คู มือ การอารักขาพืช...

79
คูมือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ เก็บเกี่ยวเพื่อใหไดขาวคุณภาพดี กรมการขาว กุมภาพันธ 2552

Upload: others

Post on 17-Nov-2019

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

คูมือ การอารักขาพืช

การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ

เก็บเกี่ยวเพื่อใหไดขาวคุณภาพดี

กรมการขาว กุมภาพันธ 2552

Page 2: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

คูมือ การอารักขาพืช

การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ

เก็บเกี่ยวเพื่อใหไดขาวคุณภาพดี

คูมือ การอารักขาพืช

การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ

เก็บเกี่ยวเพื่อใหไดขาวคุณภาพดี พิมพคร้ังท่ี 1 เดือนกุมภาพันธ 2552 จํานวนพิมพ 100 เลม จัดทําโดย ศูนยวิจัยขาวพิษณุโลก สํานักวิจัยและพัฒนาขาว กรมการขาว

ตองการขอมูลเพิ่มเติม ติดตอท่ี ศูนยวิจัยขาวพิษณุโลก

อําเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก 65130 โทรศัพท (055) 311184 โทรสาร (055) 311185

กรมการขาว กุมภาพันธ 2552

Page 3: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

คํานํา

การจัดพิมพเอกสารคูมือ “ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยว

และปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อใหไดขาวคุณภาพดี” ในรูปแบบ

ที่งายตอการเขาใจ รูปเลมขนาดพกพาไดสะดวก สามารถนําไปใช

เปนคูมือในพื้นที่ไดจริง โดยไดรับความรวมมือจากนักวิชาการเกษตร

จากศูนยวิจัยขาวพิษณุโลก ศูนยวิจัยขาวชัยนาท และศูนยวิจัยขาว

ปทุมธานี รวบรวมและเรียบเรียงเอกสาร

จึงหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารเลมน้ีจะเปนประโยชนตอ

ผูตรวจประเมินระบบการผลิตขาว GAP ของกรมการขาว ผูปฏิบัติ

งานที่เกี่ยวของ และผูสนใจทั่วไป

กุมภาพันธ 2552

สารบัญ

หนา

คํานํา

โรคขาวที่สําคัญและการปองกันกําจัด 1

อาการผิดปกติของขาวที่กระทบอากาศหนาว 41

แมลงศัตรูขาว- ศัตรูธรรมชาติและการปองกันกําจัด 47

การจัดการวัชพืชในนาขาว 83

ขาววัชพืช : ปญหาสาเหตุ แนวทาง และมาตรการ

แกไขปญหา 114

การเก็บเกี่ยวและปฏิบัติการหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อ

ใหไดขาวคุณภาพดี 129

Page 4: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

โรคขาวที่สําคัญและการปองกันกําจัด

รวบรวมและเรียบเรียง

โดย

อัจฉราพร ณ ลําปาง เนินพลับ

นักวิชาการเกษตร ระดับชํานาญการพิเศษ

ศูนยวิจัยขาวพิษณุโลก

กุมภาพันธ 2552

โรคขาว

(Rice diseases)

โรคขาว คือ อาการผิดปกติของตนขาวทางสรีรวิทยาและ

รูปรางในการเจริญเติบโตซึ่งเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม อาจเกิดขึ้นที่

ราก ลําตน กาบใบ ใบ รวง หรือเมล็ดขาวก็ได ความผิดปกติน้ี

ทําใหผลผลิตลดลง และคุณภาพไมไดมาตรฐาน

สาเหตุท่ีทําใหขาวเปนโรค

1. สิ่งมีชีวิต : จุลินทรียขนาดเล็ก ไดแก เชื้อรา บักเตรี

(แบคทีเรีย) ไวรัส ไมโคพลาสมา และไสเดือนฝอย

2. สิ่งไมมีชีวิต

2.1 สิ่งแวดลอมไมเหมาะสม ; อุณหภูมิสูงหรือตํ่าเกินไป

(รอนหรือเย็นเกินไป) ดินหรือนํ้ามีสภาพเปนกรด (ดิน

เปร้ียว, pH ตํ่า) หรือเปนดางจัดเกินไป นํ้าและอากาศ

เปนพิษ มีกาซไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) หรือที่เรียกวา

กาซไขเนา ขาดแรธาตุที่จําเปนสําหรับการเจริญเติบโต

2.2 พิษจากสารเคมี เชน สารกําจัดวัชพืช

Page 5: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

2

เช้ือรา

(Fungi)

เปนพืชชั้นตํ่าที่ไมมีคลอโรฟลล(chlorophyll)เจริญเติบโต

เปนเสนใย (hypha) เสนใยหลายเสนมารวมกันเปนไมซีเลียม

(mycelium) สรางเซลลสืบพันธุเรียกวาสปอร (spore) ชอบขึ้นบน

ซากพืชและสัตวบางชนิดมีขนาดใหญ เชน พวกเห็ดตาง ๆ เชื้อรา

บางชนิดเปนสาเหตุของโรค คน สัตว และพืช

เช้ือบักเตรี (แบคทีเรีย)

(Bacteria)

คือ จุลินทรียที่มีขนาดเล็กมาก ตองใชกลองจุลทรรศนจึง

จะเห็นมีรูปรางกลม (coccus) เกลียว (spiral) และแทง (rod) ซึ่ง

แบบหลังน้ีจะพบมาก มักมีหางตรงสวนปลาย (flagella) เพิ่ม

จํานวนไดโดยการแบงตัวแบบทวีคูณ (binary fission) เขาทําลาย

พืชโดยผานทางแผลและรูเปดตามธรรมชาติเทาน้ัน โรคที่เกิดจาก

บักเตรีมักเกิดการเนาเหม็น เปนสาเหตุของโรค คน สัตว และพืช

เช้ือไวรัส/ไมโคพลาสมา

(Virus/Mycoplasma)

จุลินทรียทั้งสองชนิดน้ี คือ สิ่งมีชีวิตที่ประกอบไปดวย

โปรตีน (protein) และนิวคลีอิค แอซิด (nucleic acid) ขยายจํานวน

ไดในเซลลที่มีชีวิตของพืชและสัตว มีขนาดเล็กมาก ตองใชกลอง

จุลทรรศนอิเล็กตรอน ( Electron Microscope) เทาน้ัน ดํารงชีพ

ในลักษณะพาราไซท (parasite) เขาทําลายพืชไดโดยอาศัยแมลง

พาหะ (insect vector) เปนทางถายทอดเชื้อ (transmission)

สําหรับไมโคพลาสมาที่ทําใหเกิดโรคกับพืช เรียกวา ไฟ

โตพลาสมา (Phytoplasma)

ไสเดือนฝอย

(Nematodes)

เปนสิ่งมีชีวิตที่ลักษณะคลายไสเดือน แตมี ขนาดเล็ก ตอง

ใชกลองจุลทรรศนจึงจะเห็นอาศัยอยูในดินและสวนตางๆ ของพืช

มีทั้งที่เปน parasite ของสิ่งมีชีวิต และแซพโปรไฟท ( saprophyte)

ที่เจริญบนซากพืช

Page 6: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

3

โรคขาวท่ีสําคัญเรียงตามระยะการเจริญเติบโต

โรคไหม

(Blast disease)

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Pyricularia grisea Sacc.

ชื่อพอง : Pyricularia oryzae Cavara

Perfect stage : Magnaporthe grisea (Hebert) Barr.

ลักษณะอาการ : เร่ิมแรกจะมีอาการช้ําฉ่ํานํ้า ตอมาจะสังเกตเห็น

อาการคลายรูปตา แผลมีสีออกนวลหรือเทาขอบสีนํ้าตาลเขม

ตรงกลางมีลักษณะเปนวงกลมเล็ก ๆ สีเทาคลายตาดํา

แผลกวางประมาณ 2 มม. และยาวประมาณ 10 – 15 มม.

แผลที่มีสปอรพรอมจะระบาดไดทันที คือ แผลที่มีสีเทาแก

หรือเทาปนมวง แผลสามารถขยายลุกลามรวมกัน

หากระบาดรุนแรงตนขาวจะแหงฟุบตายไปคลายถูกไฟไหม

พบไดทั้งในระยะกลา หรือหลังหวานต้ังแต 3 สัปดาห

แตมักพบรุนแรงในระยะแตกกอ และออกรวง บางคร้ัง

พบอาการที่ขอของลําตนหรือบนปลองบาง แตไมบอยนัก

ถาความชื้นสูงในชวงแตกกอ อาจพบที่ขอตอใบ (Collar rot)

ทําใหใบหลุดรวงเสียหาย เมื่อใบเปนแหลงสังเคราะหอาหาร

โดยเฉพาะอยางยิ่งใบธง จึงสงผลใหเมล็ดไมสมบูรณเทาที่ควร

ในกรณีที่ความชื้นสูงเน่ืองจากนํ้าคางจัด หรือมีฝนในชวงออกรวง

มักพบอาการคอรวงเปนสีนํ้าตาล เน่ืองจากทอนํ้าและอาหารถูกทําลาย

เรียกวา โรคไหมคอรวง (Neck blast) หากเชื้อราสาเหตุเขาทําลายใน

ระยะขาวผสมเกสร จะทําใหเมล็ดลีบ แตหากเปนระยะหลังผสมเกสร

จนถึงระยะนํ้านมจะทําใหเมล็ดไมสมบูรณ ไมไดนํ้าหนัก

โรคไหมจะระบาดไดเน่ืองจาก :

1. ปลูกขาวพันธุออนแอตอโรค เชน

ขาวดอกมะลิ 105 หอมมะลิ กข6 กข15 กข23 ขาวตาแหง 17

พวงเงิน พวงทอง (โพธิ์เงิน โพธิ์ทอง) พวงแกว ราชินี

สุพรรณบุรี 1 (รุนแรงมากที่พิจิตรในบางป)

สุพรรณบุรี 60 (รุนแรงที่พิษณุโลกในบางป)

บางแตน (รุนแรงที่สวรรคโลก สุโขทัยในบางป)

ชัยนาท 1 (รุนแรงที่พิษณุโลก พิจิตร ในบางป)

สุพรรณบุรี 3 (รุนแรงที่พิษณุโลก อุตรดิตถ ในบางป)

กข29 (ชัยนาท 80) รุนแรงที่พิษณุโลกในบางป

2. หวานขาวแนนเกินไป (มากกวา 2 ถัง/ไร) หรือ ปกดําถี่

เกินไป

3. ดินที่ปลูกเปนดินหลังนํ้าทวม ซึ่งมีความอุดมสมบูรณมาก

4. ใสปุยไนโตรเจนมากเกินความจําเปน โดยเฉพาะปุยยูเรีย

Page 7: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

4

5. อุณหภูมิประมาณ 26 – 28 องศาเซลเซียส (ใกลเคียงหอง

ปรับอากาศ) ความชื้นสัมพัทธ 89% ขึ้นไป โดยสังเกตได

จากฟาคอนขางคร้ึม อากาศชื้น มีหยดนํ้าคางบนใบขาว

จนกระทั่งสาย หรืออากาศแหงแลงกลางวัน หมอกและ

นํ้าคางจัดกลางคืน หรือฝนตกพรําติดตอกัน 2 – 3 วันขึ้นไป

การแพรระบาด

โดย ลม ฝน เศษฟางขาว และอาจ ติดไปกับเมล็ดพันธุได

(แตคอนขางนอย) อาจจะมีวัชพืชบางชนิดที่พบบริเวณนาขาวหรือ

ตามคันนาเปนพืชอาศัย เชน หญาดอกขาว หญาชันกาด หญา

ตีนนก หญาตีนกา หญาขน หญาขจรจบดอกเล็ก

การปองกันกําจัด

1. ถาพื้นที่มีประวัติการระบาดของโรคน้ี หรือแปลงขางเคียง

มีการระบาด ควรดูแลอยางใกลชิด โดยเฉพาะอยางยิ่ง

ในชวงที่ขาวอายุ 20-50 วัน และในระยะต้ังทองถึงออกรวง

2. ปลูกขาวพันธุตานทาน หรือคอนขางตานทานโรคไหม

ภาคเหนือตอนบน : ขาวเจา เชน ขาวเจาฮอ กข39 ขาวเหนียว

เชน ขาวเหนียวสันปาตอง สันปาตอง1 และ เหนียวแพร1

ภาคเหนือตอนลาง : ชัยนาท 1 ขาวเจาหอมคลองหลวง 1

ปทุมธานี1 และขาวเจาหอมพิษณุโลก1

ถาพันธุที่ปลูกออนแอ หากเปนไปได ควรปลูกขาวหลาย ๆ

พันธุ ที่มีความตานทานตางๆ กัน และใหพันธุตานทานอยู

เหนือลม หรือรอบ ๆ พันธุออนแอ

3. หมั่นสํารวจอาการผิดปกติของตนพืช ทุกๆ 7-10 วัน จะชวย

ใหแกไขปญหาไดทัน

4. ใชอัตราเมล็ดพันธุที่เหมาะสม (นาหวานใช 15-20 กก. / ไร

นาดํา 5-7 กก./ไร เมื่อความงอก 80 % ขึ้นไป) ใสปุยในอัตรา

ที่เหมาะสมตามคําแนะนํา ไมใสปุยมากจนเกินไป

โดยเฉพาะอยางยิ่งปุยยูเรีย เพื่อไมใหขาวอวบและเปราะ

เสี่ยงตอการระบาดของโรคและแมลงศัตรูขาว

5. สนใจการพยากรณเตือนการระบาดของโรคขาว จาก

หนังสือพิมพ วิทยุ หรือโทรทัศน

6. เมื่อพบโรคไหมระบาด งดการใสปุยทุกชนิดไวกอน รวมทั้ง

นํ้าหมักชีวภาพหรือฮอรโมนนํ้าหมัก โดยเฉพาะอยางยิ่งการ

ฉีดพนทางใบ เน่ืองจากมีโอกาสทําใหโรคระบาดรุนแรงขึ้น

จากน้ันจึงพิจารณาวาสมควรใชสารปองกันกําจัดโรคหรือยัง

7. ฉีดพนดวยสารเคมี เมื่อเปนโรค 60% ของพื้นที่ที่สํารวจ

Page 8: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

5

(3 ใน 5 สวนของพื้นที่) และพื้นที่ใบถูกทําลายโดยเฉลี่ย 1%

(หรือทุกใบมีแผล 2-3 แผลขึ้นไป)

เมื่อใดสังเกตเห็นวาสารเคมีที่เคยมีประสิทธิภาพดี กลับใชไม

ไดผลในขณะที่สารยังไมเสื่อมอายุ (อายุการใชงานของ

สารเคมี ประมาณ 2 ปนับจากวันผลิต) อาจเปนเพราะเชื้อ

สาเหตุสามารถปรับตัวแสดงความตานทานสารฯ จึงควร

สลับไปใชสารเคมีชนิดอ่ืนที่แนะนําเปนทางเลือก เพื่อ

ปองกันการด้ือยาของเชื้อสาเหตุ

สารปองกันกําจัดโรคที่ใหผลดีกับโรคไหม ไดแก สารชื่อ

สามัญไตรไซคลาโซล (ชื่อการคา เชน บีม 75% ดับบลิวพี

หรือ บลาสตอป) หรือ ไอโซโพรไทโอเลน (เชน ฟูจิ-วัน

40%อีซี หรือ บลาสแบน) หรือ อิดิเฟนฟอส (เชน ฮิโนซาน

30%อีซี)

โรคใบจุดสีน้ําตาล

(Brown spot)

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Bipolaris oryzae (Breda de Haan) Shoemaker

ชื่อพอง คือ Drechslera oryzae (Breda de Haan) Subramanian &

P.C. Jain

ชื่อพองเดิมท่ีเปนท่ีรูจัก คือ Helminthosporium oryzae Breda de

Haan.

ลักษณะอาการ : แตเดิมพบอาการเปนจุดสีนํ้าตาล หรือ วงรีทึบ

สีนํ้าตาลเขม อาจมีขอบนอกเปนสีเหลืองหรือไมก็ได แตปจจุบัน

พบวา มีอาการที่หลากหลายมากขึ้นกวาเดิม เชน เปนวงรีสีนํ้าตาล

ออนขอบสีนํ้าตาลเขม บางคร้ังอาจมีขอบนอกสุดสีเหลืองดวย

และบางคร้ังมีแผลรูปรางคลายเพชร ซึ่งคลายกับโรคไหม แต

ตางกันที่ตรงกลางแผลมีสีนํ้าตาลออนขอบสีนํ้าตาลเขม ในขณะที่

โรคไหมน้ัน ตรงกลางแผลมีสีเทาและมักมีลักษณะคลายวงตาดํา

ตรงกลาง อยางไรก็ดี อาการที่พบแลวทําใหใบขาวแหงตายไป

อยางรวดเร็ว มีลักษณะเปนวงรีทึบสีนํ้าตาลเขม ขอบนอกสุด มีสี

เหลืองเปนทางไปตามความยาวใบจนถึงปลายใบ สวนสีเหลืองน้ี

เอง ที่จะเปลี่ยนเปนสีนํ้าตาลและแหงตายไปอยางรวดเร็ว

การระบาด : มักพบระบาดในขาวอายุต้ังแตอายุประมาณ 20 วัน

ขึ้นไป จนถึงระยะแตกกอ เมื่ออุณหภูมิ อยูระหวาง 16-36°C

และความชื้นในอากาศสูง 86-100% แตจากการสังเกตพบวา

ในสภาพที่เย็นและชื้น การระบาดของโรคจะรุนแรงและรวดเร็ว

โดยเฉพาะอยางยิ่งในแปลงนาที่มีสภาพดังตอไปน้ี

- นาดินเหนียวหรือดินรวนปนทรายที่ปลูกขาวตอเน่ือง

โดยไมมีการพักดิน

Page 9: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

6

- นาที่ปลูกเพียงฤดูเดียว แตเปนดินทรายหรือดินรวน

ปนทราย ซึ่งขาดธาตุโพแทสเซียม(K)

- ใชแตปุยเคมีตลอดมา โดยไมมีการปรับปรุงบํารุงดิน

ทําใหสภาพของดินเสื่อมไป สงผลใหดินขาดความสมดุล

ของธาตุอาหาร หรือธาตุอาหารไมอยูในรูปที่จะเปน

ประโยชนตอพืช ถึงแมจะใสปุยเคมีลงไป แตขาวก็ยังไม

ตอบสนอง แสดงอาการแคระแกร็นและเหลือง

- บริเวณที่ปลูกขาว มีขาวปลูกอยูตลอดเวลา และมีขาว

หลายชั่วอายุในบริเวณรอบๆ ซึ่งมีแปลงที่เปนโรคใบจุด

สีนํ้าตาลหรือเมล็ดดางอยูกอนแลว (หน่ึงในเชื้อราสําคัญ

ที่ทําใหเกิดโรคเมล็ดดาง คือ เชื้อราสาเหตุโรคใบจุดสี

นํ้าตาลน้ีเอง) ลักษณะเชนน้ี

ทําใหโรคใบจุดสีนํ้าตาล และโรคเมล็ดดางระบาดไดอยาง

รุนแรงและตอเน่ือง

- ปลูกขาวที่ออนแอตอโรคใบจุดสีนํ้าตาล เชน พิษณุโลก2

- สภาพอากาศชื้น เน่ืองจากมีนํ้าคางจัดหรือมีฝน

โดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อประกอบกับอากาศเย็น จะทําให

โรคระบาดไดรวดเร็วและรุนแรงขึ้น

- ฉีดพนดวยนํ้าหมักชีวภาพหรือฮอรโมนนํ้าหมักบนใบ

การปองกันกําจัด :

1. ปรับปรุงบํารุงดิน โดย วิธีตางๆ

- หากใหนํ้าไดสะดวก ควรหมักฟางทิ้งไวประมาณ 2 สัปดาห

แลวไถกลบฟางลงไปในดินเพื่อใหดินโปรงและรวนซุยขึ้น

และยังไดธาตุไนโตรเจนกลับคืนไปในดินสวนหน่ึงดวย

- ไถกลบฟางลงไปในดิน โดยใชรถไถใหญ ทิ้งไวประมาณ

2-3 สัปดาห เพื่อใหฟางยอยสลายได หากยอยสลายไม

หมดจะเกิดกาซไฮโดรเจนซัลไฟด (ไขเนา) ทําใหขาว

เหลืองและชะงักการเติบโต

- ใสปุยหมัก หรือ ปุยคอก หรือนํ้าหมักชีวภาพ เชน

นํ้าหมักหอยเชอร่ีหรือเศษปลา เพื่อทําใหดินรวนซุย

และชวยการเจริญเติบโต โดยใสลงไปในดิน เพราะการ

ฉีดพนบนใบจะทําใหอาการของโรคลุกลามมากขึ้น

- ปลูกพืชตระกูลถั่วบํารุงดิน เน่ืองจากเมื่อไถกลบพืชเหลาน้ี

ลงไปในดิน นอกจากจะทําใหดินรวนซุยแลว ยังใหธาตุ

ไนโตรเจนกลับคืนสูดินอีกดวย โดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อไถ

กลบในระยะออกดอกซึ่งใหธาตุไนโตรเจนสูงสุด

เมล็ดพันธุพืชบํารุงดินน้ี สามารถติดตอขอรับการ

สนับสนุนไดจากศูนยหรือสถานีพัฒนาที่ดินในจังหวัด

ของทานหรือจังหวัดใกลเคียง

Page 10: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

7

2. หากปลูกขาวพันธุออนแอ ควรใหความสนใจดูแลขาว

อยางสม่ําเสมอทุกๆ 7-10 วัน ต้ังแตอายุประมาณ 20 วัน

เปนตนไป จนกระทั่งอายุประมาณ 45-50 วัน ซึ่งเปนระยะ

ที่ขาวออนแอตอการเขาทําลายของโรค ถาพบอาการของโรค

ใบจุดสีนํ้าตาลไมมากนัก การใสปุยโพแทสเซียมจะชวยลด

ความรุนแรงของโรคได แตถาบนใบมีจุดสีนํ้าตาลต้ังแต 2-3 แผล

ขึ้นไปทุกใบ และอากาศชื้นและเย็น ใหใชสารปองกันกําจัดเชื้อรา

ชื่อสามัญโพรพิโคนาโซล (ชื่อการคา เชน ฮาโก) หรือ

ทีบูโคนาโซล (เชน โฟลิเคอร) หรือ แมนโคเซบ (เชน เทนเอ็ม)

หลังจากน้ัน เมื่อขาวต้ังทอง หากเปนขาวพันธุออนแอ

มีแปลงใกลเคียงเปนโรคใบจุดสีนํ้าตาลหรือเมล็ดดาง

และอากาศชื้นและเย็น ควรพนดวยโพรพิโคนาโซล หรือ

คารเบนดาซิม (ชื่อการคาเชน บาวิสติน 50% เอฟแอล หรือ

คารเบนดาซิม 50%ดับบลิวพี) เพื่อปองกันโรคเมล็ดดาง โดยพน

2-3 วันกอนออกดอก และคอยสังเกตอาการอีก 7 วันหลังจากน้ัน

หากยังพบอาการเมล็ดดาง และอากาศชื้น หรือมีฝนและเย็น

ใหพนสารฯ อีกคร้ัง โดยพนในชวงบายถึงเย็น เพื่อไมให

กระทบกระเทือนการผสมเกสร

โรคใบขีดสีน้ําตาล

(Narrow brown leaf spot disease)

