฐ - - แผนงานบุคลากรภาครัฐ - - - -

ยุทธศาสตรดานการสรางความสามารถในการแขงขัน

2. แผนงานพ้ืนฐานดานการสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ พัฒนาและสงเสริมการทองเท่ียวเชิงอนุรักษในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ

เปาประสงค 14 : ทรัพยากรปาไมและสัตวปาไดรับการจัดการอยางสมดุลและยั่งยืน ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : บริการดานการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ 243 แหง เชิงคุณภาพ : ดูแลแหลงทองเท่ียวใหไดตามเกณฑมาตรฐานคุณภาพแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศ รอยละ 80

แผนงานพัฒนาและเพ่ิมรายไดจากการทองเท่ียวและบริการ ผลผลิตท่ี 1 : แหลงทองเท่ียวในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ 1. กิจกรรมทองเท่ียวเชิงอนุรักษ (สอช.) (สบอ.1 – 16 และสาขา)

3

3 (207,928,700)

3

27 (๑)

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ วิจัย พัฒนา และถายทอดองคความรูดานการอนุรักษปาไมและสัตวปา เพ่ือใชในการแกปญหาทรัพยากรปาไมและสัตวปาในระยะเรงดวน และการบริหารจัดการพ้ืนท่ีปาอนุรักษอยางมีประสิทธิภาพและถูกตองตามหลักวิชาการ

เปาประสงค 5 : พัฒนาองคความรูและการจัดการทรัพยากรปาไมและสัตวปา จากการวิจัยและพัฒนา ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : 1.จํานวนงานวิจัยดานการอนุรักษปาไมและสัตวปา 22 โครงการ 2.จํานวนขอมูลท่ีบันทึกในฐานขอมูล

ผลผลิตท่ี 2 : องคความรูดานการอนุรักษปาไมและสัตวปา 1. กิจกรรมบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ (สวจ.,สอป.,สฟป.) (สบอ.1 – 16 และสาขา) 2. กิจกรรมการวิจัยดานการปาไมและสัตวปา (สวจ.,สอป.,กคส.,สตน.) (สบอ.2,3,5,6,7,8,13,16) 3. กิจกรรมพรรณพฤกษชาติประเทศไทย (สวจ)

3

3

3

1 (26,187,400)

1

1

3

2

2

9 (3)

6

6

59

Page 63:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

100 รายการ 3.ใหบริการและถายทอดองคความรูดานการอนุรักษปาไมและสัตวปา 1,620 ครั้ง เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอการพัฒนา ถายทอด และใชประโยชนองคความรูดานการอนุรักษปาไมและสัตวปา รอยละ 85

4. กิจกรรมบริหารจัดการดานปาไมและสัตวปา (สวจ.,สตน.,กคส.) (สบอ.1 – 16 และสาขา) 5. กิจกรรมงานพฤกษศาสตรปาไม (สวจ.) (สบอ. 1 – 16 และสาขา)

3

3

2 (52,832,100)

3

(96,737,600)

3

3

18 (2)

27 (1)

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ 1. ริเริ่มความรวมมือระหวางประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และราชอาณาจักรกัมพูชา ในการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพในเขตพ้ืนท่ีอนุรักษติดตอชายแดน 2. เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการพ้ืนท่ีมรดกแหงอาเซียนและมรดกโลก 3.นําเสนอพ้ืนท่ีคุมครองท่ีมีศักยภาพหรือมีคุณคาระดับภูมิภาคเปนมรดกแหงอาเซียนและมรดกโลกตอไป 4. ดําเนินงานใหเปนไปตามพันธะกรณีอนุสัญญาคุมครองมรดกโลกและโปรแกรมมรดกอาเซียน

เปาประสงค 9 : บูรณาการความรวมมือในการจัดการทรัพยากรปาไมและสัตวปา ทุกภาคสวนรวมถึงประชาคมอาเซียนและระหวางประเทศ ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : บริหารจัดการและดูแลทรัพยากรธรรมชาติแนวเช่ือมตอระหวางประเทศ 4 แนว เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอการบริหารจัดการและดูแลทรัพยากรธรรมชาติแนวเช่ือมตอระหวางประเทศ รอยละ 80

โครงการท่ี 1 : โครงการจัดการพ้ืนท่ีคุมครองท่ีเปนมรดกโลก มรดกแหงอาเซียนและพ้ืนท่ีคุมครองขามพรมแดนระหวางประเทศใหเปนไปตามมาตรฐาน 1. กิจกรรมจัดการพ้ืนท่ีคุมครองเช่ือมตอระหวางประเทศ พ้ืนท่ีมรดกโลกและมรดกอาเซียน (สมช.,สอช.) (สบอ.1,3,7,11,12)

3

1 (22,769,400)

3

9 (4)

60

Page 64:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

ยุทธศาสตรดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม

3. แผนงานพ้ืนฐานดานการจัดการน้ําและสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอมอยางย่ังยืน

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

แผนงานพ้ืนฐานดานการจัดการนํ้าและสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอยางย่ังยืน ผลผลิตท่ี 1 พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 1. กิจกรรมอนุรักษ ฟนฟู และพัฒนาปาไม 1.1 ดานอุทยานแหงชาติ 1.1.1 กิจกรรมงานอุทยานแหงชาต ิ(สอช.) (สบอ.1 – 16 และสาขา)

3

3 (847,540,400)

3

27 (1)

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.2 ดานสัตวปา 1.2.1 กิจกรรมงานสงวนและคุมครองสัตวปา (สอป.) (สบอ.1 – 16 และสาขา) 1.2.2 กิจกรรมเพาะพันธุและปลอยสัตวปาคืนสูธรรมชาต ิ (สอป.) (สบอ.1,2,3,5,6,7,8,9,11,12,15,16 และสาขา สบอ.3 เพชรบุรี, สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง) 1.2.3 กิจกรรมงานปองกันและควบคุมโรคอุบัติใหมในสัตวธรรมชาต ิ (สอป.,สบก.) (สบอ.1 – 16 และสาขา) 1.2.4 กิจกรรมโครงการดูแลสัตวปาของกลาง (สอป.) (สบอ.1,2,3,5,6,7,8,9,11,12,15,16 และ

3

3

3

3

2

(548,093,400) 1

1

1

3

3

3

3

18 (2)

9

9

9

61

Page 65:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

สาขา สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง)

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.3 ดานการคุมครองพ้ืนท่ีปาอนุรักษ 1.3.1 กิจกรรมงานคุมครองพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (สปฟ.) (สบอ.1 – 16 และสาขา)

3

1

(158,676,800)

3

9 (6)

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.4 ดานตรวจสัตวปา 1.4.1 กิจกรรมงานคุมครองพันธุสัตวปาตามอนุสัญญา (กคส.) (สบอ.2,3,4,5,6,8,9,10,15,16 และสาขา สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง) 1.4.2 กิจกรรมงานสงวนและคุมครองพันธุพืช (กคส.) (สบอ.1,2,3,4,5,6,8,9,10,14,15,16 และสาขา สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง) 1.4.3 กิจกรรมงานเครือขายการปองกันและปราบปรามการคาสัตวปาและพืชปาท่ีผิดกฎหมายในภูมิภาคเอเชีย (กคส.) (สบอ.1,2,3,6,9,10,14,15 และสาขา สบอ.

3

3

3

1

1

1

3

3

3

9

9

9

62

Page 66:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

6 สาขาปตตานี)

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.5 ดานควบคุมไฟปา 1.5.1 กิจกรรมงานควบคุมไฟปา (สปฟ.) (สบอ.1 – 16 และสาขา)

3

1

(336,870,400)

3

9 (3)

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.6 ดานพระราชดําริและโครงการหลวง 1.6.1 กิจกรรมงานพัฒนาปาไมอันเน่ืองมาจากพระราชดําร ิ(สนร.,สวจ.,สบก.,สผก.,กพร) (สบอ.1 – 16 และสาขา สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.13 สาขาลําปาง, สอบ.16 สาขาแมสะเรียง) 1.6.2 กิจกรรมโครงการอนุรักษทรัพยากรปาไมและสัตวปารอยตอ 5 จว. (ภาคตะวันออก) (สนร.) (สบอ.1,2) 1.6.3 กิจกรรมงานพัฒนาปาไมในเขตพ้ืนท่ีเฉพาะ (สนร.) (สบอ.9,14 และสาขา สบอ.16 สาขาแมสะเรียง) 1.6.4 กิจกรรมพัฒนา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต

3

3

3

1

(300,134,800)

1

1

3

3

3

9 (4)

9

9

63

Page 67:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

(สนร.) สบอ.6 สาขาปตตานี 1.6.5 กิจกรรมโครงการหลวง (สตน.) (สบอ.13,15,16 และสาขา สบอ.16 สาขาแมสะเรียง) 1.6.6 กิจกรรมพัฒนาและรณรงคการใชหญาแฝกอันเน่ืองมาจากฯ (สตน.) (สบอ.3,6,8,9,13,16)

3

3

1

1

3

3

9

9

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.7 ดานจัดการพ้ืนท่ีปา 1.7.1 กิจกรรมงานบํารุงปา (สฟพ.) (สบอ.1 – 16 และสาขา สบอ.1 สาขาสระบุรี, สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง) 1.7.2 กิจกรรมโครงการหมูบานพิทักษปารักษาสิ่งแวดลอม (สนร.) (สบอ.1 – 16) 1.7.3 กิจกรรมงานอนุรักษฟนฟูทรัพยากรปาไมและสัตวในเขตพระราชฐาน (สฟพ.) 1.7.4 กิจกรรมโครงการพุทธยานในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (สฟพ.) (สบอ.1 – 16 และสาขา สบอ.1 สาขาสระบุรี, สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง) 1.7.5 กิจกรรมโครงการประชาคมเศรษฐกิจพอเพียง

3

3

3

3

3

1

1

1

1

1

3

3

3

3

3

9

9

9

9

9

64

Page 68:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

ในพ้ืนท่ีปาไม (สฟพ.) (สบอ.1 – 16 และสาขา สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง) 1.7.6 กิจกรรมโครงการฟนฟูพ้ืนท่ีตนนํ้าทะเลสาบสงขลา (สตน.) (สบอ.6)

3

1

3

9

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.8 ดานวิศวกรรมและรังวัด 1.8.1 กิจกรรมงานรังวัดหมายแนวเขตพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (สฟพ.) 1.8.2 กิจกรรมงานบริการวิศวกรรมปาไม (สฟพ.) (สบอ.1,4,6,7,10,11,15,16) 1.8.3 กิจกรรมศูนยการเรียนรูดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สฟพ.) (สบอ.11)

3

3

3

1

1

1

3

3

3

9

9

9

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ี

1.9 ดานบริหารและอํานวยการหนวยงาน 1.9.1 กิจกรรมงานบริหารท่ัวไป (สบก.,สผส.,กนต.,สผก.,กตน.,กพร.) (สบอ.1 – 16 และสาขา สบอ.1 สาขาสระบุรี, สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง) 1.9.2 กิจกรรมงานบริหารสวนภูมิภาค

- -

- -

- -

- -

65

Page 69:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

เก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

(สบก.) (สบอ.1 – 16 และสาขา สบอ.1 สาขาสระบุร,ี สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง) 1.9.3 กิจกรรมงานพัฒนาบุคลากร (สบก.) (สบอ.1,3,13,14,15 และสาขา สบอ.1 สาขาสระบุรี) 1.9.4 กิจกรรมงานสารสนเทศปาไม (สบก.) (สบอ.1 – 16 และสาขา สบอ.1 สาขาสระบุรี, สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง)

- -

- -

- -

- -

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

1.10 ดานตนนํ้า 1.10.1 กิจกรรมงานจัดการลุมนํ้า (สตน.) (สบอ. 1 – 16 และสาขา สบอ.1 สาขาสระบุรี, สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง)

3

1

(256,069,300)

3

9 (5)

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ

1.11 ดานปรับปรุงสิ่งกอสราง 1.11.1 กิจกรรมปรับปรุงสิ่งกอสรางหนวยงานในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (สบก.,สอป.,สปฟ) (สบอ.1 – 16 และสาขา สบอ.1

3

1

3

9

66

Page 70:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

สาขาสระบุร,ี สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.6 สาขาปตตา สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง)

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

2. กิจกรรมฟนฟู ดูแล รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (สฟพ.) (สบอ.1 – 16 และสาขา สบอ.1 สาขาสระบุรี, สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ. 13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง)

3 1 3 9

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

3. กิจกรรมพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (สผส.) (สบอ.1 – 16 และสาขา สบอ.1 สาขาสระบุรี, สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง)

3 1 3 9

67

Page 71:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษใหมีความสมบูรณ

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ 73 ลานไร เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอความสมบูรณของพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

4. กิจกรรมปองกัน ปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ (สบก.)

3 1 2 6

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ ฐานขอมูลดานการอนุรักษทรัพยากรปาไมและสัตวปา ไดรับการพัฒนาและใชประโยชน

เปาประสงค 6 : พัฒนาเครือขายการสื่อสาร และระบบฐานขอมูลดานปาไมและสัตวปาใหมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : จํานวนช้ันขอมูลท่ีสามารถนําไปใชเพ่ือการบริหารจัดการในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ 5 ช้ัน เชิงคุณภาพ : ผูใชบริการมีความพึงพอใจในการใชบริการขอมูลไมนอยกวา รอยละ 80

ผลผลิตท่ี 2 ฐานขอมูลพ้ืนท่ีปาอนุรักษ 1. กิจกรรมจัดทําฐานขอมูล (สฟพ.) (สบอ.1 – 16 และสาขา สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง) 2. กิจกรรมพัฒนาภูมิสารสนเทศ (สฟพ.) (สบอ.4,6,8,9,11,14,15,16)

3

3

3

(38,316,500)

2 (6,742,100)

3

3

27 (1)

18 (18)

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ 1. เพ่ือการเตรียมความพรอมและสรางความรูความเขาใจใหแกเจาหนาท่ี และชุมชนในการดําเนินงาน

เปาประสงค 17 : เพ่ิมประสิทธิภาพในการกักเก็บคารบอนของพ้ืนท่ีอนุรักษ ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ :

โครงการท่ี 1 : โครงการลดการปลอยกาซเรือนกระจกในภาคปาไม โดยสรางแรงจูงใจและกระบวนการมีสวนรวม 1. กิจกรรมเตรียมความพรอม เสริมความแข็งแกรง

3

2 (27,423,800)

3

18 (2)

68

Page 72:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

ดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและกลไกเรดดพลัส 2. เพ่ือสรางจิตสํานึกและความตระหนักถึงบทบาทของทรัพยากรปาไม ท่ีมีตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 3. เพ่ือสรางเครือขายในการดําเนินกิจกรรมโครงการเรดดพลัสในทุกระดับในอนาคต 4. เพ่ือจัดทําโครงการนํารองเพ่ือพัฒนาชุมชนในพ้ืนท่ีคุมครองในการจัดการทรัพยากรปาไมอยางยั่งยืนและเพ่ิมพ้ืนท่ีปาในการกักเก็บคารบอนดวยกลไกเรดดพลัส

1. มีชุมชนตนแบบนํารองในการลดการปลอยกาซเรือนกระจกภาคปาไม 12 ชุมชน เชิงคุณภาพ : 1. ชุมชนในพ้ืนท่ีนํารองมีความรูความเขาใจเรื่องการจัดการทรัพยากรปาไมอยางยั่งยืนและเพ่ิมการกักเก็บคารบอนดานกลไกเรดดพลัส รอยละ 75

และพัฒนาเทคนิคการดําเนินกิจกรรมกลไกเรดดพลัส (สวจ.) (สบอ.1 – 16 และสาขา สบอ.1 สาขาสระบุรี, สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.13 สาขาลําปาง) 2. กิจกรรมนํารองเพ่ือพัฒนาชุมชนในพ้ืนท่ีคุมครองในการจัดการทรัพยากรปาไมอยางยั่งยืนและเพ่ิมพ้ืนท่ีปาในการกักเก็บคารบอนดวยกลไกเรดดพลัส (สวจ.) (สบอ.2,3,6,9,10,14,16) 3. กิจกรรมสํารวจ ศึกษา และการประเมินการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและการกักเก็บคารบอนในพ้ืนท่ีปา (สวจ.) (สบอ.2,3,5,6,9,14,16)

3

3

1

1

3

3

9

9

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการปองกันไฟปาและเสริมสรางความรวมมือในการแกไขปญหาไฟปา และหมอกควันขามแดน

เปาประสงค 9 : บูรณาการความรวมมือในการจัดการทรัพยากรปาไมและสัตวปา ทุกภาคสวนรวมถึงประชาคมอาเซียนและระหวางประเทศ ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : มีเครือขายการแกไขปญหาไฟปาและหมอกควัน 1,370 หมูบาน เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอการแกไขปญหาไฟปาและ

โครงการท่ี 2 : โครงการเสริมสรางความรวมมือในการแกไขปญหาไฟปาและหมอกควันขามแดนบริเวณพ้ืนท่ีปาอนุรักษ 1. กิจกรรมเสริมสรางความรวมมือในการแกไขปญหาไฟปาและหมอกควันบริเวณพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (สปฟ.) (สบอ.1 – 16 และสาขา สบอ.1 สาขาสระบุรี, สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง)

3

3 (92,709,700)

3

27 (1)

69

Page 73:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

หมอกควันไมนอยกวา รอยละ 80

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ เพ่ือพัฒนาระบบและใหมีระบบเฝาระวังและติดตาม และเตือนภัยสถานการณท่ีเก่ียวของกับการเปลี่ยนแปลงพ้ืนท่ีปาและเตือนภัยในพ้ืนท่ีปาอนุรักษดวยการใชเทคโนโลยีท่ีทันสมัยรวมท้ังนําผลท่ีไดเพ่ือใชในภาคกิจดานการควบคุมพ้ืนท่ีใหมีประสิทธิภาพภายใตการบูรณาการหรืองานท่ีเก่ียวของ

เปาประสงค 12 : ประชาชนสามารถปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและรับมือกับภัยพิบัติในพ้ืนท่ีปาอนุรักษไดอยางมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : 1.ติดตามการบุกรุกทําลายพ้ืนท่ีปาอนุรักษในขนาดไมนอยกวา 5 ไร ไมนอยกวา 1,200 จุด 2.ประมวลผลการเปลี่ยนแปลงอันกอใหเกิดภัยพิบัติท่ีเกิดข้ึนบนพ้ืนท่ีอนุรักษไดอยางตอเน่ือง รวมถึงการรายงานผานระบบไมนอยกวา 208 ครั้ง เชิงคุณภาพ : 1.ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานมีความสมบูรณไมนอยกวา รอยละ 90 2.ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอประสิทธิภาพของระบบปองกันและเตือนภัยพิบัติธรรมชาติในพ้ืนท่ีอนุรักษ รอยละ 85

โครงการท่ี 3 : โครงการศูนยขอมูลติดตามการเปลี่ยนแปลงพ้ืนท่ีปาและเตือนภัยพิบัติในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ(ระยะท่ี 2) 1. กิจกรรมศูนยขอมูลและเตือนภัยพิบัติในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (สฟพ.) (สบอ.4,6,8,9,11,14,15,16)

3

1 (14,742,700)

3

9 (3)

70

Page 74:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

4. แผนงานยุทธศาสตรอนุรักษ ฟนฟู และปองกันทรัพยากรธรรมชาติ

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ 1.เพ่ือปองกันและปราบปรามการลักลอบทําลายทรัพยากรปาไมและสัตวปาในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ 2.เพ่ือพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานของหนวยงานและบุคลากร รวมถึงการพัฒนาเครื่องมือและกลไกเพ่ือสนองตอการปฏิบัติงานอยางประสิทธิภาพ 3. เพ่ือฟนฟูสภาพปาท่ีเสื่อมโทรมใหฟนคืนสภาพปาดังเดิม 4.เพ่ือสรางความรูความเขาใจแกประชาชน สนับสนุน และสงเสริมใหเกิดการมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากร ปาไม เพ่ือลดความขัดแยงของประชาชนและชุมชนในพ้ืนท่ี 5.เพ่ือจัดทําเครื่องหมายแสดงแนวเขตพ้ืนท่ีปาอนุรักษ ตลอดจนขอบเขตการครอบครองท่ีดินของประชาชนในพ้ืนท่ีปาท่ีชัดเจน

เปาประสงค 13 : ทรัพยากรปาไมสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการอนุรักษ และคุมครอง ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ เชิงปริมาณ : 1.จํานวนชุมชนท่ีมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรปาไม 100 หมูบาน 2.จํานวนแปลงท่ีดินท่ีสามารถทําการตรวจสอบพิสูจนการครอบครองท่ีดิน 10,000 แปลง 3. ปรับปรุงพระราชกฤษฎีกาแนวเขตพ้ืนท่ีอนุรักษ 4,000 ระวาง 4.พ้ืนท่ีตนนํ้าในลุมนํ้าขนาดเล็กท่ีวิกฤติไดรับการอนุรักษ ฟนฟู และจัดการอยางมีประสิทธิภาพ 100 ลุมนํ้า (ขนาดเล็ก) 5.จํานวนหนวยงานท่ีดําเนินการตามแผนปฏิบัติการงาชางแหงประเทศไทยไดรับการจัดการ 22 ศูนย 6.จํานวนหมูดับไฟปาเคลื่อนท่ีท่ีไดรับการจัดตั้งเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการดับไฟปา 20 หมู 7. จํานวนพ้ืนท่ีปาอนุรักษท่ีไดมีการติดตาม

โครงการท่ี 3 โครงการรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ 1. กิจกรรมปองกันรักษาปาแบบบูรณาการ สบอ.1,4,5,6,7,8,9,10,11,12,13,14,15,16 และสาขา สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง 2. กิจกรรมปองกันไมพะยูงและไมมีคา (สปฟ.) (สบอ.1,2,3,7,8,9,10 และสาขา สบอ.1 สระบุรี) 3. กิจกรรมจัดการพ้ืนท่ีตนนํ้าในพ้ืนท่ีลุมนํ้าวิกฤต ิ(สตน.) (สบอ.1 – 16 และสาขา สบอ.1 สาขาสระบุรี, สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง) 4. กิจกรรมแกไขปญหาท่ีดินในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (สฟพ.) (สบอ.1 – 16) 5. กิจกรรมฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษท่ีเสื่อมสภาพ สบอ.4,7,8,9,10,11,12,14,15,16 สาขา สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง 6. กิจกรรมเพ่ิมประสิทธิภาพการแกไขปญหาไฟปา (สปฟ.) (สบอ.8,11,13,14,15,16 และสาขา สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง)

3

3

3

3

3

3

3 (369,950,100)

2 (170,173,700)

1 (110,753,300)

1

1

1

3

3

3

3

3

3

27 (1)

18 (2)

9 (3)

9

9

9

71

Page 75:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

แกไขปญหาชางปาและสัตวปาท่ีสรางผลกระทบตอราษฎรนอกพ้ืนท่ีอนุรักษ จํานวน 38 แหง 8. พ้ืนท่ีปาอนุรักษท่ีเสื่อมสภาพไดรับการฟนฟู จํานวน 18,500 ไร 9. ทรัพยากรปะการังในอุทยานแหงชาติไดรับการคุมครอง จํานวน 48,212 ไร 10. จํานวนหนวยพิทักษปาและจุดสกัดท่ีไดรับการจัดตั้งเพ่ือประสิทธิภาพในการคุมครองพ้ืนท่ีปาอนุรักษ จํานวน 20/35 หนวย/จุด เชิงคุณภาพ : 1.ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอการอนุรักษทรัพยากรปาไม รอยละ 80 2.ความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของตอการแกไขปญหาท่ีดินในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ รอยละ 80

7. กิจกรรมแกไขปญหาชางปาและสัตวปาท่ีสรางผลกระทบตอราษฎรนอกพ้ืนท่ีอนุรักษสัตวปา (สอป.) (สบอ.1 – 16 และสาขา สบอ.1 สาขาสระบุรี, สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง) 8. กิจกรรมจัดการพ้ืนท่ีอนุรักษอยางมีสวนรวม (สตน.) (สบอ.1 – 16 และสาขา สบอ.1 สาขาสระบุรี, สบอ.3 สาขาเพชรบุรี, สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.13 สาขาลําปาง, สบอ.16 สาขาแมสะเรียง) 9. กิจกรรมควบคุมการคางาชาง (กคส.สอป.) (สบอ.2,3,4,5,6,7,8,9,10,11,12,14,15,16 และสาขา สบอ.1 สาขาสระบุรี, สบอ.6 สาขาปตตานี, สบอ.13 สาขาลําปาง 10. กิจกรรมอนุรักษและพ้ืนฟูทรัพยากรอุทยานแหงชาติทางทะเล (สอช.) (สบอ.4,5)

3

3

3

3

1

1

1

1

3

3

3

3

9

9

9

9

แผนบูรณาการ

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ เพ่ือพัฒนาและเพ่ิมรายไดจากการทองเท่ียวและบริการ ดวยการสงเสริมการตลาด เพ่ือยกระดับภาพลักษณของประเทศ และสนับสนุนการเปน

แผนงานบูรณาการการสรางรายไดจากการทองเท่ียวและบริการ โครงการเพ่ิมศักยภาพการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ (สอช.) (สบอ.3,4,5,9,11,13,16)

3

3 (46,453,800)

3

27 (1)

72

Page 76:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

เจาภาพจัดประชุมระดับนานาชาติจากทุกภาคสวน ยกระดับสินคาและบริการใหมรวมท้ังธุรกิจท่ีเก่ียวเน่ืองกับการทองเท่ียวใหมีคุณภาพ พัฒนาการทองเท่ียวรายสาขาอยางสรางสรรค รวมท้ังพัฒนาแหลงทองเท่ียวในเชิงกลุมใหสอดคลองกับพ้ืนท่ีและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกและโครงสรางพ้ืนฐาน สรางความเช่ือมั่นและแกไขปญหาดานความปลอดภัย ควบคูไปกับการบริหารจัดการดานการทองเท่ียว โดยมุงเนนการบูรณาการการทํางานรวมกันของหนวยงานท่ีเก่ียวของ พัฒนาระบบขอมูล พัฒนาบุคลากรและผูประกอบการดานการทองเท่ียวในทุกระดับใหมีศักยภาพ เพ่ือขยายโอกาสทางการตลาดและการลงทุนท้ังในระดับประเทศและภูมิภาค อันนําไปสูการเติบโตดานการทองเท่ียวอยางสมดุลและยั่งยืน

73

Page 77:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ เพ่ือพัฒนาและเพ่ิมรายไดจากการทองเท่ียวและบริการ ดวยการสงเสริมการตลาด เพ่ือยกระดับภาพลักษณของประเทศ และสนับสนุนการเปนเจาภาพจัดประชุมระดับนานาชาติจากทุกภาคสวน ยกระดับสินคาและบริการใหมรวมท้ังธุรกิจท่ีเก่ียวเน่ืองกับการทองเท่ียวใหมีคุณภาพ พัฒนาการทองเท่ียวรายสาขาอยางสรางสรรค รวมท้ังพัฒนาแหลงทองเท่ียวในเชิงกลุมใหสอดคลองกับพ้ืนท่ีและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกและโครงสรางพ้ืนฐาน สรางความเช่ือมั่นและแกไขปญหาดานความปลอดภัย ควบคูไปกับการบริหารจัดการดานการทองเท่ียว โดยมุงเนนการบูรณาการการทํางานรวมกันของหนวยงานท่ีเก่ียวของ พัฒนาระบบขอมูล พัฒนาบุคลากรและผูประกอบการดานการทองเท่ียวในทุกระดับใหมีศักยภาพ เพ่ือขยายโอกาสทางการตลาดและการลงทุนท้ังในระดับประเทศและ

แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า โครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมนํ้า) ระยะท่ี 1 (สบอ.1,9,10,11,12,13,14,16)

3

2

(39,000,000)

3

18 (2)

74

Page 78:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

ภูมิภาค อันนําไปสูการเติบโตดานการทองเท่ียวอยางสมดุลและยั่งยืน วัตถุประสงคตามเอกสารงบประมาณ เพ่ือพัฒนาและเพ่ิมรายไดจากการทองเท่ียวและบริการ ดวยการสงเสริมการตลาด เพ่ือยกระดับภาพลักษณของประเทศ และสนับสนุนการเปนเจาภาพจัดประชุมระดับนานาชาติจากทุกภาคสวน ยกระดับสินคาและบริการใหมรวมท้ังธุรกิจท่ีเก่ียวเน่ืองกับการทองเท่ียวใหมีคุณภาพ พัฒนาการทองเท่ียวรายสาขาอยางสรางสรรค รวมท้ังพัฒนาแหลงทองเท่ียวในเชิงกลุมใหสอดคลองกับพ้ืนท่ีและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกและโครงสรางพ้ืนฐาน สรางความเช่ือมั่นและแกไขปญหาดานความปลอดภัย ควบคูไปกับการบริหารจัดการดานการทองเท่ียว โดยมุงเนนการบูรณาการการทํางานรวมกันของหนวยงานท่ีเก่ียวของ พัฒนาระบบขอมูล พัฒนาบุคลากรและผูประกอบการดานการ

แผนบูรณาการจัดการขยะและสิ่งแวดลอม โครงการจัดการขยะแบบองครวมในพ้ืนท่ีอุทยานแหงชาติทางทะเล (สอช.)

3

1

3

9 (3)

75

Page 79:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ยุทธศาสตรจัดสรร เปาประสงค/ตัวชี้วัด/เปาหมาย โครงการ/กิจกรรม

เกณฑการคัดเลือก ความสําคัญของโครงการ/

กิจกรรม (axbxc)

ระดับการผลักดันใหบรรลุ

เปาประสงค (a)

งบประมาณที่ไดรับ (b)

กลุมผูรับบริการ

(c)

ทองเท่ียวในทุกระดับใหมีศักยภาพ เพ่ือขยายโอกาสทางการตลาดและการลงทุนท้ังในระดับประเทศและภูมิภาค อันนําไปสูการเติบโตดานการทองเท่ียวอยางสมดุลและยั่งยืน

76

Page 80:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

มติท่ีประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช วันพุธท่ี 7 พฤศจิกายน 2559 ณ หองประชุมชั้น 4 อาคารปลอดประสพ คัดเลือกโครงการ/กิจกรรม ท่ีนํามาทําแผนบริหารความเสี่ยงของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ดังนี้

1. ยุทธศาสตรดานการสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ แผนงานพ้ืนฐานดานการสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ ผลผลิตท่ี 1 แหลงทองเท่ียวในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ

กิจกรรมทองเท่ียวเชิงอนุรักษ ผูรับผิดชอบ สอช. สบอ.1 – 16 และสาขา

ผลผลิตท่ี 2 องคความรูดานการอนุรักษปาไมและสัตวปา

1. กิจกรรมงานพฤกษศาสตรปาไม ผูรับผิดชอบสํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช สบอ.1 – 16 และสาขา 2. กิจกรรมบริหารจัดการดานปาไมและสัตวปา ผูรับผิดชอบ สวจ. สตน. กคส. สบอ.1 – 16 และสาขา 3. กิจกรรมบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ผูรับผิดชอบ สวจ. สอป. สฟป. สบอ. 1 – 16 และสาขา

มติท่ีประชุม ยุทธศาสตรท่ี 1 เลือก กิจกรรมทองเท่ียวเชิงอนุรักษ

2. ยุทธศาสตรดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม แผนงานพ้ืนฐานดานการจัดการน้ําและสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ผลผลิตท่ี 1 พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ

1. กิจกรรมอนุรักษ ฟนฟูและพัฒนาปาไม 1.1 ดานอุทยานแหงชาติ กิจกรรมงานอุทยานแหงชาติ ผูรับผิดชอบ สอช. สอบ. 1 – 16 และสาขา 1.2 ดานสัตวปา กิจกรรมงานสงวนและคุมครองสัตวปา ผูรับผิดชอบ สอป. สบอ. 1- 16 และสาขา 1.3 ดานควบคุมไฟปา

กิจกรรมงานควบคุมไฟปา ผูรับผิดชอบ สปฟ. สบอ. 1 – 16 และสาขา

ผลผลิตท่ี 2 ฐานขอมูลพ้ืนท่ีปาอนุรักษ

1. กิจกรรมจัดทําฐานขอมูล

ผูรับผิดชอบ สฟอ สบอ. 1 - 16 และสาขา

2. โครงการท่ี 1 โครงการลดการปลอยกาซเรือนกระจกในภาคปาไมโดยสรางแรงจูงใจและกระบวนการมีสวนรวม

77

Page 81:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

1. กิจกรรมเตรียมความพรอมเสริมความแข็งแกรงและพัฒนาเทคนิคการดําเนินกิจกรรมกลไกเรดดพลัส

ผูรับผิดชอบ สวจ. สบอ.1 – 16 และสาขาสระบุรี สาขาเพชรบุรี และสาขาลําปาง

3. โครงการท่ี 2 โครงการเสริมสรางความรวมมือในการแกไขปญหาไฟปาและหมอกควันขามแดนบริเวณพ้ืนท่ีปาอนุรักษ

1. กิจกรรมเสริมสรางความรวมมือในการแกไขปญหาไฟปาและหมอกควันบริเวณพ้ืนท่ีปาอนุรักษ

ผูรับผิดชอบ สปฟ. สบอ. 1 – 16 และสาขา

4. โครงการท่ี 3 โครงการศูนยขอมูลติดตามการเปลี่ยนแปลงพ้ืนท่ีปาและเตือนภัยพิบัติในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ 1. กิจกรรมศูนยขอมูลและเตือนภัยพิบัติในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ ผูรับผิดชอบ สฟอ. สบอ. 4,6,8,9,11,14,15 และ 16

มติท่ีประชุม ยุทธศาสตรท่ี 2 เลือก กิจกรรมงานสงวนและคุมครองสัตวปา และกิจกรรมจัดทําฐานขอมูล

แผนงานยุทธศาสตรอนุรักษ ฟนฟู และปองกันทรัพยากรธรรมชาติ

โครงการท่ี 3 โครงการรักษาความม่ันคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ 1. กิจกรรมปองกันรักษาปาแบบบูรณาการ ผูรับผิดชอบ สปฟ. สบอ1 -16 (ยกเวน สบอ.2,3) สาขาลําปาง และสาขาแมสะเรียง

2. กิจกรรมปองกันไมพะยูงและไมมีคา ผูรับผิดชอบ สปฟ. สบอ.1,2,3,7,8,9,10 และสาขาสระบุรี

3. กิจกรรมจัดการพ้ืนท่ีตนน้ําในพ้ืนท่ีลุมน้ําวิกฤติ ผูรับผิดชอบ สตน. สบอ 1 – 16 และสาขา

มติท่ีประชุม เลือก กิจกรรมปองกันไมพะยูงและไมมีคา

แผนบูรณาการ 1. แผนงานบูรณาการการสรางรายไดจากการทองเท่ียวและบริการ โครงการเพ่ิมศักยภาพการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ ผูรับผิดชอบ สอช. สบอ.3,4,5,9,11,13 และ 16 2. แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา โครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมน้ํา)ระยะท่ี 1 ผูรับผิดชอบ สตน. สบอ.1,9,10,11,12,13,14 และ 16 3. แผนงานบูรณาการจัดการขยะและสิ่งแวดลอม โครงการจัดการขยะแบบองครวมในพ้ืนท่ีอุทยานแหงชาติทางทะเล ผูรับผิดชอบ สอช (เปนคาครุภัณฑ) มติท่ีประชุม เลือก โครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมน้ํา)ระยะท่ี 1

78

Page 82:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ผลการวิเคราะหความเส่ียงในแตละกิจกรรม การกําหนดหลักเกณฑในการวิเคราะหความเส่ียงของแผนงาน/โครงการ

1. ยุทธศาสตรดานการสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ

กิจกรรหลัก/กิจกรรมยอย : กิจกรรมทองเท่ียวเชิงอนุรักษ/การบริการหองน้ํา – หองสุขาในอุทยานแหงชาติ

วัตถุประสงคและเปาหมายของกิจกรรม : เพ่ือใหบริการและอํานวยความสะดวกแกผูมาเยือนอุทยานแหงชาติและสงเสริมการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ

ตัวช้ีวัด (คาเปาหมาย) : หองน้ํา – หองสุขาในอุทยานแหงชาติประกอบดวยอุทยานแหงชาติท่ีประกาศแลว 129 แหง และอุทยานแหงชาติท่ีเตรียมประกาศ 22 แหง รวมท้ังหมด 151 แหงมีความพรอมใหบริการ

ข้ันตอนการดําเนินงาน 1. จัดใหมีหองน้ํา - หองสุขาเพียงพอกับจํานวนนักทองเท่ียวท่ีมาใชบริการในกรณีวันหยุดปกติ และจัดทํา

เสนทางเดินเขาสูหองสุขาโดยใชวัสดุหินเกล็ด ทางลาดยาง ทาง Grass Block ไมเทียม หรือวัสดุถาวร เพ่ือลดความสกปรกของพ้ืนหองน้ํา และกอใหเกิดแนวทางท่ีชัดเจนกรณีเปนอุทยานแหงชาติทางทะเล จัดใหมีท่ีลางเทาหรือสายฉีดลางเทากอนเขาหองน้ํา

2. ท่ีตั้ง ใหตั้งในบริเวณท่ีเหมาะสมในเขตบริการ คือ ลานจอดรถ พ้ืนท่ีรับประทานอาหารหรือปกนิก พ้ืนท่ีกางเต็นท พ้ืนท่ีท่ีเปนตนทางไปสูแหลงทองเท่ียว โดยใหวางในตําแหนงท่ีเขาถึงสะดวก ปลอดภัย ใหหางจากแหลงน้ําไมต่ํากวา 30 เมตร ไมควรอยูในทิศทางลมท่ีรบกวนชุมชนหรือนักทองเท่ียว และไมเกะกะสายตา และตําแหนงท่ีตั้งของหองสุขาไมควรอยูบนเนินสูง โดยเฉพาะกรณีการสรางหองสุขาท่ีมีหองคนพิการ ควรจะคํานึงถึงการเข็นรถคนพิการใหเขาถึงหองสุขาไดโดยสะดวก

3. รูปแบบอาคารกลมกลืนกับธรรมชาติ ขนาดหองสุขาไมแคบเกินไป แยกเปนหองสุขาชาย – หญิงชัดเจนหลังคามีชองโปรงแสงเพ่ือใหแสงสวางสองถึงและสามารถระบายอากาศไดดี พ้ืนและผนังภายในอาคารควรปูกระเบื้อง ประตูหองสุขาใชวัสดุผุกรอนยาก มีหองสุขาสําหรับบริการคนพิการ หองน้ําและหองสุขาใหแยกจากกันพ้ืนหองน้ําระบายน้ําไดดีน้ําไมขัง

4. องคประกอบภายในหองน้ํา มีอุปกรณอํานวยความสะดวก ประกอบดวย ท่ีแขวนหรือท่ีวางสิ่งของ กระดาษชําระ สายยางฉีดชําระ ท่ีท้ิงขยะ กระจก อางลางมือ สบูลางมือ ท่ีท้ิงขยะ ตูหยอดเหรียญสําหรับผาอนามัยหรือกระดาษชําระ การจัดโถสวม ใหมีทางเลือกใชบริการท้ังแบบนั่งยองและแบบนั่งราบ ท่ีปสสาวะชาย มีท้ังสําหรับเด็กและผูใหญ กรณีตักราดตองมีขันน้ําประจําตลอดเวลา

5. องคประกอบภายในหองอาบน้ํา มีอุปกรณอํานวยความสะดวก ประกอบดวย ท่ีแขวนเสื้อ ท่ีวางสบู หรือสิ่งของท่ีอาบน้ํา และในสวนของหองน้ําควรมีหองแตงตัวดวย กรณีหองสุขาและหองอาบน้ําอยูดวยกัน และเปนประเภทตักอาบ ใหแยกรูปแบบขันใหชัดเจนวาขันใดใชท่ีใด

6. การดูแลความสะอาดใหดําเนินการดังนี้ 6.1 จัดเจาหนาท่ีดูแลรักษาความสะอาดหองน้ํา - หองสุขา และบริเวณหองน้ําหองสุขาโดยเฉพาะในชวง

เทศกาลการทองเท่ียวควรประจําหลังละ 1 คน 6.2 กําหนดเวลาในการทําความสะอาดชัดเจนในชวงเทศกาลใหกําหนดมาตรฐานการทําความสะอาดไว

อยางต่ําจํานวน 4 ครั้งตอวัน กรณีท่ีมีผูเขามาใชจํานวนมากจะตองทําความสะอาดทุกชั่วโมง

79

Page 83:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

6.3 จัดทําปายชื่อผูดูแลหองน้ํา - หองสุขา และสถานท่ีติดตอหรือเบอรโทรศัพทท่ีจะติดตอกรณีน้ําไมไหลไฟดับ สิ่งของชํารุดติดไวดานหนาหองน้ํา - หองสุขา เพ่ือเจาหนาท่ีจะไดทราบและมาแกไขไดทันทวงที และจัดทําแบบฟอรมเพ่ือใหผูดูแลหองน้ําหองสุขาลงนามวาไดทําความสะอาดแลว 6.4 จัดใหมีเจาหนาท่ีในการตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีท่ีทําหนาท่ีทําความสะอาดหองน้ํา - หองสุขาไดตรวจสอบ เพ่ือแจงใหดําเนินการซอมแซมอยางรวดเร็ว 6.5 จัดทําแบบฟอรมรายการสิ่งของในหองน้ํา - หองสุขา รายการท่ีอาจชํารุดเพ่ือใหผูทําความสะอาดหองน้ําหองสุขาไดตรวจสอบ เพ่ือแจงใหดําเนินการซอมแซมอยางรวดเร็ว 6.6 เจาหนาท่ีประจําหองสุขา ควรมีเครื่องแบบเฉพาะ 6.7 ใหจัดเก็บอุปกรณทําความสะอาดหองน้ําไวในท่ีเฉพาะ (หอง/ตูเก็บของ) มีความเปนระเบียบและไมเกะกะสายตา 6.8 ระบบบําบัดน้ําเสีย ของเสียใหเปนการใชถังบําบัดสําเร็จรูปท่ีมีขนาดรองรับไดอยางเพียงพอ มีรูปแบบท่ีสอดรับกับขอจํากัดของพ้ืนท่ี ควรแยกทอน้ําท้ิงและทอของเสียจากบอเกรอะบอซึมออกจากกัน มีระบบการจัดการกอนปลอยออกสูแหลงธรรมชาติ และมีการสรางบอซึมประกอบดวยทุกครั้ง 7. รูปแบบของหองน้ํา - หองสุขาจะตองมีหองสําหรับการเก็บอุปกรณสําหรับการทําความสะอาดเพ่ือความเปนระเบียบเรียบรอย 8. จัดใหมีไฟนําทางจากท่ีพักมาสูหองน้ํา - หองสุขาในยามกลางคืน ซ่ึงกรณีจะประหยัดไฟอาจใชระบบเซ็นเซอรหรือไฟจากพลังงานแสงอาทิตยติดตั้ง ซ่ึงระบบนี้ไฟจะติดเม่ือมีคนผานมาเขาหองน้ํา - หองสุขาในเวลากลางวันใหใชแสงสวางจากดวงอาทิตยโดยใสกระเบื้องใสบนหลังคา

80

Page 84:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.2 การระบุปจจัยเสี่ยงตามหลักธรรมภิบาล