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Cercospora janseana

อาการ : ในระยะแตกกอ จะพบแผลเปนรอยขีดสีนํ้าตาลขนาน

ไปกับเสนใบ อาจพบที่กาบใบดวย สวนมากจะเร่ิมเปนที่ปลายใบ

ของใบลางๆ ขนาดของแผลยาว 3-5 มิลลิเมตร กวางประมาณ

1 มิลลิเมตร ถาหากเปนพันธุตานทานโรค แผลจะแคบ

ใบที่เปนโรคจะแหงตายจากปลายใบกอน เน่ืองจากเชื้อสาเหตุ

ของโรคน้ีเปนหน่ึงในเชื้อสาเหตุของโรคเมล็ดดาง เชนเดียวกับ

เชื้อสาเหตุของโรคใบจุดสีนํ้าตาล ดังน้ัน ถาพบโรคน้ีรุนแรงใน

ระยะแรกของการเจริญเติบโต จึงควรปองกันโรคเมล็ดดางดวย

ระบาด : ลม เมล็ดพันธุ

การปองกันกําจัด :

1. กําจัดพืชอาศัย เชนตอซังขาว และวัชพืชตามคันนา

2. หากพบเล็กนอย การใสปุยโปแตสเซียมคลอไรด ในอัตรา

5-10 กก./ไร จะชวยลดความรุนแรงของโรคได

3. เมื่อพบวามีการระบาดรุนแรง ใชสารปองกันกําจัดโรค

ชื่อสามัญ คารเบนดาซิม (ชื่อการคา เชน บาวิสติน50%เอฟ

แอล หรือ คารเบนดาซิม 50% ดับบลิวพี)

Page 11: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

8

โรคถอดฝกดาบ

(Bakane disease)

ชื่ออ่ืน ๆ คือ โรคหลาว ขาวตัวผู พบระบาดมากใน

ภาคเหนือตอนบน และรอยตอระหวางภาคเหนือตอนบนกับ

ภาคเหนือตอนลาง คือ บริเวณรอยตอของจังหวัดอุตรดิตถกับ

พิษณุโลก และอุตรดิตถกับสุโขทัย ปจจุบันพบเปนพื้นที่กวางขวาง

ขึ้นในจังหวัดพิษณุโลกและสุโขทัย เมื่อระบาดรุนแรงทําใหผลผลิต

ลดลงไดอยางมาก

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Fusarium moniliforme

Perfect stage : Gibberrella fujikuroi

ลักษณะอาการ

มักพบในขาวอายุมากกวา 15 วัน ขาวจะผอมสูงผิดปกติ

มีสีเขียวซีด อาจยางปลอง และมีรากที่ขอตอตน รากเนาช้ํา เวลา

ถอนมักขาดตรงโคนตน ในนาดํา หากอาการรุนแรงขาวจะตาย

ต้ังแตระยะกลา แตโดยทั่วไป จะแสดงอาการหลังปกดําหรือหวาน

ประมาณ 15 – 45 วัน ขาวสีเขียวซีด มีรากแขนงที่ขอลําตน

บริเวณระดับนํ้า อาจพบกลุมเสนใยเชื้อราสีขาวหรือชมพูบริเวณขอ

ที่ยางปลอง ตนจะตายในที่สุด แตถามีชีวิตอยูจนถึงออกรวงจะไมติด

เมล็ด

การระบาด

ติดไปกับเมล็ด อยูในซากตนขาวและดินไดเปนเวลานาน

มีหญาชันกาดเปนพืชอาศัย

การปองกันกําจัด

1.ไมนําเมล็ดพันธุจากแหลงที่เปนโรคมาปลูก และใชเมล็ด

พันธุจากแหลงที่เชื่อถือได

2. ถาไมแนใจวาจะมีโรคติดมากับเมล็ดหรือไม หรือ พื้นที่ที่จะ

ปลูกมีประวัติการเกิดโรคน้ีมากอน ควรปองกันโรคดวยการ

คลุกเมล็ดพันธุขาวกอนปลูกดวยสารปองกันกําจัดโรคพืช

ชื่อสามัญ คือ แมนโคเซ็บ(ชื่อการคา เชน เทนเอ็ม) ในอัตรา

30 กรัม/ขาว 1 ถัง ใชคลุกเมล็ดพันธุอยางนอย 15 วันกอนปลูก

โดยสารฯน้ีตองยังไมหมดอายุ

3. กําจัดวัชพืชบริเวณคันนา ไมใหเปนที่อาศัยของโรค

4. ถอนและเผาทําลายตนที่เปนโรค หากไมเผา เชื้อราสาเหตุ

อาจอยูในซากพืชน้ัน รอเวลาเขาทําลายขาวตอไป

5. ไถพลิกดินตากเพื่อฆาเชื้อ

Page 12: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

9

ไสเดือนฝอยรากปม

(Root-knot Nematode)

สาเหตุ : ไสเดือนฝอยรากปม Meloidogyne graminicola

อาการ : มักเกิดกับแปลงปลูกที่ขาดนํ้าในระยะแรกของ

การเจริญเติบโต โดยเฉพาะอยางยิ่งในดินรวนปนทราย หรือดิน

ที่เปนกรดจัด (ดินเปร้ียว) โดยตัวออนระยะที่สอง ฝงหัวเขาไป

ที่ปลายรากออน แลวปลอยสารออกมากระตุนใหเน้ือเยื่อบริเวณน้ัน

แบงตัวอยางรวดเร็ว และมากกวาปกติ ทําใหรากพองเปนปม

ในปมน้ี จะมีเซลลขนาดใหญเกิดขึ้น เน่ืองจากไสเดือนฝอยปลอย

นํ้ายอยไปยอยผนังเซลลหลายเซลล ทําใหเกิดเซลลใหมขนาดใหญ

ขึ้นมา แลวดูดกินนํ้าเลี้ยงจากเซลลน้ี เมื่อปลายรากเกิดปมแลว ราก

น้ันจะไมเจริญตอไป ถามีปมไมมาก จะไมปรากฏอาการที่ใบ แตถา

มีปมมาก จะทําใหตนขาวแคระแกร็นและใบเหลืองได

การระบาด: ดิน นํ้า เศษซากพืช เคร่ืองจักรกลการเกษตร

(เชน รถไถ รถเก็บเกี่ยว)

พืชอาศัย: พืชตระกูลหญา กก วัชพืชใบกวาง และวัชพืชนํ้า

การปองกันกําจัด:

1. หากใหนํ้าไดสะดวก ควรขังนํ้าใหทวมแปลงมากกวา 30 วัน

ไสเดือนฝอยไมชอบนํ้าขัง ก็จะตายไปในที่สุด

2. ปลูกพืชอ่ืนหมุนเวียน เพื่อตัดวงจรชีวิตของไสเดือนฝอย ทํา

ใหจํานวนลดลง ในพื่นที่ที่ระบาดรุนแรงเปนประจํา แนะนํา

ใหปลูกดาวเรือง เน่ืองจากรากของดาวเรืองจะปลอยสารที่

เปนพิษตอไสเดือนฝอย และยังเปนไมตัดดอกได

* * * แตเดิม มีการแนะนําฟูราดานสําหรับกําจัดไสเดือนฝอย แต

ภายหลังไมแนะนําใหใชในนาขาว เน่ืองจากเปนอันตรายตอสัตวนํ้า

ปจจุบันจึงไมมีสารเคมีที่แนะนํา * * *

โรคขอบใบแหง

(Bacterial blight disease)

เชื้อสาเหตุ : เชื้อบักเตรี (แบคทีเรีย)

Xanthomonas oryzae pv. oryzae

อาการ : ขอบใบแหงตามความยาวใบ แผลขยายได อาจเร่ิมจาก

ขอบใบดานเดียว หรือทั้งสองดานก็ได แผลจะเปลี่ยนจาก

สีเทาออนเปนสีนํ้าตาล และแหงตายไป

พบเมื่อ: ดินอุดมสมบูรณสูง ใสปุยไนโตรเจนสูง หรือเปนดินหลัง

นํ้าทวม หวานขาวแนน หลังพายุฝนและลมแรงทําใหตนขาวมีแผล

พบระบาดไดรุนแรงในพันธุออนแอ เชน ชัยนาท1 พิษณุโลก2

และขาวดอกมะลิ105

Page 13: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

10

การปองกันกําจัด :

ถึงแมโรคน้ีจะทําความเสียหายไดอยางรุนแรงเมื่อระบาด แต

เน่ืองจากไมไดพบการระบาดอยางสม่ําเสมอ จึงไมมีสารปองกัน

กําจัดโรคท่ีให

ผลดี 100% วางขายในทองตลาด มีเพียงสารท่ีใหผลดีพอสมควร

เทาน้ัน ดังน้ัน สิ่งที่ควรทําตามลําดับ คือ

1. ใชพันธุขาวตานทานหรือคอนขางตานทานโรค

นาสวนไมไวแสง (นาป และนาปรัง) :

สุพรรณบุรี2 ขาวเจาหอมคลองหลวง1 พิษณุโลก60-2

นาสวนไวแสง (นาป)

พิษณุโลก60-1 ขาวเจาหอมพิษณุโลก1

2. ถาปลูกขาวพันธุออนแอ ควรลดความเสี่ยงการเกิดโรค

โดยไมหวานขาวแนน ใสปุยไนโตรเจนตามคําแนะนํา

ไมใสมากเกินไป โดยเฉพาะอยางยิ่งปุยยูเรีย เพราะจะทําให

ตนอวบนํ้าและเปราะ เกิดแผลที่เชื้อสาเหตุจะเขาทําลายไดงาย

3. เมื่อพบอาการของโรค ใหงดการใสปุยทุกชนิดไวกอน

รวมทั้งนํ้าหมักชีวภาพหรือฮอรโมนนํ้าหมัก โดยเฉพาะ

อยางยิ่งการฉีดพนทางใบ เน่ืองจากมีโอกาสทําใหโรค

ระบาดรุนแรงขึ้น จากน้ันจึงพิจารณาวาสมควรใชสารปองกัน

กําจัดโรคอยางไร

3. ถาพบในพื้นที่นอย โดยพบเปนหยอมๆ สามารถจํากัด

การใชสารปองกันกําจัดโรคเฉพาะบริเวณที่เปน ดวย

สเตร็ปโตมัยซินซัลเฟต หากไมพบในรานขายสารเคมี

หาไดตามรานขายยา เน่ืองจากปกติเปนยาปฏิชีวนะ

สําหรับมนุษย โดยใชในอัตรา 1 กรัม/นํ้า 20 ลิตร

(1ขวด=1กรัม) และคอยสังเกตอาการของพืชหลังพนสาร

แลว 1 สัปดาห หากโรคยังลุกลามตอไป ก็ใหพนซ้ําอีก

คร้ัง (ใชตามความจําเปน ไมควรใชลวงหนากอนเห็น

อาการ เพราะการใชพรํ่าเพร่ือ อาจทําใหเชื้อสาเหตุทั้งของ

ขาวและของคนด้ือยาได)

หากพบระบาดกวางขวาง ควรใชคอปเปอรไฮดรอกไซด

(ชื่อการคา เชน ฟงกูราน หรือไมโครบลูคอป)

Page 14: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

11

โรคใบสีแสด

(Orange leaf disease)

เชื้อสาเหตุ : ไฟโตพลาสมา

แมลงพาหะ : เพลี้ยจักจ่ันปกลายหยัก

อาการ : ตนขาวที่เปนโรคน้ีใบจะมีสีแสด (สีสมแดง) จากปลายใบ

ที่ใบลางเกือบทั้งใบ ยกเวนเสนกลางใบที่ยังเปนสีเขียว ใบที่เปนโรค

จะมวนจากขอบใบทั้งสองขางเขามาหาเสนกลางใบ ใบจะแหง

ตนขาวแตกกอนอยแตไมเต้ีย จะตายอยางรวดเร็ว มักพบเปนกอ ๆ

ไมกระจายเปนบริเวณกวาง แตเดิมพบประปราย ปจจุบันพบ

บอยคร้ังขึ้นและพบตนที่เปนมากขึ้น ฤดูนาป 2551 พบมากทั้งใน

ภาคเหนือตอนบน (เชียงราย) และตอนลาง (พิษณุโลก) ตนที่ไม

ตายและอยูจนกระทั่งออกรวง เมล็ดจะไมสมบูรณหรือลีบไป

การระบาด : โดยแมลงพาหะคือ เพลี้ยจักจ่ันปกลายหยัก

การปองกันกําจัด :

โดยทั่วไป เมื่อเปรียบเทียบจํานวนตนที่เปนกับตนปกติทั้งหมด

ในแปลง คิดเปนเปอรเซ็นตการเกิดโรคแลวนอยมาก ไมตองทําการ

ปองกันกําจัด แตถาอาการรุนแรงมาก ใหปฏิบัติดังน้ี

1. กําจัดวัชพืชเพื่อไมใหเปนพืชอาศัยของแมลงพาหะของโรค

2. หากพบเพลี้ยจักจ่ันปกลายหยักมากกวา 10 ตัวตอ 1 กลุม

ขาวนาหวาน คือ 10 ตน (หรือ 10 ตัว/1 กอนาดํา) หรือ

พบโรคใบสีแสดระบาดในแปลง และพบวามีเพลี้ยจักจ่ัน

ปกลายหยัก 1 ตัว ตอ 1 กลุมขาวนาหวาน คือ 10 ตน

(หรือ 1 ตัว ตอ 1 กอนาดํา) ควรกําจัดแมลงพาหะนําโรค

โดยใชสารฆาแมลง ชนิดใดชนิดหน่ึง ดังตอไปน้ี

ชื่อสามัญ ชื่อการคาเชน

โคลไทอะนิดิน แดนทอซ

ไดโนทีฟูเรน สตารเกิล

ไทอะมีโทแซม แอคทารา

อีโทเฟนพรอกซ ทรีบอน

อิมิดาโคลพริด คอนฟดอร แอดมาย

ไอโซโพรคารบ มิพซิน

บูโพรเฟซิน-ไอโซโพรคารบ แอปซิน

***หากพบอาการของโรค แตไมพบแมลงพาหะ แสดงวาแมลงอพยพ

ไปแลว การใชสารฆาแมลงจะไมมีประโยชน และไมคุมคา ***

(ขอขอบคุณ คุณเพชรหทัย ปฏิรูปานุสร นักวิชาการเกษตร 8ว ที่

กรุณาอนุเคราะหขอมูลสารฆาแมลง ไว ณ โอกาสน้ี)

Page 15: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

12

โรคใบสีสม

(Yellow orange leaf disease = Rice tungro disease, RTD)

เชื้อสาเหตุ : เชื้อไวรัส Yellow Orange Leaf Virus มี 2 ชนิด คือ

Rice tungro bacilliform virus (RTBV) และ Rice tungro spherical

virus (RTSV)

แมลงพาหะ : เพลี้ยจักจ่ันสีเขียว

อาการ : ขาวเร่ิมแสดงอาการต้ังแตอายุ 15-20 วันโดยมีสีเขียวปน

เหลือง ตอมาเปลี่ยนเปนสีเหลือง เร่ิมจากปลายใบเขาหาโคนใบ

มักพบเปนทั้งแปลง ถาเปนขาวปกดํา ตนที่เปนโรคจะเต้ียแคระแก

รน ใบใหมจะอยูในตําแหนงที่ตํ่ากวาขอตอใบของใบลาสุด ถา

รุนแรงอาจตายทั้งกอ ถาไมตายจะออกรวงชากวาปกติ รวงเล็ก

หรือไมออกรวงเลย

ระบาด : โดยแมลงพาหะ คือ เพลี้ยจักจ่ันสีเขียว

การปองกันกําจัด :

1. กําจัดวัชพืชเพื่อไมใหเปนพืชอาศัยของแมลงพาหะของโรค

2. ใชพันธุตานทานหรือคอนขางตานทาน

นาสวนไมไวแสง (นาป และนาปรัง ) เชน สุพรรณบุรี90

สุพรรณบุรี1 สุพรรณบุรี2 พิษณุโลก60-2

นาสวนไวแสง (นาป) เชน เหนียวอุบล1

3. หากพบเพลี้ยจักจ่ันสีเขียวมากกวา 10 ตัวตอ 1 กลุมขาวนา

หวาน คือ 10 ตน (หรือ 10 ตัว/1 กอนาดํา) หรือ

พบโรคใบสีสมระบาดในแปลง และพบวามีเพลี้ยจักจ่ัน

สีเขียว 1 ตัว ตอ 1 กลุมขาวนาหวาน คือ 10 ตน

(หรือ 1 ตัว ตอ 1 กอนาดํา) ควรกําจัดแมลงพาหะนําโรค

โดยใชสารฆาแมลง ชนิดใดชนิดหน่ึง ดังตอไปน้ี

ชื่อสามัญ ชื่อการคาเชน

โคลไทอะนิดิน แดนทอซ

ไดโนทีฟูเรน สตารเกิล

ไทอะมีโทแซม แอคทารา

อีโทเฟนพรอกซ ทรีบอน

อิมิดาโคลพริด คอนฟดอร แอดมาย

ไอโซโพรคารบ มิพซิน

บูโพรเฟซิน-ไอโซโพรคารบ แอปซิน

*** หากพบอาการของโรค แตไมพบแมลงพาหะ แสดงวาแมลง

อพยพไปแลว การใสปุยไนโตรเจน จะชวยใหการเจริญเติบโตดีขึ้น

หลังจากที่ชะงักไปดวยโรค ***

(ขอขอบคุณ คุณเพชรหทัย ปฏิรูปานุสร นักวิชาการเกษตร 8ว ที่

กรุณาอนุเคราะหขอมูลสารฆาแมลง ไว ณ โอกาสน้ี)

Page 16: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

13

โรคกาบใบเนา หรือแทง (Sheath rot disease)

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Sarocladium oryzae Sawada

อาการ: ระยะต้ังทองจะพบแผลสีนํ้าตาลเขมที่กาบใบธงเปนรูปไข

ตอมาแผลขยายขึ้นติดกันทําใหกาบใบธงมีสีนํ้าตาลดํา รวงมัก

โผลไมพนกาบใบธง เมล็ดขาวลีบและดางดํา เชื้อสาเหตุของ

โรคน้ี คือหน่ึงในเชื้อสาเหตุของโรคเมล็ดดางดวย

พบเมื่อ : ความชื้นสูงในระยะขาวต้ังทอง

ระบาด : ลม เมล็ดพันธุ ไรขาว (พาหะ)

การปองกันกําจัด :

1. ไมควรหวานขาวแนน และ ใสปุยไนโตรเจนมาก เพราะจะทํา

ใหขาวอวบและเปราะ โรคระบาดไดงาย

2.งดการใชนํ้าหมักชีวภาพหรือฮอรโมนนํ้าหมัก โดยเฉพาะอยาง

ยิ่งการฉีดพนทางใบ เน่ืองจากมีโอกาสทําใหโรคระบาด

รุนแรงขึ้น

3. เมื่อเร่ิมพบแผลบนกาบใบธง ใหพนสารปองกันกําจัดโรค

ชื่อสามัญ คารเบนดาซิม (ชื่อการคา เชน บาวิสติน 50%

เอฟแอล หรือ คารเบนดาซิม 50% ดับบลิวพี)

โรคเมล็ดดาง

(Dirty panicle disease)

เชื้อสาเหตุ : พบเชื้อรา 6 ชนิด คือ

Bipolaris oryzae(Breda de Haan) Shoemaker

Curvularia lunata (Wakk) Boed

Cercospora janseana

Trichoconis padwickii Ganguly

Fusarium semitectum Berk & Rav.

Sarocladium oryzae Sawada

อาการ : แผลบนเมล็ดเปนจุดสีนํ้าตาล หรือ เทา หรือ เทาปนชมพู

พบเมื่อ : ฝนชุกในชวงขาวออกดอก และผสมพันธุ

ระบาด : ลม เมล็ดพันธุ

การปองกันกําจัด :

1. ไมใชเมล็ดพันธุขาวจากแปลงที่เปนโรค

2. อยาหวานขาวแนน และใสปุยมากเกินไป ควรใชตาม

คําแนะนําของทางราชการ

3. ในระยะใกลออกรวง ถามีฝนตกชุก และในระยะแตกกอ

เคยพบอาการของโรคใบจุดสีนํ้าตาล และใบขีดสีนํ้าตาล

มากอน หรือแปลงน้ีเคยมีประวัติพบโรคกาบใบเนาอยาง

Page 17: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

14

รุนแรง และพันธุที่ปลูก คือ พิษณุโลก2 ชัยนาท1 หรือ ขาว

ดอกมะลิ105 หรือ หอมมะลิ ซึ่งออนแอตอโรคเมล็ดดาง ให

ใชสารปองกันกําจัดโรค ชื่อสามัญโพรพิโคนาโซล (ชื่อการคา

เชน ฮาโก) หรือ

คารเบนดาซิม (ชื่อสามัญ เชน บาวิสติน 50% เอฟแอล หรือ

คารเบนดาซิม 50%ดับบลิวพี)โดยใชในระยะ 2-3 วัน กอน

ออกรวง และหลังจากออกรวงแลว 1 สัปดาห หากมีฝนพรํา

และอากาศชื้น ควรใชอีก 1 คร้ังในชวงตอนเย็น เพื่อไมให

รบกวนการผสมเกสร

โรคดอกกระถิน

(False smut)

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Ustilaginoidea virens

อาการ : เชื้อราเขาทําลายรวงขาวในระยะเร่ิมออกดอก

ในระยะแรกจะเห็นเชื้อราดอกกระถินเปนกลุมกอนขนาดเล็ก

สีเหลืองมีเยื่อหุม อยูระหวางเปลือกเมล็ดขาวแทนที่เมล็ดขาว ตอมา

กลุมเชื้อราดอกกระถินจะมีขนาดใหญขึ้นจนคลุมเมล็ดขาวทั้งเมล็ด

เมื่อเชื้อราเจริญตอไปเยื่อหุมจะแตกออก เชื้อราจะเปลี่ยน เปนสีสม

สุดทายกอนเชื้อราดอกกระถินจะมีรอยปริแยกและมีสีเขียว ปนเหลือง

ระยะน้ีเชื้อราจะปลิวไปกับลม เขาทําลายเมล็ดขาวอ่ืน ๆ ตอไปได

พบเมื่อ : อากาศมีความชื้นสูง หรือมีฝนในชวงต้ังทองถึงออกรวง

การระบาด : ลม

การปองกันกําจัด :

1.ไมควรหวานขาวแนน และควรใสปุยตามอัตราแนะนําของ

ทางราชการ การใสปุยไนโตรเจนมากจะทําใหโรคระบาด

รุนแรง

2. ในระยะขาวต้ังทอง ถามีฝนตกชุก ควรพนสารปองกันกําจัด

โรค กอนออกดอก 2-3 วันสารฯชื่อสามัญ โพรพิโคนาโซล

(ชื่อการคา เชน ฮาโก)

3. งดการใชนํ้าหมักชีวภาพหรือฮอรโมนนํ้าหมัก โดยเฉพาะ

อยางยิ่งการฉีดพนทางใบ เน่ืองจากมีโอกาสทําใหโรค

ระบาดรุนแรงขึ้น

Page 18: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

15

การวางแผนปองกันกําจัดโรค

1. ใชพันธุตานทาน (ถามี และสามารถเลือกใชแทนได)

2. ถาพื้นที่มีประวัติการระบาดของโรคขาว หรือแปลงขางเคียงมี

การระบาด ควรดูแลอยางใกลชิด โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงที่