ยุทธศาสตรดานการสรางความสามารถในการแขขันของประเทศ แผนงานพ้ืนฐานดานการสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ ผลผลิตท่ี 1 แหลงทองเท่ียวในพ้ืนท่ีปาอนุรักษกิจกรรมหลัก/กิจกรรมยอย : กิจกรรมทองเท่ียวเชิงอนุรักษ/การบริการหองนํ้า – หองสุขาในอุทยานแหงชาติ

หนวยงานท่ีรับผิดชอบ : สํานักอุทยานแหงชาต ิ

ประเด็นการระบุปจจัยเสี่ยง

หลักธรรมาภิบาลท่ีเก่ียวของ

ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ตอบสนอง รับผิดชอบ โปรงใส มีสวนรวม กระจายอํานาจ นิติธรรม เสมอภาค ฉันทามติ 1.การระบุความเสี่ยงดานกลยุทธ

ขั้นตอนท่ี 6 การดูแลความสะอาด - ผูใชบริการมีพฤติกรรมการใชหองนํ้า - หองสุขาไมเหมาะสม

2.การระบุความเส่ียงดานการดําเนินงาน

ขั้นตอนท่ี 1 จัดใหมีหองนํ้าหองสุขาเพียงพอกับจํานวนนักทองเท่ียวท่ีมาใชบริการในกรณีวันหยุดปกติ

- หองนํ้า - หองสุขาไมสามารถใชการไดตามปกติเน่ืองจากไมไดรับการปรับปรุง/ซอมแซม

ขั้นตอนท่ี 2 ท่ีต้ังใหต้ังในบริเวณท่ีเหมาะสมในเขตบริการคือ ลานจอดรถพ้ืนท่ีรับประทานอาหารหรือปกนิก พ้ืนท่ีกางเต็นทพ้ืนท่ีท่ีเปนตนทางไปสูแหลงทองเท่ียว

มีผูใชบริการจํานวนมากเจาหนาท่ีใหบริการไมทันในชวงเทศกาลทองเท่ียวตอง

จัดสรางหองนํ้า - หองสุขาช่ัวคราวซึ่งท่ีตั้งอาจจะไมเหมาะสม

'ขั้นตอนท่ี 6 การดูแลความสะอาด บุคลากรท่ีเกี่ยวของไมดําเนินการตามแนวทาง/วิธีการท่ีกําหนดไว

81

Page 85:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ประเด็นการระบุปจจัยเสี่ยง

หลักธรรมาภิบาลท่ีเก่ียวของ ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ตอบสนอง รับผิดชอบ โปรงใส มีสวนรวม กระจายอํานาจ นิติธรรม เสมอภาค ฉันทามติ

3.การระบุความเสี่ยงดานการเงิน

4.ดานการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ

- - - - - - - - - - -

82

Page 86:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.3 การประเมินความเสี่ยงและแนวทางการตอบสนองความเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ คะแนน ระดับประเมิน คาคะแนนท่ียอมรับได กลยุทธท่ีใชในการจัดการความเสี่ยง

(โอกาส x ผลกระทบ)

1. ความเสี่ยงดานกลยุทธ หลักการมีสวนรวม

ข้ันตอนท่ี 6 การดูแลความสะอาด ผูใชบริการมีพฤติกรรมการใช 3 4 12 สูง (2x2)=4 ยอมรับความเสี่ยง

หองนํ้า - หองสุขาไมเหมาะสม ยอมรับความเสี่ยง

(มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเสี่ยง

(มีแผนควบคุมความเสี่ยง)

ถายโอนความเสี่ยง 2. ความเสี่ยงดานการดําเนินงานข้ันตอนท่ี 1 จัดใหมีหองนํ้า - หองสุขาเพียงพอกับจํานวนนักทองเท่ียวท่ีมาใชบริการในกรณีวันหยุดปกต ิ

หลักประสิทธิภาพ หองนํ้า - หองสุขาไมสามารถใชการไดตามปกต ิเน่ืองจากไมไดรับการปรับปรุง/ซอมแซม

2

4

8

ปานกลาง

(1x2)=2

ยอมรับความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง) ถายโอนความเสี่ยง

หลักตอบสนอง มีผูใชบริการจํานวนมากเจาหนาท่ี

ใหบริการในชวงเทศกาลทองเท่ียวตองจัดสรางหองนํ้า - หองสุขาช่ัวคราวซึ่งท่ีตั้งอาจจะไมเหมาะสม

3 3 9 สูง (3x1)=3 ยอมรับความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง) ถายโอนความเสี่ยง

83

Page 87:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

การประเมินความเสี่ยง

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ คะแนน ระดับประเมิน คาคะแนนท่ียอมรับได กลยุทธท่ีใชในการจัดการความเสี่ยง

(โอกาส x ผลกระทบ) หลักรับผิดชอบ

บุคลากรท่ีเก่ียวของไมดําเนินการตามแนวทาง/วิธีการท่ีกําหนดไว

3

5

15

สูง

(2x2)=4

ยอมรับความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง) ถายโอนความเสี่ยง

84

Page 88:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ตารางระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ และตารางระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง กิจกรรมหลัก/กิจกรรมยอย กิจกรรมทองเท่ียวเชิงอนุรักษ/การบริการหองน้ํา-หองสุขา ในอุทยานแหงชาติ

1. ความเส่ียงดานกลยุทธ ข้ันตอนท่ี 6 การดูแลรักษาความสะอาด หลักการมีสวนรวม 1.1 ผูใชบริการมีพฤติกรรมการใชหองน้ํา หองสุขาไมเหมาะสม

1. ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (เชิงคุณภาพ)

ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย 5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูงหรือบอยๆ 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

2. ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง กรณีเปนความรุนแรงท่ีสงผลกระทบดานกลยุทธ

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอเปาหมายและชื่อเสียงขององคกรในระดับสูงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอเปาหมายและชื่อเสียงขององคกรในระดับสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอเปาหมายและชื่อเสียงขององคกรบาง 2 นอย มีผลกระทบตอเปาหมายและชื่อเสียงขององคกรนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอเปาหมายและชื่อเสียงขององคกรเลย

2. ความเส่ียงดานการดําเนินงาน ข้ันตอนท่ี 1 จัดใหมีหองน้ําหองสุขาเพียงพอกับจํานวนนักทองเท่ียวท่ีมาใชบริการในกรณีวันหยุดปกติ หลักประสิทธิภาพ 2.1 หองนํ้า-หองสุขา ไมสามารถใชการไดตามปกติเน่ืองจากไมไดรับการปรับปรุง/ซอมแซม

1. ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (เชิงคุณภาพ)

ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย 5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูงหรือบอยๆ 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

85

Page 89:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

2. ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง กรณีเปนความรุนแรงท่ีสงผลกระทบดานการดําเนินงาน

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอกระบวนการและการดําเนินงานรุนแรงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอกระบวนการและการดําเนินงานรุนแรง 3 ปานกลาง มีการชะงักงันอยางมีนัยสําคัญของกระบวนการและการดําเนินงาน 2 นอย มีผลกระทบเล็กนอยตอกระบวนการและการดําเนินงาน 1 นอยมาก ไมมีการชะงักงันของกระบวนการและการดําเนินงาน

ข้ันตอนท่ี 2 ท่ีตั้ง ใหตั้งในบริเวณท่ีเหมาะสมในเขตบริการ คือ ลานจอดรถ พ้ืนท่ีรับประทานอาหารหรือปกนิก พ้ืนท่ีกางเต็นท พ้ืนท่ีท่ีเปนตนทางไปสูแหลงทองเท่ียว หลักการตอบสนอง 2.2 ผูใชบริการมีจํานวนมากในชวงเทศกาลทองเท่ียว ตองจัดสรางหองน้ํา-หองสุขาชั่วคราวซ่ึงท่ีตั้งอาจจะไมเหมาะสม

1. ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (เชิงปริมาณ)

ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย 5 สูงมาก 5 ครั้ง/ป 4 สูง 4 ครั้ง/ป 3 ปานกลาง 3 ครั้ง/ป 2 นอย 2 ครั้ง/ป 1 นอยมาก 1 ครั้ง/ป

2. ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง กรณีเปนความรุนแรงท่ีสงผลกระทบดานการดําเนินงาน

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอกระบวนการและการดําเนินงานรุนแรงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอกระบวนการและการดําเนินงานรุนแรง 3 ปานกลาง มีการชะงักงันอยางมีนัยสําคัญของกระบวนการและการดําเนินงาน 2 นอย มีผลกระทบเล็กนอยตอกระบวนการและการดําเนินงาน 1 นอยมาก ไมมีการชะงักงันของกระบวนการและการดําเนินงาน

86

Page 90:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ข้ันตอนท่ี 6 การดูแลรักษาความสะอาด

หลักภาระรับผิดชอบ 2.3 บุคลากรท่ีเกี่ยวของไมดําเนินการตามแนวทาง/วิธีการท่ีกําหนดไว 1. ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (เชิงคุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูงหรือบอยๆ 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

2. ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง กรณีเปนความรุนแรงท่ีสงผลกระทบดานการดําเนินงาน

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอเปาหมายและชื่อเสียงขององคกรในระดับสูงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอเปาหมายและชื่อเสียงขององคกรในระดับสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอเปาหมายและชื่อเสียงขององคกรบาง 2 นอย มีผลกระทบตอเปาหมายและชื่อเสียงขององคกรนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอเปาหมายและชื่อเสียงขององคกรเลย

87

Page 91:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.4 การกําหนดมาตรการ/กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง กลยุทธท่ีใชในการจัดการความเสี่ยง กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง งบประมาณ ผูรับผิดชอบ

1.ความเสี่ยงดานกลยุทธ หลักการมีสวนรวม ข้ันตอนท่ี 6 การดูแลความสะอาด ผูใชบริการมีพฤติกรรมการใช

หองนํ้า -หองสุขาไมเหมาะสม ควบคุมความเสี่ยง

(มีแผนควบคุมความเสี่ยง) 1. จัดทําปายขอแนะนําในการใชหองนํ้า -หองสุขาและขอความรวมมือผูใชบริการใหใชอุปกรณในหองนํ้า - หองสุขาอยางถูกตองเหมาะสมและโปรดชวยกันรักษาความสะอาด2. กําชับเจาหนาท่ีหมั่นตรวจและทําความสะอาดหองสวมใหสะอาดเรียบรอยอยูเสมอ

งบประมาณปกต ิ สํานักอุทยานแหงชาต ิ

2. ความเสี่ยงดานการดําเนินงาน ข้ันตอนท่ี 1 จัดใหมีหองนํ้า - หองสุขาเพียงพอกับจํานวนนักทองเท่ียวท่ีมาใชบริการในกรณีวันหยุดปกต ิ

หลักประสิทธิภาพ หองนํ้า - หองสุขาไมสามารถใชการไดตามปกต ิเน่ืองจากไมไดรับการปรับปรุง/ซอมแซม

ยอมรับความเสี่ยง

(มีมาตรการติดตาม)

1. ใหอุทยานแหงชาติทุกแหงรายงานขอมูล หองนํ้า - หองสุขาทุกแหง ไดแก ท่ีตั้ง พิกัดปท่ีกอสรางพรอมท้ังภาพถาย เพ่ือใชเปนขอมูล ประกอบการพิจารณาอนุมัติซอมแซมหรือปรับปรุงหรือพัฒนา 2. ใหอุทยานแหงชาติทุกแหงปรับปรุงหองนํ้า-หองสุขาและรายงานสภาพความพรอมในการใชงานกอนเริ่มฤดูกาลทองเท่ียว

งบประมาณปกต ิ

สํานักอุทยานแหงชาต ิ

หลักตอบสนอง มีผูใชบริการจํานวนมากเจาหนาท่ีใหบริการในชวงเทศกาลทองเท่ียวตองจัดสรางหองนํ้า - หองสุขาช่ัวคราวซึ่งท่ีตั้งอาจจะไมเหมาะสม

ควบคุมความเสี่ยง

(มีแผนควบคุมความเสี่ยง)

1. จัดใหมีการใหความรู สรางความเขาใจใหกับหัวหนาอุทยานแหงชาต ิผานกระบวนการประชุมหรือช้ีแจงคูมือ เพ่ือใหดําเนินการจัดสรางหองนํ้า – หองสุขาช่ัวคราวในจุดท่ีเหมาะสม 2. จัดใหมีระบบติดตามตรวจสอบความพรอม ของอุทยานแหงชาติ ในการบริการนักทองเท่ียวชวงเทศกาลทองเท่ียว และตรวจสอบจุดท่ีตั้งหองนํ้า - หองสุขาช่ัวคราว

งบประมาณปกต ิ

สํานักอุทยานแหงชาต ิ

88

Page 92:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.5 แผนปฏิบัติการบริหารความเสี่ยง กิจกรรมทองเท่ียวเชิงอนุรักษ/การบริการหองนํ้า – หองสุขาในอุทยานแหงชาติ

ความเสี่ยง กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง ระยะเวลา งบประมาณ ผลผลิต/ผลลัพธ/ตัวชี้วัด ผูรับผิดชอบ

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ระดับ 1.ความเสี่ยงดานกลยุทธ ข้ันตอนท่ี 6 การดูแลความสะอาด

หลักการมีสวนรวม ผูใชบริการมีพฤติกรรมการใชหองนํ้า - หองสุขาไมเหมาะสม

สูง

1. จัดทําปายขอแนะนําในการใชหองนํ้า -หองสุขาและขอความรวมมือผูใชบริการใหใชอุปกรณในหองนํ้า – หองสุขาอยางถูกตองเหมาะสมและโปรดชวยกันรักษาความสะอาด 2. กําชับเจาหนาท่ีหมั่นตรวจและทําความ สะอาดหองสวมใหสะอาดเรียบรอยอยูเสมอ

ต.ค.59 - ก.ย.60

งบประมาณปกติ

หองนํ้า - หองสุขาในแหลงอุทยานแหงชาติประกอบดวยอุทยานแหงชาติท่ีประกาศแลว 128 แหงและอุทยานแหงชาติท่ีเตรียมประกาศ 22 แหง รวมท้ังหมด 151 มีความพรอมใหบริการ

สํานักอุทยานแหงชาติ

2. ความเสี่ยงดานการดําเนินงาน ข้ันตอนท่ี 1 จัดใหมีหองนํ้า - หองสุขาเพียงพอกับจํานวนนักทองเท่ียวท่ีมาใชบริการในกรณีวันหยุดปกต ิ

หลักตอบสนอง มีผูใชบริการจํานวนมากเจาหนาท่ีใหบริการในชวงเทศกาลทองเท่ียวตองจัดสรางหองนํ้า - หองสุขาช่ัวคราวซึ่งท่ีตั้งอาจจะไมเหมาะสม

สูง

1. จัดใหมีการใหความรู สรางความเขาใจใหกับหัวหนาอุทยานแหงชาติผานกระบวนการประชุมหรือช้ีแจงคูมือ เพ่ือใหดําเนินการจัดสรางหองนํ้า - หองสุขาช่ัวคราวในจุดท่ีเหมาะสม 2. จัดใหมีระบบติดตามตรวจสอบความพรอมของอุทยานแหงชาติในการบริการนักทองเท่ียวชวงเทศกาลทองเท่ียว และตรวจสอบจุดท่ีตั้งหองนํ้า - หองสุขาช่ัวคราว

ต.ค.59-เม.ย.60

งบประมาณปกติ

หองนํ้า - หองสุขาในแหลงอุทยานแหงชาติประกอบดวยอุทยานแหงชาติท่ีประกาศแลว 128 แหงและอุทยานแหงชาติท่ีเตรียมประกาศ 22 แหง รวมท้ังหมด 151 มีความพรอมใหบริการ

สํานักอุทยานแหงชาติ

หลักรับผิดชอบ บุคลากรท่ีเก่ียวของไมดําเนินการตามแนวทาง/วิธีการท่ีกําหนดไว

สูง

1. จัดทําแบบฟอรมเพ่ือสนับสนุนหรือชวยใหเจาหนาท่ีสามารถทําความสะอาดหองนํ้า -หองสุขาในอุทยานแหงชาติไดอยางถูกตองตามแนวทาง/วิธีการท่ีกําหนด

ต.ค.59 - ก.ย.60

งบประมาณปกติ

หองนํ้า - หองสุขาในแหลงอุทยานแหงชาติประกอบดวยอุทยานแหงชาติท่ีประกาศแลว

สํานักอุทยานแหงชาติ

89

Page 93:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ความเสี่ยง กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง ระยะเวลา งบประมาณ ผลผลิต/ตัวชี้วัด ผูรับผิดชอบ

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ระดับ 2. ใหอุทยานแหงชาติทุกแหงมีผูติดตาม

ตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีทุกวัน

128 แหงและอุทยานแหงชาติท่ีเตรียมประกาศ 22 แหง รวมท้ังหมด 151 มีความพรอมใหบริการ

3. ใหมีการแตงตั้งคณะทํางาน เพ่ือติดตามตรวจสอบ ประเมินผลการดําเนินการหรือการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ท่ีเก่ียวของในเรื่องการรักษาความสะอาด การบํารุงรักษาหองนํ้า –หองสุขาใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานในพ้ืนท่ีอุทยานแหงชาต ิ

90

Page 94:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แผนบริหารความเส่ียง ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 กิจกรรมงานสงวนและคุมครองสัตวปา

สํานักอนุรักษสัตวปา สวนจัดการพ้ืนท่ีอนุรักษ ________________________

ยุทธศาสตรดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม แผนงานพ้ืนฐานดานการจัดการน้ําและการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ผลผลิตท่ี 1 : พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ กิจกรรมหลัก : กิจกรรมงานสงวนและคุมครองสัตวปา กิจกรรมยอย : การประกาศเขตหามลาสัตวปา

วัตถุประสงคและเปาหมายของกิจกรรม : รักษาพ้ืนท่ีปาอนุรักษไว สําหรับเปนแหลงท่ีอยูอาศัยและแหลงหากินของสัตวปา ตัวชี้วัด (คาเปาหมาย)

เชิงปริมาณ : จํานวนพ้ืนท่ีท่ีประกาศใหเปนเขต หามลาสัตวปา (แหง) เชิงคุณภาพ : พ้ืนท่ีท่ีกําหนดใหเปนเขตหามลาสัตวปามีชนิดสัตวปาท่ีมีความสําคัญ หรือเหมาะสมท่ีจะ

เปนแหลงท่ีอยูอาศัยของสัตวปาและแหลงหากินของสัตวปา หรือมีความเหมาะสมท่ีจะเปนปาอนุรักษ (รอยละ)

ข้ันตอนการดําเนินงาน : ข้ันตอนท่ี 1 สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษดําเนินการสํารวจพ้ืนท่ี เพ่ือเก็บขอมูลพ้ืนฐาน ข้ันตอนท่ี 2 สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษสํารวจแนวเขต โดยการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย

เพ่ือจัดทําแผนท่ีแนวเขต ข้ันตอนท่ี 3 สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษนําเรื่องการสํารวจพ้ืนท่ี/ขอมูลแนวเขตเสนอท่ีประชุมสภา

องคการบริหารสวนตําบล หรือสภาเทศบาลตําบล ทองท่ี เพ่ือรับฟงความเห็นระดับตําบล ข้ันตอนท่ี 4 สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษนําเรื่องการสํารวจพ้ืนท่ี/ขอมูลแนวเขตเสนอท่ีประชุม

คณะอนุกรรมการปองกันและปราบปรามการบุกรุกทําลายปาระดับจังหวัด (คปป.จ.) ทองท่ี เพ่ือรับฟงความเห็นระดับจังหวัด

ข้ันตอนท่ี 5 สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษจัดทํารายงานการสํารวจพ้ืนท่ี เสนอกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

ข้ันตอนท่ี 6 สํานักอนุรักษสัตวปาจัดทํารางประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกําหนดเขตหามลาสัตวปา พรอมบัญชีสัตวปาทายประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกําหนดเขตหามลาสัตวปา

ข้ันตอนท่ี 7 สํานักอนุรักษสัตวปาประสานสํานักฟนฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ เพ่ือจัดทําแผนท่ีทายประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกําหนดเขตหามลาสัตวปา

ข้ันตอนท่ี 8 สํานักอนุรักษสัตวปาเสนอรางแผนท่ีทายประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกําหนดเขตหามลาสัตวปา ใหอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พิจารณาลงนาม

91

Page 95:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ข้ันตอนท่ี 9 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช โดยสํานักอนุรักษสัตวปา นําเรื่องการกําหนดเขตหามลาสัตวปา เสนอคณะกรรมการสงวนและคุมครองสัตวปาแหงชาติ เพ่ือพิจารณาใหความเห็นชอบ

9.1 กรณีแผนท่ีท่ีมีมาตราสวนไมเปนไปตามท่ีสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีกําหนด (1 : 4000 , 1 : 50000 และ 1 : 250000) กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช จําทําหนังสือถึงสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพ่ือขออนุโลมเปนการเฉพาะราย

9.2 หลังจากท่ีสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีอนุโลมเปนหนังสือใหใชแผนท่ีมาตราสวนท่ีขอ ข้ันตอนท่ี 10 คณะกรรมการสงวนและคุมครองสัตวปาแหงชาติใหความเห็นชอบในการกําหนด

เขตหามลาสัตวปา ข้ันตอนท่ี 11 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช โดยสํานักอนุรักษสัตวปา เสนอเรื่องการ

กําหนดเขตหามลาสัตวปา ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมพิจารณาลงนามในรางประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกําหนดเขตหามลาสัตวปา พรอมบัญชีสัตวปาทายประกาศฯ และแผนท่ีทายประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ข้ันตอนท่ี 12 รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมลงนามในรางประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกําหนดเขตหามลาสัตวปา

ข้ันตอนท่ี 13 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช โดยสํานักอนุรักษสัตวปา สงประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกําหนดเขตหามลาสัตวปา ไปสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพ่ือลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ข้ันตอนท่ี 14 สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ลงประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในราชกิจจานุเบกษา

________________________

92

Page 96:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.2 การระบุปจจัยเส่ียงตามหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตรจัดสรร การสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม กิจกรรมหลัก งานสงวนและคุมครองสัตวปา กิจกรรมยอย การประกาศเขตหามลาสัตวปา

ประเด็นการระบุ ปจจัยเสี่ยง

หลักธรรมาภิบาลท่ีเก่ียวของ ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ตอบสนอง รับผิดชอบ โปรงใส มีสวนรวม กระจายอํานาจ นิติธรรม เสมอภาค ฉันทามต ิ

1. ความเสี่ยงดานกลยุทธ - - - - - - - - - - 2. ดานการดําเนินงาน ข้ันตอนท่ี 3 นําเรื่องการสํารวจพ้ืนท่ี/ขอมูลแนวเขตเสนอท่ีประชุมสภาองคการบริหารสวนตําบล หรือสภาเทศบาลตําบล ทองท่ี เพ่ือรับฟงความเห็นระดับตําบล

พ้ืนท่ีท่ีจะประกาศเปนเขตหามลาสัตวปาอยูในเขตพ้ืนท่ีขององคการบริหารสวนตําบล/เทศบาลตําบล ซึ่งจะตองนําเรื่องเขาสูวาระการประชุมของสภาเทศบาลตําบลเพ่ือพิจารณาเห็นชอบอาจไมไดรับการพิจารณาบรรจุ ในวาระการประชุมในระยะเวลาตามตามแผนการดําเนินงาน เน่ืองจากไมสอดคลองกับระยะเวลาท่ีกําหนดจัดประชุม

การนําเรื่องการประกาศเขต หามลาสัตวปาเขาสูวาระการประชุมขององคการบริหารสวนตําบล/เทศบาลตําบล อาจไมไดรับการพิจารณา เห็นชอบหรืออนุมัติ

93

Page 97:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ประเด็นการระบุ ปจจัยเสี่ยง

หลักธรรมาภิบาลท่ีเก่ียวของ ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ตอบสนอง รับผิดชอบ โปรงใส มีสวนรวม กระจายอํานาจ นิติธรรม เสมอภาค ฉันทามต ิ

ข้ันตอนท่ี 9 การนําเรื่องการกําหนดเขตหามลาสัตวปา เสนอคณะกรรมการสงวนและคุมครองสัตวปาแหงชาติ เพ่ือพิจารณา ใหความเห็นชอบ

การประชุมคณะกรรมการสงวนและคุมครองสัตวปาแหงชาติ มีการกําหนดชวงเวลาประชุมไมแนนอน ทําใหการประกาศเขตหามลาสัตวปาสัตวปาเกิดความลาชา

3. ความเสี่ยงดานการเงิน

- - - - - - - - - -

4. ความเสี่ยงดานการปฏิบัติ ตามกฎหมาย/กฎระเบียบ

- - - - - - - - - -

94

Page 98:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.3 การประเมินความเส่ียงและกลยุทธท่ีใชในการจัดการความเส่ียง

ประเด็นการระบุ ปจจัยเสี่ยง

ปจจัยเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง โอกาส (1) ผลกระทบ (2) คะแนน (1x2) ระดับประเมิน คาคะแนนท่ียอมรับได

(โอกาส x ผลกระทบ) กลยุทธท่ีใชในการจัดการ

ความเสี่ยง 1. ความเสี่ยงดาน กลยุทธ

- - - - - - -

2. ความเสี่ยงดาน การดําเนินงาน ข้ันตอนท่ี 3 นําเรื่องการสํารวจพ้ืนท่ี/ขอมูลแนวเขตเสนอท่ีประชุมสภาองคการบริหารสวนตําบล หรือสภาเทศบาลตําบล ทองท่ี เพ่ือรับฟงความเห็นระดับตําบล

หลักตอบสนอง : พ้ืนท่ีท่ีจะประกาศเปนเขตหามลาสัตวปาอยูในเขตพ้ืนท่ีขององคการบริหารสวนตําบล/เทศบาลตําบล ซึ่งจะตองนําเรื่องเขาสูวาระการประชุมของสภาเทศบาลตําบลเพ่ือพิจารณาเห็นชอบอาจไมไดรับการพิจารณาบรรจุ ในวาระการประชุมในระยะเวลาตามตามแผนการดําเนินงาน เน่ืองจากไมสอดคลองกับระยะเวลาท่ีกําหนดจัดประชุม

3

4

12

สูง

(3 x 3) = 9

ยอมรับความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง) ถายโอนความเสี่ยง

หลักการมีสวนรวม : การนําเรื่องการประกาศเขต หามลาสัตวปาเขาสูวาระการประชุมขององคการบริหารสวนตําบล/เทศบาลตําบล อาจไมไดรับการพิจารณา เห็นชอบหรืออนุมัต ิ

3

4

12

สูง

(3 x 3) = 9

ยอมรับความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง) ถายโอนความเสี่ยง

95

Page 99:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ประเด็นการระบุ ปจจัยเสี่ยง

ปจจัยเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง โอกาส (1) ผลกระทบ (2) คะแนน (1x2) ระดับประเมิน คาคะแนนท่ียอมรับได

(โอกาส x ผลกระทบ) กลยุทธท่ีใชในการจัดการ

ความเสี่ยง 1. ความเสี่ยงดาน กลยุทธ

- - - - - - -

ข้ันตอนท่ี 9 การนําเรื่องการกําหนดเขตหามลาสัตวปา เสนอคณะกรรมการสงวนและคุมครองสัตวปาแหงชาติ เพ่ือพิจารณา ใหความเห็นชอบ

หลักประสิทธิภาพ : การประชุมคณะกรรมการสงวน และคุมครองสัตวปาแหงชาติ มีการกําหนดชวงเวลาประชุมไมแนนอน ทําใหการประกาศเขตหามลาสัตวปาสัตวปาเกิดความลาชา

4

4

16

สูง

(3 x 3) = 9

ยอมรับความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง) ถายโอนความเสี่ยง

96

Page 100:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

หลักเกณฑการวิเคราะหโอกาสและผลกระทบความเส่ียง กิจกรรมสงวนและคุมครองสัตวปา

กิจกรรมยอยการประกาศเขตหามลาสัตวปา สํานักอนุรักษสัตวปา

๑. ความเส่ียงดานการดําเนินงาน หลักตอบสนอง

พ้ืนท่ีท่ีจะประกาศเปนเขตหามลาสัตวปาอยูในเขตพ้ืนท่ีขององคการบริหารสวนตําบล/เทศบาลตําบล ซ่ึงจะตองนําเรื่องเขาสูวาระการประชุมของสภาเทศบาลตําบล เพ่ือพิจารณาเห็นชอบ อาจไมไดรับการพิจารณา เนื่องจากระยะเวลาไมสอดคลองกับการเปดสมัยประชุม

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสเกิดข้ึนสูง 4 สูง มีโอกาสเกิดข้ึนบอยๆ 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดข้ึนบางครั้ง 2 นอย มีโอกาสเกิดข้ึน แตนานๆครั้ง 1 นอยมาก ไมมีโอกาสเกิดข้ึน

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบสูงมากตอการขับเคลื่อนการดําเนินงาน 4 สูง มีผลกระทบสูงตอการขับเคลื่อนการดําเนินงาน 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอการขับเคลื่อนการดําเนินงานบาง 2 นอย มีผลกระทบตอการขับเคลื่อนการดําเนินงานนอย 1 นอยมาก มีผลกระทบตอการขับเคลื่อนการดําเนินงานนอยมาก

หลักการมีสวนรวม การนําเรื่องการประกาศเขตหามลาสัตวปาเขาสูวาระการประชุมของสภาเทศบาล อาจไมไดรับการพิจารณา

เรื่องจากไมใชวาระท่ีเรงดวน

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสเกิดข้ึนสูง 4 สูง มีโอกาสเกิดข้ึนบอยๆ 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดข้ึนบางครั้ง 2 นอย มีโอกาสเกิดข้ึน แตนานๆครั้ง 1 นอยมาก ไมมีโอกาสเกิดข้ึน

97

Page 101:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบสูงมากตอการขับเคลื่อนการดําเนินงาน 4 สูง มีผลกระทบสูงตอการขับเคลื่อนการดําเนินงาน 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอการขับเคลื่อนการดําเนินงานบาง 2 นอย มีผลกระทบตอการขับเคลื่อนการดําเนินงานนอย 1 นอยมาก มีผลกระทบตอการขับเคลื่อนการดําเนินงานนอยมาก

หลักประสิทธิภาพ การประชุมคณะกรรมการสงวนและคุมครองสัตวปาแหงชาติ มีการกําหนดชวงเวลาประชุมไมแนนอน

ทําใหการประกาศเขตหามลาสัตวปาสัตวปาเกิดความลาชา

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (เชิงปริมาณ) ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสเกิดข้ึนสูง 4 สูง มีโอกาสเกิดข้ึนบอยๆ 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดข้ึนบางครั้ง 2 นอย มีโอกาสเกิดข้ึน แตนานๆครั้ง 1 นอยมาก ไมมีโอกาสเกิดข้ึน

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบสูงมากตอการขับเคลื่อนการดําเนินงาน 4 สูง มีผลกระทบสูงตอการขับเคลื่อนการดําเนินงาน 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอการขับเคลื่อนการดําเนินงานบาง 2 นอย มีผลกระทบตอการขับเคลื่อนการดําเนินงานนอย 1 นอยมาก มีผลกระทบตอการขับเคลื่อนการดําเนินงานนอยมาก

98

Page 102:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ความเส่ียงต่ํา (สามารถยอมรับ

ได)

แผนภูมิความเส่ียง (Risk Map) การวัดระดับความเส่ียง มาก ผลกระทบ นอย นอย มาก โอกาสท่ีจะเกิด การประเมินความเส่ียง

ความเส่ียงปานกลาง - ผลกระทบรุนแรงมาก - โอกาสเกิดนอย

ความเส่ียงปานกลาง - ผลกระทบรุนแรงมาก - โอกาสเกิดมาก

ความเส่ียงปานกลาง - ผลกระทบนอย - โอกาสเกิดนอย

ความเส่ียงปานกลาง - ผลกระทบนอย - โอกาสเกิดมาก

๕ ๕ ๑๐ ๑๕ ๒๕ ๒๕

๔ ๔ ๘ ๑๒ ๑๖ ๒๐

๓ ๓ ๖ ๙ ๑๒ ๑๕

๒ ๒ ๔ ๖ ๘ ๑๐

๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕

๑ ๒ ๓ ๔ ๕

ความเส่ียงสูงมาก

ความเส่ียงสูง ความเส่ียงปาน

99

Page 103:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.4 การกําหนดมาตรการ/กิจกรรมควบคุมความเส่ียง

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง กลยุทธท่ีใช

ในการจัดการความเสี่ยง กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง ประมาณการงบประมาณ ผูรับผิดชอบ

1. ความเสี่ยงดานกลยุทธ -

2. ความเสี่ยงดานการดําเนินงาน ข้ันตอนท่ี 3 นําเรื่องการสํารวจพ้ืนท่ี/ขอมูลแนวเขตเสนอท่ีประชุมสภาองคการบริหารสวนตําบล หรือสภาเทศบาลตําบล ทองท่ี เพ่ือรับฟงความเห็นระดับตําบล

หลักตอบสนอง : พ้ืนท่ีท่ีจะประกาศเปนเขตหามลาสัตวปาอยูในเขตพ้ืนท่ีขององคการบริหารสวนตําบล/เทศบาลตําบล ซึ่งจะตองนําเรื่องเขาสูวาระการประชุมของสภาเทศบาลตําบลเพ่ือพิจารณาเห็นชอบอาจไมไดรับการพิจารณาบรรจุ ในวาระการประชุมในระยะเวลาตามตามแผนการดําเนินงาน เน่ืองจากไมสอดคลองกับระยะเวลาท่ีกําหนดจัดประชุม

ควบคุมความเสี่ยง

(มีแผนควบคุมความเสี่ยง)

- ประชาสัมพันธเก่ียวกับการประกาศเขตหามลาสัตวปาใหองคการบริหารสวนตําบล/เทศบาลตําบาลในพ้ืนท่ี เพ่ือใหความรูความเขาใจเห็นถึงความสําคัญและประโยชนท่ีประชาชนรอบๆเขตพ้ืนท่ีจะไดรับ

งบประมาณปกต ิ

- สํานักอนุรักษสัตวปา - สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษทองท่ี

หลักการมีสวนรวม : การนําเรื่องการประกาศเขต หามลาสัตวปาเขาสูวาระการประชุมขององคการบริหารสวนตําบล/เทศบาลตําบล อาจไมไดรับการพิจารณา เห็นชอบหรืออนุมัต ิ

ควบคุมความเสี่ยง

(มีแผนควบคุมความเสี่ยง)

- ใหเจาหนาท่ีติดตาม/ทวงถาม เพ่ือนําเรื่องเขาสูวาระการประชุมสภาองคการบริหารสวนตําบล/สภาเทศบาลตําบล

งบประมาณปกต ิ

- สํานักอนุรักษสัตวปา - สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษทองท่ี

100

Page 104:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง กลยุทธท่ีใช

ในการจัดการความเสี่ยง กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง ประมาณการงบประมาณ ผูรับผิดชอบ

ข้ันตอนท่ี 9 การนําเรื่องการกําหนดเขตหามลาสัตวปา เสนอคณะกรรมการสงวนและคุมครองสัตวปาแหงชาติ เพ่ือพิจารณา ใหความเห็นชอบ

หลักประสิทธิภาพ : การประชุมคณะกรรมการสงวน และคุมครองสัตวปาแหงชาติ มีการกําหนดชวงเวลาประชุมไมแนนอน ทําใหการประกาศเขตหามลาสัตวปาสัตวปาเกิดความลาชา

ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง)

- สํานักอนุรักษสัตวปา เรงบรรจุเขาวาระท่ีประชุมคณะกรรมการสงวนและคุมครองสัตวปาแหงชาต ิ - สํานักอนุรักษสัตวปา กําหนดแผนในการจัดประชุมคณะกรรมการสงวนและคุมครองสัตวปา ใหชัดเจน - สํานักอนุรักษสัตวปา ตรวจสอบคุณสมบัติคณะกรรมการสงวนและคุมครองสัตวปา ใหเปนปจจุบัน

งบประมาณปกต ิ

- สํานักอนุรักษสัตวปา

3. ความเสี่ยงดานการเงิน - - - - -

4. ความเสี่ยงดานการปฏิบัติ ตามกฎหมาย/กฎระเบียบ

- - - - -

101

Page 105:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.5 แผนปฏิบัติการบริหารความเส่ียงของกิจกรรมหลักงานสงวนและคุมครองสัตวปา กิจกรรมยอยการประกาศเขตหามลาสัตวปา

ความเสี่ยง

กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง ระยะเวลา งบประมาณ ผลผลิต/

ผลลัพธ/ตัวชี้วัด ผูรับผิดชอบ

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง คาคะแนน และระดับประเมิน

1. ความเสี่ยงดานกลยุทธ - - - - - - - 2. ความเสี่ยง ดานการดําเนินงาน ข้ันตอนท่ี 3 นําเรื่องการสํารวจพ้ืนท่ี/ขอมูลแนวเขตเสนอท่ีประชุมสภาองคการบริหารสวนตําบล หรือสภาเทศบาลตําบล ทองท่ี เพ่ือรับฟงความเห็นระดับตําบล

หลกัตอบสนอง พ้ืนท่ีท่ีจะประกาศเปนเขตหามลาสัตวปาอยูในเขตพ้ืนท่ีขององคการบริหารสวนตําบล/เทศบาลตําบล ซึ่งจะตองนําเรื่องเขาสูวาระการประชุมของสภาเทศบาลตําบลเพ่ือพิจารณาเห็นชอบอาจไมไดรับการพิจารณาบรรจุ ในวาระการประชุมในระยะเวลาตามตามแผนการดําเนินงาน เน่ืองจากไมสอดคลองกับระยะเวลาท่ีกําหนดจัดประชุม

- ประชาสัมพันธเก่ียวกับการประกาศเขตหามลาสัตวปาใหองคการบริหารสวนตําบล/เทศบาลตําบาลในพ้ืนท่ี เพ่ือใหความรูความเขาใจเห็นถึงความสําคัญและประโยชนท่ีประชาชนรอบๆเขตพ้ืนท่ีจะไดรับ

(1 ต.ค.59 – 30 ก.ย.60)

งบประมาณปกต ิ

- หนวยงานท่ีเก่ียวของราษฎรในพ้ืนท่ีมีความรูความเขาใจและเห็นความสําคัญ

- สํานักอนุรักษสัตวปา - สํานักบริหารพ้ืนท่ี อนุรักษทองท่ี

หลักการมีสวนรวม การนําเรื่องการประกาศเขต หามลาสัตวปาเขาสูวาระการประชุมขององคการบริหารสวนตําบล/เทศบาลตําบล อาจไมไดรับการพิจารณา เห็นชอบหรืออนุมัต ิ

- ใหเจาหนาท่ีติดตาม/ทวงถาม เพ่ือนําเรื่องเขาสูวาระการประชุมสภาองคการบริหารสวนตําบล/สภาเทศบาลตําบล

(1 ต.ค.59 – 30 ก.ย.60) งบประมาณปกต ิ - เรื่องไดรับการบรรจุเขาวาระการประชุมของจากองคกรบริหารสวนตําบล/เทศบาลสวนตําบล

- สํานักอนุรักษสัตวปา - สํานักบริหารพ้ืนท่ี อนุรักษทองท่ี

102

Page 106:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ความเสี่ยง

กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง ระยะเวลา งบประมาณ ผลผลิต/

ผลลัพธ/ตัวชี้วัด ผูรับผิดชอบ

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง คาคะแนน และระดับประเมิน

ข้ันตอนท่ี 9 การนําเรื่องการกําหนดเขตหามลาสัตวปา เสนอคณะกรรมการสงวนและคุมครองสัตวปาแหงชาติ เพ่ือพิจารณาใหความเห็นชอบ

หลักประสิทธิภาพ การประชุมคณะกรรมการสงวน และคุมครองสัตวปาแหงชาติ มีการกําหนดชวงเวลาประชุมไมแนนอน ทําใหการประกาศเขตหามลาสัตวปาสัตวปาเกิดความลาชา

- สํานักอนุรักษสัตวปา เรงบรรจุเขาวาระท่ีประชุมคณะกรรมการสงวนและคุมครองสัตวปาแหงชาต ิ - สํานักอนุรักษสัตวปา กําหนดแผนในการจัดประชุมคณะกรรมการสงวนและคุมครองสัตวปา ใหชัดเจน - สํานักอนุรักษสัตวปา ตรวจสอบคุณสมบัติคณะกรรมการสงวนและคุมครองสัตวปา ใหเปนปจจุบัน

(1 ต.ค.59 – 30 ก.ย.60) งบประมาณปกต ิ - เรื่องไดรับการบรรจุเขาวาระการประชุม - ดําเนินการไดอยาง มีประสิทธิภาพ

- สํานักอนุรักษสัตวปา

3. ความเสี่ยงดานการเงิน

- - - - - - -

4. ความเสี่ยงดานการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ

- - - - - - -

103

Page 107:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ผลการวิเคราะหความเส่ียงในแตละกิจกรรม การกําหนดหลักเกณฑในการวิเคราะหความเส่ียงของแผนงาน/โครงการ

ยุทธศาสตรดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม กิจกรรมหลัก/กิจกรรมยอย : กิจกรรมจัดทําฐานขอมูล วัตถุประสงคและเปาหมายของกิจกรรม : ฐานขอมูลดานการอนุรักษทรัพยากรปาไมและสัตวปา ไดรับการพัฒนาและใชประโยชน ตัวช้ีวัด (คาเปาหมาย) : แปลงตัวอยางในพ้ืนท่ีอนุรักษจํานวน 1,060 แปลง ซ่ึงจะนําไปจัดทําเปนฐานขอมูลสําหรับ

ใชในการบริหารจัดการ ข้ันตอนการดําเนินงาน

1. การจัดทําแผนปฏิบัติงานสํารวจทรัพยากรปาไม 2. การสํารวจและเก็บรวบรวมขอมูลทรัพยากรปาไมในภาคสนาม 3. การนําเขาและวิเคราะหขอมูล 4. การจัดทํารายงานผล

104

Page 108:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.2 การระบุปจจัยเสี่ยงตามหลักธรรมภิบาล

ยุทธศาสตรจัดสรรท่ี 2 ดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

กิจกรรมหลัก/กิจกรรมยอย กิจกรรมจัดทําฐานขอมูล / สํารวจทรัพยากรปาไม

หนวยงานท่ีรับผิดชอบ : สํานักฟนฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ

ประเด็นการระบุปจจัยเสี่ยง

หลักธรรมาภิบาลท่ีเก่ียวของ

ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ตอบสนอง รับผิดชอบ โปรงใส มีสวนรวม กระจายอํานาจ นิติธรรม เสมอภาค ฉันทามติ การระบุความเสี่ยงดานกลยุทธ

ข้ันตอนท่ี 1 การจัดทําแผนปฏิบัติงานสํารวจฯ

- การประสานงานกับหนวยงานที่รับผิดชอบงานสํารวจฯในการกําหนดพื้นที่ปฏิบัติงานมีความ ลาชา

การระบุความเสี่ยงดานการดําเนินงาน

ข้ันตอนท่ี 2 การสํารวจและเก็บรวบรวมขอมูลฯ ในภาคสนาม

- ชนิดพันธุไมมีความหลากหลายสูง เจาหนาที่ไมสามารถจําแนกชนิดไดหมด - ความคลาดเคล่ือนจากประสิทธิภาพของอุปกรณ/เคร่ืองมือเนื่องจากมีอายุการใชงานมานานแลว