ขาวอายุ 20-45 หรือ 50 วัน และในระยะต้ังทองถึงออกรวง ซึ่ง

เปนชวงที่ขาวออนแอตอการระบาดของโรค

3. หมั่นสํารวจอาการผิดปกติของตนพืช ทุกๆ 7-10 วัน / คร้ัง จะ

แกไขปญหาไดทัน

4. ถาทําได ควรใชการจัดการเขตกรรมชวย เชน เลือกวันปลูกที่

เหมาะสม กําจัดวัชพืชบริเวณคันนา

5. ใชอัตราเมล็ดพันธุที่เหมาะสม (นาหวาน ใช 15-20 กก. / ไร นา

ดํา ใช 5-7 กก./ไร เมื่อความงอก 80 % ขึ้นไป) ใสปุยในอัตรา

ที่เหมาะสมตามคําแนะนํา ไมใสปุยมากจนเกินไป โดยเฉพาะ

อยางยิ่งปุยยูเรีย เพื่อไมใหขาวอวบและเปราะ เสี่ยงตอการ

ระบาดของโรคและแมลงศัตรูขาว

6. ควรปรับปรุงบํารุงดินใหรวนซุยและอุดมสมบูรณพอสมควร

อยูเสมอ ดวยวิธีตางๆ เชน การไถกลบฟาง ใสปุยหมัก ปุยคอก

หรือปุยพืชสด

7. โดยทั่วไปแลว เมื่อพบโรคระบาด ควรหยุดการระบาดของโรค

กอนทันทีดวยสารปองกันกําจัดโรค กอนที่จะใสปุยทุกชนิด

รวมทั้งปุยนํ้าหมักชีวภาพดวย ถาขาวยังอยูในระยะแตกกอ

และขาวไมสมบูรณ เน่ืองจากอาจทําใหโรคระบาดรุนแรง

ยิ่งขึ้น (ยกเวน เมื่อพบโรคไหม หรือ ขอบใบแหง ซึ่งแสดงวา

ปุยมากเกินความจําเปนอยูแลว จึงไมควรใสปุยอีก ถึงแมโรค

จะหยุดระบาดแลวก็ตาม)

8. การใชนํ้าหมักชีวภาพที่ถูกตอง ควรใหไปตามนํ้า เพื่อลด

ความเสี่ยงในการกระตุนการระบาดของโรค

9. สนใจการพยากรณเตือนการระบาดของโรคขาว จาก

หนังสือพิมพ วิทยุ หรือโทรทัศน

10. คํานวณการคุมทุนจากคาใชจายและคาตอบแทนกอน

ตัดสินใจใชสารเคมี

11. เลือกใชสารเคมีใหถูกกับโรค และใชตามอัตราและวิธีที่แนะนํา

12. โดยปกติแลว อายุการใชงานของสารเคมี ประมาณ 2 ป

หลังจากน้ัน จะเร่ิมเสื่อมประสิทธิภาพ จึงควรตรวจสอบอายุ

ของสารเคมีกอนใช โดยดูวันผลิตจากขางขวด ที่มักจะเขียน

เปนเลข 6 ตัว ตัวอยาง เชน 180207 แสดงวา สารฯ น้ีผลิต

เมื่อ วันที่ 18 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ.2550 โดย เลข 18 หมายถึง

วันที่ 18 เลข 02 หมายถึงเดือนที่ 2 ของสากล คือ กุมภาพันธ

และ เลข 07 หมายถึง ปค.ศ. 2007 คือ ป 2550 (การแปลงป

คศ. เปน พ.ศ. จะบวกดวยคา 543 เน่ืองจาก พุทธศักราช เกิด

กอนคริสตศักราช 543 ป) เมื่อสารฯ น้ีผลิตในวันที่ดังกลาว ก็จะ

มีอายุอีก 2 ป กอนหมดอายุประมาณวันที่ 17 กุมภาพันธ 2552

เปนตน

* * * * * * * * * * * * * * *

Page 19: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

16

อาการโรคไหมท่ีสวนตางๆ ของขาว

โรคใบจุดสีนํ้าตาลอาการหลากหลาย

ใบ

ขอตอใบ คอรวง

Page 20: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

17

โรคใบขีดสีนํ้าตาล

(ขอขอบคุณ คุณดารา เจตนะจิตรและคณะ ที่กรุณาเอ้ือเฟอ

ภาพประกอบ)

โรคถอดฝกดาบ

ผอม สูง สีเขียวซีด

มีรากท่ีขอเหนือระดับนํ้า เห็นเสนใยเชื้อราท่ีขอเหนือนํ้า

Page 21: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

18

อาการรากปมท่ีเกิดจากไสเดือนฝอย

โรคขอบใบแหง

Page 22: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

19

โรคใบสีแสด

โรคใบสีสม

โรคกาบใบเนา

(ขอขอบคุณ คุณดารา เจตนะจิตรและคณะ ที่กรุณาเอ้ือเฟอ

ภาพประกอบ)

ใบสีสมแดง ไมเต้ีย มักยุบตายเปนกอๆ

มีเพลี้ยจักจ่ันปกลายหยักเปนพาหะ

ใบสีเขียวปนเหลือง ตนเต้ีย มักเปนทั้งแปลง

มีเพลี้ยจักจ่ันสีเขียวเปนพาหะ

กาบหอรวงสีนํ้าตาลดํา

เมล็ดดางดํา

(ขอขอบคุณ คุณดารา เจตนะจิตรและคณะ

ที่กรุณาเอ้ือเฟอภาพประกอบ)

Page 23: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

20

โรคเมล็ดดาง

โรคดอกกระถิน

เชื้อราสีขาวคลุมเมล็ดท่ีเปนโรค

กลุมเชื้อราเปลี่ยนสีจากเหลืองเปนสมและเขียวเขมตามลําดับ

Page 24: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

21

อาการผิดปกติของขาวที่กระทบอากาศหนาว

โดย

อัจฉราพร ณ ลําปาง เนินพลับ

นักวิชาการเกษตร ระดับชํานาญการพิเศษ

ศูนยวิจัยขาวพิษณุโลก

กุมภาพันธ 2552

ดวยผลกระทบจากสภาวะโลกรอน ทําใหทั่วโลกตองเผชิญ

กับสภาพฟาอากาศแปรปรวนเห็นไดอยางชัดเจน การเปลี่ยนแปลง

น้ีคอนขางเบนไปในทิศทางสุดขั้ว ทั้งหนาวจัด รอนจัด นํ้าทวม

และฝนแลง สําหรับภาคเหนือตอนลางของประเทศไทย ก็ไดรับ

ผลกระทบน้ีเชนกัน ตามปกติแลว ฤดูหนาวในภาคเหนือตอนลาง

ไมหนาวจัดมากนัก แตในชวงเวลา 2-3 ปที่ผานมา ฤดูหนาวมี

อุณหภูมิตํ่ามาก สําหรับจังหวัดพิษณุโลกน้ัน ในป 2549/50 และป

น้ี (2551/52) มีอุณหภูมิตํ่าสุดของวันต้ังแต 20 องศาเซลเซียสลงมา

เร่ิมต้ังแตกลางเดือนพฤศจิกายนและตอเน่ืองมาจนกระทั่งถึงตน

เดือนกุมภาพันธ ดังน้ันขาวที่อายุประมาณ 105-110 วัน ที่ปลูก

ต้ังแตกลางเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน จึงมีความเสี่ยงสูงตอการ

เปนหมัน ทําใหไมติดเมล็ด เน่ืองจากจะต้ังทองในชวงเดือน

ธันวาคมถึงมกราคม ซึ่งเปนชวงที่อุณหภูมิอยูในชวงตํ่าสุดในรอบป

และหากอุณหภูมิตํ่าสุดในระยะต้ังทอง-ออกรวง อยูระหวาง 20

องศาเซลเซียสหรือตํ่ากวาติดกันต้ังแต 5 วันขึ้นไป ก็จะทําใหขาว

เปนหมันไมติดเมล็ดได หรือปลายรวงอาจจะฝอไป และเน่ืองจาก

ชวงน้ีมักมีนํ้าคางจัด จึงอาจพบอาการของโรคเมล็ดดางหากปลูก

พิษณุโลก 2 หรือพบโรคไหมบนใบและคอรวง หากปลูกพันธุ

พวงเงิน พวงทอง พวงแกว โพธิ์เงิน โพธิ์ทอง ดังน้ัน หากปลูก

พันธุออนแอและพบสภาพอากาศเย็น มีหมอกและนํ้าคางจัด

Page 25: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

22

ในชวงออกรวง จึงควรปองกันโรคเมล็ดดาง ในระยะกอนรวง

โผล 2-3 วัน ดวยโพรพิโคนาโซล หรือคารเบนดาซิม และไหมคอ

รวงดวยไตรไซคลาโซล หรือไอโซโพรไทโอเลน และควรงดการ

ฉีดพนดวยนํ้าหมักชีวภาพหรือฮอรโมนนํ้าหมัก เน่ืองจากมีโอกาส

จะทําใหโรคระบาดลุกลามรุนแรงยิ่งขึ้น

สําหรับความรุนแรงของการเปนหมันน้ัน ขึ้นอยูกับพันธุ

ขาวและชวงการเจริญเติบโตที่กระทบหนาว สําหรับสภาพอากาศ

ในฤดูหนาวของจังหวัดสุโขทัย กําแพงเพชร และพิจิตรก็คลายคลึง

กันกับพิษณุโลก ดังน้ัน ในป 2549/50 ที่ผานมา ขาวที่ปลูกใน สี่

จังหวัดน้ี จึงประสบภัยหนาวอยางรุนแรงเชนเดียวกัน สําหรับในป

2551/52 น้ี ผูเขียนไดสํารวจบางพื้นที่ และเร่ิมพบขาวเปนหมันเปน

พื้นที่กวางขวางสําหรับอําเภอบางระกําและวังทอง จังหวัด

พิษณุโลกแลว สวนในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุโขทัยก็เชนกัน

ผลกระทบของอุณหภูมิตํ่าที่มีตอขาวที่ยังเล็กอยูน้ัน ไม

รุนแรงเทากับระยะต้ังทอง-ออกรวง หากขาวยังอยูในระยะ

เจริญเติบโตและกระทบอากาศเย็นจัด อาจพบวาขาวชะงักการ

เจริญเติบโต แสดงอาการเหลือง ไมตอบสนองตอปุย และอาจพบ

อาการของโรคใบจุดสีนํ้าตาลรวมดวย ทําใหขาวแหงตายจากปลาย

ใบของใบลางๆ จึงควรงดสารสกัดหรือนํ้าหมักชีวภาพที่ฉีดพน

ทางใบ เพราะอาจทําใหโรคระบาดไดเร็วขึ้น ควรกําจัดโรคใบจุด

สีนํ้าตาลเพื่อไมใหระบาดตอไปดวยโพรพิโคนาโซล หรือ ทีบูโค

นาโซล หรือ แมนโคเซ็บ กอนจะใสปุยเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ปุยที่ใช

ในกรณียน้ี ควรเปนปุยที่มีธาตุอาหารหลักครบทั้งไนโตรเจน

ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซียม เชน 16-16-8 หรือ 15-15-15

เน่ืองจากสาเหตุเบื้องตนของโรคใบจุดสีนํ้าตาลมักเกิดจากการขาด

ความสมดุลของธาตุอาหาร โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่ที่ปลูกขาว

อยางตอเน่ืองและขาดการปรับปรุงบํารุงดิน ดังน้ันกอนฤดูนาปรัง

ปตอไป ควรไถกลบฟางและรอใหฟางยอยสลายสมบูรณอยาง

นอย 3 สัปดาหกอนปลูกขาว หรือปรับปรุงดินดวยปุยหมัก ปุย

คอก หรือปลูกพืชตระกูลถั่วบํารุงดิน และหากเปนไปไดควร

ชะลอการปลูกขาวในเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน เพื่อหลีกเลี่ยง

ผลกระทบจากอากาศหนาวจัด นอกจากน้ียังพบวาในชวงหนา

หนาวซึ่งมีหมอกและนํ้าคางจัด ขาวสุพรรณบุรี3 (ดอนเจดีย) ที่

ปลูกในดินหลังนํ้าทวม และดินรวนปนทรายที่ใสปุยยูเรียแตเพียง

อยางเดียวในปริมาณสูงมาก ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

และขาวชัยนาท1 ในจังหวัดพิจิตร น้ัน ขาวแสดงอาการของโรค

ไหมอยางรุนแรง ทําใหขาวเหลืองและแหงตายไปเปนหยอมๆ ใน

กรณีน้ี เกษตรกรควรงดสารสกัดหรือนํ้าหมักชีวภาพที่ฉีดพนทาง

ใบ แลวใชสารปองกันกําจัดเชื้อราไตรไซคลาโซล หรือไอโซโพร

ไทโอเลน หรือ คาซูกะมัยซินเพื่อหยุดการลุกลามของโรคกอน

Page 26: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

23

เมื่ออากาศอุนขึ้น หากจําเปนตองใสปุยแตงหนา ก็ควรใสปุยตาม

คําแนะนําสําหรับชนิดของดิน

ในภาพรวมแลว การแกไขปญหาขาวเปนหมันเมื่อกระทบ

หนาว น้ัน จนกวาจะไดพันธุที่เหมาะสมเปนที่ยอมรับทั้งในดาน

ผลผลิต อายุ และความตานทานตอโรคและแมลงศัตรูขาว หรือมีวิธี

อ่ืนที่ดีกวาในการแกไขการเปนหมัน คําแนะนําคือ เกษตรกรควร

งดการปลูกขาวต้ังแตกลางเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน ซึ่งจะเปน

การพักดิน ทําใหฟางยอยสลายไดสมบูรณสงผลใหดินรวนซุย ขาว

ในฤดูปลูกตอไปจะเจริญไดดี และยังเปนการตัดวงจรชีวิตของเชื้อ

สาเหตุโรคขาวอีกดวย

ผลกระทบอากาศหนาว

เหลือง

ยอดฝอ

เปนหมัน

Page 27: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

แมลงศัตรูขาว-ศัตรูธรรมชาติและการปองกันกําจัด

รวบรวมโดย...

นลินี เจียงวรรธนะ

นักวิชาการเกษตร ระดับชํานาญการพิเศษ

ศูนยวิจัยขาวชัยนาท

กรมการขาว

กุมภาพันธุ 2552

Page 28: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

2

แมลงศัตรูขาวที่สําคัญ

หอยเชอร่ี

ลักษณะการทําลาย

หอยเชอร่ีเปนหอยทากนํ้าจืดคลายหอยโขง ทําลายขาว

โดยกัดกินตนขาวตน ต้ังแตขาวตนเล็กจนถึงแตกกอเต็มที่ โดยจะ

กัดกินลําตนขาวใตผิวนํ้า แลวกินใบขาวที่ลอยนํ้าจนหมดตน

เพศเมียวางไขในที่แหงเหนือระดับนํ้า วางไขเปนกลุม ๆ ละ 400-

3,000 ฟอง วางไขตลอดป โดยเฉพาะฤดูฝนวางไข 10-14 คร้ัง/ป

การทําลายขาวและความเสียหาย

หอยเชอร่ีเปนศัตรูขาวที่สําคัญทางเศรษฐกิจ ทําความ

เสียหายใหกับขาวในระยะหลังหวานขาว ชอบกัดกินขาวตนออน ๆ

พบระบาดทั่วไป โดยเฉพาะนาขาวที่นํ้าขัง

การปองกันกําจัด

การปองกันกําจัด ตองใชวิธีผสมผสานจึงจะไดผลอยางมี

ประสิทธิภาพ ไดแก :-

1. ใชวัสดุกั้นทางนํ้าที่ไขเขานา โดยใชเฝอกกั้นสวะและ

หอยตัวใหญ และตามดวยที่กั้นดวยไนลอนตาถี่ ๆ เพื่อกันลูกหอย

ที่รอดจากเฝอก

2. ปลอยเปดลงกินหอยในนาขาว

3. ทําลายไขหอย โดยใชไมรวกปกขางคันนาทุก 10 กาว

เพื่อลอแมหอยใหวางไข แลวนําไขหอยไปทําลาย ทําเชนน้ี

สัปดาหละคร้ัง

4. เก็บหอยที่รอดตายสัปดาหละคร้ัง โดยใชกระชอนชอน

หอยมาทําลาย หรือนําไปทํานํ้าหมักหอยเชอร่ี

5. ใชสารเคมีฆาหอยกอนหวานขาว โดยใหมีนํ้าในนาสูง

5 ซม. เพื่อใหหอยที่ฝงตัวอยูในดินขึ้นมาใหหมด ควรใชสารฆา

หอยในวันที่ฝนไมตก ปลอยทิ้งไว 2 วัน จึงระบายนํ้าออก แลว

หวานขาว ใชสารฆาหอยชนิดใดชนิดหน่ึง ดังน้ี :-

5.1 นิโคลซาไมด (ไบลุสไซด 70%) อัตรา 50 กรัม/นํ้า

20 ลิตร

5.2 เมทัลดีไฮด (เดทมิล 80%) อัตรา 100-150 กรัม/นํ้า

20 ลิตร

5.3 เมทัลดีไฮด (เดทมีล 4%, แองโกล-สลัก 5% , เชอรี

ไซด 6%) อัตรา 500 กรัม/นํ้า 20 ลิตร

5.4 โปรเทก เปนสารที่ไดจากพืช บดเปนผง อัตรา 3

กก./ไร

5.5 แซปโปเคียววัน เปนสมุนไพรจากกากเมล็ดชา อัตรา

2.5 กก/ไร

(การใชสารฆาหอยตองมีนํ้าอยูในนาสูง 5 ซม.

เพื่อลอหอยที่ฝงตัวจําศีลต้ังแตฤดูที่แลวใหออกมา)

Page 29: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

3

เพลี้ยไฟ

ลักษณะการทําลาย

เพลี้ยไฟทําลายขาวโดยตัวออนและตัวแกดูดกินนํ้าเลี้ยง

จากปลายใบขาว ทําใหปลายใบขาวเห่ียวและขอบใบมวนเขาหา

เสนกลางใบ เพราะเพลี้ยไฟจะอาศัยอยูในใบที่มวนและดูดกิน

นํ้าเลี้ยงอยูภายในน้ัน มักพบทําลายขาวในระยะกลาหรือหลังปกดํา

2-3 สัปดาห โดยเฉพาะฝนทิ้งชวง

การทําลายขาวและความเสียหาย

เพลี้ยไฟมักระบาดในสภาพอากาศรอนแหงหรือฝนทิ้งชวง

ทําใหขาวแหงตายทั้งแปลงได บางคร้ังในนาไมขาดนํ้าเพลี้ยไฟก็

ระบาดได เน่ืองจากอากาศรอน บรรยากาศแหงแลง ไมมีฝนตก

ดังน้ันเมื่อหวานขาวแลวตองหมั่นสํารวจตรวจดู จะไดปองกันกําจัด

ทันเวลา

การปองกันกําจัด

1. ดูแลแปลงนาอยางใหขาดนํ้า

2. ปลอยนํ้าใหทวมยอดขาว 1-2 วัน แลวระบายนํ้าออก

หลังจากน้ันใสปุยแอมโมเนียมซัลเฟต หรือปุยยูเรีย เพื่อเรงการ

เจริญเติบโตของตนขาว

3. เมื่อพบขาวมีอาการใบมวนมากกวา 20% ของแปลงนา

ใหใชสารฆาแมลงชิดใดชนิดหน่ึง ดังน้ี :-

3.1 ฟโปรนิล (แอสเซ็นด 5% เอสซี) อัตรา 10 มล./นํ้า

20 ลิตร

3.2 คารบาริล (เซฟวิน 85% ดับบลิวพี) อัตรา 20 กรัม/

นํ้า 20 ลิตร

(ชื่อแรกคือ ชื่อสามัญ ในวงเล็บคือ ชื่อการคา)

เพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาล

ลักษณะการทําลาย

เพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาล เปนแมลงศัตรูขาวที่สําคัญมากทาง

เศรษฐกิจที่มักระบาดทําความเสียหายตอผลผลิตขาวเปนประจํา

โดยตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินนํ้าเลี้ยงที่โคนกอขาว ทําใหใบขาว

เหลืองและแหงตายทั้งกอเปนหยอม ๆ

พืชอาศัย ขาว ขาวปา และหญาตาง ๆ

พันธตานทาน สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 3 สุพรรณบุรี 90

พิษณุโลก 2 กข29 กข31 และ ปทุมธานี 1

การทําลายขาวและความเสียหาย

ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินนํ้าเลี้ยงจากตนขาวบริเวณ

โคนตนเหนือระดับนํ้า เขาทําลายขาวต้ังแตขาวตนเล็กจนกระทั่ง

ขาวออกรวง ทําใหใบขาวเหลืองและเห่ียวแหงตายทั้งกอคลายถูก

นํ้ารอนลวก นอกจากน้ียังเปนพาหะนําโรควิสามาสูตนขาว ทําให

ตนขาวแคระแกร็น และไมออกรวง หรือถาออกรวง รวงจะหด

สั้น ใบธงจะบิดมวนงอ รวงขาวลีบ เรียกวา โรคใบหงิก หรือ

ชาวนา เรียกวา โรคจู

Page 30: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

4

ขอสังเกต

เพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาลมีการระบาดรุนแรงและกวางขวาง

มากขึ้น เน่ืองจากเกษตรกรสวนใหญนิยมปลูกขาวมากกวาหน่ึงคร้ัง

ตอป ทําใหเพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาลมีอาหารกินตลอดป และใชสาร

ฆาแมลงผิดประเภท เชน สารฆาแมลงไซเพอรเมทริน จากการวิจัย

ทั้งในประเทศละตางประเทศพบวา แปลงที่ใชสารไซเพอรเมทริน

จะมีประชากร ของเพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาลมากกวาแปลงที่ไมไดใช

สารไซเพอรเมทริน

ศัตรูธรรมชาติ

ศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาลมีทั้ง ตัวหํ้า

แตนเบียน และเชื้อโรค

ตัวหํ้า ไดแก มวนเขียวดูดไข แมงมุม ดวงดิน ดวงกน-

กระดก ดวงเตา มวนจิงโจนํ้า และตัวเบียนตัวหํ้า Dryinid เปนตน

แมลงเบียน สวนใหญเปนแตนเบียนทําลายไขของ

เพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาล มี 4 ชนิด เชน แตนเบียน Anagrus sp.

แตนเบียน Oligosita yasumatsui เปนตน

การปองกันกําจัด

เมื่อพบเพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาลเกิน 10 ตัว/กอ หรือ 1 ตัว/

ตน ในนาหวาน จึงใชสารฆาแมลงชนิดใดชนิดหน่ึง ดังน้ี :-

ชื่อแรกคือ ชื่อสามัญ ในวงเล็บคือ ชื่อการคา

หนอนหอใบขาว

ลักษณะการทําลาย

หนอนหอใบขาว เปนแมลงศัตรูขาวที่มักระบาดในนาที่

หวานขาวแนน ใสปุยไนโตรเจนสูง ทําใหใบขาวงามมากกวา

ปกติ หรือในขาวที่อยูใตรมเงาไมใหญ ใบขาวที่ถูกทําลายจะมี

ลักษณะ เปนหลอด มีเยื่อสีขาวเปนแถบยาวขนานกับเสนกลางใบ

เน่ืองจากตัวหนอนใชเสนใยเหนียวสีขาวจากปากยึดขอบใบขาว

ทั้งสองขางเขาหากันเปนหลอด แลวแทะกินสวนที่เปนสีเขียว

อยูภายในพืชอาศัย ขาวปา ขาวโพด ขาวฟาง ออย และหญาตาง ๆ

สารฆาแมลง อัตราการใช/น้ํา 20 ลิตร

หรือตอไร

ไดโนทีฟูเรน (สตารเกิล 10% ดับบลิวพี) 15 กรัม

โคลไทอะนิดิน (แดนทอซ 16% เอจี) 8 กรัม

ไทอะมีโทแซม (แอคทารา 25% ดับบลิวพี) 2 กรัม

อีโทเฟนพรอกซ (ทรีบอน 10% อีซี) 20 มล.

อิมิดาโคลพริด (แอดมาย 5% อีซี) 30 มล.