- การสํารวจและจัดเก็บขอมูลไมเปนไปตามแนวทางและคูมือที่กําหนด

- หนวยงานที่รับผิดชอบงานสํารวจฯมีการสับเปล่ียนเจาหนาที่ทําใหการดําเนินงานไมตอเนื่อง - พื้นที่ที่ดําเนินงานมีความเส่ียงตอความปลอดภัย

ข้ันตอนท่ี 3 การนําเขาและการวิเคราะหขอมูลฯ

- โปรแกรมการนําเขาและวิเคราะหขอมูล ขาดการพัฒนา

- ความคลาดเคล่ือนในการจัดเก็บและบันทึกขอมูล

การระบุความเสี่ยงดานการเงิน

งบประมาณสําหรับการจัดหาอุปกรณ/เครื่องมือในการปฏิบัติงาน

- อุปกรณ/เคร่ืองมือไมพอเพียงแกการปฏิบัติงาน และที่มีอยูมีอายุการใชงานนานแลว

ดานการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ

- - - - - - - - - - -

105

Page 109:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.3 การประเมินความเสี่ยงและแนวทางการตอบสนองความเสี่ยง

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง แนวทางการตอบสนอง ความเสี่ยง โอกาส (1) ผลกระทบ (2) คะแนน (1x2) ระดับประเมิน ระดับท่ียอมรับได

1. ความเสี่ยงดานกลยุทธ หลักการมีสวนรวม การประสานงานกับหนวยงานท่ีรับผิดชอบงานสํารวจฯในการกําหนดพ้ืนท่ีปฏิบัติงานมีความ ลาชา

1 3 3 ต่ํา 4 การยอมรับความเส่ียง การยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) การถายโอนความเส่ียง

2. ความเสี่ยงดานการดําเนินงาน

หลักรับผิดชอบ หนวยงานท่ีรับผิดชอบงานสํารวจฯ มีการสับเปลี่ยนเจาหนาท่ีทําใหการดําเนินงานไมตอเน่ือง

2

3

6

ปานกลาง

8

การยอมรับความเส่ียง การยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) การถายโอนความเส่ียง

หลักประสิทธิภาพ ชนิดพันธุไมมีความหลากหลายสูง เจาหนาท่ีไมสามารถจําแนกชนิดไดหมด

3

3

9

สูง

15

การยอมรับความเส่ียง การยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) การถายโอนความเส่ียง

หลักประสิทธิภาพ ความคลาดเคลื่อนจากประสิทธิภาพของอุปกรณ/เครื่องมือเน่ืองจากมีอายุการใชงานมานานแลว

3

4

12

สูง

15

การยอมรับความเส่ียง การยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) การถายโอนความเส่ียง

หลักตอบสนอง การสํารวจและจัดเก็บขอมูลไมเปนไปตามแนวทางและคูมือท่ีกําหนด

3

5

15

สูง

15

การยอมรับความเส่ียง การยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) การถายโอนความเส่ียง

หลักรับผิดชอบ พ้ืนท่ีท่ีดําเนินงานมีความเสี่ยงตอความปลอดภัย

3

5

15

สูง

15

การยอมรับความเส่ียง การยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) การถายโอนความเส่ียง

106

Page 110:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.3 การประเมินความเสี่ยงและแนวทางการตอบสนองความเสี่ยง (ตอ)

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง แนวทางการตอบสนอง

ความเสี่ยง โอกาส (1) ผลกระทบ (2) คะแนน (1x2) ระดับประเมิน ระดับท่ียอมรับได

หลักประสิทธิภาพ โปรแกรมการนําเขาและวิเคราะหขอมูล ขาดการพัฒนา

3

3

9

สูง

15

การยอมรับความเส่ียง การยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) การถายโอนความเส่ียง

หลักรับผิดชอบ ความคลาดเคลื่อนในการจัดเก็บและ บันทึกขอมูล

3

3

9

สูง

15

การยอมรับความเส่ียง การยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) การถายโอนความเส่ียง

3. ความเสี่ยงดานการเงิน

หลักประสิทธิภาพ อุปกรณ/เครื่องมือใหพอเพียงแกการปฏิบัติงาน และท่ีมีอยูมีอายุการใชงานนานแลว

4 3 12 สูง 15 การยอมรับความเส่ียง การยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) การถายโอนความเส่ียง

107

Page 111:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ความเส่ียงของกิจกรรมยอย สํารวจทรัพยากรปาไม แผนงานพ้ืนฐานดานการจัดการน้ําและสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกังส่ิงแวดลอมอยางย่ังยืน

ผลผลิตท่ี 2 ฐานขอมูลพ้ืนท่ีปาอนุรักษ กิจกรรมจัดทําฐานขอมูล กลุมสํารวจทรัพยากรปาไม สวนสํารวจและวิเคราะหทรัพยากรปาไม

--------------------------------------- 1. การจัดทําแผนปฏิบัติงานลาชา

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณ กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี ้

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตาง ๆ (เชิงปริมาณ) ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก 5 ครั้ง/ป 4 สูง 4 ครั้ง/ป 3 ปานกลาง 3 ครั้ง/ ป 2 นอย 2 ครั้ง/ป 1 นอยมาก 1 ครั้ง/ป

คําอธิบาย : ในการกําหนดแผนการปฏิบัติงานสํารวจทรัพยากรปาไมแตละป สวนกลางจะประสานขอความคิดเห็นจากสบอ. ในการคัดเลือกกําหนดพ้ืนท่ีท่ีจะดําเนินการในปงบประมาณถัดไป ซ่ึงปจจัยท่ีคํานึงถึงในการคัดเลือกพ้ืนท่ีปฏิบัติงาน ไดแก แนวโนมของนโยบายภาครัฐ ความสําคัญของพ้ืนท่ีดานความหลากหลายหรือความสมบูรณของทรัพยากรปาไม เปนพ้ืนท่ีอนุรักษท่ียังไมไดทําการติดตั้งแปลงตัวอยาง หรือ เลือกพ้ืนท่ีท่ีดําเนินการติดตั้งแปลงตัวอยาง แลวแตมีจุดประสงคเพ่ือเปรียบเทียบ/ติดตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรปาไมในแตละชวงเวลา ท้ังนี้ ผลการสํารวจจะนําไปจัดทําและปรับปรุงฐานขอมูลการสํารวจทรัพยากรปาไม

ผลกระทบดานการดําเนินงาน (กระบวนการ)

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอกระบวนการและการดําเนินงานรุนแรงมาก เชน หยุดดําเนินการมากกวา 1 เดือน

4 สูง มีผลกระทบตอกระบวนการและการดําเนินงานรุนแรง เชน หยุดดําเนินการ 1 เดือน 3 ปานกลาง มีการชะงักงันอยางมีนัยสําคัญของกระบวนการและการดําเนินงาน 2 นอย มีผลกระทบเล็กนอยตอกระบวนการและการดําเนินงาน 1 นอยมาก ไมมีการชะงักงันของกระบวนการและการดําเนินงาน

คําอธิบาย : หากการกําหนดแผนปฏิบัติงานประจําปลาชา ทําใหการสงแผนปฏิบัติงานและการปฏิบัติงานของสบอ.ก็จะลาชาไปดวย ดังนั้น เพ่ือใหการปฏิบัติงานดําเนินไปอยางราบรื่นและมีประสิทธิภาพ สวนกลางและสบอ. ควรติดตอและประสานงานเพ่ือคัดเลือกและกําหนดพ้ืนท่ีลวงหนา อยางนอย 2 เดือน กอนทําสิ้นปงบประมาณ

108

Page 112:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

2. สบอ. มีการเปลี่ยนแปลงเจาหนาท่ีท่ีรับผิดชอบงานสํารวจทรัพยากรปาไม

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณ กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี ้

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตาง ๆ (เชิงคุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอยขางสูงหรือบอย ๆ 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนาน ๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

คําอธิบาย : หนวยงานของ สบอ.ท่ีรับผิดชอบงานสํารวจทรัพยากรปาไม ไดแก กลุมงานวิชาการ สวนฟนฟูฯ และสวน อุทยานฯ เปนตน มีอัตรากําลังนอย แตมีงานท่ีตองรับผิดชอบหลายดาน จึงจําเปนตองมีการยืมบุคลากรจากหนวยงานอ่ืนมาชวยปฏิบัติงานเปนครั้งคราว จึงทําใหมีโอกาสสับเปลี่ยนและโยกยายตัวเจาหนาท่ีท่ีรับผิดชอบในการปฏิบัติงานสํารวจทรัพยากรปาไม เนื่องจากขาดแคลนเจาหนาท่ีและบุคคลากร

ผลกระทบดานการดําเนินงาน (กระบวนการ)

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอกระบวนการและการดําเนินงานรุนแรงมาก เชน ออกไปเก็บขอมูลใหม

4 สูง มีผลกระทบตอกระบวนการและการดําเนินงานรุนแรง เชน ตองตรวจเช็คขอมูลซํ้า อยางนอย 3 ครั้ง

3 ปานกลาง มีการชะงักงันอยางมีนัยสําคัญของกระบวนการและการดําเนินงาน 2 นอย มีผลกระทบเล็กนอยตอกระบวนการและการดําเนินงาน 1 นอยมาก ไมมีการชะงักงันของกระบวนการและการดําเนินงาน

คําอธิบาย : ในสวนของงานสํารวจทรัพยากรปาไมภาคสนาม มีเนื้อหา/รายละเอียดและวิธีในการวางแปลงและเก็บขอมูลตัวอยางคอนขางมาก ดังนั้น หากมีการเปลี่ยนเจาหนาท่ีท่ีปฏิบัติงานจึงจําเปนตองทําความเขาใจเก่ียวกับข้ันตอนในการปฏิบัติงานใหเขาใจอยางกระจางกอนท่ีจะออกไปปฏิบัติงาน เนื่องจาก ขอมูลผลการสํารวจจะนําไปจัดทําเปนฐานขอมูลการสํารวจทรัพยากรปาไม ดังนั้น จึงจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองเก็บขอมูลตามแนวทางการปฏิบัติงานท่ีกําหนด หากการเก็บขอมูลไมถูกตองจะทําใหไดขอมูลไมครบถวนและถูกตองตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว ซ่ึงจะสงผลตอความนาเชื่อถือของฐานขอมูลตอไป

109

Page 113:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

3. เจาหนาท่ีไมดําเนินงานใหเปนไปตามแนวทางและคูมือท่ีกําหนด

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณ กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี ้

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตาง ๆ (เชิงคุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอยขางสูงหรือบอย ๆ 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนาน ๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

คําอธิบาย : การสํารวจทรัพยากรปาไมประกอบดวยการเก็บขอมูลภาคสนาม ซ่ึงมีเนื้อหา/รายละเอียดและวิธีในการวางแปลงและเก็บขอมูลตัวอยางคอนขางมาก ดังนั้น การไมดําเนินงานตามแนวทางและคูมือท่ีกําหนด อาจเนื่องมาจาก 1. เปนเจาหนาท่ีท่ีมาปฏิบัติงานใหมยังไมเขาใจเก่ียวกับแนวทางและข้ันตอนในสํารวจ ดังนั้น เจาหนาท่ีจึงควรจะตองทําความเขาใจเก่ียวกับใหถูกตองการปฏิบัติงานใหถองแทกอนออกปฏิบัติงานภาคสนาม และ 2. ขอมูลท่ีทําการเก็บมีจํานวนมาก สภาพพ้ืนท่ีในการปฏิบัติงานคอนขางยากซ่ึงอาจมีสาเหตุจากแปลงตัวอยางตั้งอยูในพ้ืนท่ีสูง มีความลาดชันมาก มีตนไมจํานวนมากในแปลง เปนตน ทําใหมีการคลาดเคลื่อนในเวลาจัดเก็บขอมูล

ผลกระทบดานการดําเนินงาน (กระบวนการ)

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอความถูกตองของฐานขอมูลทรัพยากรปาไมรุนแรงมาก เชน ตองออกไปเก็บขอมูลใหม

4 สูง มีผลกระทบตอความถูกตองของฐานขอมูลทรัพยากรปาไมรุนแรง เชน ตองตรวจเช็คขอมูลซํ้า อยางนอย 3 ครั้ง

3 ปานกลาง มีการชะงักงันอยางมีนัยสําคัญตอความถูกตองของฐานขอมูลทรัพยากรปาไม

2 นอย มีผลกระทบเล็กนอยตอความถูกตองของฐานขอมูลทรัพยากรปาไม 1 นอยมาก ไมมีผลกระทบตอความถูกตองของฐานขอมูลทรัพยากรปาไม

คําอธิบาย : หากเจาหนาท่ีไมจัดเก็บรายละเอียดและกรอกขอมูลตามแบบบันทึกขอมูลตามแนวทางท่ีกําหนดจะสงผลตอการวิเคราะหผลขอมูล เนื่องจากทําใหผลการวิเคราะหคลาดเคลื่อน ซ่ึงสงผลตอการประเมินสถานภาพ/ศักยภาพของทรัพยากรปาไม ความคลาดเคลื่อนรวมถึงความนาเชื่อถือของฐานขอมูลการสํารวจทรัพยากรปาไม

110

Page 114:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

4) ขาดบุคลากรท่ีมีความชํานาญในการจําแนกพันธุไม

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณ กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี ้

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตาง ๆ (เชิงคุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูงหรือบอย ๆ 3 ปานกลาง อาจจะมีโอกาสเกิดแตนาน ๆ ครั้ง 2 นอย มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 1 นอยมาก ไมมีโอกาสเกิดข้ึนบาง

คําอธิบาย : การสํารวจทรัพยากรปาไมเปนการสํารวจเก็บขอมูลเก่ียวกับความหลากหลายดานพืชพรรณ ซ่ึงประกอบดวย ไมยืนตน ไมพุม ไมพ้ืนลาง เถาวัลย และไมไผ เจาหนาท่ีท่ีปฏิบัติงานสํารวจทรัพยากรปาไมสวนใหญมีความรูและชํานาญเก่ียวกับพันธุไมยืนตนสําคัญในแตละสภาพปา ผลกระทบดานการดําเนินงาน :

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอกระบวนการและงานการเก็บขอมูลพันธุไมรุนแรงมาก เชน คียพันธุไมผิด habit

4 สูง มีผลกระทบตอกระบวนการและงานการเก็บขอมูลพันธุไมรุนแรง เชน คียพันธุไมผิดวงศ

3 ปานกลาง มีการชะงักงันอยางมีนัยสําคัญของกระบวนการและงานการเก็บขอมูลพันธุไม

2 นอย มีผลกระทบเล็กนอยตอกระบวนการและงานการเก็บขอมูลพันธุไม 1 นอยมาก ไมมีการชะงักงันของงานการเก็บขอมูลพันธุไม

คําอธิบาย : การจําแนกชนิดพันธุไมผิดพลาดทําใหเกิดการคลาดเคลื่อนในการประเมินสถานภาพและศักยภาพของพืชพรรณซ่ึงสงผลกระทบตอความถูกตองของขอมูลและความเชื่อม่ันของหนวยงานอ่ืนในการนําฐานขอมูลการสํารวจทรัพยากรปาไมไปใชเปนขอมูลสนับสนุนในกิจกรรมท่ีเก่ียวของ

111

Page 115:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

5) ขอมูลคลาดเคลื่อนเนื่องจากอุปกรณ/เครื่องมือเสื่อมสภาพตามอายุการใชงาน

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณ กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี ้

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตาง ๆ (เชิงคุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูงหรือบอย ๆ 3 ปานกลาง อาจจะมีโอกาสเกิดแตนาน ๆ ครั้ง 2 นอย มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 1 นอยมาก ไมมีโอกาสเกิดข้ึนบาง

คําอธิบาย : การสํารวจทรัพยากรปาไมภาคสนามตองดําเนินงานอยางตอเนื่องและจําเปนตองใชอุปกรณ/เครื่องมือติดตอกันเปนระยะเวลานาน จึงสงผลใหอุปกรณ/เครื่องมือมีประสิทธิภาพและความถูกตองลดลง ประกอบกับอุปกรณ/เครื่องมือท่ีมีอยูไมเพียงพอสําหรับการปฏิบัติงาน ผลกระทบดานการดําเนินงาน :

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอกระบวนการและสํารวจตรวจวัดขอมูลตนไมรุนแรงมาก เชน ตองออกไปเก็บขอมูลใหม

4 สูง มีผลกระทบตอกระบวนการและสํารวจตรวจวัดขอมูลตนไมรุนแรง เชน ตองตรวจเช็คขอมูลซํ้า อยางนอย 3 ครั้ง

3 ปานกลาง มีการชะงักงันอยางมีนัยสําคัญของกระบวนการและการสํารวจตรวจวัดขอมูลตนไม

2 นอย มีผลกระทบเล็กนอยตอกระบวนการและการสํารวจตรวจวัดขอมูลตนไม 1 นอยมาก ไมมีการชะงักงันของการสํารวจตรวจวัดขอมูลตนไม

คําอธิบาย : การจัดทําฐานขอมูลทรัพยากรปาไมระดับประเทศจัดไดวาเปนขอมูลท่ีมีความสําคัญ ปจจุบันฐานขอมูลทรัพยากรปาไมถูกนําไปใชเปนขอมูลสนับสนุนกิจกรรมท่ีเก่ียวของ ไดแก กิจกรรมความหลากหลาย กิจกรรม Redd+ การเก็บกักคารบอน เปนตน ดังนั้น เพ่ือใหไดมาซ่ึงขอมูลท่ีมีความถูกตองนาเชื่อถือจึงจําเปนตองใชอุปกรณ/เครื่องมือท่ีมีประสิทธิภาพ

112

Page 116:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

6) โปรแกรมการนําเขาและวิเคราะหขอมูลขาดการพัฒนา

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณ กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี ้

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตาง ๆ (เชิงคุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูงหรือบอย ๆ 3 ปานกลาง อาจจะมีโอกาสเกิดแตนาน ๆ ครั้ง 2 นอย มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 1 นอยมาก ไมมีโอกาสเกิดข้ึนบาง

คําอธิบาย : กลุมสํารวจฯเริ่มนําโปรแกรมนําเขาขอมูลมาใชตั้งแต ป พ.ศ. 2547 การใชโปรแกรมฯจะชวยใหการบันทึกขอมูลมีความรวดเร็วและงายตอการสืบคนและแกไข ปจจุบันมีจํานวนแปลงสํารวจเพ่ิมมากจึงควรมีการพัฒนาโปรแกรมฯใหมีประสิทธิภาพในการทํางานมากข้ึนเพ่ือใหสอดคลองและเหมาะสมกับปริมาณขอมูลท่ีเพ่ิมมากข้ึน ผลกระทบดานการดําเนินงาน :

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอกระบวนการนําเขาและการวิเคราะหขอมูลรุนแรงมาก เชน นําเขาและการวิเคราะหขอมูลใหม

4 สูง มีผลกระทบตอกระบวนการนําเขาและการวิเคราะหขอมูลรุนแรง เชน ตองตรวจเช็คขอมูลซํ้า อยางนอย 3 ครั้ง

3 ปานกลาง มีการชะงักงันอยางมีนัยสําคัญตอกระบวนการนําเขาและการวิเคราะหขอมูล

2 นอย มีผลกระทบเล็กนอยตอกระบวนการนําเขาและการวิเคราะหขอมูล 1 นอยมาก ไมมีการชะงักงันของกระบวนการนําเขาและการวิเคราะหขอมูล

คําอธิบาย: ปจจุบันจํานวนแปลงสํารวจและขอมูลสํารวจทรัพยากรปาไมมีปริมาณมากข้ึน การตรวจเช็คความถูกตองของขอมูลจึงเปนสิ่งสําคัญ หากทําการพัฒนาโปรแกรมใหสามารถตรวจเช็คความถูกตองของขอมูลได จะลดความผิดพลาดและความคลาดเคลื่อนของการนําเขาและวิเคราะหขอมูล

113

Page 117:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

7) เจาหนาท่ีบันทึกขอมูลผิดพลาด

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณ กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี ้

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตาง ๆ (เชิงคุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูงหรือบอย ๆ 3 ปานกลาง อาจจะมีโอกาสเกิดแตนาน ๆ ครั้ง 2 นอย มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 1 นอยมาก ไมมีโอกาสเกิดข้ึนบาง

คําอธิบาย : ความผิดพลาดของการบันทึกขอมูล อาจเกิดจาก 1.ขอมูลในแบบบันทึกขอมูลผิดพลาด หรือ 2. เจาหนาท่ีบันทึกขอมูลผิดพลาด จึงควรทําการตรวจเช็คแบบบันทึกขอมูลกอนการบันทึกขอมูล และตรวจเช็คขอมูลหลังการบันทึกขอมูล ผลกระทบดานการดําเนินงาน :

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอกระบวนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลรุนแรงมาก เชน นําเขาและทําการวิเคราะหขอมูลใหม

4 สูง มีผลกระทบตอกระบวนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลรุนแรง เชน ตองตรวจทาน/เช็คขอมูลซ้ํา อยางนอย 3 คร้ัง

3 ปานกลาง มีการชะงักงันอยางมีนัยสําคัญของกระบวนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูล

2 นอย มีผลกระทบเล็กนอยตอกระบวนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูล 1 นอยมาก ไมมีการชะงักงันของกระบวนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูล

คําอธิบาย : ความผิดพลาดของขอมูลทําใหฐานขอมูลผิดพลาด รวมถึงทําใหการประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรปาไมมีความคลาดเคลื่อนไปดวย

114

Page 118:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

8) อุปกรณ/เครื่องมือเสื่อมสภาพและท่ีมีอยูไมเพียงพอและยังไมไดรับการจัดสรรงบประมาณเพ่ือจัดหาครุภัณฑทดแทน

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณ กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี ้

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตาง ๆ (เชิงคุณภาพ) ระดับ โอกาสที่จะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูงหรือบอย ๆ 3 ปานกลาง อาจจะมีโอกาสเกิดแตนาน ๆ คร้ัง 2 นอย มีโอกาสเกิดบางเปนบางคร้ัง 1 นอยมาก ไมมีโอกาสเกิดข้ึนบาง