ไอโซโปรคารบ (มิพซิน 50% ดับบลิวพี) 60 กรัม

บูโพรเฟซิน-ไอโซโพรคารบ (แอปซิน

5/20% ดับบลิวพี)

50 กรัม

Page 31: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

5

การทําลายขาวและความเสียหาย

หนอนหอใบขาวสามารถเขาทําลายขาวไดทุกระยะการ

เจริญเติบโต ใน 1 ฤดูหนอนหอใบขาวสามารถเขาทําลายขาวได

2-3 รุน โดยเฉพาะในระยะที่ขาวออกรวง ใบขาวสวนที่เขียวจะถูก

ทําลาย ทําใหการสังเคราะหแสงของตนขาวลดลง มีผลกระทบตอ

ผลผลิต ทําใหเมล็ดขาวลีบ นํ้าหนักของผลผลิตขาวลดลง

ศัตรูธรรมชาติ

ศัตรูธรรมชาติของหนอนหอใบขาวมีทั้ง ตัวหํ้า และตัวเบียน

ตัวหํ้า ไดแก แมงมุม ดวงเตา ดวงดิน ดวงกนกระดก

จ้ิงหรีดหนวดยาว และ แมลงปอ เปนตน

ตัวเบียน มีทั้งแตนเบียนไข แตนเบียนหนอน และแตนเบียน

ดักแด เชน โคปโดโซมอพซิส (Copidosomopsis sp) , อีลาสมัส

(Elasmus sp.) , ไตรโคมมา (Tricomma sp.) และ ทีมีลูชา

(Temelucha sp.) เปนตน

การปองกันกําจัด

1. พันธุขาวที่ออนแอตอหนอนหอใบขาว ไดแก

พิษณุโลก 1 พิษณุโลก 2 และ ชัยนาท 1 เปนตน

2. ไมควรหวานขาวแนน (แนะนํา 15-20 กก./ไร)

3. ไมควรใสปุยไนโตรเจนมากเกิน เชน ปุยแอมโมเนียม

ฟอสเฟต (16-20-0 ) ใสไมเกิน 30 กก./ไร สวนปุยยูเรียใสไมเกิน

10 กก./ไร โดยแบงใส 2 คร้ัง ๆ แรกเมื่อขาวแตงตัว 5 กก./ไร

หลังจากน้ันอีก 7 วัน จึงใสคร้ังที่ 2 จํานวน 5 กก./ไร

4. กําจัดวัชพืชที่เปนพืชอาศัยของหนอนหอใบขาว

5. หลีกเลี่ยงการใชสารฆาแมลงโดยไมจําเปน เน่ืองจาก

หนอนหอใบขาวมีศัตรูธรรมชาติหลายชนิดที่คอยชวยทําลาย และ

เปนการอนุรักษศัตรูธรรมชาติดวย

6. ในชวงขาวแตกกอ ถาพบใบขาวถูกทําลายเกิน 10-15%

หรือ ชวงขาวต้ังทอง- ออกรวง พบใบขาวถูกทําลายเกิน 5% จึงใช

สารฆาแมลงชนิดใดชนิดหน่ึง ดังน้ี :-

สารฆาแมลง อัตราการใช/น้ํา 20 ลิตร

ฟโพรนิล (แอสเซนด 5% เอสซี) 50 มล.

เบนซัลแทป (แบนคอล หรือ บังคอล 50%

ดับบลิวพี)

20 กรัม

คารโบซัลแฟน (พอสซ 20% อีซี) 80 มล.

เมล็ดสะเดาบด 1 กก.

ชื่อแรกคือ ชื่อสามัญ ในวงเล็บคือ ชื่อการคา

Page 32: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

6

หนอนปลอก

ลักษณะการทําลาย

หนอนปลอก เปนแมลงศัตรูขาวที่ระบาดเปนคร้ังคราว

มักระบาดทําความเสียหายในชวงขาวแตกกอ ตัวหนอนกัดกินปลาย

ใบเพื่อทําปลอกหุมตัว โดยตัวหนอนที่ฟกออกใหม ๆ จะกัดกินผิว

ใบออน ๆ กอน เมื่ออายุมากขึ้นจึงกัดกินใบแก โดยใชหัวโผลออก

มากัดกินผิวบนของใบ ทําใหเปนรอยขาวเปนแถบ

การทําลายขาวและความเสียหาย

หนอนปลอกมักระบาดทําลายขาวตนเล็กในระยะแตกกอ

ตัวหนอนจะกัดปลายใบเพื่อหุมตัวและกัดกินผิวใบขาว ทําใหใบขาว

ปะขาวเปนทางคลายการทําลายของหนอนหอใบขาว แตแตกตาง

กันที่ใบขาวจะขาดและรอยบนผิวนํ้า เมื่อรอยไปถึงตนขาวตนใหม

ก็จะคลานขึ้นไปกัดกินใบขาวใหมตอไปเร่ือย ๆ ถาระบาดรุนแรง

ขาวจะแคระแกร็น และแหงตายเปนหยอม ๆ จะไมระบาด เมื่อขาว

แตกกอเต็มที่

ศัตรูธรรมชาติ

แมงมุมทุกชนิด ตัวออนแมลงเหน่ียง ตัวออนดวงด่ิง และ

แตนเบียนฺ Braconid

การปองกันกําจัด

1. ระบายนํ้าออกจากแปลงนา สามารถลดการทําลายได

2. เมื่อพบใบขาวถูกทําลาย 15% จึงใชสารฆาแมลงชนิดใด

ชนิดหน่ึง ดังน้ี :-

2.1 ฟโพรนิล (แอสเซนต 5% เอสซี) อัตรา 50 มล. ตอ

นํ้า 20 ลิตร

2.2 เบนซัลแทป (บังคอล 50% ดับบลิวพี) อัตรา 20 กรัม

ตอนํ้า 20 ลิตร

หนอนกอขาว

ลักษณะการทําลาย

หนอนกอขาว เปนแมลงศัตรูขาวที่มักระบาดทําความ

เสียหายแกขาวเปนประจํา พบระบาดในฤดูนาปรังมากกวาในฤดู

นาป แปลงนาที่มีหนอนกอระบาดใบ ขาวใบลางจะมีสีเหลืองแลว

เปลี่ยนเปนสีสมเน่ืองจากกาบใบช้ํา ตอมาหนอนเจาะเขาลําตนทําให

ใบขาวมวน เห่ียว และแหงในที่สุด เรียกอาการน้ีวา “ยอดเห่ียว”

ซึ่งเกิดในระยะขาวแตกกอ ถาระบาดชวงขาวออกรวง เมล็ดขาว

จะลีบ รวงขาวมีสีขาวทั้งรวง เรียกอาการน้ีวา “ขาวหัวหงอก ”

แปลงนาที่มีการระบาดมากจะทําความเสียหายใหกับผลผลิตขาว

ถึง 50-70%

หนอนกอขาวมี 4 ชนิด แตที่พบมากในนาขาว คือ หนอน

กอสีครีม

Page 33: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

7

การทําลายขาวและความเสียหาย

หนอนกอขาว เขาทําลายขาวต้ังแตขาวเล็กจนกระทั่งขาว

ออกรวง ถาหนอนกอขาวระบาดมากในชวงขาวแตกกอ ลําตนขาว

จะช้ํา เนา เละ ทําใหตนขาวฟุบตายเปนกอ ๆ ไมสามารถแตกกอ

ชดเชยได ถาระบาดในชวงขาวออกรวง เมล็ดขาวจะลีบทําใหผลผลิต

ขาวลดลง ดังน้ันชวงที่ตองระวังดูแลรักษาดวยความเอาใจใส คือ

ชวงขาวอายุ 30-55 วัน

ศัตรูธรรมชาติ

ศัตรูธรรมชาติของหนอนกอขาวมีทั้งตัวหํ้าและแมลงเบียน

ตัวหํ้า ไดแก แมงมุมหลายชนิดจับผีเสื้อกิน ต๊ักแตน

หนวดยาว และจ้ิงหรีดหนวดยาว กินไขของผีเสื้อหนอนกอข าว

ดวงดิน และ ดวงเตากินตัวหนอนกอขาวตัวเล็ก ๆ เปนตน

ตัวเบียน มีทั้งแตนเบียนไข และแตนเบียนหนอน เชน

แตนเบียน Telenomus sp. Charops sp., Amauromorpha sp. และ

Temelucha stangli เปนตน

การปองกันกําจัด

1. ใชกับดักแสงไฟลอผีเสื้อมาทําลาย

2. หลังเก็บเกี่ยวแลวไถกลบตอซัง เพื่อทําลายหนอนและ

ดักแดที่อาศัยอยูในตอซัง เก็บกลุมไขของหนอนกอขาวมาทําลาย

ถาพบยอดเห่ียวมากกวา 10% จึงใชสารฆาแมลงชนิดใด

ชนิดหน่ึง ดังน้ี :-

ชื่อแรกคือ ชื่อสามัญ ในวงเล็บคือ ชื่อการคา

แมลงบั่ว

ลักษณะการทําลาย

แมลงบั่ว เปนแมลงศัตรูขาวที่ระบาดทั่วทุกภาคของ

ประเทศไทย โดยเฉพาะภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ปจจุบันพบระบาดรุนแรงและกวางขวางขึ้นในภาคเหนือตอนลาง

และภาคกลาง ป 2549-2551 พบระบาดที่จังหวัดตาก กําแพงเพชร

และเพชรบูรณ ผลผลิตเสียหาย 30-80% และในป 2549-2551

พบระบาดที่จังหวัดอุทัยธานี แมลงบั่วทําความเสียหายมากในชวง

ขาวแตกกอ หรือแตกหนอออน โดยตัวแมของแมลงบั่วจะวางไขใน

แปลงตกกลาหรือขาวหลังหวาน 15-20 วัน ตนขาวจะสราง

หลอดหุม แมลงคลายหลอดหอม

สารฆาแมลง อัตราการใช/น้ํา20ลิตร

คารแทป (พาดาน 4% จี) 4 กก./ไร

คารแทป-ไอโซโปรคารป (พาดาน-มิพซิน

6% จี)

3 กก./ไร

คลอรไพริฟอส (ลอรสแบน, เดอรสแบน

40% อีซี)

40 มล.

คารโบซัลแฟน (พอสซ 20% อีซี) 80 มล.

Page 34: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

8

การทําลายและความเสียหาย

ตนขาวที่ถูกแมลงบั่วทําลายจะมีลักษณะเปนหลอดคลาย

หลอดหอมและขาวจะไมออกรวง ตนขาวจะแตกหนอใหมแทนตน

ที่ถูกทําลาย แมลงบั่วก็จะทําลายหนอใหมอีก จึงทําใหขาวแตกกอ

มากผิดปกติ ในแหลงที่มีการระบาดของแมลงบั่วอยางรุนแรง

ผลผลิตขาวจะลดลงมากกวา 50%

ปจจัยท่ีทําใหเกิดการระบาดของแมลงบั่ว

1. ทองฟามืดคร้ึมมีฝนตกปรอย ๆ ตลอดวัน ทําใหบรรยากาศ

มีความชื้นสูง 80-90%

2. อุณหภูมิที่เหมาะกับการเจริญเติบโตของแมลงบั่ว คือ

23-28 องศาเซลเซียส

3. มีตนไมใหญ หรือคลองนํ้าใกลนาขาว

4. มีพืชอาศัยมากบริเวณแปลงนา เชน ขาวขาวปา หญา

ขาวนก หญาแพรก หญาไซ หญาปลองหิน และหญาปลองเขียว

เปนตน

ศัตรูธรรมชาติ

ที่ควบคุมประชากรของแมลงบั่วมีทั้ง ตัวหํ้าและแมลงเบียน

ตัวหํ้า ที่สําคัญ ไดแก ไรตัวหํ้า (Amblysieus sp.) ซึ่งอาศัย

อยูตามใบขาว จะดูดกินไขของแมลงบั่วทําใหไขฝอ และตัวออนของ

ดวงดิน โดยกัดหลอดบั่วแลวเขาไปกินแมลงบั่วที่อยูภายในหลอด

ตัวเบียน มีแตนเบียนที่ทําลายระยะไข ตัวออน และดักแด

ของแมลงบั่วหลายชนิด ไดแก แตนเบียน Platygaster sp. แตนเบียน

Aprostositus sp. และแตนเบียน Neanastatus sp. เปนตน

การปองกันกําจัด

1. ใชกับดักแสงไฟลอตัวเต็มวัยมาทําลาย ในชวงตนฤดู

2. หลีกเลี่ยงการตกกลาหรือหวานขาวในชวงที่พบตัวเต็มวัย

มาเลนไฟจํานวนมาก

3. ใชตนกลาที่ไมถูกแมลงบั่วทําลาย

4. ไมควรปลูกพันธุขาวที่แตกกอมาก

5. กําจัดวัชพืชบริเวณรอบ ๆ แปลงนา

6. ในแหลงที่มีแมลงบั่วระบาดเปนประจํามาด ควรหวาน

สารฆาแมลงในแปลงตกกลา หรือเมื่อขาวอายุได 15-20 วัน

คือ คารแทป -ไอโซโปรคารบ (พาดาน -มิพซิน 6% จี) อัตรา 5

กก./ไร และหลังปกดําหรือขาวอายุ 30-50 วัน ถาพบหลอดบั่ว

3-5% ควรพนสารฆาแมลง คลอรไพริฟอส (เดอรสแบน, ลอรสแบน

40% อีซี) อัตรา 40 มล./นํ้า 20 ลิตร

(* ชื่อแรกคือ ชื่อสามัญ ชื่อในวงเล็บคือ ชื่อการคา)

Page 35: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

9

หนอนกระทูขาว

หนอนกระทู มีทั้งหนอนกระทูกลาและกระทูคอรวง

ลักษณะการทําลาย

หนอนกระทูทําลายขาวโดยหนอนกระทูกลาตัวเล็กจะกัด

กินใบขาว เมื่อโตขึ้นจะกัดกินทั้งใบขาวและตนขาว เหลือไวแต

กานใบ มักทําลายใน เวลากลางคืน ในชวงฤดูฝน โดยเฉพาะ

หลังจากผานชวงแลงมานานแลวตามดวยฝนตกหนัก การทําลาย

รวดเร็วมาก เพราะหนอนมีการเคลื่อนยายเปนกลุมคลายกองทัพ

สําหรับหนอนกระทูคอรวงมีการทําลายคลายหนอนกระทูกลา แต

ทําลายคอรวงขาว การระบาดจะรุนแรงเปนบางป

ศัตรูธรรมชาติ

หนอนกระทูมีศัตรูธรรมชาติทั้งโรคและแมลง เชน แมลงวัน

กนขน

การปองกันกําจัด

1. กําจัดวัชพืชตามคันนาหรือบริเวณใกลเคียง เพื่อทําลาย

แหลงอาศัย

2. เมื่อพบใบขาวถูกทําลายมากกวา 15% จึงใชสารฆาแมลง

ชนิดใดชนิดหน่ึง ดังน้ี :-

2.1 เฟนิโทรไทออน (ซูมิไธออน 50% อีซี) อัตรา 30

มล./นํ้า 20 ลิตร

2.2 คารโบซัลแฟน (พอสซ 20% อีซี) อัตรา 80 มล./

นํ้า 20 ลิตร

2.3 มาลาไทออน (มาลาไธออน 83% อีซี) อัตรา 20

มล./นํ้า 20 ลิตร

แมลงสิง

ลักษณะการทําลาย

ปจจุบันมีปญหามากขึ้น มักระบาดในระยะขาวเปนนํ้านม

ตัวออน และตัวแก ดูดกินนํ้าเลี้ยงหรือนํ้านมจากเมล็ดขาว ถาระบาด

มากจะไดกลิ่นเหม็นเขียว เมล็ดขาวที่ถูกทําลายจะลีบมีรอยสีนํ้าตาล

หรือดํา

การทําลายและความเสียหาย

ศัตรูธรรมชาติ มีแตนเบียนไข Gryon mixoni และ

Ooencrytus sp. ทําลายไขของแมลงสิง

การปองกันกําจัด

1. กําจัดวัชพืชบริเวณแปลงนา เพื่อทําลายแหลงอาศัย

2. ใชสารฆาแมลง เมื่อพบแมลงสิง 4 ตัว/ตารางเมตร ใช

สารฆาแมลงชนิดใดชนิดหน่ึง ดังน้ี :-

2.1 คารโบซัลแฟน (พอสซ 20% อีซี) อัตรา 80 มล./

นํ้า 20 ลิตร

2.2 คารบาริล (เซฟวิน 85% ดับบลิวพี) อัตรา 20 กรัม/

นํ้า 20 ลิตร

2.3 มาลาไทออน (มาลาไธออน 83% อีซี) อัตรา 20

มล./นํ้า 20 ลิตร

Page 36: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

10

บรรณานุกรม

กองกีฏและสัตววิทยา. 2549. คําแนะนําการปองกันกําจัดแมลงและ

สัตวศัตรูพืช

ป 2549. กองกีฏและสัตววิทยา. กรมวิชาการเกษตร,

กระทรวงเกษตร

และสหกรณ. โรงพิมพชุมชนสหกรณการเกษตรแหง

ประเทศไทย จํากัด, กรุงเทพฯฬ หนา 282 หนาฬ

เคอิโสะ ยาสุมัทสุ ทะนงจิตร วงษศิริ นวลศรี วงษศิริ เฉลิมวงศ

ถิระวัฒน

องุน ลิ่ววานิช และ ชิโยโกะ โอคูมา. 2526. ศัตรู

ธรรมชาติบางชนิด

ของแมลงศัตรูขาวในประเทศไทย. กองกีฏและสัตววิทยา

กรมวิชาการเกษตร. 71 หนา.

ปรีชา วังศิลาบัตร สุวัฒน รวยอารีย เรวัต ภัทรสุทธิ เฉลิมวงศ

ถิระวัฒน

และ วนิช ยาคลาย. 2538.มิตรและศัตรูชาวนา-ศัตรู

ธรรมชาติของ

แมลงศัตรูขาวที่สําคัญ. กองกีฏและสัตววิทยา กรม

วิชาการเกษตร. 112 หนา.

วันทนา ศรีรัตนศักด์ิ เรวัตร ภัทรสุทธิ นลินี เจียงวรรธนะ

เพชรหทัย ปฏิรูปานุสร ถนอมจิตร ฤทธิ์มนตรี และ

เพชรี เซงซิ้ม. 2550. แมลง-สัตวศัตรูขาว และการ

ปองกันกําจัด. สํานักวิจัยและพัฒนาขาว กรมการขาว.

188 หนา.

ศูนยวิจัยขาวพิษณุโลก. 2552. การใชสารปองกันกําจัดศัตรูพืช

เอกสารแนะนําฉบับที่ 1/2552. ศูนยวิจัยขาวพิษณุโลก.

สํานักวิจัยและพัฒนาขาว กรมการขาว.

เShepard. B.M., A.T. Barrion, and J.A. Litsinger. 1987.

Friends of the Rice Farmer-Helpful Insects, Spiders,

and Pathogens. IRRI , Los Banos, Laguna,

Philippines. P.O. Box 933, Manila, Philippines. 126

pp.

Page 37: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

11

ใชลี่กั้นหอยตัวเล็ก

ปลอยเปดลงกินหอยในนาขาว

ใชเฝอกกั้นสวะและหอยตัวใหญ

หอยเชอร่ีกําลังกัดกินตนขาว

ไขและตัวแมหอยเชอร่ี

Page 38: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

12

อาการท่ีตนขาว

แหงตาย เปนหยอมๆ

เพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาลปกสั้น

เพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาลปกยาว

ตัวออน ตัวเต็มวัย

อาการท่ีเพลี้ย ไฟทําลายขาว (ปลายใบขาว มวนเขาหากัน)

เพลี้ยไฟระบาด

ชวงขาวตนเล็ก อาการใบหงิก

Page 39: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

13

มวนเขียวดูดไข

ดวงดินกําลังกัดกินเพลี้ยกระโดด

ดวงกนกระดกกําลังกัดกินเพลี้ยกระโดด

แตนเบียนไข Oligosita sp. มีบทบาทสําคัญ ในการลดปริมาณ

เพลี้ยกระโดดฯ ไมใหเกิดการระบาด

ตัวหํ้าตัวเบียนไดอินิด ชวงเปนตัวออนดูดกินน้ําเลี้ยง

ท่ีกนเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ตัวเต็มวัย เปนแตนเบียน

กัดกินเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล

ตัวเต็มวัย ตัวหนอน

อาการใบขาวท่ีถูกหนอนหอใบขาวทําลาย (ระยะแตกกอ)

หนอนหอใบขาวทําลายขาวระยะออกรวง

ทําใหผลผลิตขาวลดลง

แมงมุมกําลังกัดกินเพลี้ยกระโดดฯ

Page 40: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

14

ตัวเต็มวัย

ตัวหนอน

แตนเบียน (ดักแด)

ทําลายตัวหนอนของ

หนอนปลอก

อาการตนขาวถูกหนอนปลอก

ทําลาย

ปลอกท่ีหนอนอาศัยอยู

ตนขาวแหงตายเน่ืองจาก

หนอนปลอกทําลายรุนแรง

แตนเบียน Copidosomopsis sp. ทําลายไขของหนอนหอใบขาว ใน

หนอน 1 ตัวมีแตนเบียน 200-300 ตัว

แตนเบียน Temelucha sp.

ทําลายตัวหนอน ดวงดินกําลังกินตัวหนอน

ท่ีเพิ่งฟกออกจากไขใหม ๆ

แตนเบียน Xanthopimpla sp.

ทําลายระยะดักแด

แตนเบียน Elasmus sp. ทําลายตัวหนอน

Page 41: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

15

อาการ “ขาวยอดเหี่ยว”

ชวงขาวแตกกอ

ตัวเต็มวัย ไข ตัวหนอน ดักแด แมงมุม กําลังกินผีเส้ือหนอนกอสีครีม

ตั๊กแตนหนวดยาว ตัวหํ้ากินไขของ

หนอนกอขาว แตนเบียน Temelucha stangli ทําลาย

ตัวหนอนของหนอนกอขาว

แตนเบียน Charops sp. ทําลาย

ตัวหนอนของหนอนกอขาว

แตนเบียน Amauromorpha sp.

ทําลายตัวหนอนของหนอนกอขาว

ดักแด

แตนเบียน Telenomus sp. ทําลายไข

ของหนอนกอสีครีม

อาการ “ขาวหัวหงอก”

ชวงขาวแตกกอ

Page 42: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

16

อาการตนขาว ท่ีถูกแมลงบั่ว

ทําลาย

ตัวเต็มวัย ดักแด

ไรตัวหํ้า แอมบลิเชียส

(Amblysieus sp.)

แตนเบียน Platygaster sp. ทําลายไขของแมลงบั่ว พบมากใน

นาขาว มีบทบาทสําคัญในการลด

ปริมาณแมลงบั่ว

แตนเบียน Aprostositus sp. ทําลายหนอน และดักแดของแมลงบั่ว

แตนเบียน Neanastatus sp.

ทําลายดักแดของแมลงบั่ว

ตัวออนดวงดิน กําลังกินดักแดแมลง

Page 43: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

17

ไข ตัวเต็มวัย

แตนเบียน Gryon nixoni แตนเบียน Ooencyrtus sp.

ลักษณะเมล็ด

ขาวท่ีถูกแมลง

สิงทําลาย

ตัวเต็มวัย ตัวเต็มวัย ตัวหนอน ตัวหนอน

อาการท่ีหนอนกระทูกลา กัดกินใบขาว

อาการท่ีหนอนกระทูคอรวง

กัดกินรวงขาว

แมลงวันกนขน

ตัวเต็มวัย ดักแด

Page 44: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

18

บรรณานุกรม

กองกีฏและสัตววิทยา. 2549. คําแนะนําการปองกันกําจัดแมลง

และสัตวศัตรูพืช ป 2549. กองกีฏและสัตววิทยา.

กรมวิชาการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

โรงพิมพชุมชนสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด,

กรุงเทพฯ. 282 หนา.

เคอิโสะ ยาสุมัทสุ ทะนงจิตร วงษศิริ นวลศรี วงษศิริ

เฉลิมวงศ ถิระวัฒน องุน ลิ่ววานิช และ ชิโยโกะ โอคูมา.

2526. ศัตรูธรรมชาติบางชนิดของแมลงศัตรูขาวใน

ประเทศไทย. กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร.

71 หนา.

ปรีชา วังศิลาบัตร สุวัฒน รวยอารีย เรวัต ภัทรสุทธิ

เฉลิมวงศ ถิระวัฒน และ วนิช ยาคลาย. 2538. มิตรและ

ศัตรูชาวนา -ศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูขาวที่สําคัญ .

กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร. 112 หนา .

วันทนา ศรีรัตนศักด์ิ เรวัตร ภัทรสุทธิ นลินี เจียงวรรธนะ

เพชรหทัย ปฏิรูปานุสร ถนอมจิตร ฤทธิ์มนตรี และ

เพชรี เซงซิ้ม. 2550. แมลง-สัตวศัตรูขาว และการปองกัน

กําจัด. สํานักวิจัยและพัฒนาขาว กรมการขาว. 188 หนา.

ศูนยวิจัยขาวพิษณุโลก. 2552. การใชสารปองกันกําจัดศัตรูพืช

เอกสารแนะนําฉบับที่ 1/2552. ศูนยวิจัยขาวพิษณุโลก.

สํานักวิจัยและพัฒนาขาว กรมการขาว.

Shepard. B.M., A.T. Barrion, and J.A. Litsinger. 1987.

Friends of the Rice Farmer-Helpful Insects, Spiders,

and Pathogens. IRRI , Los Banos, Laguna,

Philippines. P.O. Box 933, Manila, Philippines. 126 pp.

Page 45: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

การจัดการวัชพืชในนาขาว

รวบรวมและเรียบเรียง

โดย

อาทิตย กุคําอู

นักวิชาการเกษตร ระดับชํานาญการพิเศษ

ศูนยวิจัยขาวพิษณุโลก

กุมภาพันธ 2552

ขาววัชพืช : ปญหาสาเหตุ แนวทาง และมาตรการแกไขปญหา

รวบรวมและเรียบเรียง

โดย

อาทิตย กุคําอู

นักวิชาการเกษตร ระดับชํานาญการพิเศษ

ศูนยวิจัยขาวพิษณุโลก

กุมภาพันธ 2552

Page 46: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

1

การจัดการวัชพืชในนาขาว

..........................................

วัชพืช หมายถึง พืชท่ีเราไมตองการ หรือ พืชท่ีข้ึนผิด

วัตถุประสงค วัชพืชอาจจะหมายถึง หญาขาวนก หญาดอกขาว

ผักปอดนา ขาเขียด กกทราย ผักแวน ฯลฯ ที่ขึ้นในนาขาว หรือ

อาจจะเปนตนขาว ตนขาวโพด ที่ขึ้นในแปลงถั่วเหลือง เพราะเรา

ไมตองการเชนกัน

วัชพืชเปนปญหาสําคัญทางดานการเกษตร เน่ืองจากวัชพืช

ที่ขึ้นในแปลงปลูกพืชจะไปแกงแยงปจจัยในการเจริญเติบโต เชน

ธาตุอาหาร นํ้า และแสงแดด เปนที่อาศัยของโรค แมลง และ

สัตวศัตรูพืช เปนอุปสรรคในการใหนํ้าชลประทาน ทําใหการ

เก็บเกี่ยวผลผลิตเปนไปดวยความลําบาก ดังน้ันในการเพาะปลูก

จึงตองมีการควบคุมหรือกําจัดวัชพืชไมวาจะโดยวิธีใด ๆ ก็ตาม

แตการที่จะควบคุมหรือกําจัดวัชพืชใหไดผลดีน้ัน จําเปนที่จะตอง

รูจักชนิดของวัชพืชเสียกอน เพราะวัชพืชแตละชนิดแตละประเภท

มีลักษณะการเจริญเติบโตที่แตกตางกัน ซึ่งอาจจะใชวิธีการ

จัดการที่แตกตางกันออกไปดวย โดยเฉพาะปจจุบันซึ่งมีการใช

สารเคมีกําจัดวัชพืชกันมากขึ้น และสารเคมีสวนใหญมักมีความ

เฉพาะเจาะจงกับวัชพืชแตละชนิด แตละประเภท ดังน้ันถารูจัก

ชนิดและแบงแยกประเภทของวัชพืชได จะทําใหสามารถเลือก

วิธีการกําจัดไดอยางถูกตองและเหมาะสม

การจําแนกวัชพืช

การจําแนกวัชพืชน้ัน มีวัตถุประสงคเพื่อจะใหทราบวา

วัชพืชชนิดน้ัน ชื่ออะไร จัดเปนวัชพืชประเภทไหน เพื่อประโยชน

ในการวางแผนปองกันกําจัดไดถูกตอง ซึ่งวัชพืชสามารถจําแนก

เปนประเภทใหญ ๆ ไดหลายแบบ เชน จําแนกตามชีพจักร เปน

วัชพืชปเดียว (annual weed) และวัชพืชขามป (perennial weed)

จําแนกตามลักษณะทางพฤกษศาสตร เปนแอลจี มอส เฟรน

วัชพืชใบเลี้ยงคู และวัชพืชใบเลี้ยงเด่ียว จําแนกตามรูปรางลักษณะ

ของใบ เปนวัชพืชใบแคบและวัชพืชใบกวาง เปนตน แตการ

จําแนกตามลักษณะการควบคุมเพื่อประโยชนในการปองกันกําจัด

โดยทั่วไปจะแบงวัชพืชออกเปน 5 ประเภท ดังน้ี

1. วัชพืชประเภทหญา (grass) บางคร้ังอาจเรียกวา วัชพืช

ใบแคบวงศหญา เปนพืชใบเลี้ยงเด่ียว ลําตนกลมภายในกลวง มี

ขอและปลอง ใบแยกเปนตัวใบและกาบใบ ตัวใบจะมีความกวาง

และยาวแตกตางกันมาก เสนใบขนานกันไมมีรากแกว เชน หญา

ขาวนก หญานกสีชมพู หญาดอกขาว หญาแดง

2. วัชพืชประเภทใบกวาง (broadleaf) สวนใหญเปนพืช

ใบเลี้ยงคู ลําตนอาจมีกิ่งกานสาขา ตัวใบจะมีความกวางและยาว

แตกตางกันนอย เสนใบสานเปนรางแห มีรากแกว เชน ผักปอด

นา ผักบุง เทียนนา ขาเขียด

Page 47: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

2

3. วัชพืชประเภทกก (sedge) ลักษณะคลายวัชพืชประเภท

หญา แตลําตนไมมีขอไมมีปลอง ลําตนมักเปนรูปสามเหลี่ยม

ภายในตัน ใบไมแยกเปนกาบใบและแผนใบ ใบจัดเรียงตัวบน

ลําตนเปน 3 แถว เชน กกทราย กกสามเหลี่ยม กกขนาก

หนวดปลาดุก

4. วัชพืชประเภทเฟรน (fern) เปนพืชชั้นตํ่า ไมมีเมล็ด

ขยายพันธุดวยสวนของตน และอับเรณู (spore) เชน ผักแวน

ผักกูดนา

5. วัชพืชประเภทสาหราย (algae) เปนพืชชั้นตํ่า มีรูปราง

อยางงาย ๆ ประกอบดวยเซลลเดียว หรือหลายเซลลมาตอกัน ราก

ลําตนและใบไมมีความแตกตางกัน เชน สาหรายไฟ

ชีววิทยาและนิเวศวิทยาของวัชพืชสําคัญในนาขาว

หญาขาวนก

เปนวัชพืชประเภทใบแคบตระกูลหญา อายุปเดียว

ความสูงประมาณ 120 ซม. รอยตอระหวางใบและกาบใบไมมีหู

ใบ ระยะเจริญเติบโตดูคลายขาวมาก เมล็ดงอกพรอมขาว ชอบขึ้น

ในที่ชื้นแฉะความชื้น 75-95 % งอกได 80 % ความชื้น 50 %

งอกได 75 % สามารถงอกไดในนํ้าขังลึก 1-2 ซม. อุณหภูมิที่

เหมาะสมในการงอกคือ 20-30 องศาเซลเซียส pH ที่สามารถ

งอกไดคือ 4.6-8.4 ออกซิเจน 20 % งอกไดถึง 99 % แต

ออกซิเจนตํ่ากวา 1 % ไมสามารถงอกได สามารถงอกไดที่ความ

ลึก 2-4 ซม. เมล็ดที่ถูกแชนํ้านาน 3 เดือน จะงอกไดเพียง 1 %

แตเมล็ดที่ถูกฝงในดินนานถึง 30 เดือน ยังสามารถงอกได 20-

67 % ระบาดในนาหวานนํ้าตม แพรกระจายโดยนํ้า สัตว และ

อุปกรณการเกษตร เมล็ดอาจพักตัวนาน 3-4 เดือน ผลิตเมล็ดได

สูง 500-20,000 เมล็ด /กอ ความหนาแนนเพียง 5 ตน /ตร .ม.

อาจทําใหผลผลิตขาวลด 60 %

หญานกสีชมพู

เปนวัชพืชประเภทใบแคบตระกูลหญา อายุปเดียว ลําตน

สูง 30-70 ซม. ขอตอระหวางใบและกาบใบไมมีหูใบ ลําตนและ

ใบบางทีมีสีชมพูปนเปนรอยตัดขวางความยาวของใบ ระบาดใน

ขาวไรและนาหวานขาวแหง หรือนาหวานนํ้าตม เมล็ดชอบงอก

ในสภาพที่คอนขางแหงเมื่องอกแลวสามารถเจริญเติบโตในสภาพ

ที่มีนํ้าขังได หากนํ้าทวมยอดจะตายใน 2 สัปดาห ในสภาพนา

หวานนํ้าตมจะงอกชากวาขาวเพราะในสภาพเทือกเมล็ดจะงอกได

นอยเพราะขาดออกซิเจน แตเมื่อปลอยใหเทือกแหงออกซิเจน

พอเพียงจึงงอกไดดีขึ้น สามารถงอกไดที่ความลึก 0.4 ซม. อาจ

ทําใหผลผลิตขาวสูญเสียไดถึง 85 %

Page 48: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

3

หญาแดง

เปนวัชพืชประเภทใบแคบตระกูลหญา อายุปเดียว มีชื่ออ่ืน

เรียกวา หญากระดูกไก หญาดอกตอ หญากานธูป แพรระบาดใน

นาหวานขาวแหงและนาหวานนํ้าตมของภาคกลาง พบมากบริเวณ

ที่ดินชื้นและนาหวานนํ้าตมที่ปลอยใหเทือกแหงจึงงอกหลังขาว

หลังจากฝนตกหนักเมล็ดจะงอกพรอมขาวในสภาพนาหวาน

ขาวแหง และสามารถเจริญเติบโตไดดีในสภาพนํ้าลึก 3-4 เมตร

ไดอีกดวย แพรระบาดโดยอาศัยนํ้าพาไป อาจลดผลผลิต 15 %

ในความหนาแนน 5 ตน/ตร.ม. และลดผลผลิตขาวถึง 80 % ใน

ความหนาแนน 80 ตน/ตร.ม.

หญาดอกขาว

เปนวัชพืชประเภทใบแคบตระกูลหญา อายุปเดียว มีชื่ออ่ืน

เรียกวา หญาไมกวาด หญาลิเก ความสูง 12-120 ซม. ขยายพันธุ

ดวยเมล็ดรอยตอระหวางใบและกาบใบมีหูใบ และมีขน 2-3 เสน

เมล็ดงอกพรอมขาว ชอบขึ้นในสภาพพื้นที่ชื้นแฉะ แตหากมี

นํ้าขังตลอดจะเจริญเติบโตไมดีนัก ไมสามารถงอกในที่นํ้าขัง

ระบาดในนาหวานนํ้าตม นาดําที่ขาดนํ้า นาหวานขาวแหงที่มี

ความชื้นพอ การปลอยใหเทือกแหงหลังหวานขาวอาจหลีกเลี่ยง

การงอกของหญาขาวนก ขาเขียด กกขนาก และผักปอดนา

แตจะเหมาะตอการงอกของหญาดอกขาว เมื่องอกแลวสามารถ

เจริญเติบโตไดในนํ้าขัง แพรกระจายโดยอาศัยนํ้าพาไปและอุปกรณ

การเกษตร ขยายพันธุโดยเมล็ดและลําตน อาจทําใหผลผลิตลดลง

ถึง 40 %

ผักปอดนา

เปนวัชพืชประเภทใบกวาง อายุปเดียว มีชื่ออ่ืนเรียกวา

หญาจําปา ผักพริก ชอดอกเปนรูปกรวยควํ่า ดอกสีขาว

เจริญเติบโตและออกดอกไดตลอดป พบในฤดูนาปมากกวาใน

ฤดูนาปรัง ลําตนสูง 7-150 ซม. มีลักษณะคลายฟองนํ้าหุมรอบ

โคนตนสวนที่แชนํ้า ระบาดในขาวนาดํา นาหวานนํ้าตม เมล็ด

งอกไดในที่ชื้นแฉะหรือนํ้าขังหากนํ้าใส เปนปญหาที่รุนแรงใน

นาขาว อาจทําใหผลผลิตสูญเสียไดถึง 45 % ในนาหวานนํ้าตม

มีปญหาในบริเวณที่ขาวมีความหนาแนนตํ่า เมล็ดมีขนาดเล็กมาก

แพรระบาดโดยติดไปกับดิน, นํ้า และเมล็ดพันธุขาว

ขาเขียด

เปนวัชพืชประเภทใบกวาง เปนวัชพืชขามป ใบเลี้ยง

เด่ียว ดอกสีมวง มีชื่ออ่ืนวา ผักอีฮีน ผักร้ิน ความสูง 10-35

ซม . ขยายพันธุดวยเมล็ด งอกในดินชื้นและงอกใตนํ้า ระบาดใน

นาดํา และนาหวานนํ้าตม เมล็ดงอกไดในสภาพชื้นแฉะและมี

นํ้าขัง เปนวัชพืชที่เปนปญหาคอนขางรุนแรงในสภาพนาที่มี

ไนโตรเจนสูง ทําใหผลผลิตขาวสูญเสียไดถึง 85 % ระดับนํ้าต้ืน

3-10 ซม. ความอุดมสมบูรณของดินสูง ความหนาแนนตํ่า ใบจะ

มีลักษณะปอม หากระดับนํ้าลึก ความอุดมสมบูรณของดินตํ่า

และความ หนาแนนสูง จะมีใบเรียวยาว

Page 49: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

4

หนวดปลาดุก

เปนวัชพืชประเภทกก อายุปเดียว ดอกสีนํ้าตาล ลําตนสูง

ประมาณ 30-50 ซม. มีชื่ออ่ืนวา หญาหนวดแมว หญาไขเขียด

ระบาดในนาหวานนํ้าตมและนาดําหากขาดนํ้า พบมากในบริเวณที่

มีธาตุฟอสฟอรัสสูง งอกไดดีในดินชื้นแตไมสามารถงอกใตนํ้า แต

หากงอกแลวเจริญเติบโตไดในนํ้าขัง ขยายพันธุโดยใชเมล็ดแพร

ระบาดโดยอาศัยนํ้าและลม ลดผลผลิตไดกวา 50 %

กกขนาก

เปนวัชพืชประเภทกก อายุปเดียว สูงประมาณ 30-40 ซม.

ดอกสีเขียวออน ขยายพันธุโดยใชเมล็ด งอกในดินชื้นแตไม

สามารถงอกใตนํ้า เจริญเติบโตในนํ้าได สามารถผลิตเมล็ด

จํานวนมาก ระบาดในนาหวานนํ้าตมและนาดําที่ขาดนํ้า หากนํ้า

ไมขังวงจรชีวิตอาจสั้นเพียง 30 วัน ออกดอกไดตลอดป แพร

ระบาดโดยอาศัยนํ้าและลม อาจทําใหผลผลิตขาวลดลง 50-80 %

เมื่อมีความหนาแนน 100 ตน/ตร.ม. และลดลง 60-90 % เมื่อมี

ความหนาแนน 300 ตน/ตร.ม. การแขงขันกับขาวจะรุนแรงมาก

ในสภาพความอุดมสมบูรณของดินสูง

กกทราย

เปนวัชพืชประเภทกก อายุปเดียว มีชื่ออ่ืนวา กกแดง

สูงประมาณ 30-60 ซม. ชอบขึ้นในที่ดินเหนียวปนทรายและชื้น

จะงอกหลังขาวนาหวานนํ้าตมโดยเฉพาะสภาพที่ปลอยใหนํ้าแหง

เน่ืองจากดินแฉะและนํ้าขังไมเหมาะตอการงอกของกกทราย

ผักแวน

เปนวัชพืชประเภทเฟรน อายุมากกวา 1 ป ขยายพันธุ

โดยใชลําตนและอับเรณู งอกไดดีในสภาพที่ชื้นแฉะและ

เจริญเติบโตไดดีในดินแฉะและนํ้าขัง ระบาดในนาดําและหวาน

นํ้าตม แพรระบาดโดยอาศัยนํ้า สามารถทําใหผลผลิตขาวลดได

ถึง 70 %

Page 50: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

5

การจัดการวัชพืช

การจัดการวัชพืชในนาขาว ไมควรทําเฉพาะวิธีการเดียว

แตควรปองกันและกําจัดอยางเปนระบบ ซึ่งสามารถกระทําได

ต้ังแตเร่ิมปลูกขาวจนกระทั่งเก็บเกี่ยว โดยมีหลักปฏิบัติดังน้ี

1. เมล็ดพันธุขาว

ใชเมล็ดพันธุที่สะอาดไมมีเมล็ดวัชพืชเจือปน เพราะถามี

เมล็ดวัชพืชปนติดไปกับเมล็ดพันธุขาวจะเปนการเพิ่มวัชพืชลงไป

ในนาซึ่งมีเมล็ดวัชพืชสะสมมากอยูแลว การทําความสะอาดเมล็ด

พันธุขาว สามารถกระทําไดโดยใชเคร่ืองสีฝดเปาเมล็ดวัชพืชและ

เศษสิ่งเจือปน ที่เบาออกไปจากเมล็ดขาว นอกจากน้ีขณะแชขาว

สําหรับใชหวานยังสามารถใชมือซาวเอาเมล็ดขาวลีบ และเศษ

สิ่งเจือปนที่ลอยออกไดอีกคร้ัง จะไดเมล็ดพันธุที่สมบูรณ ใชเมล็ด

พันธุที่มีเปอรเซ็นตความงอกสูง และงอกไดเร็วแข็งแรงสามารถ

แขงขันกับวัชพืชได

2. การเตรียมแปลงปลูกขาว

การไถเตรียมดินมีวัตถุประสงค เพื่อกําจัดวัชพืช และทําให

ดินมีสภาพเหมาะแกการปลูกขาว การไถคร้ังแรกพลิกดินขึ้นมา

แลวเวนชวงใหเมล็ดวัชพืชงอก ยิ่งงอกมากยิ่งดี แลวไถคร้ังที่ 2

หรือไถแปรฝงกลบตนวัชพืชลงในดิน จะชวยลดปริมาณวัชพืชได

มาก ชวงเวลาระหวางไถคร้ังแรกกับคร้ังที่ 2 ขึ้นกับปจจัยในการ

งอกของเมล็ดวัชพืชโดยเฉพาะความชื้น ถามีความชื้นพอเหมาะ

จะทําใหงอกไดดีและใชเวลาไมนาน แตถาดินแหงอาจจะตองใช

เวลานานมากขึ้น หลังจากไถแลวมีการคราดเอาเศษสวนวัชพืช

ออกจากแปลงนาและทําใหดินละเอียด นอกจากน้ียังเปนการปรับ

ระดับพื้นที่ใหเรียบสม่ําเสมอ ถาเปนนาหวานนํ้าตมและนาดํา

ตองทําเทือกเปนขั้นตอนสุดทาย เพื่อทําใหดินเละงายตอปกดํา

และเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของเมล็ดขาวงอก

การปรับระดับพื้นที ่ เปนเร่ืองที่มีความสําคัญมาก มีผลตอ

ความสม่ําเสมอของตนขาว บริเวณที่ตํ่าเปนแองมีนํ้าขังไมสามารถ

ระบายนํ้าออกไดหมดตนขาวมักจะเนาตาย และระดับพื้นที่มีผล

ตอการใหนํ้าเมื่อขาวเร่ิมต้ังตัวไดหลังหวาน ถาพื้นที่ไมสม่ําเสมอ

จะทําใหเอานํ้าเขานาไดไมทั่วถึง ถาจะเอานํ้าเขาใหถึงบริเวณที่

สูงกวาจะทําใหนํ้าทวมตนขาวบริเวณตํ่าการเจริญเติบโตไมดีหรือ

อาจจะตายได แตถาใหระดับนํ้าพอเหมาะสําหรับบริเวณตํ่า

บริเวณที่สูงกวานํ้าก็ไมถึง จะทําใหเกิดปญหามีวัชพืชงอกขึ้นมาได

นอกจากน้ีระดับพื้นที่ไมสม่ําเสมอยังมีผลตอ ประสิทธิภาพของ

สารกําจัดวัชพืช อันเน่ืองมาจากนํ้าเขาแปลงนาไดไมทั่วถึง เพราะ

ความชื้นที่เหมาะสมทําใหการใชสารกําจัดวัชพืชมีประสิทธิภาพ

มากขึ้น

Page 51: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

6

3. การใชวัสดุคลุมดิน

การเตรียมดินบางคร้ังอาจจะไมมีความจําเปน ถามีสิ่งอ่ืน

ทดแทน เชน การใชสารกําจัดวัชพืชประเภทไมเลือกทําลายฉีดพน

กําจัดวัชพืชกอนปลูกขาวโดยไมตองไถพรวน ถามีการปลูกถั่วเขียว

และใชฟางขาวคลุมดวยจะชวยปองกันการงอกของวัชพืชไดดียิ่งขึ้น

ในปจจุบันมีการทํานาอีกรูปแบบหน่ึงเรียกวา การทํานาแบบลม

ตอซัง โดยหลังจากเก็บเกี่ยวขาวแลวมีการลมตอซังใหหักราบลง

กับพื้นเพื่อใหตาที่โคนตนขาวแตกหนอขึ้นมาใหม วิธีปลูกขาว

แบบน้ีมีปญหาวัชพืชคอนขางนอยเพราะมีฟางขาวปกคลุมชวย

ปองกันการงอกของวัชพืช ในลักษณะใกลเคียงกันการ หวาน

เมล็ดขาวแหงแลวลมตอซังที่คอนขางแหง หรือใชเคร่ือง ตัดหญา

ตัดตอซังขาว เอานํ้าแชใหความชื้นกับเมล็ดขาวสําหรับการงอก

และใหตอซังและฟางขาวเนา ไมใหแตกหนอใหม วิธีการน้ีชวยลด

ปริมาณวัชพืชไดเชนกัน

4. อัตราเมล็ดพันธุ

ความหนาแนนของประชากรตนขาว มีสวนแขงขันกับ

วัชพืชได ในนาหวานขาวแหงอัตราเมล็ดพันธุ 18-24 กก./ไร ชวย

ลดปญหาวัชพืชใหนอยลง สําหรับนาหวานนํ้าตม อัตราเมล็ดพันธุ

15 กก./ไร เปนอัตราที่เหมาะสม ทําใหวัชพืชมีพื้นที่งอกขึ้นมา

แขงขันกับขาวไดนอย แตถาใชอัตราสูงกวาน้ีตนขาวจะแยงอาหาร

กันเอง สวนนาดํา ระยะปกดํา 20 x 20, 25 x 25 และ 30 x 30 ซม.