คําอธิบาย : เนื่องจากการสํารวจทรัพยากรปาไมภาคสนามตองดําเนินงานอยางตอเนื่องและจําเปนตองใชอุปกรณ/เครื่องมือติดตอกันเปนระยะเวลานาน จึงสงผลใหอุปกรณ/เครื่องมือมีประสิทธิภาพและความถูกตองลดลง ประกอบกับอุปกรณ/เครื่องมือท่ีมีอยูไมเพียงพอสําหรับการปฏิบัติงาน

ผลกระทบดานการดําเนินงาน :

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอกระบวนการและการดําเนินงานรุนแรงมาก เชน หยุดดําเนินการมากกวา 1 เดือน

4 สูง มีผลกระทบตอกระบวนการและการดําเนินงานรุนแรง เชน หยุดดําเนินการ 1 เดือน

3 ปานกลาง มีการชะงักงันอยางมีนัยสําคัญของกระบวนการและการดําเนินงาน 2 นอย มีผลกระทบเล็กนอยตอกระบวนการและการดําเนินงาน 1 นอยมาก ไมมีการชะงักงันของกระบวนการและการดําเนินงาน

คําอธิบาย : การจัดทําฐานขอมูลทรัพยากรปาไมระดับประเทศจัดไดวาเปนขอมูลท่ีมีความสําคัญ ปจจุบันฐานขอมูลทรัพยากรปาไมถูกนําไปใชเปนขอมูลสนับสนุนกิจกรรมท่ีเก่ียวของ ไดแก กิจกรรมความหลากหลาย กิจกรรม Redd+ การเก็บกักคารบอน เปนตน ดังนั้น เพ่ือใหไดมาซ่ึงขอมูลท่ีมีความถูกตองนาเชื่อถือจึงจําเปนตองใชอุปกรณ/เครื่องมือท่ีมีประสิทธิภาพ หากอุปกรณ/เครื่องมือชํารุดไมสามารถซอมใหใชการได ควรไดรับการพิจารณาใหไดรับงบประมาณในการจัดซ้ือทดแทน

115

Page 119:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.4 การกําหนดมาตรการ/กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง กลยุทธท่ีใชในการจัดการ

ความเสี่ยง กิจกรรมควบคุม

ความเสี่ยง ประมาณการ งบประมาณ

ผูรับผิดชอบ

1. ความเสี่ยงดานกลยุทธ หลักการมีสวนรวม การประสานงานกับหนวยงานท่ีรับผิดชอบงานสํารวจฯในการกําหนดพ้ืนท่ีปฏิบัติงานมีความ ลาชา

ยอมรับความเสี่ยง

- สวนกลางรวมวางแผนในกําหนดพ้ืนท่ีปฏิบัติงานกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของแตเน่ินๆ

งบประมาณ

ปกติ

- กลุมสํารวจทรัพยากรปาไม

2. ความเสี่ยงดานการดําเนินงาน

หลักรับผิดชอบ หนวยงานท่ีรับผิดชอบงานสํารวจฯ มีการ สับเปลี่ยนเจาหนาท่ีทําใหการดําเนินงานไมตอเน่ือง

ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม)

- จัดใหมีการประชุม เพ่ือซักซอมความเขาใจเกี่ยวกับแนวทาง/วิธีการปฏิบัติ งาน ใหเปนไปในแนวทางเดียวกัน

งบประมาณ

ปกติ

- กลุมสํารวจทรัพยากรปาไม - สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ 1-16

หลักประสิทธิภาพ ชนิดพันธุไมมีความหลากหลายสูง เจาหนาท่ีไมสามารถจําแนกชนิดไดหมด

ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง)

- ใหเจาหนาท่ีเขารับการฝกอบรมทางดานพฤกษศาสตร

งบประมาณ

ปกติ

- กลุมสํารวจทรัพยากรปาไม - สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ 1-16

หลักประสิทธิภาพ ความคลาดเคลื่อนจากประสิทธิภาพของอุปกรณ/เครื่องมือเน่ืองจากมีอายุการใชงาน มานานแลว

ควบคุมความเสี่ยง

(มีแผนควบคุมความเสี่ยง)

- ตรวจสอบและเช็ค อุปกรณ เครื่องมือกอนและหลังการปฏิบัติงานทุกครั้ง

งบประมาณ

ปกติ

- กลุมสํารวจทรัพยากรปาไม - สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ 1-16

หลักตอบสนอง การสํารวจและจัดเก็บขอมูลไมเปนไปตามแนวทางและคูมือท่ีกําหนด

ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง)

- จัดใหมีการประชุม เพ่ือย้ําเตือนใหเจาหนาท่ีไดมีความรู/เขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญในการปฏิบัติงาน และประโยชนของขอมูลสํารวจทรัพยากร ปาไม

งบประมาณ

ปกติ

- กลุมสํารวจทรัพยากรปาไม - สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ 1-16

หลักรับผิดชอบ พ้ืนท่ีท่ีดําเนินงานมีความเสี่ยงตอความปลอดภัย

ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง)

- ตรวจสอบขอมูลขาวสารและประสานงานกับเจาหนาท่ีในพ้ืนท่ี

งบประมาณ

ปกติ

- กลุมสํารวจทรัพยากรปาไม - สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ 1-16

หลักประสิทธิภาพ โปรแกรมการนําเขาและวิเคราะหขอมูลขาดการพัฒนา

ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง)

- พัฒนาโปรแกรมฯ ใหมีการแจงเตือนเมื่อมีการปอนขอมูลผิดพลาด

งบประมาณ

ปกติ

- กลุมสํารวจทรัพยากรปาไม - สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ 1-16

116

Page 120:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ประเภทความเสี่ยง

ปจจัยเสี่ยง กลยุทธท่ีใชในการจัดการ

ความเสี่ยง กิจกรรมควบคุม

ความเสี่ยง ประมาณการ งบประมาณ

ผูรับผิดชอบ

หลักรับผิดชอบ ความคลาดเคลื่อนในการจัดเก็บและบันทึกขอมูล

ควบคุมความเสี่ยง

(มีแผนควบคุมความเสี่ยง)

- ทําการตรวจสอบขอมูลใหถูกตองอยางนอย 2 ครั้ง หลังจากนําเขาขอมูล

งบประมาณ

ปกติ

- กลุมสํารวจทรัพยากรปาไม - สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ 1-16

3. ความเสี่ยงดานการเงิน

หลักประสิทธิภาพ อุปกรณ/เครื่องมือ ไมเพียงพอแกการปฏิบัติงาน และท่ีมีอยูมีอายุการใชงานมานานแลว

ควบคุมความเสี่ยง

(มีแผนควบคุมความเสี่ยง)

ของบลงทุนเพ่ิมในคําของบประมาณประจําปในแตละป

งบประมาณ

ปกติ

- กลุมสํารวจทรัพยากรปาไม

117

Page 121:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.5 แผนปฏิบัติการบริหารความเสี่ยง กิจกรรมหลัก จัดทําฐานขอมูล กิจกรรมยอย สํารวจทรัพยากรปาไม ความเสี่ยง กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง ระยะเวลา งบประมาณ

(บาท) ผลผลิต/ผลลัพธ/

ตัวช้ีวัด ผูรับผิดชอบ

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ระดับ 2. ความเสี่ยงดานการดําเนินงาน

หลักประสิทธิภาพ ชนิดพันธุไมมีความหลากหลายสูง เจาหนาท่ีไมสามารถจําแนกชนิดไดหมด

สูง

- ใหเจาหนาท่ีเขารับการฝกอบรมทางดานพฤกษศาสตร

(เริ่ม 1 ต.ค.2559 – 30 ก.ย.2560)

งบประมาณ

ปกติ

- ขอมูลพันธุไมมีความถูกตองยิ่งข้ึน

- กลุมสํารวจทรัพยากร

ปาไม - สบอ. 1-16

หลักประสิทธิภาพ

ความคลาดเคลื่อนจากประสิทธิภาพของอุปกรณ/เครื่องมือ เน่ืองจากมีอายุการใชงานนานแลว

สูง

- ตรวจสอบและเช็ค อุปกรณ เครื่องมือกอนและหลังการปฏิบัติงานทุกครั้ง

(เริ่ม 1 ต.ค.2559 –

30 ก.ย.2560)

งบประมาณ

ปกติ

- การปฏิบัติงานดําเนินไปอยางราบรื่น/ ขอมูลมีความถูกตอง

- กลุมสํารวจทรัพยากร

ปาไม - สบอ. 1-16

หลักตอบสนอง การสํารวจและจัดเก็บขอมูลไมเปนไปตามแนวทางและคูมือท่ีกําหนด

- สรางความตระหนักใหเจาหนาท่ีไดมีความรู/เขาใจถึงความสําคัญในการปฏิบัติงาน และประโยชนของขอมูลสํารวจทรัพยากรปาไม

(เริ่ม 1 ต.ค.2559 –

30 ก.ย.2560)

งบประมาณ

ปกติ

- การดําเนินงานสําเร็จและถูกตองตามแผนและวัตถุประสงคท่ีกําหนด

- กลุมสํารวจทรัพยากร

ปาไม - สบอ. 1-16

หลักรับผิดชอบ พ้ืนท่ีท่ีดําเนินงานมีความเสี่ยงตอความปลอดภัย

สูง

- ตรวจเช็คขอมูล/ขาวสารและประสานงานกับเจาหนาท่ีในพ้ืนท่ี

(เริ่ม 1 ต.ค.2559 –

30 ก.ย.2560)

งบประมาณ

ปกติ

การดําเนินสําเร็จและถูกตองตามแผนและวัตถุประสงคท่ีกําหนด

- กลุมสํารวจทรัพยากร

ปาไม - สบอ. 1-16

หลักประสิทธิภาพ โปรแกรมการนําเขาและวิเคราะหขอมูลขาดการพัฒนา

สูง

- พัฒนาโปรแกรมฯ ใหมีการแจงเตือนเมื่อมีการปอนขอมูลผิดพลาด

(เริ่ม 1 ต.ค.2559 –

30 ก.ย.2560)

งบประมาณ

ปกติ

ฐานขอมูลมีความถูกตองและแมนยํา

- กลุมสํารวจทรัพยากร

ปาไม - สบอ. 1-16

หลักรับผิดชอบ ความคลาดเคลื่อนในการจัดเก็บและบันทึกขอมูล

สูง

- ทําการตรวจสอบขอมูลอยางนอย 2 ครั้ง ใหถูกตองกอนนําเขา

(เริ่ม 1 ต.ค.2559 –

30 ก.ย.2560)

งบประมาณ

ปกติ

ฐานขอมูลมีความถูกตองและแมนยํา

- กลุมสํารวจทรัพยากร

ปาไม สบอ. 1-16

118

Page 122:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ความเสี่ยง กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง ระยะเวลา งบประมาณ

(บาท) ผลผลิต/ผลลัพธ/

ตัวช้ีวัด ผูรับผิดชอบ

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ระดับ 3. ความเสี่ยงดานการเงิน

หลักประสิทธิภาพ อุปกรณ/เครื่องมือใหพอเพียงแกการปฏิบัติงาน และท่ีมีอยูมีอายุการใชงานนานแลว

สูง - ของบลงทุนเพ่ิม ในคําของบประมาณประจําปในแตละป

(เริ่ม 1 ต.ค.2559 –

30 ก.ย.2560)

งบประมาณ

ปกติ

การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน และขอมูลท่ีไดมีความถูกตองและแมนยํา

- กลุมสํารวจทรัพยากร

ปาไม

119

Page 123:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ผลการวิเคราะหความเส่ียงในแตละกิจกรรม การกําหนดหลักเกณฑในการวิเคราะหความเส่ียงของแผนงาน/โครงการ

2. ยุทธศาสตรดานการสรางการเจริญเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม

กิจกรรหลัก/กิจกรรมยอย : โครงการรักษาความม่ันคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ/กิจกรรมปองกันไมพะยูง และไมมีคา

วัตถุประสงคและเปาหมายของกิจกรรม : เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการปองกันไมพะยูงและไมมีคา

ตัวช้ีวัด (คาเปาหมาย) พ้ืนท่ีปาอนุรักษท่ีมีไมพะยูงและไมมีคาไดรับการปองกัน จํานวน 38 พ้ืนท่ี

ข้ันตอนการดําเนินงาน : 1. ตรวจปราบปรามการบุกรุกในพ้ืนท่ีไมใหมีการลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคา 2. สนธิกําลังเจาหนาท่ีปาไม ทหาร ตํารวจ และหนวยงานอ่ืนในพ้ืนท่ีเพ่ือรวมกันปองกันและ ปราบปรามการกระทําผิดกฎหมายเก่ียวกับการปาไม 3. สืบสวน จับกุม ปราบปรามผูกระทําตามกฎหมายเก่ียวกับการปาไม 4. ปฏิบัติการดานการขาว และประชาสัมพันธในพ้ืนท่ีเปาหมาย เพ่ือสรางเครือขายการปองกัน คุมครอง

120

Page 124:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.2 การระบุปจจัยเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตรการอนุรักษ ฟนฟูและปองกันทรัพยากรธรรมชาต ิโครงการรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาต ิ

กิจกรรมปองกันไมพะยูงและไมมีคา

หนวยงานท่ีรับผิดชอบ : สํานักปองกัน ปรามปราบ และควบคุมไฟปา

ประเด็นการระบุความเสี่ยง หลักธรรมาภิบาล

ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ตอบสนอง รับผิดชอบ โปรงใส มีสวนรวม กระจายอํานาจ นิติธรรม เสมอภาค ฉันทามติ

1. ความเสี่ยงดานกลยุทธ กําหนดแนวทางปฏิบัติงานเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการปองกันไมพะยูงและไมมีคาพ้ืนท่ีปาอนุรักษ

การดําเนินงานไมเปนไปตามแผนงานท่ีกําหนด

2. ความเสี่ยงดานการดําเนินงาน ข้ันตอนการตรวจปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม การลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคา 2.1 ใหเจาหนาท่ีลาดตระเวนตรวจสอบพ้ืนท่ีในความรับผิดชอบเปนประจําในพ้ืนท่ีจุดเสี่ยงลอแหลมท่ีมีการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมและการลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคา

ความไมปลอดภัยในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ี

การไมไดรับความรวมมือจากหนวยงานอ่ืน

121

Page 125:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ประเด็นการระบุความเสี่ยง หลักธรรมาภิบาล

ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ตอบสนอง รับผิดชอบ โปรงใส มีสวนรวม กระจายอํานาจ นิติธรรม เสมอภาค ฉันทามติ

2.2 จัดใหมีการทบทวนระเบียบกฎหมายและข้ันตอนการปฏิบัติงานใหกับเจาหนาท่ีดานการตรวจปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมและการลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคา

เจาหนาท่ีท่ีปฏิบัติงานบางสวนขาดความชํานาญในเรื่องระเบียบกฎหมาย และข้ันตอนการปฏิบัติงานการตรวจปราบปราม

2.3 เตรียมความพรอม วัสดุอุปกรณสําหรับการปฏิบัติงาน

วัสดุ อุปกรณสําหรับการตรวจปราบปรามการบุกรุกทรัพยากรปาไมการลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคามีสภาพไมพรอมใชงาน

3. ความเสี่ยงดานการเงิน การเบิกจายงบประมารณไมทันตามแผนการดําเนินงานและแผนการใชจายเงินท่ีกําหนด

ผลการเบิกจายเงินงบประมาณไมเปนไปตามแผนท่ีกําหนด

4. ความเสี่ยงดานการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ หนวยงานภายนอกขาดความรู ความเขาใจในเรื่องกฎหมายและระเบียบเก่ียวกับการปาไม

การไมปฏิบัติตามระเบียบกฎหมายท่ีเก่ียวกับการปาไม

122

Page 126:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.3 การประเมินความเสี่ยงและกลยุทธท่ีใชในการจัดการความเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ คะแนน ระดับประเมิน คาคะแนนท่ียอมรับได กลยุทธท่ีใชในการจัดการความเสี่ยง

(โอกาส x ผลกระทบ) 1.ความเสี่ยงดานกลยุทธ กําหนดแนวทางการปฏิบัติงานเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการปองกันไมพะยูงและไมมีคาในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ

ดานประสิทธิผล การดําเนินงานไมเปนไปตามแผนงานท่ีกําหนด

2

2

4

ต่ํา

(2x2)=4

ยอมรับความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเสี่ยง

(มีแผนควบคุมความเสี่ยง) ถายโอนความเสี่ยง

2. ความเสี่ยงดานการดําเนินงาน ข้ันตอนการตรวจปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม การลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคา 2.1 ใหเจาหนาท่ีลาดตระเวนตรวจสอบพ้ืนท่ีปาในความรับผิดชอบเปนประจําใน

ดานความรับผิดชอบ ความไมปลอดภัยในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ี

5

3

15

สูง

(2x2)=4

ยอมรับความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง) ถายโอนความเสี่ยง

ดานการมีสวนรวม การไมไดรับความรวมมือจากหนวยงานอ่ืน

4 4 12 สูง (2x2)=4 ยอมรับความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง) ถายโอนความเสี่ยง

123

Page 127:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

การประเมินความเสี่ยง

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ คะแนน ระดับประเมิน คาคะแนนท่ียอมรับได กลยุทธท่ีใชในการจัดการความเสี่ยง

(โอกาส x ผลกระทบ) 2.2 จัดใหมีการทบทวนระเบียบ กฎหมาย และข้ันตอนการปฏิบัติงานใหกับเจาหนาท่ีดานการปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมและการลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคา

ดานประสิทธิผล เจาหนาท่ีปฏิบัติงานบางสวนขาดความชํานาญในเรื่องระเบียบกฎหมายและข้ันตอนการปฏิบัติงานตรวจปราบปราม

3

4

12

สูง

(3x2)=6

ยอมรับความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง) ถายโอนความเสี่ยง

2.3 เตรียมความพรอม วัสดุอุปกรณสําหรับการปฏิบัติงาน

ดานประสิทธิภาพ วัสดุ อุปกรณสําหรับการตรวจปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมและสัตวปาการลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคามีสภาพไมพรอมใชงาน

3

3

9

สูง

(3x2)=6

ยอมรับความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง) ถายโอนความเสี่ยง

3. ความเสี่ยงดานการเงิน การเบิกจายงบประมาณไมทันตามแผนการดําเนินงานและแผนการใชจายเงินท่ีกําหนด

ดานประสิทธิภาพ ผลการเบิกจายเงินงบประมาณไมเปนไปตามแผนท่ีกําหนด

2

2

4

ต่ํา

(2x2)=4

ยอมรับความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง) ถายโอนความเสี่ยง

4. ความเสี่ยงดานการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ หนวยงานภายนอกขาดความรู ความเขาใจในเรื่องกฎหมายและระเบียบเก่ียวกับการปาไม

หลักนิติธรรม การไมปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมายท่ีเก่ียวกับการปาไม

3

3

9

สูง

(3x2)=6

ยอมรับความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง) ถายโอนความเสี่ยง

124

Page 128:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

เกณฑการประเมินความเส่ียง

1.ความเสี่ยงดานกลยุทธ 1.1 การดําเนินงานไมเปนไปตามแผนท่ีกําหนด ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี้

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (คุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีเกิด อธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูงหรือบอย ๆ3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี้

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ อธิบาย

5 สูงมาก มีผลตอเปาหมายและช่ือเสียงขององคกรในระดับสูงมาก 4 สูง มีผลตอเปาหมายและช่ือเสียงขององคกรในระดับสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอเปาหมายบางอยางและช่ือเสียงขององคกรบาง 2 นอย มีผลกระทบตอเปาหมายและช่ือเสียงขององคกรนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอเปาหมายและช่ือเสียงขององคกรเลย

2. ความเสี่ยงดานการดําเนินงาน กระบวนการตรวจปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม การลักลอบ

ตัดไมพะยูงและไมมีคา

2.1 ใหเจาหนาท่ีลาดตระเวนตรวจสอบพ้ืนท่ีในความรับผิดชอบเปนประจําในพ้ืนท่ีจุดเสี่ยงลอแหลมท่ีมีการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมและการลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคา

2.1.1 ความไมปลอดภัยของเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงาน ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ ( Likelihood) กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี้

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (เชิงปริมาณ) ระดับ โอกาสท่ีเกิด อธิบาย

5 สูงมาก 5 ครั้ง/ป 4 สูง 4 ครั้ง/ป 3 ปานกลาง 3 ครั้ง/ป 2 นอย 2 ครั้ง/ป 1 นอยมาก 1 ครั้ง/ป

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ( Impact) กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี้

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ อธิบาย

5 รุนแรงท่ีสุด มีผลการสูญเสียทรัพยสินอยางมหันต มีการบาดเจ็บถึงเสียชีวิต 4 คอนขางรุนแรง มีผลการสูญเสียทรัพยสินมาก มีการบาดเจ็บสาหัสถึงข้ันพักงาน 3 ปานกลาง มีผลการสูญเสียทรัพยสินมาก มีการบาดเจ็บสาหัสถึงข้ันหยุดงาน 2 นอย มีผลการสูญเสียทรัพยสินพอสมควร มีการบาดเจ็บรุนแรง 1 นอยมาก มีผลการสูญเสียทรัพยสินเล็กนอย ไมมีการบาดเจ็บรุนแรง

125

Page 129:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

2.1.2 การไมไดรับความรวมมือจากหนวยงานอ่ืน ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี้

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (คุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีเกิด อธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูงหรือบอย ๆ3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี้

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ อธิบาย

5 สูงมาก มีผลตอเปาหมายและช่ือเสียงขององคกรในระดับสูงมาก 4 สูง มีผลตอเปาหมายและช่ือเสียงขององคกรในระดับสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอเปาหมายบางอยางและช่ือเสียงขององคกรบาง 2 นอย มีผลกระทบตอเปาหมายและช่ือเสียงขององคกรนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอเปาหมายและช่ือเสียงขององคกรเลย