ผลผลิตขาวไมแตกตางกัน

5. การจัดการนํ้า

นํ้าเปนปจจัยสําคัญในการชักนําใหเกิดชนิดวัชพืชตาง ๆ

ในนาขาว เน่ืองจากความชื้นในดินมีสวนชวยใหเมล็ดหรือสวน

ขยายพันธุของวัชพืชงอกได วัชพืชแตละชนิดตองการความชื้นใน

การงอก ในระดับที่แตกตางกันออกไป เชน หญานกสีชมพู

หนวดปลาดุก และกกทราย ตองการความชื้นระดับดินหมาด

(field capacity) ก็สามารถงอกได หญาดอกขาวสามารถงอกได

ต้ังแตความชื้นระดับดินหมาด ถึงระดับนํ้าลึก 2 ซม. หญาขาวนก

งอกไดดีที่ระดับความชื้นดินหมาด ถึงระดับ 1 ซม. แตระดับนํ้า

2-6 ซม. ยังงอกไดบาง สําหรับผักปอดนาและขาเขียด งอกได

บางในความชื้นระดับดินหมาด ถึงระดับนํ้า 1 ซม. แตงอกไดดี

ต้ังแตระดับนํ้า 1 - 6 ซม. สวนแหวทรงกระเทียมโปงและผักตับเตา

งอกไดดีในนํ้าลึก 2 - 6 ซม.

จากการที่วัชพืชตองการความชื้นในการงอกแตกตางกัน

เราสามารถนําวิธีการจัดการนํ้ามาใชเพื่อลดปญหาวัชพืช จะเห็น

ไดวามีวัชพืชนอยชนิดที่งอกในนํ้าได ดังน้ันการทํานาดํา ซึ่งมีนํ้า

ขังต้ังแตเร่ิมปกดํา จึงไมคอยมีปญหาเร่ืองวัชพืช สําหรับนาหวาน

นํ้าตม ลดปญหาหญาขาวนกไดโดยปลอยใหนํ้าแหงหลังหวานขาว

จนดินแตกระแหงแลวจึงปลอยนํ้าเขานา แตหญาไมกวาดอาจจะ

มาแทนที่เพราะชอบงอกในสภาพเชนน้ี วัชพืชประเภทหญาและ

กกสวนใหญไมสามารถงอกในสภาพนํ้าขัง ดังน้ันถาเอานํ้าเขานา

ไดเร็วคือ 7 วันหลังหวานขาว จะสามารถควบคุมวัชพืชไดดี

ถาเอานํ้าเขาชาเกินไปวัชพืชมีโอกาสงอกขึ้นมาได เมื่องอกไดแลว

สามารถเจริญเติบโตในสภาพนํ้าขังตอไปได

Page 52: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

7

6. การควบคุมโดยชีววิธี

เปนการใชสิ่งมีชีวิตมาควบคุมวัชพืช เชน การเลี้ยงเปดใน

นาขาว โดยธรรมชาติเปดจะใชปากแซะผิวดินเพื่อหาอาหาร ซึ่งจะ

แซะเอาตนออนของวัชพืชลอยขึ้นมาดวย การเลี้ยงปลารวมกับ

แหนแดงจะชวยลดปญหาวัชพืช นอกจากน้ียังมีการใชสิ่งมีชีวิตอ่ืน ๆ

ไดแก โรคพืช โดยไดทําการทดลองในหองปฏิบัติการและในเรือน

ทดลองพืช ฉีดพน(inoculate) สปอรของเชื้อรา Colletotrichum sp.

และ Alternaria sp. อัตรา 1 x 105 สปอรตอมิลลิลิตร สามารถทําให

ผักปอดนาเกิดโรคและตายได

7. การปลูกพืชหมุนเวียน

การปลูกขาวอยางเดียวซ้ําในพื้นที่เดิม อาจทําใหมีการสะสม

ของวัชพืชบางชนิด ถามีการปลูกพืชอ่ืนสลับกับขาวแบบกอนหรือ

หลังนาจะเปนการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอม ทําใหวัชพืชบางชนิด

ที่ไมชอบสภาพแวดลอมอีกแบบหน่ึง ไมสามารถเจริญเติบโตได

เชน การปลูกพืชปุยสด ไดแก โสนอัฟริกัน ปอเทือง และถั่ว พรา

กอนปลูกขาวจะชวยลดปญหาวัชพืชในนาขาวที่ปลูกตามมาให

นอยลง

8. การใชสารกําจัดวัชพืช

สารกําจัดวัชพืชเปนสารเคมีที่พัฒนาเพื่อใชควบคุมวัชพืช

ซึ่งยอมเปนอันตราย ดังน้ัน การใชจะตองมีความรู ความเขาใจ

เกี่ยวกับคุณสมบัติของสารเคมี วิธีการใช ตลอดจนขอควร

ระมัดระวัง จึงจะใชไดอยางมีประสิทธิภาพและปลอดภัย

ประเภทสารกําจัดวัชพืช สารกําจัดวัชพืชสามารถจําแนก

ไดหลายแบบ เพื่อสะดวกในการใชสวนใหญนิยมจําแนกตาม

ชวงเวลาการใช ดังน้ี

1. สารกําจัดวัชพืชประเภทกอนปลูก ( pre-planting )

เปนสารเคมีที่ใชพนกอนการเตรียมดินเพื่อฆาวัชพืชที่ขึ้นอยู

กอนแลว จึงไถเตรียมดินหรือใชพนฆาวัชพืชแทนการเตรียมดิน

แลวปลูกพืชเลย สารกําจัดวัชพืชประเภทน้ี ไดแก พาราควอท

ไกลโฟเสต กลูโฟซิเนต-แอมโมเนียม

2. สารกําจัดวัชพืชประเภทกอนงอก ( preemergence )

สวนใหญเกษตรกรเรียกวา ยาคุมหญา เปนสารเคมีที่พนหลัง

ปลูกพืช แตกอนวัชพืชงอก เปนการพนลงไปในผิวดินโดยตรง

สารเคมีพวกน้ีจะเขาไปทําลายวัชพืชทางสวนของเมล็ด ราก และ

ยอดออนใตดิน โดยตองพนในสภาพที่ดินมีความชื้นเหมาะสม

และมีการเตรียมดินที่สม่ําเสมอ สารกําจัดวัชพืชประเภทน้ี ไดแก

บิวทาคลอร เพรททิลาคลอร ออกซาไดอะซอน

3. สารกําจัดวัชพืชประเภทหลังงอก ( postemergence)