ข้ันตอนท่ี 2 จัดใหมีทบทวนระเบียบกฎหมาย และข้ันตอนการปฏิบัติงานการตรวจปราบปรามการ บุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมและสัตวปา การลักลอบตัดไมพะยูงแลไมมีคา 2.2 เจาหนาท่ีท่ีปฏิบัติงานบางสวนขาดความชํานาญในเรื่องระเบียบกฎหมาย และข้ันตอนวิธีการปฏิบัติงานการตรวจปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมและสัตวปา การลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคา ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี้

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (คุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีเกิด อธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูงหรือบอย ๆ3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ( Impact) กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี้ ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง

ระดับ ผลกระทบ อธิบาย 5 สูงมาก มีผลกระทบตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานสูงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานปานกลาง 2 นอย มีผลกระทบตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

126

Page 130:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ข้ันตอนท่ี 3 เตรียมความพรอม วัสดุ อุปกรณ สําหรับการปฏิบัติงาน

2.3 วัสดุ อุปกรณ สําหรับการตรวจปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม การลักลอบตัดไมพะยูง

และไมมีคา มีสภาพไมพรอมใชงาน

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ ( Likelihood) กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี้

ระดับความรุนแรงของผลกระทบความเสี่ยง (เชิงปริมาณ) ระดับ ผลกระทบ อธิบาย

5 สูงมาก ไมมีการตรวจสอบบํารุง วัสดุ อุปกรณใหมีสภาพพรอมใชงาน 4 สูง ตรวจสอบบํารุงวัสดุ อุปกรณ ใหมีสภาพพรอมใชงาน 6 ครั้งตอป 3 ปานกลาง ตรวจสอบบํารุงวัสดุ อุปกรณ ใหมีสภาพพรอมใชงาน 9 ครั้งตอป 2 นอย ตรวจสอบบํารุงวัสดุ อุปกรณ ใหมีสภาพพรอมใชงาน 12 ครั้งตอป 1 นอยมาก ตรวจสอบบํารุงวัสดุ อุปกรณ ใหมีสภาพพรอมใชงานมากกวา 12 ครั้งตอป

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ( Impact) กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี้

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ อธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานสูงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานปานกลาง 2 นอย มีผลกระทบตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

3. ดานการเงิน

3.1 การเบิกจายงบประมาณไมทันตามแผนงาน ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ ( Likelihood) กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี้

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (คุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีเกิด อธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูงหรือบอย ๆ3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ( Impact) กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี้

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ อธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอเปาหมายขององคกรในระดับสูงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอเปาหมายขององคกรในระดับสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอเปาหมายบางอยางขององคกรบาง 2 นอย มีผลกระทบตอเปาหมายขององคกรนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอเปาหมายขององคกรเลย

127

Page 131:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

4. ดานการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ

4.1 การไมปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมายท่ีเก่ียวกับการปาไม ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ ( Likelihood) กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี้

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (คุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีเกิด อธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูงหรือบอย ๆ3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ( Impact) กําหนดเกณฑไว 5 ระดับ ดังนี้

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ อธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอเปาหมายขององคกรในระดับสูงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอเปาหมายขององคกรในระดับสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอเปาหมายบางอยางขององคกรบาง 2 นอย มีผลกระทบตอเปาหมายขององคกรนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอเปาหมายขององคกรเลย

128

Page 132:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.4 การกําหนดมาตรการ/กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง กลยุทธท่ีใชในการจัดการ

ความเสี่ยง กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง งบประมาณ ผูรับผิดชอบ 1.ความเสี่ยงดานกลยุทธ กําหนดแนวทางการปฏิบัติงานเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการปองกันไมพะยูงและไมมีคาในพ้ืนท่ีปาอนุรักษ

ดานประสิทธิผล การดําเนินงานไมเปนไปตามแผนงานท่ีกําหนด

ยอมรับความเสี่ยง

-

งบประมาณปกต ิ

สํานักปองกัน ปราบปราม และควบคุมไฟปา สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ี1,2,3,7,8,9,10 และสาขาสระบุร ี

2. ความเสี่ยงดานการดําเนินงาน ข้ันตอนการตรวจปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม การลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคา 2.1 ใหเจาหนาท่ีลาดตระเวนตรวจสอบพ้ืนท่ีปาในความรับผิดชอบเปนประจําในพ้ืนท่ีจุดเสี่ยงลอแหลมท่ีมีการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม และการลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคา

ดานความรับผิดชอบ ความไมปลอดภัยในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ี

ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง)

1.ฝกอบรมเสริมสมรรถนะการปฏิบัติงานดานการปองกันและปราบปราม 2. ฝกอบรมยุทธวิธีในการลาดตระเวน 3. ประสานหนวยงานท่ีเก่ียวของกับการปฏิบัติงาน เชน ทหาร ตํารวจ

งบประมาณปกต ิ

สํานักปองกัน ปราบปราม และควบคุมไฟปา สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ี 1,2,3,7,8,9,10 และสาขาสระบุร ี

ดานการมีสวนรวม การไมไดรับความรวมมือจากหนวยงานอ่ืน

ควบคุมความเสี่ยง

(มีแผนควบคุมความเสี่ยง)

1. ประชาสัมพันธสรางเครือขายดานการปองกันอยางตอเน่ือง

งบประมาณปกต ิ

สํานักปองกัน ปราบปราม และควบคุมไฟปา สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ี 1,2,3,7,8,9,10 และสาขาสระบุร ี

129

Page 133:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง กลยุทธท่ีใชในการจัดการ

ความเสี่ยง กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง งบประมาณ ผูรับผิดชอบ 2.2 จัดใหมีการทบทวนระเบียบ กฎหมายและข้ันตอนการปฏิบัติงานใหกับเจาหนาท่ีดานการตรวจปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมและการลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคา

ดานประสิทธิผล เจาหนาท่ีท่ีปฏิบัติงานบางสวนขาดความชํานาญในเรื่องระเบียบ กฎหมายและข้ันตอนการปฏิบัติงานตรวจปราบปราม

ควบคุมความเสี่ยง

(มีแผนควบคุมความเสี่ยง)

1. มีการซักซอมเรื่องกฎหมายข้ันตอนการปฏิบัติงานการตรวจปราบปรามการบุกรุกและการลักลอบตัดไมพะยูง 2. มีคูมือท่ีใชสําหรับการปฏิบัติงานดานการปองกันและปราบปราม

งบประมาณปกต ิ

สํานักปองกัน ปราบปราม และควบคุมไฟปา สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ี 1,2,3,7,8,9,10 และสาขาสระบุร ี

2.3 เตรียมความพรอม วัสด ุอุปกรณสําหรับการปฏิบัติงาน

ดานประสิทธิภาพ วัสดุ อุปกรณสําหรับการตรวจปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมและสัตวปา การลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคามีสภาพไมพรอมใชงาน

ยอมรับความเสี่ยง

(มีแผนควบคุมความเสี่ยง)

1.ตรวจสอบบํารุงวัสด ุอุปกรณใหมีสภาพพรอมใชงานอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง 2. ใหมีการทบทวนการใชอาวุธสําหรับการปฏิบัติงาน

งบประมาณปกต ิ

สํานักปองกัน ปราบปราม และควบคุมไฟปา สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ี 1,2,3,7,8,9,10 และสาขาสระบุร ี

3. ความเสี่ยงดานการเงิน การเบิกจายงบประมาณไมทันตามแผนการดําเนินงานและแผนการใชจายเงินท่ีกําหนด

ดานประสิทธิภาพ ผลการเบิกจายเงินงบประมาณไมเปนไปตามแผนท่ีกําหนด

ยอมรับความเสี่ยง - งบประมาณปกต ิ

สํานักปองกัน ปราบปราม และควบคุมไฟปา สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ี 1,2,3,7,8,9,10 และสาขาสระบุร ี

130

Page 134:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง กลยุทธท่ีใชในการจัดการ

ความเสี่ยง กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง งบประมาณ ผูรับผิดชอบ 4. ความเสี่ยงดานการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ หนวยงานภายนอกขาดความรู ความเขาใจในเรื่องกฎหมายและระเบียบเก่ียวกับการปาไม

หลักนิติธรรม การไมปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมายท่ีเก่ียวกับการปาไม

ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม)

1. ประชาสัมพันธสรางความเขาใจตอสาธารณชนในบทบาทและหนาท่ีของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช 2. ฝกอบรมทบทวนและสรางเครือขายดานการปองกันอยางตอเน่ือง

งบประมาณปกต ิ

สํานักปองกัน ปราบปราม และควบคุมไฟปา สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ี 1,2,3,7,8,9,10 และสาขาสระบุร ี

131

Page 135:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.5 แผนปฏิบัติการบริหารความเสี่ยง กิจกรรมปองกันไมพะยูงและไมมีคา

ความเสี่ยง กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง ระยะเวลา งบประมาณ ผลผลิต/ตัวชี้วัด ผูรับผิดชอบ

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ระดับ 2. ความเสี่ยงดานการดําเนินงาน ข้ันตอนการตรวจปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม การลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคา 2.1 ใหเจาหนาท่ีลาดตระเวนตรวจสอบพ้ืนท่ีปาในความรับผิดชอบเปนประจําในพ้ืนท่ีจุดเสี่ยงลอแหลมท่ีมีการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม และการลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคา

ดานความรับผิดชอบ ความไมปลอดภัยในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ี

สูง 1.ฝกอบรมเสริมสมรรถนะการปฏิบัติงานดานการปองกันและปราบปราม 2. ฝกอบรมยุทธวิธีในการลาดตระเวน 3. ประสานหนวยงานท่ีเก่ียวของกับการปฏิบัติงาน เชน ทหาร ตํารวจ

ต.ค.59 - ก.ย.60

งบประมาณปกต ิ เจาหนาท่ีไดรับการฝกอบรมและทบทวนความรูปละ 1 ครั้ง ทําใหเจาหนาท่ีมีความรูและทักษะในการลาดตระเวนและเจาหนาท่ีมีความพรอมและปลอดภัยมากยิ่งข้ึน

สํานักปองกัน ปราบปรามและควบคุมไฟปา สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ี 1,2,3,7.8.9,10และสาขาสระบุร ี

ดานการมีสวนรวม การไมไดรับความรวมมือจากหนวยงานอ่ืน

สูง 1. ประชาสัมพันธสรางเครือขายดานการปองกันอยางตอเน่ือง

ต.ค.59 - ก.ย.60

งบประมาณปกต ิ มีการฝกอบรม ทบทวนเครือขายอาสาสมัครพิทักษปา และเสริมสรางเครือขายดานการปองกัน

สํานักปองกัน ปราบปรามและควบคุมไฟปา สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ี 1,2,3,7.8.9,10และสาขาสระบุร ี

2.2 จัดใหมีการทบทวนระเบียบ กฎหมายและข้ันตอนการปฏิบัติงานใหกับเจาหนาท่ีดานการปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมและการลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคา

ดานประสิทธิผล เจาหนาท่ีท่ีปฏิบัติงานบางสวนขาดความชํานาญในเรื่องระเบียบกฎหมายและข้ันตอนการปฏิบัติงานตรวจปราบปราม

สูง 1.มีการซักซอมเรื่องกฎหมายข้ันตอนการปฏิบัติงานการตรวจปราบปรามการบุกรุกและการลักลอบตัดไมพะยูง 2. มีคูมือท่ีใชสําหรับการปฏิบัติงานดานการปองกันและปราบปราม

ต.ค.59 - ก.ย.60

งบประมาณปกต ิ เจาหนาท่ีมีความรูและเขาใจเก่ียวกับกฎหมาย ข้ันตอนการปฏิบัติงานมากยิ่งข้ึน

สํานักปองกัน ปราบปรามและควบคุมไฟปา สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ี 1,2,3,7.8.9,10และสาขาสระบุร ี

132

Page 136:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ความเสี่ยง กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง ระยะเวลา งบประมาณ ผลผลิต/ตัวชี้วัด ผูรับผิดชอบ

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ระดับ 2.3 เตรียมความพรอม วัสดุ อุปกรณสําหรับการปฏิบัติงาน

ดานประสิทธิภาพ วัสดุ อุปกรณสําหรับการตรวจปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมและสัตวปาการลักลอบตัดไมพะยูงและไมมีคามีสภาพไมพรอมใชงาน

สูง 1. ตรวจสอบบํารุงวัสด ุอุปกรณใหมีสภาพพรอมใชงานอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง 2. ใหมีการทบทวนการใชอาวุธสําหรับการปฏิบัติงาน

ต.ค.59 - ก.ย.60

งบประมาณปกต ิ มีวัสดุ อุปกรณท่ีมีสภาพพรอมใชงานอยูเสมอ

สํานักปองกัน ปราบปรามและควบคุมไฟปา สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ี 1,2,3,7.8.9,10และสาขาสระบุร ี

4. ความเสี่ยงดานการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ หนวยงานภายนอกขาดความรู ความเขาใจในเรื่องกฎหมายและระเบียบเก่ียวกับการปาไม

หลักนิติธรรม การไมปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมายท่ีเก่ียวกับการปาไม

สูง 1. ประชาสัมพันธสรางความเขาใจตอสาธารณชนในบทบาทและหนาท่ีของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช 2. ฝกอบรมทบทวนและสรางเครือขายดานการปองกันอยางตอเน่ือง

ต.ค.59 - ก.ย.60

งบประมาณปกติ ประชาชนมีความรูความเขาใจเก่ียวกับกฎหมายปาไมและเกิดเครือขายในการปองกันทรัพยากร

สํานักปองกัน ปราบปรามและควบคุมไฟปา สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ี 1,2,3,7.8.9,10และสาขาสระบุร ี

133

Page 137:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ผลการวิเคราะหความเส่ียงในแตละกิจกรรม การกําหนดหลักเกณฑในการวิเคราะหความเส่ียงของแผนงาน/โครงการ

แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา กิจกรรมหลัก : โครงการท่ี ๑ โครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมน้ํา)ระยะท่ี 1 กิจกรรมยอย : กิจกรรมโครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมน้ํา)ระยะท่ี 1 เปาประสงค : เพ่ือฟนฟูพ้ืนท่ีอนุรักษท่ีเสื่อมโทรม คืนความอุดมสมบูรณใหแกระบบนิเวศ และเพ่ิมศักยภาพใน

การอนุรักษดินและน้ําของพ้ืนท่ีอนุรักษ หนวยงานท่ีรับผิดชอบ : สํานักฟนฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ

สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ี 1 9 10 11 12 13 14 และ 16 วัตถุประสงคและเปาหมายของกิจกรรม : โครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมน้ํา) ระยะท่ี 1มีวัตถุประสงคเพ่ือฟนฟูพ้ืนท่ีอนุรักษท่ีเสื่อมโทรม คืนความอุดมสมบูรณใหแกระบบนิเวศ และเพ่ิมศักยภาพในการอนุรักษดินและน้ําของพ้ืนท่ีอนุรักษ เพ่ิมความสามารถในการกักเก็บน้ําไวในดิน ลดการชะลางพังทลายของดินในพ้ืนท่ีตนน้ํา และทําใหมีน้ําไหลในลําธารสมํ่าเสมอตลอดป โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ดําเนินกิจกรรมปลูกปาท่ัวไปจํานวน 10,000 ไร ตัวช้ีวัด :

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. ฟนฟูสภาพปาเสื่อมโทรม จํานวน 10,000 ไร ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. ตนไมท่ีนําไปปลูก มีอัตราการรอดตายไมนอยกวา รอยละ 80

ข้ันตอนการดําเนินงาน : 1. การสํารวจ และคัดเลือกพ้ืนท่ีพ้ืนท่ีดําเนินงาน 2. เม่ือหนวยปฏิบัติไดรับแผนงานตามโครงการฯ จะดําเนินการปลูกปาตามข้ันตอน ดังนี้

1) การสํารวจและรังวัดแนวเขตพ้ืนท่ีแปลงปลูกปา ๒) การเตรียมพ้ืนท่ี ๓) การทําทางตรวจการ ๔) การทําแนวกันไฟ ๕) จัดเตรียมกลาไมสําหรับปลูก ๖) การทําหลักและปกหมายแนว ๗) การปลูกและขนกลา ๘) การดายวัชพืช ๙) การปลูกซอมและนับอัตราการรอดตาย

3. การรายงานผลการปฏิบัติงาน เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเม่ือดําเนินการตามข้ันตอนตางๆ เรียบรอยแลวตองมีการรายงานผลตามแบบฟอรมท่ีกําหนด

4. การติดตามผลการปฏิบัติงาน

134

Page 138:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.2 การระบุปจจัยเส่ียงตามหลักธรรมาภิบาล แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา โครงการท่ี ๑ โครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมน้ํา)ระยะท่ี 1 กิจกรรมโครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมน้ํา)ระยะท่ี 1 หนวยงานท่ีรับผิดชอบสํานักฟนฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ

ประเด็น การระบุปจจัยเสี่ยง

หลักธรรมาภิบาลที่เก่ียวของ ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ตอบสนอง รับผิดชอบ โปรงใส มีสวนรวม กระจายอํานาจ นิติธรรม เสมอภาค ฉันทามติ

1. ความเสี่ยงดานกลยุทธ

สภาพภูมิอากาศหรือฤดูกาล แปรปวน เกิดภัยธรรมชาติโดยเฉพาะปจจัยดานปริมาณน้ําฝน

- - - - - - - - -

2. ความเสี่ยงดานการดําเนินงาน ขั้นตอนการดําเนินงาน

1. การสํารวจ และคัดเลือกพื้นที่พื้นที่ดําเนินงาน

เจาหนาที่ผูสํารวจพื้นที่ขาดความรอบคอบในการเตรียมเอกสาร รวมทั้งไมไดทําการสํารวจในพื้นที่จริง และขาดความรูในการคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมตอการดําเนินโครงการ

การสํารวจ คัดเลือกและเสนอพื้นที่ ตองผานความเห็นชอบจากหัวหนาพื้นที่อนุรักษและผูอํานวยการสวนฟนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษในสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่เกี่ยวของ

135

Page 139:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ประเด็น การระบุปจจัยเสี่ยง

หลักธรรมาภิบาลที่เก่ียวของ ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ตอบสนอง รับผิดชอบ โปรงใส มีสวนรวม กระจายอํานาจ นิติธรรม เสมอภาค ฉันทามติ

2. เมื่อหนวยปฏิบัติไดรับแผนงานตามโครงการฯ จะดําเนินการปลูกปาตามขั้นตอน ดังนี้

1)การสํารวจและรังวัดแนวเขตพื้นที่แปลงปลูกปา

๒) การเตรียมพื้นที ่๓) การทําทางตรวจการ ๔) การทําแนวกันไฟ ๕) จัดเตรียมกลาไมสําหรับปล ๖) การทําหลักและปกหมายแ ๗) การปลูกและขนกลา ๘) การดายวัชพืช ๙) การปลูกซอมและนับ

อัตราการรอดตาย

กลาไมมีปริมาณไมเพียงพอและคุณภาพไมดีชนิดพันธุไมเหมาะสมกับสภาพปาด้ังเดิม

ไมไดรับความรวมมือจากชุมชนที่อยูใกลเคียงพื้นที่เปาหมาย

3. การรายงานผลการปฏิบัติงาน เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเมื่อดําเนินการตามขั้นตอนตางๆ เรียบรอยแลวตองมีการรายงานผลตามแบบฟอรมที่กําหนด

รายงานผลลาชา /แบบรายงานไมสมบูรณ

4. การติดตามผลการปฏิบัติงาน

การวางแผนการตรวจติดตามไมสอดคลองกับฤดูกาลและแผนการปฏิบัติงาน

ขาดการติดตามผลการปฏิบัติงาน ทั้งจากสวนกลางและสบอ. ที่เกี่ยวของ

3. ความเสี่ยงดานการเงิน - - - - - - - - - - 4. ความเสี่ยงดานการปฏิบัติตามกฎหมาย/ กฎระเบียบ

- - - - - - - - - -

136

Page 140:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.3 การประเมินความเส่ียงและกลยุทธท่ีใชในการจัดการความเส่ียง แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา โครงการท่ี ๑ โครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมน้ํา)ระยะท่ี 1 กิจกรรมโครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมน้ํา)ระยะท่ี 1 หนวยงานท่ีรับผิดชอบ สํานักฟนฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง

กลยุทธท่ีใชในการจัดการความเสี่ยง

โอกาส (1)

ผลกระทบ (2)

คะแนน (1x2)

ระดับ ประเมิน

ระดับท่ี ยอมรับได (โอกาส xผลกระทบ)

1. ความเสี่ยงดานกลยุทธ ประสิทธิผล สภาพภูมิอากาศหรือฤดูกาล แปรปวน เกิดภัยธรรมชาติโดยเฉพาะปจจัยดานปริมาณน้ําฝน

3 3 (3x3)=9 สูง (๒x๓)=๖ ยอมรับความเส่ียง ยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) ถายโอนความเส่ียง

2. ความเสี่ยงดานการดําเนินงาน 1. การสํารวจ และคัดเลือกพื้นที่พื้นที่ดําเนินงาน

รับผิดชอบ เจาหนาที่ผูสํารวจพื้นที่ขาดความรอบคอบในการเตรียมเอกสาร รวมทั้งไมไดทําการสํารวจในพื้นที่จริง และขาดความรูในการคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมตอการดําเนินโครงการ

2 4 (2x4)=8 ปานกลาง (๒x๓)=๖ ยอมรับความเส่ียง ยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) ถายโอนความเส่ียง

ฉันทามติ การสํารวจ คัดเลือกและเสนอพื้นที่ ตองผานความเห็นชอบจากหัวหนาพื้นที่อนุรักษและผูอํานวยการสวนฟนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษในสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่เกี่ยวของ

1 4 (1x4)=4 ตํ่า (๒x๒)=4 ยอมรับความเส่ียง ยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) ถายโอนความเส่ียง

137

Page 141:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง

กลยุทธท่ีใชในการจัดการความเสี่ยง

โอกาส (1)

ผลกระทบ (2)

คะแนน (1x2)

ระดับ ประเมิน

ระดับท่ี ยอมรับได (โอกาส xผลกระทบ)

2. เมื่อหนวยปฏิบัติไดรับแผนงานตามโครงการฯ จะดําเนินการปลูกปาตามขั้นตอน ดังนี ้

1) การสํารวจและรังวัดแนวเขตพื้นที่แปลงปลูกปา

๒) การเตรียมพื้นที ่๓) การทําทางตรวจการ ๔) การทําแนวกันไฟ ๕) จัดเตรียมกลาไมสําหรับปลูก ๖) การทําหลักและปกหมายแนว ๗) การปลูกและขนกลา ๘) การดายวัชพืช ๙) การปลูกซอมและนับอัตราการ

รอดตาย

ประสิทธิภาพ กลาไมมีปริมาณไมเพียงพอและคุณภาพไมดี ชนิดพันธุไมเหมาะสมกับสภาพปาด้ังเดิม

2 4 (2x4)=8 ปานกลาง (๒x๓)=๖ ยอมรับความเส่ียง ยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) ถายโอนความเส่ียง

มีสวนรวม ไมไดรับความรวมมือจากชุมชนที่อยูใกลเคียงพื้นที่เปาหมาย

3 4 (3x4)=12 สูง (๒x๓)=๖ ยอมรับความเส่ียง ยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) ถายโอนความเส่ียง

3. การรายงานผลการปฏิบัติงาน เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเมื่อดําเนินการตามขั้นตอนตางๆ เรียบรอยแลวตองมีการรายงานผลตามแบบฟอรมที่กําหนด

รับผิดชอบ รายงานผลลาชา /แบบรายงานไมสมบูรณ

3 2 (3x2)=6 ปานกลาง (๒x๓)=๖ ยอมรับความเส่ียง ยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) ถายโอนความเส่ียง

138

Page 142:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง

กลยุทธท่ีใชในการจัดการความเสี่ยง

โอกาส (1)

ผลกระทบ (2)

คะแนน (1x2)

ระดับ ประเมิน

ระดับท่ี ยอมรับได (โอกาส xผลกระทบ)

4. การติดตามผลการปฏิบัติงาน ประสิทธิผล การวางแผนการตรวจติดตามไมสอดคลองกับฤดูกาลและแผนการปฏิบัติงาน

4 2 (4x2)=8 ปานกลาง (๒x๓)=๖ ยอมรับความเส่ียง ยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) ถายโอนความเส่ียง

รับผิดชอบ ขาดการติดตามผลการปฏิบัติงาน ทั้งจากสวนกลางและสบอ. ที่เกี่ยวของ

3 2 (3x2)=6 ปานกลาง (๒x๓)=๖ ยอมรับความเส่ียง ยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) ถายโอนความเส่ียง

3. ความเส่ียงดานการเงิน - ยอมรับความเส่ียง ยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) ถายโอนความเส่ียง

4. ความเส่ียงดานการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ

- ยอมรับความเส่ียง ยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม) ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง) ถายโอนความเส่ียง

139

Page 143:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ตารางระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ และตารางระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา โครงการท่ี ๑ โครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมน้ํา) ระยะท่ี 1 กิจกรรมโครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมน้ํา) ระยะท่ี 1 หนวยงานท่ีรับผิดชอบ สํานักฟนฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ 2. ความเส่ียงดานการดําเนินงาน ข้ันตอนท่ี 1. การสํารวจ และคัดเลือกพ้ืนท่ีพ้ืนท่ีดําเนินงาน หลักธรรมาภิบาล: รับผิดชอบ ปจจัยเส่ียง:เจาหนาท่ีผูสํารวจพ้ืนท่ีขาดความรอบคอบ และความรูในการคัดเลือกพ้ืนท่ีท่ีเหมาะสมตอการดําเนินโครงการ ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (เชิงคุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูง 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับสูงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับปานกลาง 2 นอย มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการเลย

140

Page 144:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

หลักธรรมาภิบาล:ฉันทามติ ปจจัยเส่ียง:การคัดเลือกและเสนอพ้ืนท่ีไมไดรับความยินยอมจากหัวหนาพ้ืนท่ีอนุรักษและผูอํานวยการสวนฟนฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษในสํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ีเก่ียวของ ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (เชิงคุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูง 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับสูงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับปานกลาง 2 นอย มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการเลย

ข้ันตอนท่ี 2. เม่ือหนวยปฏิบัติไดรับแผนงานตามโครงการฯ จะดําเนินการปลูกปาตามข้ันตอน ดังนี้

1) การสํารวจและรังวัดแนวเขตพ้ืนท่ีแปลงปลูกปา ๒) การเตรียมพ้ืนท่ี ๓) การทําทางตรวจการ ๔) การทําแนวกันไฟ ๕) จัดเตรียมกลาไมสําหรับปลูก ๖) การทําหลักและปกหมายแนว ๗) การปลูกและขนกลา ๘) การดายวัชพืช ๙) การปลูกซอมและนับอัตราการรอดตาย

141

Page 145:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

หลักธรรมาภิบาล :ประสิทธิภาพ ปจจัยเส่ียง:กลาไมมีปริมาณไมเพียงพอและคุณภาพไมดี ชนิดพันธุไมเหมาะสมกับสภาพปาดั้งเดิม ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (เชิงคุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูง 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับสูงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับปานกลาง 2 นอย มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการเลย

หลักธรรมาภิบาล :ตอบสนอง ปจจัยเส่ียง:สภาพภูมิอากาศหรือฤดูกาล แปรปวน เกิดภัยธรรมชาติโดยเฉพาะปจจัยดานปริมาณน้ําฝน ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (เชิงคุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูง 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

142

Page 146:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง

ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย 5 สูงมาก มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับสูงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับปานกลาง 2 นอย มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการเลย

หลักธรรมาภิบาล :มีสวนรวม ปจจัยเส่ียง:ไมไดรับความรวมมือจากชุมชนท่ีอยูใกลเคียงพ้ืนท่ีเปาหมาย ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (เชิงคุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูง 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับสูงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับปานกลาง 2 นอย มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการเลย

ข้ันตอนท่ี3. การรายงานผลการปฏิบัติงาน เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเม่ือดําเนินการตามข้ันตอนตางๆ เรียบรอยแลวตองมีการรายงานผลตามแบบฟอรมท่ีกําหนด หลักธรรมาภิบาล :รับผิดชอบ ปจจัยเส่ียง:รายงานผลลาชา /แบบรายงานไมสมบูรณ

143

Page 147:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (เชิงคุณภาพ)

ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย 5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูง 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับสูงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับปานกลาง 2 นอย มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการเลย

ข้ันตอนท่ี4. การติดตามผลการปฏิบัติงาน หลักธรรมาภิบาล :ประสิทธิผล ปจจัยเส่ียง:การวางแผนการตรวจติดตามไมสอดคลองกับฤดูกาลและแผนการปฏิบัติงาน ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (เชิงคุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูง 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

144

Page 148:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง

ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย 5 สูงมาก มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับสูงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับปานกลาง 2 นอย มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการเลย

หลักธรรมาภิบาล :รับผิดชอบ ปจจัยเส่ียง:ขาดการติดตามผลการปฏิบัติงาน ท้ังจากสวนกลางและสบอ. ท่ีเก่ียวของ ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ

ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณตางๆ (เชิงคุณภาพ) ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีโอกาสในการเกิดสูงมาก 4 สูง มีโอกาสในการเกิดคอนขางสูง 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดบางเปนบางครั้ง 2 นอย อาจจะมีโอกาสเกิดแตนานๆ ครั้ง 1 นอยมาก แทบไมมีโอกาสเกิดข้ึนเลย

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียง ระดับ โอกาสท่ีจะเกิด คําอธิบาย

5 สูงมาก มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับสูงมาก 4 สูง มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับสูง 3 ปานกลาง มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการในระดับปานกลาง 2 นอย มีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการนอย 1 นอยมาก แทบไมมีผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินโครงการเลย

145

Page 149:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.4 การกําหนดมาตรการ/กิจกรรมควบคุมความเส่ียง แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา โครงการท่ี ๑ โครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมน้ํา)ระยะท่ี 1 กิจกรรมโครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมน้ํา)ระยะท่ี 1 หนวยงานท่ีรับผิดชอบ สํานักฟนฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง กลยุทธที่ใชในการจัดการความ

เสี่ยง กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง งบประมาณ ผูรับผิดชอบ

1. ความเส่ียงดานกลยุทธ ประสิทธิผล สภาพภูมิอากาศหรือฤดูกาล แปรปวน เกิดภัยธรรมชาติโดยเฉพาะปจจัยดานปริมาณน้ําฝน

ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง)

- มีการวางแผนการปฏิบัติงานใหสอดคลองกับฤดูกาล - มีการเตรียมการเพื่อรองรับหากเกิดภัยธรรมชาติ

งบประมาณปกติ - สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที ่อนุรักษ - สานักบริหารพื้นที่ที่ไดรับแผนปฏิบัติงาน

2. ความเสี่ยงดานการดําเนินงาน 1. การสํารวจ และคัดเลือกพื้นที่พื้นที่ดําเนินงาน

รับผิดชอบ เจาหนาที่ผูสํารวจพื้นที่ขาดความรอบคอบในการเตรียมเอกสาร รวมทั้งไมไดทําการสํารวจในพื้นที่จริง และขาดความรูในการคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมตอการดําเนินโครงการ

ยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม)

มีหนังสือแจงหนวยงานที่เกี่ยวของพื่อซักซอมใหดําเนินงานตามขั้นตอนและจัดเตรียมเอกสารตามที่กําหนด

งบประมาณปกติ - สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที ่อนุรักษ - สานักบริหารพื้นที่ที่ไดรับแผนปฏิบัติงาน

ฉันทามติ การสํารวจ คัดเลือกและเสนอพื้นที่ ตองผานความเห็นชอบจากหัวหนาพื้นที่อนุรักษและผูอํานวยการสวนฟนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษในสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่เกี่ยวของ

ยอมรับความเส่ียง มีหนังสือแจงหนวยงานที่เกี่ยวของพื่อซักซอมใหดําเนินงานตามขั้นตอนและจัดเตรียมเอกสารตามที่กําหนด

งบประมาณปกติ - สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที ่อนุรักษ - สานักบริหารพื้นที่ที่ไดรับแผนปฏิบัติงาน

146

Page 150:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

ประเภทความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง กลยุทธที่ใชในการจัดการความเสี่ยง

กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง งบประมาณ ผูรับผิดชอบ

2. เมื่อหนวยปฏิบัติไดรับแผนงานตามโครงการฯ จะดําเนินการปลูกปาตามขั้นตอน ดังนี ้

1) การสํารวจและรังวัดแนวเขตพื้นที่แปลงปลูกปา

๒) การเตรียมพื้นที ่๓) การทําทางตรวจการ ๔) การทําแนวกันไฟ ๕) จัดเตรียมกลาไมสําหรับปลูก ๖) การทําหลักและปกหมายแนว ๗) การปลูกและขนกลา ๘) การดายวัชพืช ๙) การปลูกซอมและนับอัตรา

การรอดตาย

ประสิทธิภาพ กลาไมมีปริมาณไมเพียงพอและคุณภาพไมดี ชนิดพันธุไมเหมาะสมกับสภาพปาด้ังเดิม

ยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม)

- เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานตองจัดเตรียมกลาไมเพียงพอและคุณภาพดีชนิดพันธุเหมาะสมกับสภาพปาด้ังเดิม

งบประมาณปกติ - สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที ่อนุรักษ - สานักบริหารพื้นที่ที่ไดรับแผนปฏิบัติงาน

มีสวนรวม ไมไดรับความรวมมือจากชุมชนที่อยูใกลเคียงพื้นที่เปาหมาย

ควบคุมความเส่ียง (มีแผนควบคุมความเส่ียง)

- มีการประชาสัมพันธใหประชาชนทราบ - ทําปายประชาสัมพันธ - จัดหาแรงงานในทองที่ใกลเคียงพื้นที่ดําเนินการ เพื่อกระจายรายไดลดปญหาความขัดแยง

งบประมาณปกติ - สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที ่อนุรักษ - สานักบริหารพื้นที่ที่ไดรับแผนปฏิบัติงาน

3. การรายงานผลการปฏิบัติงาน เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเมื่อดําเนินการตามขั้นตอนตางๆ เรียบรอยแลวตองมีการรายงานผลตามแบบฟอรมที่กําหนด

รับผิดชอบ รายงานผลลาชา /แบบรายงานไมสมบูรณ

ยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม)

มีหนังสือแจงหนวยงานที่เกี่ยวของกําหนดใหรายงานผลในระยะเวลาที่กําหนด ตามแบบฟอรมที่แนบ

งบประมาณปกติ - สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที ่อนุรักษ - สานักบริหารพื้นที่ที่ไดรับแผนปฏิบัติงาน

4. การติดตามผลการปฏิบัติงาน ประสิทธิผล การวางแผนการตรวจติดตามไมสอดคลองกับฤดูกาลและแผนการปฏิบัติงาน

ยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม)

- มีการประชุมชี้แจงเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการติดตามผลการปฏิบัติงาน - วางแผนการตรวจติดตามใหสอดคลองกับฤดูกาลและแผนการปฏิบัติงาน

งบประมาณปกติ - สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที ่อนุรักษ - สานักบริหารพื้นที่ที่ไดรับแผนปฏิบัติงาน

รับผิดชอบ ขาดการติดตามผลการปฏิบัติงาน ทั้งจากสวนกลางและสบอ. ที่เกี่ยวของ

ยอมรับความเส่ียง (มีมาตรการติดตาม)

- มีหนังสือชี้แจงเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทั้งจากสวนกลางและสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษ ใหดําเนินการติดตามผลการปฏิบัติงานและรายงานผลใหกรมทราบดวย

งบประมาณปกติ - สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที ่อนุรักษ - สานักบริหารพื้นที่ที่ไดรับแผนปฏิบัติงาน

3. ความเส่ียงดานการเงิน 4. ความเส่ียงดานการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ

147

Page 151:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

แบบฟอรมท่ี 1.5 แผนปฏิบัติการบริหารความเส่ียง

แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา โครงการท่ี ๑ โครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมน้ํา)ระยะท่ี 1 กิจกรรมโครงการฟนฟูพ้ืนท่ีปาอนุรักษ (ลุมน้ํา)ระยะท่ี 1 หนวยงานท่ีรับผิดชอบ สํานักฟนฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ

ความเสี่ยง กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง ระยะเวลา งบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ/ ตัวชี้วัด

ผูรับผิดชอบ ความเสี่ยงประเภท ปจจัยเสี่ยง ระดับ

1. ความเส่ียงดานกลยุทธ

ตอบสนอง สภาพภูมิอากาศหรือฤดูกาล แปรปวน เกิดภัยธรรมชาติโดยเฉพาะปจจัยดานปริมาณน้ําฝน

สูง - - มีการวางแผนการปฏิบัติงานใหสอดคลองกับฤดูกาล - มีการเตรียมการเพื่อรองรับหากเกิดภัยธรรมชาติ

ต.ค.5๙ –ก.ย. ๖๐

งบประมาณปกติ

มีแผนปปฏิบัติงานที่สอดคลองกับฤดูกาลและเตรียมการเพื่อรองรับหากเกิดภัยธรรมชาติ อยางนอย 1 แผนงาน

- สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ - สานักบริหารพื้นที่ที่ไดรับแผนปฏิบัติงาน

2. ความเส่ียงดานการดําเนินงาน

มีสวนรวม ไมไดรับความรวมมือจากชุมชนที่อยูใกลเคียงพื้นที่เปาหมาย

สูง - มีการประชาสัมพันธใหประชาชนทราบ - ทําปายประชาสัมพันธ - จัดหาแรงงานในทองที่ใกลเคียงพื้นที่ดําเนินการ เพื่อกระจายรายไดลดปญหาความขัดแยง

ต.ค. 5๙ –ก.ย. ๖๐

งบประมาณปกติ

- ประชาชนที่อยูในพื้นที่ใกลเคียง เขาใจและใหความรวมมือในการดําเนินโครงการ อยางนอยรอยละ 80 - ประชาชนมีรายไดจากการจางงาน

- สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ - สานักบริหารพื้นที่ที่ไดรับแผนปฏิบัติงาน

3. ความเส่ียงดานการเงิน

4. ความเส่ียงดานการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ

148

Page 152:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

บทท่ี 4 การติดตามประเมินผลการบริหารความเส่ียง

1. การติดตามและรายงานผล ภายหลังจากกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง และมีการดําเนินงานตามแผน จักตองมีการรายงานและติดตามผลเปนระยะ เพ่ือใหเกิดความม่ันใจวาไดมีการดําเนินงานอยางถูกตองและเหมาะสม โดยมีเปาหมายในการติดตามผล คือ เปนการประเมินคุณภาพและความเหมาะสมของวิธีการจัดการความเสี่ยง รวมท้ังติดตามผลการจัดการความเสี่ยงท่ีไดมีการดําเนินการแลววาบรรลุผลตามวัตถุประสงคตามแผนบริหารความเสี่ยงหรือไม โดยหนวยงานตองสอบทานวาวิธีการบริหารจัดการความเสี่ยงใดมีประสิทธิภาพดี ความเสี่ยงใดควรปรับเปลี่ยน และจัดทํารายงานสรุปผลการติดตามเสนอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทราบ การติดตามผล มี 2 ลักษณะ คือ

1.1 การติดตามผลเปนรายครั้ง (Separate Monitoring) การติดตามผลการดําเนินงาน ของหนวยงานท่ีรับผิดชอบตามแผนบริหารความเสี่ยงซ่ึงมีการรายงานผลตามรอบระยะเวลา ดังนี้

ครั้งท่ี 1 รายงานผล รอบ 6 เดือน ภายในวันท่ี 3 เมษายน 2560 ครั้งท่ี 2 รายงานผล รอบ 9 เดือน ภายในวันท่ี 3 กรกฎาคม 2560 ครั้งท่ี 3 รายงานผล รอบ 12 เดือน ภายในวันท่ี 3 ตุลาคม 2560

1.2 การติดตามผลในระหวางการปฏิบัติ (Ongoing Monitoring) เปนการติดตามผลการดําเนินงานตามปกติของหนวยงาน หากพบวาปจจัยเสี่ยงดังกลาวอยูในระดับท่ีไมสามารถยอมรับได ใหหนวยงานกําหนดมาตรการ/กิจกรรมรองรับหรือควบคุมความเสี่ยง ถาเปนกิจกรรมท่ีไมตองใชงบประมาณมากเกินไป หนวยงานนั้นสามารถดําเนินการไดทันที และใหรายงานกรณีท่ีพบความเสี่ยงใหม รวมท้ังรายงานผลการดําเนินการตามมาตรการ/กิจกรรม ท่ีกําหนด หากเปนกิจกรรมท่ีตองใชงบประมาณจํานวนมากเกินกวาหนวยงานจะบริหารจัดการได ใหรายงานตอ ฝายเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพ่ือแจงใหคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงพิจารณาหาแนวทางในการจัดการความเสี่ยงตอไป

การจัดทํารายงานผล ใหฝายเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงประมวลขอมูลรายงานผลการดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงท่ี สํานัก/กอง รับผิดชอบในการดําเนินการตามมาตรการท่ีระบุในแผนบริหารความเสี่ยง นําเสนอผูบริหาร เพ่ือพิจารณาใหความเห็นชอบรายงานผลการบริหารความเสี่ยงภายในเวลาท่ีกําหนด

2. การประเมินผลการบริหารความเส่ียง 2.1 การประเมินผลตามตัวช้ีวัดการบริหารความเส่ียง ใหฝายเลขานุการประเมินผลตามตัวชี้วัดการบริหารความเสี่ยง “รอยละเฉลี่ยถวงน้ําหนักของความเสี่ยงท่ีลดลงจากการดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง” นําเสนอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพ่ือเปนการประเมินความสําเร็จของการบริหารความเสี่ยงของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช 2.2 การทบทวนการบริหารความเส่ียง

ใหมีการทบทวนแผนบริหารความเสี่ยง เพ่ือการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารความเสี่ยงใหมีความเหมาะสม มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล โดยดําเนินการตามกระบวนการแนวทาง/วิธีการท่ีกําหนดในคูมือการบริหารความเสี่ยงท่ัวท้ังองคกรของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

149

Page 153:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ

3. การจัดทํารายงานผลการบริหารความเส่ียงประจําป ใหฝายเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจัดทํา (ราง) รายงานการประเมินผลการ

บริหารความเสี่ยง โดยสรุปประเด็นปญหาและอุปสรรคท่ีพบ เสนอผลการทบทวนการบริหารความเสี่ยง รวมท้ังจัดทําความเห็นและขอเสนอแนะ เพ่ือการบริหารความเสี่ยงในปตอไป เสนอตอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เพ่ือพิจารณาใหความเห็นชอบรายงานผลการบริหารความเสี่ยงประจําป กอนนําเสนอผูบริหารพิจารณาใหความเห็นชอบรายงานดังกลาวภายในเวลาท่ีกําหนด ( 13 ตุลาคม) ตอไป

150

Page 154:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 155:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 156:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 157:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 158:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 159:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 160:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 161:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 162:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 163:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 164:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 165:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 166:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 167:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 168:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 169:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ
Page 170:  · บทที่ . 1 . ข อมูลพื้นฐานของกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พ