สวนใหญเกษตรกรเรียกวา ยาฆาหญา เปนสารเคมีที่ใชพน

หลังจากวัชพืชงอกขึ้นมาแลว โดยพยายามพนใหสัมผัสสวนของ

วัชพืชใหมากที่สุด สารกําจัดวัชพืชประเภทน้ี ไดแก โปรปานิล

ฟโนซาพรอบ-พี-เอทิล 2,4-ดี

Page 53: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

8

การใชสารกําจัดวัชพืชใหมีประสิทธิภาพ ตองปฏิบัติดังน้ี

- เตรียมดินใหดี และปรับระดับพื้นที่ใหสม่ําเสมอ มีผล

กับการใหนํ้าซึ่งหลังจากพนสารกําจัดวัชพืชแลวถาเอานํ้าเขาได

ทั่วถึง สารกําจัดวัชพืชจะมีประสิทธิภาพไดเต็มที่

- การใชสารกําจัดวัชพืช ใหถูกตอง ถือหลัก 3 ประการ

ดังน้ี

♦ ใชใหถูกชนิด กับพืชปลูก และชนิดวัชพืชที่สามารถ

ควบคุมได

♦ ใชใหถูกเวลา กับอายุพืชปลูก อายุของวัชพืช และ

สภาพแวดลอม

♦ ใชใหถูกอัตรา ตามที่กําหนดในฉลากสารกําจัดวัชพืช

- กอนใชสารกําจัดวัชพืชทุกคร้ังตองอานฉลากใหเขาใจ

และปฏิบัติตามอยางถูกตอง

- ควรสวมเสื้อผามิดชิด และมีหนากากปดจมูกปองกัน

ละอองสารเคมีในขณะพน หลังพนแลวควรลางทําความสะอาด

รางกายใหดี

- จัดการนํ้าอยางเหมาะสม โดยหลังพนสารกําจัดวัชพืช

แลว 3 วัน ควรเอานํ้าเขานา ถานานเกินไปจนดินแหง จะทําให

ประสิทธิภาพของสารกําจัดวัชพืชลดลง

ตาราง สารกําจัดวัชพืชท่ีใชในนาขาว

ชื่อสามัญของ

สารกําจัดวัชพืช

ประเภท

สารกําจัดวัชพืช

ชนิดวัชพืช

ที่ควบคุมได

เวลาและวิธีการใช

เพนดิเมทธาลิน กอนและหลัง

วัชพืชงอก

ประเภทหญา เชน

หญานกสีชมพู

หญาดอกขาว

หญาตีนนก

หญาตีนกา

หญาปากควาย

ประเภทกก เชน

หนวดปลาดุก

ประเภทใบกวาง เชน

เซงใบมน ผักเบ้ียหิน

พนทันทีหลังหวาน

ขาวแหงหรือหยอด

ขาวไร และควรพน

ขณะดินมีความช้ืน

นาหวานน้ําตม

พนระยะ 8 - 12 วัน

หลังหวานขาว

ขณะพนควรมีน้ําขัง

แตไมใหทวมสะดือ

ขาว และรักษาระดับ

น้ําใหสม่ําเสมอ

ออกซาไดอะซอน กอนวัชพืชงอก ประเภทหญา เชน

หญานกสีชมพู

หญาแดง

หญาขาวนก

หญาดอกขาว

หญาตีนนก

หญาตีนกา

หญาตีนติด

หญาปากควาย

ประเภทกก เชน

กกขนาก กกทราย

ประเภทใบกวาง เชน

ขาเขียด ผักปอดนา

ผักเบ้ียหิน

ประเภทเฟรน เชน

ผักแวน

พนทันทีหลังหวาน

ขาวแหงหรือหยอด

ขาวไรและควรพน

ขณะดินมีความช้ืน

นาหวานน้ําตม

พนระยะ 6 - 10 วัน

หลังหวานขาว

ขณะพนควรมีน้ําขัง

แตไมใหทวมสะดือ

ขาว และรักษาระดับ

น้ําใหสม่ําเสมอ

Page 54: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

9

ชื่อสามัญของ

สารกําจัดวัชพืช

ประเภท

สารกําจัดวัชพืช

ชนิดวัชพืช

ที่ควบคุมได

เวลาและวิธีการใช

ออกซาไดอะซอน

+ 2, 4-ดี

กอนวัชพืชงอก

+ หลังวัชพืช

งอก

ประเภทหญา เชน

หญานกสีชมพู

หญาขาวนก

หญาแดง

หญาดอกขาว

ประเภทกก เชน

กกขนาก กกทราย

หนวดปลาดุก

ประเภทใบกวาง เชน

ขาเขียด ตาลปตรฤษี

ผักปอดนา เทียนนา

ผักบุง

ประเภทเฟรน เชน

ผักแวน

ประเภท สาหราย เชน

สาหรายไฟ

พนระยะ 3 - 7 วัน

หลังหวานขาว

ขณะพนควรมีน้ําขัง

แตไมใหทวมสะดือ

ขาว และรักษาระดับ

น้ําใหสม่ําเสมอ

เพรททิลาคลอร กอนวัชพืชงอก ประเภทหญา เชน

หญาขาวนก

หญาดอกขาว

หญาแดง

ประเภทกก เชน

กกขนาก กกทราย

หนวดปลาดุก

ประเภทใบกวาง เชน

ขาเขียด ผักปอดนา

พนระยะ 0 - 4 วัน

หลังหวานขาว

แลวไขน้ําเขานา

7 - 10 วัน และรักษา

ระดับน้ําใหสม่ําเสมอ

ชื่อสามัญของ

สารกําจัดวัชพืช

ประเภท

สารกําจัดวัชพืช

ชนิดวัชพืช

ที่ควบคุมได

เวลาและวิธีการใช

บิวทาคลอร กอนวัชพืชงอก ประเภทหญา เชน

หญาขาวนก หญานก

สีชมพู หญาดอกขาว

ประเภทกก เชน

กกขนาก

หนวดปลาดุก

กกทราย

ประเภทใบกวาง เชน

ขาเขียด ผักปอดนา

พนระยะ 4 - 6 วัน

หลังหวานขาว

ขณะพนควรมีน้ําขัง

แตไมใหทวมสะดือ

ขาว และรักษาระดับ

น้ําใหสม่ําเสมอ

บิวทาคลอร +

2, 4-ดี

กอนวัชพืชงอก

+ หลังวัชพืช

งอก

ประเภทหญา เชน

หญาขาวนก

หญาดอกขาว

ประเภทกก เชน

กกขนาก

ประเภทเฟรน เชน

ผักแวน

พนระยะ 9 วัน หลัง

หวานขาว ขณะพน

ควรมีน้ําขังแตไมให

ทวมสะดือขาว และ

รักษาระดับน้ําให

สม่ําเสมอ

บิวทาคลอร +

โพรพานิล

กอนวัชพืชงอก

+ หลังวัชพืช

งอก

ประเภทหญา เชน

หญาขาวนก

หญาดอกขาว

หญาแดง

ประเภทกก เชน

กกทราย กกขนาก

หนวดปลาดุก

ประเภทใบกวาง เชน

ขาเขียด ผักปอดนา

เทียนนา

ประเภทเฟรน เชน

ผักแวน

พนระยะ 7 - 9 วัน

หลังหวานขาว

แลวไขน้ําเขานา

หลังพน 3 วัน และ

รักษาระดับน้ําให

สม่ําเสมอ

Page 55: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

10

ชื่อสามัญของ

สารกําจัดวัชพืช

ประเภท

สารกําจัดวัชพืช

ชนิดวัชพืช

ที่ควบคุมได

เวลาและวิธีการใช

ไพราโซซัลฟูรอน

- เอทธิล

กอนและหลัง

วัชพืชงอก

ประเภทกก เชน

กกขนาก

หนวดปลาดุก

ประเภทใบกวาง เชน

ขาเขียด ผักปอดนา

ประเภทเฟรน เชน

ผักแวน

พนระยะ 0 - 6 วัน

หลังหวานขาว

ขณะพนควรมีน้ําขัง

แตไมใหทวมสะดือ

ขาว และรักษาระดับ

น้ําใหสม่ําเสมอ

ไดฟลูเฟนิแคน +

โพรพานิล

กอนวัชพืชงอก

+ หลังวัชพืช

งอก

ประเภทหญา เชน

หญาขาวนก

หญาดอกขาว

หญาแดง

ประเภทกก เชน

กกขนาก หนวดปลา

ดุก กกทราย

ประเภทใบกวาง เชน

ขาเขียด ผักปอดนา

พนระยะ 7 วัน หลัง

หวานขาว แลวไขน้ํา

เขานาหลังพน 3 วัน

และรักษาระดับน้ําให

สม่ําเสมอ

เฟนแทรสซา

มายด +

โพรพานิล

กอนวัชพืชงอก

+ หลังวัชพืช

งอก

ประเภทหญา เชน

หญาขาวนก หญานก

สีชมพู หญาดอกขาว

ประเภทกก เชน

กกขนาก กกทราย

หนวดปลาดุก

พนระยะ 4 - 10 วัน

หลังหวานขาว

แลวไขน้ําเขานา

หลังพน 3 วันและ

รักษาระดับน้ําให

สม่ําเสมอ

ไธโอเบนคารบ +

2, 4-ดี

กอนวัชพืชงอก

+ หลังวัชพืช

งอก

ประเภทหญา เชน

หญาขาวนก

ประเภทกก เชน

กกทราย กกขนาก

หนวดปลาดุก

ประเภทใบกวาง เชน

ขาเขียด ตาลปตรฤษี

พนระยะ 8 - 10 วัน

หลังหวานขาว

แลวไขน้ําเขานา

หลังพน 3 วัน และ

รักษาระดับน้ําให

สม่ําเสมอ

ชื่อสามัญของ

สารกําจัดวัชพืช

ประเภท

สารกําจัดวัชพืช

ชนิดวัชพืช

ที่ควบคุมได

เวลาและวิธีการใช

ไธโอเบนคารบ +

โพรพานิล

กอนวัชพืชงอก

+ หลังวัชพืช

งอก

ประเภทหญา เชน

หญาขาวนก

หญาดอกขาว

หญาแดง

ประเภทใบกวาง เชน

ผักปอดนา

ประเภทเฟรน เชน

ผักแวน

พนระยะ 4 - 20 วัน

หลังหวานขาว

แลวไขน้ําเขานา

หลังพน 3 วัน และ

รักษาระดับน้ําให

สม่ําเสมอ

อะนิโลฟอส กอนและหลัง

วัชพืชงอก

ประเภทหญา เชน

หญาขาวนก

หญาดอกขาว

หญาแดง

ประเภทกก เชน

กกขนาก

หนวดปลาดุก

กกทราย

ประเภทใบกวาง เชน

ขาเขียด ผักปอดนา

พนระยะ 4 - 12 วัน

หลังหวานขาว

แลวไขน้ําเขานา

หลังพน 3 วันและ

รักษาระดับน้ําให

สม่ําเสมอ

โคลมาโซน +

โพรพานิล

กอนวัชพืชงอก

+ หลังวัชพืช

งอก

ประเภทหญา เชน

หญาขาวนก

หญาดอกขาว

ประเภทกก เชน

กกทราย

พนระยะ 8 วัน หลัง

หวานขาว แลวไขน้ํา

เขานา หลังพน 3 วัน

และรักษาระดับน้ําให

สม่ําเสมอ

Page 56: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

11

ชื่อสามัญของ

สารกําจัดวัชพืช

ประเภท

สารกําจัดวัชพืช

ชนิดวัชพืช

ที่ควบคุมได

เวลาและวิธีการใช

ไซโคลซัลฟามู

รอน

กอนและหลัง

วัชพืชงอก

ประเภทกก เชน

กกขนาก

หนวดปลาดุก

กกทราย

ประเภทใบกวาง เชน

ขาเขียด ผักปอดนา

เทียนนา

พนระยะ 8 - 12 วัน

หลังหวานขาว

แลวไขน้ําเขานา

หลังพน 3 วันและ

รักษาระดับน้ําให

สม่ําเสมอ

ไซฮาโลฟอพ –

บิวทิล

หลังวัชพืชงอก ประเภทหญา เชน

หญาขาวนก

หญาดอกขาว

พนระยะ 10 วัน หลัง

หวานขาว ขณะพน

ตองไมมีน้ําขัง

แลวไขน้ําเขานา

หลังพน 3 วัน และ

รักษาระดับน้ําให

สม่ําเสมอ

ฟนอกซาพรอพ –

พี – เอทธิล +

เอทธอกซีซัล

ฟูรอน

หลังวัชพืชงอก ประเภทหญา เชน

หญาดอกขาว

หญาขาวนก

หญานกสีชมพู

หญาแดง

ประเภทกก เชน

หนวดปลาดุก

กกทราย กกขนาก

ประเภทใบกวาง เชน

ขาเขียด ตาลปตรฤษี

ผักปอดนา เทียนนา

พนระยะ 10 - 15 วัน

หลังหวานขาว

ขณะพนตองไมมี

น้ําขัง และไขน้ํา

เขานา หลังพน 3 วัน

ชื่อสามัญของ

สารกําจัดวัชพืช

ประเภท

สารกําจัดวัชพืช

ชนิดวัชพืช

ที่ควบคุมได

เวลาและวิธีการใช

ฟนอกซาพรอพ –

พี – เอทธิล

หลังวัชพืชงอก ประเภทหญา เชน

หญาดอกขาว

หญาขาวนก

หญานกสีชมพู

หญาแดง

พนระยะ 15 - 30 วัน

หลังหวานขาว

ขณะพนตองไมมี

น้ําขัง และไขน้ํา

เขานา หลังพน 3 วัน

บิสไพริแบก –

โซเดียม

หลังวัชพืชงอก ประเภทหญา เชน

หญาขาวนก

หญานกสีชมพู

ประเภทกก เชน

กกขนาก กกทราย

หนวดปลาดุก

ประเภทใบกวาง เชน

ตาลปตรฤษี ขาเขียด

ผักปอดนา

พนระยะ 14 - 30 วัน

หลังหวานขาว

ขณะพนตองไมมี

น้ําขัง และไขน้ํา

เขานา หลังพน 3 วัน

2, 4-ดี – โซเดียม หลังวัชพืชงอก ประเภทกก เชน

กกขนาก กกทราย

หนวดปลาดุก

ประเภทใบกวาง เชน

ผักบุง

พนระยะ 15 - 20 วัน

หลังหวานขาว

ขณะพนตองไมมี

น้ําขัง และไขน้ํา

เขานา หลังพน 3 วัน

2, 4-ดี – บิวทิล

– ไอโซบิวทิล

– ไดเมทธิล

แอมโมเนียม

หลังวัชพืชงอก ประเภทกก เชน

กกขนาก แหวหมู

ประเภทใบกวาง เชน

ตาลปตรฤษี เทียนนา

ผักบุง ผักเบ้ียหิน

พนระยะ 15 - 30 วัน

หลังหวานขาว

ขณะพนตองไมมี

น้ําขัง และไขน้ํา

เขานา หลังพน 3 วัน

Page 57: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

12

ชื่อสามัญของ

สารกําจัดวัชพืช

ประเภท

สารกําจัดวัชพืช

ชนิดวัชพืช

ที่ควบคุมได

เวลาและวิธีการใช

โพรพานิล หลังวัชพืชงอก ประเภทหญา เชน

หญาขาวนก หญานก

สีชมพู หญาดอกขาว

พนระยะ 15 - 20 วัน

หลังหวานขาว

ขณะพนตองไมมี

น้ําขัง และไขน้ํา

เขานา หลังพน 3 วัน

โพรพานิล +

2, 4-ดี

หลังวัชพืชงอก ประเภทหญา เชน

หญาขาวนก หญานก

สีชมพู หญาดอกขาว

หนวดปลาดุก

ประเภทกก เชน

กกขนาก กกทราย

ประเภทใบกวาง เชน

ขาเขียด ผักปอดนา

เทียนนา

พนระยะ 15 - 20 วัน

หลังหวานขาว

ขณะพนตองไมมี

น้ําขัง และไขน้ํา

เขานา หลังพน 3 วัน

เมทซัลฟูรอน –

เมทธิล +

เบนซัลฟูรอน –

เมทธิล

หลังวัชพืชงอก ประเภทกก เชน

หนวดปลาดุก

กกทราย กกขนาก

ประเภทใบกวาง เชน

ขาเขียด ผักปอดนา

เทียนนา

ประเภทเฟรน เชน

ผักแวน

พนระยะ 7 - 20 วัน

หลังหวานขาว

ขณะพนตองไมมี

น้ําขัง และไขน้ํา

เขานา หลังพน 3 วัน

เมทซัลฟูรอน –

เมทธิล +

คลอริมูรอน –

เอทธิล

หลังวัชพืชงอก ประเภทกก เชน

หนวดปลาดุก

กกทราย กกขนาก

ประเภทใบกวาง เชน

ขาเขียด ผักปอดนา

เทียนนา

พนระยะ 20 วัน หลัง

หวานขาว ขณะพน

ตองไมมีน้ําขัง และ

ไขน้ําเขานา หลังพน

3 วัน

ชื่อสามัญของ

สารกําจัดวัชพืช

ประเภท

สารกําจัดวัชพืช

ชนิดวัชพืช

ที่ควบคุมได

เวลาและวิธีการใช

ควินคลอแรก หลังวัชพืชงอก ประเภทหญา เชน

หญาขาวนก หญานก

สีชมพู

พนระยะ 20 วัน หลัง

หวานขาว ขณะพน

ตองไมมีน้ําขัง และ

ไขน้ําเขานา หลังพน

3 วัน

ควิสซาโลฟอพ –

พี – เทฟูริล

หลังวัชพืชงอก ประเภทหญา เชน

หญาขาวนก

หญาดอกขาว

หญาแดง

พนระยะ 20 วัน หลัง

หวานขาว ขณะพน

ตองไมมีน้ําขัง และ

ไขน้ําเขานา หลังพน

3 วัน

รายชื่อสารกําจัดวัชพืชท่ีจําหนายในทองตลาด

ช่ือสามัญ % สารออกฤทธ์ิ

และรูปของสาร

ช่ือการคา

2, 4-ดี 85 % SP ไฟราแทน 85, อาคา-ดี 85

2, 4-ดี-โซเดียม

85 % SP

95 % SP

เอชโชนัด 85

เฮ็ดโดนัล 95 เอสพี

2, 4-ดี-ไดเมทธิล

แอมโมเนียม

82.1 % W/V SL เนลพอน

2, 4-ดี-บิวทิล 72 % W/V EC

79.2 % W/V EC

เคโม-ดี, เดสวีด-แอล

ไบโอดี

2, 4-ดี-โพลีเอทธิลีนไกล

คอย

60 % W/V EC แวรเฮิรบ 250

2, 4-ดี-ไอโซบิวทิล 79.2 % W/V EC ดาราเอสเตอร, บี-79

Page 58: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

13

ช่ือสามัญ % สารออกฤทธ์ิ

และรูปของสาร

ช่ือการคา

กลูโฟสิเนท-

แอมโมเนียม

15 % W/V SL บาสตา-เอ็กซ

ไกลโฟเสท 16 % W/V SL สปารค, ไกลโฟเสท 16 %,

เทคเกอร 16, แบคอัพ 16

ไกลโฟเสท 48 % W/V SL ไกลโฟเซต 48 %, ซิลลิค 48,

ราวดอ๊ัพ, เทคเกอร 48, มารเก็ต

ไกลโฟเสท-

ไอโซโพรพิลามีน

48 % W/V SL ไกลโฟเสท 48, ซันอัพ,

ฟอรมูลา 48, แรปอ๊ัพ, ไวโอเสท

ไกลโฟเสท-ไทรมีเซียม 48 % W/V SL ทัชดาวน

ควิสซาโลฟอพ-พี-

เทฟูริล

4 % W/V EC โซตัส 40, ฟารเมอร, แคนนู

ควินคลอแรก 25 % W/V SC ฟาเซ็ท เอสซี

โคลมาโซน + โพรพานิล 12 + 27 % W/V EC แกมิต

ไซโคลซัลฟามูรอน 10 % WP อินเวสท

ไซฮาโลฟอพ-บิวทิล 10 % W/V EC แกรนดสแตน, คลินเชอร

ไดฟลูเฟนิแคน +

โพรพานิล

1.66 + 33.33 % W/V

EC

ซีนิธ, ไดนีล

ไธโอเบนคารบ + 2, 4-ดี 5 + 2 % G แซทเทอน-ดี

ไธโอเบนคารบ +

โพรพานิล

30 + 30 % W/V EC

40 + 20 % W/V EC

นาการด

แซทเทอนนิล

บิวทาคลอร 5 % G

60 % W/V EC

3.75 + 3.1 % G

มาเซ็ตเต 5 จ ี

แคดดี้, ออสติน 60

นูตา-ดี, บิวสตาร 6.85 จี

บิวทาคลอร +

เซฟเฟนเนอร

60 + 6 % W/V EC เอ็คโค, ปรี-ปาแปง

ช่ือสามัญ % สารออกฤทธ์ิ

และรูปของสาร

ช่ือการคา

บิวทาคลอร + โพรพานิล 35 + 35 % W/V EC

27.5 + 27.5 % W/V

EC

ชัตเตอร

ไฮบิว, ชาเลนจ, โชแปง, พีโพนา,

ชาโต

บิสไพริแบก-โซเดียม 10 % W/V EC โนมินี่

พาราขวัท-ไดคลอรายด 27.6 % W/V SL กรัมม็อกโซน, น็อกโซน,

ไบโอโซน, พีราโซน, ฟวโก,

ยิบอินโซน

เพนดิเมทธาลิน 33 % W/V EC พราว, สตอมพ

เพรททิลาคลอร 30 % W/V EC โซฟต 300 อีซี

โพรพานิล 36 % W/V EC ปอพา, พรีนิล, ฟอรานิล, ซันพา

36 อีซี, เซอรคอพัว 360 อีซี

ออกซาไดอะซอน +

2, 4-ด ี

20 + 40 % W/V EC นาโก

ไพราโซซัลฟูรอน 10 % WP ซีรูส

ฟนอกซาพรอป-พี-

เอทธิล

6.9 % W/V EC

7.5 % W/V EW

นีกัส, ไรซสตาร

เคนโด, ฟูเร, วิป 7.5

ฟนอกซาพรอป-พี-

เอทธิล +

เอทธอกซีซัลฟูรอน

6.9 + 8.9 % W/V SC

ทิลเลอร

เฟนแทรสซามายด +

โพรพานิล

6.75 + 37.5 % WP เลครโปร

เมทซัลฟูรอน-เมทธิล 20 % WG อัลไลย

เมทซัลฟูรอน-เมทธิล +

คลอริมูรอน-เอทธิล

1.75 + 8.25 % WP

10 + 10 % WP

ซินแดกซ

อัลมิกซ, คอนโต, นาริกา

ออกซาไดอะซอน 25 % W/V EC รอนสตาร 25 อีซี

Page 59: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

14

ช่ือสามัญ % สารออกฤทธ์ิ

และรูปของสาร

ช่ือการคา

ออกซาไดอะซอน +

2, 4-ดี

8.3 + 16.6 % W/V

EC

รอนสตาร 2 ดี

ออกซาไดอะซอน +

โพรพานิล

10 + 30 % W/V EC ไทคูน, รอนสตารพีแอล

ออกซาไดอารกิล 80 % WG ราฟท 800, ราฟท 800 ดับบลิวจี

อะนิโลฟอส 30 % W/V EC แอลนิโน, อะโรซิน

อะนิโลฟอส +

โพรพานิล

18 + 36 % W/V EC แกสคอย

เอทธอทซีซัลฟูรอน 15 % WG ซัลไรซ, ซาโคล, กลาเดี้ยม

รูปของสาร

SP = water soluble powder (รูปผงละลายนํ้า)

SL = soluble concentrate (รูปสารละลายนํ้าเขมขน)

AS = aqueous solution (รูปสารละลายนํ้า)

G = granular (รูปเม็ด)

WG = water dispersable granule (รูปเม็ดแขวนลอยในนํ้า)

WP = wettable powder (รูปผงแขวนลอยในนํ้า)

EC = emulsifiable concentrate (รูปอีมัลชันเขมขน)

SC = suspension concentrate (รูปสารแขวนลอยเขมขน)

EW = emulsion oil in water (รูปอีมัลชันนํ้ามันในนํ้า)

Page 60: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

15

ชนิดวัชพืชท่ีสําคัญในนาขาว

หญาขาวนก หญานกสีชมพู

หญาแดง หญาดอกขาว

ผักปอดนา

หนวดปลาดุก กกขนาก

ขาเขียด

ผักแวน

Page 61: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

16

บรรณานุกรม

คมสัน นครศรี ประสาน วงศาโรจน และเพ็ญศรี นันทสมสราญ.

2541. การควบคุมวัชพืชโดยปลอยนํ้าเขาแปลงนา

ชวงเวลาตางกันในวิธีการใชและไมใชสารกําจัดวัชพืชใน

นาหวานนํ้าตม. วัชพืช Thai Journal of Weed Science.

2541 ฉบับที่ 1 หนา 42-48.

ประสาน วงศาโรจน . 2540. การจัดการวัชพืชในนาขาว .

กองพฤกษศาสตรและวัชพืช , กรมวิชาการเกษตร .

กรุงเทพฯ. 175 หนา.

พรชัย เหลืองอาภาพงศ. 2540. วัชพืชศาสตร. ภาควิชาพืชไร,

คณะเกษตรศาสตร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 585 หนา.

พัชรินทร วนิชยอนันตกุล และอรสา วงษเกษม. 2535. อิทธิพล

ของระดับนํ้าตอการงอกของเมล็ดวัชพืชบางชนิด ,

น . 229-230. ใน รายงานผลการคนควาวิจัยกอง

พฤกษศาสตรและวัชพืช กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ.

รังสิต สุวรรณเขตนิคม. 2547. สารปองกันกําจัดวัชพืช : พื้นฐาน

และวิธีการใช. สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,

กรุเทพฯ. 467 หนา.

สุชาดา ศรีเพ็ญ . 2527. วัชพืชและการจําแนก , น. 11-18.

ใน วิทยาการวัชพืช . สมาคมวิทยาการวัชพืช

แหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ.

อาทิตย กุคําอู พัฒนา สนธิรัตน ธวัช ปฏิรูปานุสร และ

ภมร ปตตาวะตัง. 2544. การศึกษาเชื้อราที่มีประสิทธิภาพ

ในการควบคุมวัชพืชที่สําคัญในนาขาว, น. 127-138.

ใน การประชุมวิชาการขาวและธัญพืชเมืองหนาว

ภาคเหนือประจําป 2544. ศูนยวิจัยขาวแพรและ

ศูนยวิจัยขาวพิษณุโลก. 27-28 กุมภาพันธ 2544.

โรงแรมซิต้ีพารค, นาน.

อาทิตย กุคําอู พนัส สุวรรณธาดา และดิเรก อินตาพรม. 2545.

ผลของการเตรียมดินและจัดการฟางขาวตอประชากร

วัชพืชและผลผลิตขาว. รายงานผลงานวิจัยประจําป 2545.

ศูนยวิจัยขาวพิษณุโลก, พิษณุโลก.

Ampong-Nyarko Kwesi and S.K. De Datta. 1991. A Handbook

for weed Control In Rice. IRRI Manila, Philippines.

Anderson, W.P.1983 : Weed Science ; West Publishing Company,

New York. 655 pp.

Page 62: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

ขาววัชพืช : ปญหาสาเหตุ แนวทาง

และมาตรการแกปญหา

..........................................

ปญหาสาเหตุ

ขาวเปนพืชอาหารหลักของคนไทย และเปนสินคาสงออก

ที่สําคัญของประเทศ ขาวที่ใชสําหรับบริโภค มีชื่อวิทยาศาสตรวา

Oryza sativa L. มีการปรับปรุงและพัฒนาพันธุมาหลากหลายตาม

วัตถุประสงคที่ต้ังไว บางพันธุปลูกไดเฉพาะฤดูนาปและมีบางพันธุ

สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวไดตลอดทั้งป ขอเรียกในที่น้ีวา ขาวปลูก

แตยังมีพืชที่มีลักษณะคลายคลึงกับขาวปลูกอีกหลายชนิด ชนิดที่

สําคัญคือ Oryza rufipogon L. ซึ่งเปนพืชตระกูลเดียวกัน อาจกลาว

ไดวาเปนตนตอหรือบรรพบุรุษของขาวปลูก มี ชื่อเรียกวา ขาวปา

เจริญเติบโตตามธรรมชาติอยูในที่ลุม ตามหนอง คลอง บึง และ

รองนํ้าริมถนน เปนพืชอายุขามป ลําตน ใบ มีลักษณะเหมือนกัน

กับขาวที่ใชปลูกบริโภค ออกรวงราวปลายเดือนกันยายนเปนตนไป

มีความหลากหลายทางพันธุกรรมอยูในประชากร เน่ืองจากเจริญ

เติบโตตามธรรมชาติพันธุที่เหลืออยูจึงทนทานตอสภาพแวดลอม ที่

ไมเหมาะสม เชน ดินเปร้ียว ทนทานตอโรค และแมลงที่สําคัญ

หลายชนิด แตนํามาใชปลูกเปนพืชเศรษฐกิจโดยตรงไมได เพราะ

ขาวปามีลักษณะ บางอยาง เชน เมล็ดขาวเปลือก และการสุกแก

แตกตางจากขาวปลูก อยางไรก็ตามมีงานวิจัยยืนยันวา ขาวปา กับ

ขาวปลูก สามารถ ผสมขาม กันไดถึงแมวาจะ เปนไปไดยากมาก

เพราะปนพืชคนละชนิดแตอยูในตระกูลเดียวกัน และไมมีรายงาน

ชัดเจนวาเกิดขึ้นเมื่อใด แตอาจจะเปนความบังเอิญประจวบเหมาะ

ทําใหผสมขามกันได ลูกผสมที่ไดมีการกระจายตัว ออกเปนหลาย

ลักษณะสวนใหญมีลักษณะที่เกษตรกรไมตองการ มีชื่อเรียกเปน

ภาษาอังกฤษวา Weedy rice และภาษาไทยเรียกวา ขาววัชพืช

ในตางประเทศขาววัชพืชก็เปนปญหา เชนเดียวกัน ไมวาจะเปน

อเมริกา ยุโรป และเอเชีย ซึ่งมีผลงานวิจัยยืนยันวา ขาววัชพืชที่

ระบาดอยูในแถบตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศจีน เกิดจากทั้ง

การผสมขาม และจากการกลายพันธุเอง

Page 63: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

เปรียบเทียบลักษณะของขาวปา ขาวปลูก และขาววัชพืช

ในประเทศไทยเทาที่มีการรายงานพบวา ขาววัชพืชเคยมี

การระบาดมาแลวแตไมรุนแรงในพื้นที่นาหวานขาวแหง ต้ังแตป

2518 ที่จังหวัดปราจีนบุรี สงขลา นครศรีธรรมราช และพิษณุโลก

เฉพาะในฤดูนาป สําหรับพื้นที่นาชลประทานเร่ิมมีการระบาดของ

ขาวแดงในจังหวัดสุพรรณบุรี ต้ังแตป 2542 และในป 2544 พบ

ขาววัชพืชระบาดอยางรุนแรงในนาหวานนํ้าตมที่จังหวัดกาญจนบุรี

นครสวรรค และนาหวานขาวแหงที่จังหวัดนครนายก โดย การ

ระบาดขยายวงกวางออกไปเร่ือย ๆ ในแถบภาคกลาง และภาค

เหนือตอนลาง

ชนิดของขาววัชพืช

ขาววัชพืช สามารถ จําแนกความแตกตางทางลักษณะ

ภายนอกออกไดเปน 3 ชนิด คือ ขาวหาง (ขาวนก) ขาวดีด (ขาว

เดง) และขาวแดง (ขาวลาย)

ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของขาววัชพืชท่ีพบในประเทศไทย

ลักษณะที่ปรากฏ ขาวหาง

(หรือขาวนก)

ขาวดีด

(หรือขาวเดง)

ขาวแดง

(หรือขาวลาย)

สีเปลือกเมล็ด ดําหรือน้ําตาลเขม สีเหลืองฟาง น้ําตาลแดง

สีเมล็ดขาว แดงและขาว สวนใหญแดง แดง

การรวงของเมล็ด รวง รวง ไมรวง

หางที่ปลายเมล็ด หางยาว 5 - 10 ซม. หางสั้นหรือไมม ี ไมมีหาง

% การติดเมล็ด 50% 80% 100%

ความสูงที่ระยะ

ออกดอก

สูงกวาตนขาวปลูก

30 - 50 ซม.

สูงกวาตนขาวปลูก

หรือเทากัน สูงกวาตนขาวปลูก

ลักษณะของขาววัชพืชท่ีทําใหเปนปญหารายแรง

1. เจริญเติบโตแขงขันไดดีกวาขาวปลูก ถาขึ้นหนาแนน

จะขมลมและทับตนขาวในระยะใกลเก็บเกี่ยว

2. ออกดอกเร็วกวาขาวปลูก และเมล็ดสวนใหญรวงกอน

จึงไมถูกเก็บเกี่ยวไปพรอมเมล็ดขาวปลูก ทําใหมีเมล็ดสะสมอยูใน

แปลงนา ซึ่งจะเพิ่มความหนาแนนมากขึ้นในฤดูตอไป

ขาวปา ขาวปลูก ขาววัชพืช

เมล็ดสั้นปอม เมล็ดยาว เมล็ดสั้นปอม - เมล็ดยาว

หางยาวมาก เมล็ดขาวเปลือกไมมีหาง หางสั้น-หางยาว

และไมมีหาง

ออกรวงไมพรอมกัน ออกรวงในวันเวลา

ใกลเคียงกัน

ออกรวงไมพรอมกัน

สุกแกไมพรอมกันทั้งรวง สุกแกพรอมกันทั้งรวง สุกแกไมพรอมกัน

ทั้งรวง

ขาวเต็มเมล็ด 4-5 เมล็ด

ตอรวง

ขาวเต็มเมล็ด > 95% ขาวเต็มเมล็ด > 95%

เมล็ดรวงงาย เมล็ดรวงยากปานกลาง เมล็ดรวงงาย-รวงยาก

ปานกลาง

เมล็ดพักตัว 3 เดือน เมล็ดพักตัว 6-8 สัปดาห เมล็ดพักตัว 6 สัปดาห -

10 ป

Page 64: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

3. เมล็ดขาววัชพืชสวนใหญรวงกอนไมสามารถเก็บเกี่ยว

ได จึงทําใหผลผลิตขาวลดลง ไดถึง 100 % ขึ้นกับความหนาแนน

4. เมล็ดขาววัชพืชที่รวงสะสมอยูในแปลงนา มีระยะพัก

ตัวไมไดงอกข้ึนมาพรอมกันท้ังหมด บางเมล็ดมีชีวิตอยูไดนาน

มากกวา 10 ป ทําใหยากตอการกําจัด

5. เมล็ดขาววัชพืชท่ีมีเย่ือหุมเมล็ดสีแดง ถาปะปนไปกับ

ผลผลิตขาว ทําใหถูกตัดราคา จากโรงสี และเกษตรกรไมสามารถ

เก็บเมล็ดไวทําพันธุได

สาเหตกุารระบาดของขาววัชพืช

การขยายพื้นที่การระบาดของขาววัชพืช มาจากสาเหตุใหญ ๆ

2 ทาง คือ

1. เกษตรกรใชเมล็ดพันธุที่มี เมล็ด ขาววัชพืช ปะปนมา

อาจจะ โดยความรูเทาไมถึงการ ณของเกษตรกร และพอคาเมล็ด

พันธุขาว เมื่อปลูกขาวจนออกรวงแลวเกษตรกรก็มิไดไปตรวจ

ดูรวงและเมล็ดขาว ปลอยปละละเลยตามความเคยชิน เพราะ

โดยสวนใหญเมล็ด พันธุขาว ไมไดมาตรฐาน ที่ซื้อจากรานคา หรือ

เพื่อนบานปกติก็มักจะมีขาวพันธุอ่ืน ๆ ปนมาอยูแลว อีกทั้งมี

เมล็ดของขาวพันธุอ่ืนอยูในนาดวย แปลงนาของเกษตรกรที่

ไมคอยพิถีพิถันนัก จึงมักมีขาวที่สูงไมเทากันใหเห็นโดยทั่วไป

นอกจากน้ี เกษตรกรบาง รายยังใชเมล็ดพันธุน้ันปลูกตอไป หรือ

ขายใหกับเกษตรกรรายอ่ืน ๆ และเกษตรกรมีการทําน าตอเน่ืองทํา

ใหเกิดการสะสมของเมล็ดขาววัชพืชมากขึ้นเร่ือย ๆ

2. เมล็ดขาววัชพืช ติดไปกับ อุปกรณในการทํานา

โดยเฉพาะรถเกี่ยวนวดขาว เมล็ดขาวที่ตกอยูตามซอกภายใน

รถเกี่ยวนวดขาวที่ไมไดทําความสะอาดกอนน้ัน อาจมีจํานวน

ต้ังแต 20-50 กิโลกรัม หรือประมาณ 800,000 -2,000,000 เมล็ด

ขาวเปลือก หากรถเกี่ยวนวด ขาวไปทํางานใน แปลงนาที่มีการ

ระบาดของขาววัชพืชเพียง 1 เปอรเซ็นต รถเกี่ยวนวดที่ไมได

ทําความสะอาด น้ี จะมีเมล็ดขาวที่ตก คางอยูภายในเฉลี่ยประมาณ

25 กิโลกรัม หรือเทากับ มีประมาณ 1,000,000 เมล็ด ซึ่งจะมี

ขาววัชพืชปะปนมาดวยประมาณ 10,000 เมล็ด และถาหากขาว

วัชพืชสามารถงอกไดเพียง 10 เปอรเซ็นต ก็จะมีขาววัชพืชงอก

และเจริญเติบโตไดถึง 1,000 ตน ซึ่งเปนไปไดยากมากที่จะกําจัด

ขาววัชพืชเหลาน้ีใหไดหมด เพราะขาววัชพืชที่สุกกอนก็จะรวง

กอนสรางปญหาตอเน่ืองไปอีก

แนวทางในการแกปญหาขาวัชพืช

การปองกัน

1. เลือกใชเมล็ดพันธุขาวที่ ไดมาตรฐาน ไมมีเมล็ด

ขาว วัชพืชเจือปน โดยซื้อจากแหลงที่เชื่อถือได เชน ศูนยวิจัย

ขาวและศูนยเมล็ดพันธุขาว

2. ทําความสะอาดอุปกรณในการทํานา โดยเฉพาะ

รถเกี่ยวนวดขาว กอนลงแปลงทุกคร้ัง เพื่อปองกันเมล็ดขาว

วัชพืชที่อาจติดมาจากแปลงที่มีการระบาด

Page 65: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

การกําจัด

1. ถามีการระบาดไมรุนแรง ควรรีบกําจัดโดยการถอนหรือ

ตัดชิดโคนตน เพื่อไมใหแตกหนอใหม และนําไปทิ้งนอกแปลง

2. ถามีการระบาดรุนแรง

2.1 ควรเปลี่ยนวิธีทํานา จากนาหวานเปนวิธีปกดํา

อาจจะใชแรงงานคน เคร่ืองดํานา หรือใชวิธีโยนตนกลา เน่ืองจาก

ใชกลาตนที่โตแลว และสามารถไขนํ้าเขานาไดในระยะแรก ทําให

คุมไมใหขาววัชพืชงอกขึ้นมาได

2.2 ถาทํานาหวานนํ้าตม ควรปลอยแปลงนาในสภาพ

แหงตากแดดทิ้งไวนานประมาณ 4 สัปดาห เพื่อทําลายการพักตัว

ของเมล็ดขาววัชพืช ไขนํ้าเขาและนําเปดมาเลี้ยง ใหกินเมล็ดขาวที่

รวงในนา แลวปลอยขาววัชพืช งอกจนเปนตนมีประมาณ 3-4 ใบ

หลังจากน้ันไถกําจัดทิ้ง และเปนการลอใหเมล็ดขาววัชพืชที่อยู ใต

ดินงอก แลวไถกําจัดทิ้งอีกคร้ัง

3. การใชสารกําจัดวัชพืช

สามารถเลือกใชสารกําจัดวัชพืชได 3 ระยะ

3.1 ระยะทําเทือก

หลังทําเทือกเสร็จใหพน หรือหยดสารกําจัดวัชพืช

ลงในนาที่มีนํ้าขังลึกประมาณ 5 ซม. ทิ้งไว 3 วัน ระบายนํ้าออก

ใหแหงแลวหวานขาว ไขนํ้าเขานาภายใน 7 วัน และรักษาระดับ

นํ้าไมใหแหง

3.2 ระยะ 8 - 10 วัน หลังหวานขาว

ปลอยนํ้าเขานาใหทวมยอดขาววัชพืชซึ่งงอกจาก

ใตดิน ตนจึงมีขนาดเล็ก แตไมใหทวมสะดือขาวปลูก หวานสาร

กําจัดวัชพืชลงในนํ้า และรักษาระดับนํ้าไมใหแหง

3.3 ระยะขาววัชพืชเร่ิมออกรวง (ตากเกสร)

ใชสารกําจัดวัชพืชลูบรวงขาววัชพืชที่มีความสูง

กวาขาวปลูก เพื่อใหเมล็ดลีบไมใหสะสมเมล็ดในฤดูตอไป โดย

ใชผาที่อุมนํ้าไดดีพันรอบไมไผยาวประมาณ 2 เมตร มัดใหแนน

ราดดวยสารกําจัด วัชพืชที่เตรียมไวพอชุม ไมใหมากจนหยดจะ

ทําใหขาวปลูกที่อยูดานลางเสียหาย

Page 66: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

อัตราและวิธีการใชสารกําจัดขาววัชพืช

ช่ือสามัญ ช่ือการคา อัตราตอไร วิธีการใช % การ

ควบคุม

ระยะทําเทือก

ไดเมเทนามีด

90 % EC

ฟรอนเทียร 50 ซีซี พนสารลงในน้ํา

หลังทําเทือกทิ้งไว

3 วัน ระบายน้ํา

ออกกอนหวานขาว

60 - 80 %

ไธโอเบนคารบ

80 % EC

แซทเทอน 700 ซีซี หลังทําเทือก

ระบายน้ําออก

ใหหมดกอน

พนสารทิ้งไว

1 วัน ปลอยน้ํา

ทวมผิวดิน 3 วัน

แลวระบายน้ําออก

กอนหวานขาว

60 - 80 %

ระยะ 8 - 10 วัน หลังหวานขาว

ออกซาไดอารกิล

40 % SC

ราฟท 100 ซีซี คลุกทราย 4 กก.

หวานลงน้ํา

70 - 90 %

ระยะขาววัชพืชเริ่มออกรวง (ตากเกสร)

ช่ือสามัญ ช่ือการคา อัตราที่ใช

ตอน้ํา

1 ลิตร

ระยะการใชสาร

กลูโฟซิเนท-

แอมโมเนียม

15 % SL

บาสตา-เอกซ 100 - 200

ซีซี

ขาววัชพืชออกรวงและตากเกสร

ไมเกิน 3 วัน

ควิซาโลฟอป-พี-

เอธทิล 5 % EC

เรดโรดอฟ 100 ซีซี ขาววัชพืชชูใบธงและเร่ิมออกรวง

เอ็มเอสเอ็มเอ

72 % SL

ไนซวิวเอ็ม 100 ซีซี ขาววัชพืชออกรวงและตากเกสร

ไมเกิน 3 วัน

การใชสารกําจัดวัชพืชตองศึกษาอยางรอบคอบ หรือ

สอบถามจากผูเชี่ยวชาญ และมีการใชอยาง ระมัดระวัง เน่ืองจาก

ขาววัชพืชมีความใกลชิดทางพันธุกรรมกับขาวปลูกมาก สารกําจัด

วัชพืชที่สามารถกําจัด ขาว วัชพืชไดก็เปนอันตรายกับขาวปลูก

ไดเชนกัน

Page 67: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

สรุปแผนภูมิแนวทางและมาตรการในการแกไขปญหาขาววัชพืช

1. การจัดการขาววัชพืชในแปลงนา

2. มาตรการควบคุมการแพรกระจายขาววัชพืช

2.1 ดานกฎหมาย

ควร ผลักดันใหมีการประกาศใหขาววัชพืชเปนวัชพืช

รายแรง เพื่อระงับการแพรระบาด

2 ทางคือ

- ตรวจสอบมาตรฐานเมล็ดพันธุที่ขายในทองตลาด

- ควบคุมรถเกี่ยวนวด ขาว ใหทําความสะอาดหลัง การ

เก็บเกี่ยว

2.2 ดานการเผยแพรความรู

- จัดฝกอบรมแกเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ และเกษตรกร

- รณรงคใหเกษตรกรรวมมือปองกันและกําจัดวัชพืช

อยางจริงจัง

- ประชาสัมพันธผานสื่อตาง ๆ

- จัดฝกอบรมการผลิตเมล็ดพันธุดี ไวใชเองในระดับ

เกษตรกร

2.3 ดานงานวิจัยและการสนับสนุนเมล็ดพันธุดี

- สนับสนุนงานวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปองกัน

กําจัดขาววัชพืช

- สงเสริมและเพิ่มแหลงผลิตเมล็ดพันธุคุณภาพดี เชน

ศูนยขาวชุมชน

การกําจัดขาววัชพืชดวยวิธีใดวิธีหน่ึง ไมสามารถกําจัด

ใหไดผล 100 % ตองใชหลายวิธีรวมกัน ดําเนินการอยางจริงจัง

และตอเน่ือง จึงจะสามารถจัดการกับขาววัชพืชได

1.1 ลดปริมาณ

การสะสม พักดินในสภาพแหงอยางนอย 4 สัปดาห

ใชสารกําจัดวัชพืชกอนหวาน/หลังหวานขาว

(กําจัดเมล็ดขาววัชพืชท่ีกําลังงอกอยูในดิน)

หรือระยะเริ่มออกดอก ทําใหเมล็ดลีบ

ปลอยใหขาววัชพืชงอกแลวเตรียมดินอยาง

ประณีต (กําจัดเมล็ดขาววัชพืชบนผิวดิน)

1.2 ปองกันการปะปน

ของขาววัชพืชจาก

ภายนอก

ในกรณีท่ีมีขาววัชพืชปน ไมควรใช

ทําพันธุตอ

1.3 ตัดวงจรการ

แพรกระจาย

ตัดขาวปนอยางนอย 1 ครั้ง

ในระยะท่ีเห็นชัดเจน (ออกดอก)

มาตรการ ขั้นตอน วิธีการ

เก็บเกี่ยวผลผลิตขาว

หลังหวานขาวแลว 7 วัน เอานํ้าเขานา

รักษาระดับนํ้า 5-10 ซม. ใหคลุมดิน

แหลงเมล็ดพันธุคุณภาพ เชน ศูนยวิจัยขาว

ศูนยเมล็ดพันธุขาว ศูนยขาวชุมชน และ

แหลงพันธุทองถิ่นท่ีเชื่อถือได

ทําความสะอาดเครื่องเกี่ยวนวดขาว

รถไถเตรียมดิน เครื่องหวานเมล็ดพันธุ

เอานํ้าเขา และนําเปดมาเลี้ยงใหกิน

เมล็ดขาวท่ีรวงในนา เลี้ยงเปดในนา

พักดิน

เตรียมดิน

ใชสารเคม ี

การจัดการน้ํา

ใชพันธุด ี

ตัดขาวปน

ทําความสะอาด

เคร่ืองมือ เคร่ืองจักร

เมล็ดที่ได

ใชทําพันธุตอไมได

1.4 ปฏิบัติตามมาตรการนี้อยางจริงจังและตอเนื่อง ภายใน 4 ฤดูปลูก ปญหาขาววัชพืช

จะลดลงไดมากกวา 80 %

Page 68: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

บรรณานุกรม

กรมการขาว. 2550. สรุปพื้นที่การระบาดของขาววัชพืช(ไร)

รายจังหวัดในแตละภูมิภาคของประเทศไทย. 3 หนา

(อัดสําเนา).

กาญจนา กลาแข็ง. 2549. การปรับปรุงพันธุขาวโพลีพลอยด.

หนา 21 - 60. ใน รายงานประจําป 2549. ศูนยวิจัยขาว

ฉะเชิงเทรา สํานักวิจัยและพัฒนาขาว กรมการขาว.

จรรยา มณีโชติ. 2548. ขาววัชพืช ปญหาและการจัดการ.

ฮ่ัวนํ้า พร้ินต้ิง จํากัด กรุงเทพฯ. 19 หนา.

ธีรศักด์ิ สินธุเขียว. 2547. การผสมพันธุขามระหวางขาวพันธุปลูก

และขาวพันธุปา. เร่ืองยอ วิทยานิพนธวิทยาศาสตร

มหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร) สาขาพืชไร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 2547. 8 หนา.

ประสาน วงศาโรจน. 2548. ขาวที่เปนวัชพืช มหันตภัยใหมของ

ชาวนาไทย. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ

อารักขาพืชแหงชาติ คร้ังที่ 7 วันที่ 2-4 พฤศจิกายน 2548.

โรงแรมโลตัสปางสวนแกว, เชียงใหม. 8 หนา (อัดสําเนา).

สําราญ อินแถลง. 2548. หวานตนกลาวิธีกําจัดขาววัชพืช.

หนังสือพิมพกสิกร. กรมวิชาการเกษตร ปที่ 79 ฉบับที่ 6

พฤศจิกายน - ธันวาคม 2548.

Abdullah, M.X., D.A. Vaughan, H. Watanabe and K. Okuno.

1996 Original and diversity of weedy rice (padi angina).

Pp. 167 - 181. In : Watanabe, H, M. Azmi, Md.l. Zuki

(eds). Ecology of Major Weeds and Their Control in

Direct Seeding Culture. of Malaysia, MARDI/MADA/

JIRCAS Collaborative Study (1992 - 96) Serdang

(Malays) : Malaysian Agriculture Research and

Development Institute.

Azmi, M., MZ. Abdullah, B. Mislamah and B.B. Baki. 2000.

Management of weedy rice (Oryza sativa L.) ; The

Malaysian Experience. pp. 91 - 96. In : Limited

Proceedings No.2, Baki, B.B., D.V. Chin and M.

Mortimer(eds)Wild and Weed Rice in Rice Ecosystems

in Asia. A Review, Internationl Rice Research Institute,

Los Banos, Philippines.

Morishima, H., Y. Sano and H.l. Oka. 1984. Differentiation

of perennial and annual type due to Habitat condition

in the wild rice Oryza perennis. Plant Syst. Evol. 144 :

p. 119 - 135.

Moody, K. 1994. Weedy farm of rice in Southeast Asia. Paper

presented at the Padi Angin Workshop, 18 May 1994,

MARDI, Penang, Malaysia. 8 p.

Page 69: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·
Page 70: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

1

การเก็บเกี่ยวและปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อใหไดขาวคุณภาพดี

ปจจุบันรัฐบาลพยายามสงเสริมแนะนําใหเกษตรกรปลูก

ขาวพันธุดีของทางราชการ มีการฝกอบรมใหความรูดานการผลิต

ขาวใหมีประสิทธิภาพสูง โดยมีเปาหมายเพื่อเพิ่มผลผลิตตอไรและ

ขาวมีคุณภาพดี จะเห็นไดวาการปฏิบัติตามคําแนะนําทางดาน

วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและพยายามปรับปรุงวิธีหรือขั้นตอนใน

การเก็บเกี่ยว ตาก นวด ทําความสะอาด ขนยาย และเก็บรักษา

ใหถูกตองและเหมาะสมเพื่อลดการสูญเสียของผลผลิตขาวทั้ง

ปริมาณและคุณภาพใหสูญเสียนอยที่สุด สิ่งเหลาน้ีเปนการชวยให

เกษตรกรเพิ่มผลผลิตตอไรและเพิ่มรายไดในที่สุด

วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว หมายถึง วิธีการปฏิบัติดูแล

รักษาขาว ต้ังแตเตรียมการกอนเก็บเกี่ยว ตาก นวดและทําความ

สะอาดเพื่อขายหรือเก็บรักษา เกษตรกรสวนใหญปลูกขาวไวขาย

พอคาคนกลางหรือโรงสี สวนหน่ึงจะเก็บเมล็ดไวปลูกฤดูหรือป

ตอไป เกษตรกรบางรายไดรับหนาที่โดยตรงในการผลิตเมล็ดพันธุ

จําหนาย ทั้งน้ีผลผลิตขาวดังกลาวตองไดผลผลิตสูงและเมล็ดมี

คุณภาพดี การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังเก็บเกี่ยวที่ถูกตอง

และเหมาะสมเพื่อเพิ่มผลผลิตขาวตอไร โดยการลดความสูญเสีย

ทั้งปริมาณและคุณภาพในการเก็บเกี่ยวและหลังเก็บเกี่ยวใหเกิดขึ้น

นอยที่สุด ปฏิบัติไดดังน้ี

การเตรียมการกอนเก็บเกี่ยวขาว

กอนถึงกําหนดที่จะเก็บเกี่ยวประมาณ 7 - 10 วัน เมื่อ

เมล็ดที่อยูปลายรวงอยูในระยะแปงแข็งและเปลี่ยนเปนสีเหลือง

ควรระบายนํ้าออกจากแปลงนาเพื่อใหขาวในแปลงสุกแก

สม่ําเสมอพื้นนาแหงพอดีที่จะเขาไปทําการเก็บเกี่ยวขาวดวยคน

หรือเคร่ืองเกี่ยวนวดตากขาวในนาไดสะดวก ขาวที่สุกแกแลว

หากไดรับความชื้นหรือเปยกชื้นจะทําใหเมล็ดเสื่อมคุณภาพเร็ว

ขึ้น กอนถึงกําหนดเกี่ยว 1 เดือน เกษตรกรสามารถเตรียมการ

เร่ืองการเกี่ยวนวดได จะทําใหลดปญหาการเก็บเกี่ยวลาชา

การเก็บเกี่ยวขาว

การเก็บเกี่ยวขาวในระยะที่เหมาะสมสุกแกพอดี จะทําให

ผลผลิตสูง มีการรวงหลนสูญเสียขณะเก็บเกี่ยวนอยและผลผลิตที่

ไดมีคุณภาพดี โดยเฉพาะคุณภาพการสีและการเก็บรักษา ดอก

ขาวที่บานและไดรับการผสมแลวจะเร่ิมสรางเมล็ด โดยแบงระยะ

การสรางเมล็ดออกเปน 3 ระยะ คือ ระยะนํ้านม ระยะแปง

และระยะสุกแก ซึ่งใชเวลารวมทั้งหมด 25 - 35 วัน แลวแตพันธุ

ระยะสุกแกจะสมบูรณเมื่อมากกวา 80 % ของเมล็ดในรวงสุก

หมดแลวและตามทฤษฎีระยะเวลาเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมที่สุดคือ

เมื่อถึงจุดสุกแกทางสรีรวิทยา ( Physiological maturity) เพราะ

จุดน้ีเมล็ดมีลักษณะตาง ๆ เชน ขนาดของเมล็ด นํ้าหนักแหง

Page 71: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

2

ความมีชีวิต ความ แข็งแรงของเมล็ดสมบูรณที่สุด ณ จุดน้ีใช

ระยะเวลาประมาณ 22-25 วัน หลังการผสมเกสร แตในทางปฏิบัติ

เราไมสามารถทําไดเพราะเมล็ดมีความชื้นสูง ประมาณ 28 - 30 %

ถาเก็บเกี่ยวจะเกิดความเสียหายจึงยืดระยะเวลาออกไปใหความชื้น

เหลือประมาณ 22 - 24 % หรือโดยการนับหลังจากขาวในนาออก

ดอกประมาณ 75- 80 % จดบันทึกไวแลวนับตอไป 28 - 30 วัน

เก็บเกี่ยวขาวได ระยะน้ีเมื่อนําไปสีจะไดเปอรเซ็นตขาวหักนอย

เก็บเปนเมล็ดพันธุจะเก็บไวไดนานเสื่อมความงอกชา ถาเก็บเกี่ยว

ลาชาขาวจะเสื่อมคุณภาพลงอยางรวดเร็ว การเก็บเกี่ยวขาวดวยแรง

คนจะตองมีความระมัดระวังเร่ืองการสูญเสียปริมาณขาวจากการ

รวงหลน ซึ่งมีปริมาณมากพอสมควร

คําแนะนําการเก็บเกี่ยว

กําหนดวันเก็บเกี่ยว เมื่อขาวเร่ิมออกดอกหมั่นเดินสํารวจ

แปลงนาในตอนเชา ถาขาวทั้งแปลง ออกดอกประมาณ 75 - 80 %

ถือเปนวันออกดอก นับจากวันออกดอกไปอีก 28 - 30 วัน เปน

กําหนดวันเก็บเกี่ยวขาวที่เหมาะสมความชื้นเมล็ดประมาณ 22-25 %

สังเกตเห็นวา รวงขาวโนมลงเมล็ดที่โคนรวงยังคงมีสีเขียวบาง 3-5

เมล็ด โดยเฉพาะใบธงยังคงมีสีเขียวอยู หรือระยะพลับพลึง

ระบายนํ้าออกจากแปลง กอนถึงกําหนดเก็บเกี่ยว 7-15 วัน

ควรระบายนํ้าออกจากแปลงนา เพื่อใหขาวสุกแกสม่ําเสมอ

แปลงนาแหง สะดวกในการเก็บเกี่ยวดวยคนหรือเคร่ืองเกี่ยวขาว

ไมสกปรก และเปยกนํ้า ทั้งน้ีขึ้นอยูกับสภาพการระบายนํ้าของ

ดินนาแตละพื้นที่

เก็บเกี่ยวขาว เมื่อถึงระยะสุกแกเหมาะสม คือ 28-30 วัน

หลังออกดอกใหทําการเก็บเกี่ยว ความชื้นเมล็ดไมควรตํ่ากวา 22 %

การเก็บเกี่ยวขาวหลังจากระยะน้ี จะทําใหขาวสูญเสียนํ้าหนักและ

คุณภาพมากยิ่งขึ้นทั้งคุณภาพการสีและความงอกของเมล็ดพันธุ

การนวดขาว

การนวดขาว คือ การทําใหเมล็ดขาวหลุดออกจากรวง

หรือระแงของรวงมีหลายวิธี โดยเกษตรกรที่ใชแรงงานใน

ครอบครัวอาจนวดโดยการฟาด แตที่นิยมมากก็คือการใชเคร่ือง

Page 72: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

3

นวดหรือเคร่ืองเกี่ยวนวด การนวดขาวดวยวิธีใดก็ตามจะตองคํานึง

วาไมทําใหเมล็ดขาวแตกราวหรือแตกหัก เมล็ดขาวที่นวดไดตอง

สะอาด มีสิ่งเจือปนนอย มีการสูญเสียปริมาณขาวดีตํ่า การ

สูญเสียอาจเกิดจากขาวกระเด็นออกจากกองขาวขณะนวดหรือการ

นวดไมหมด การปรับรอบเคร่ืองยนตหรือเปดปริมาณลมเปาไม

พอเหมาะ การใชเคร่ืองนวดผูใชควรระมัดระวังอันตรายที่จะ

เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงาน ไมประมาทและมีความรูความเขาใจในการ

ใชเคร่ืองนวด

คําแนะนําการนวดขาว

เก็บเกี่ยวขาวเสร็จแลว ควรรีบนวดขาวทันที แลวจึงลด

ความชื้นใหเหลือ 12 - 14 % ในภายหลัง อยาตากขาวทิ้งไวใน

แปลงนา เพราะจะทําใหเกิดการสูญเสียนํ้าหนัก เน่ืองจากการรวง

หลนในนาขณะตาก ถูกนก หนู แมลงศัตรูเขาทําลาย และขาวเสีย

คุณภาพ เชน คุณภาพการสีลดลง อายุการเก็บรักษาสั้น เน่ืองจาก

ถูกกระทบจากสภาวะแวดลอมที่ไมเหมาะสมในขณะตาก เชน

นํ้าคาง ฝน อุณหภูมิสูงเกินไป

ควรมีวัสดุปูรองบริเวณลานนวด เพื่อลดการสูญเสียขณะ

นวด ปองกันความสกปรกและสิ่งเจือปนตาง ๆ

การนวดดวยเคร่ืองนวด ตองทําความสะอาดและ

ปรับแตงเคร่ืองนวด ใหมีรอบการทํางานที่เหมาะสม เพื่อปองกัน

และลดความสูญเสียทั้งปริมาณและคุณภาพของขาว

การลดความชื้นขาว

ความชื้นขาวเปลือกสูงเปนปจจัยหน่ึงที่ทําใหคุณภาพ

ขาวเปลือกสูญเสียไป การลดความชื้นขาวเปลือกใหทันเวลาจึงจะ

สามารถรักษาคุณภาพและยืดอายุการเก็บรักษาขาวเปลือกใหนาน

ขึ้น โดยทั่วไปขณะเก็บเกี่ยวขาวเมล็ดจะมีความชื้น > 22 % หรือ

มากกวาซึ่งอยูในระดับที่สูงเกินไป จึงตองมีการลดความชื้นให

เหลือ 12 - 14 % เพื่อไมใหเมล็ดเกิดความเสียหาย เสื่อมคุณภาพ

เน่ืองจากมีความชื้นสูง

การตากขาวเพื่อสีเปนขาวสาร ควรปฏิบัติดังน้ี

1. ตากขาวใหเหลือความชื้นไมเกิน 14 % ขาวที่มี

ความชื้นสูงกวาน้ีจะเก็บรักษาไวไดไมนาน จะเกิดความเสียหาย

จากเชื้อรา ทําใหขาวเมล็ดเหลือง แมลงศัตรูในโรงเก็บทําลายมาก

ขึ้นเน่ืองจากมีสภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโต การ

เก็บรักษาขาวเปลือกในระยะ 2 - 3 เดือน ขาวตองมีความชื้น 13-14 %

ถาตองการเก็บนานกวาน้ีขาวตองมีความชื้น 12 - 12.5 % เมื่อสี

แลวขาวมีคุณภาพการสีสูง ขาวสารมีคุณภาพดี

Page 73: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

4

2. การตากขาวควรตากหนา 5 - 10 ซม. กลับขาววันละ

4 คร้ัง เพื่อใหความชื้นภายในเมล็ดลดลงอยางชา ๆ และสม่ําเสมอ

ขาวมีคุณภาพการสีดี หากฝนตกหรือกลางคืนตองมีการปองกัน

ไมใหขาวเปยกฝนหรือนํ้าคาง

การตากขาวเพื่อใชเปนเมล็ดพันธุ ควรปฏิบัติดังน้ี

ตากเมล็ดเพื่อใหความชื้นตํ่ากวา 12 % การเก็บรักษาเมล็ด

พันธุที่มีความชื้นตํ่ามากเทาไร เมล็ดพันธุจะมีคุณภาพสูงหรือเก็บ

ไวไดนานโดยที่มีความงอกสูงกวา 80 % เมล็ดพันธุที่มีความ

แข็งแรงและเปอรเซ็นตความงอกสูง เมื่อนําไปปลูกจะไดตนขาวที่

แข็งแรง มีการเจริญเติบโตสม่ําเสมอทนทานตอสภาพแวดลอมที่

ไมเหมาะสมไดดี นอกจากน้ีเมล็ดพันธุที่มีความชื้นตํ่า ๆ เมื่อเก็บ

รักษาก็จะไดรับความเสียหายจากการทําลายของแมลงศัตรูในโรง

เก็บนอย สวนความหนาของกองขาว และการกลับขาวเหมือนกับ

ตากขาวเพื่อสีเปนขาวสาร

คําแนะนํา การตาก/ลดความชื้นเมล็ด

นําขาวท่ีนวดไดไปลดความชื้น โดยใชแสงแดดในลานตาก

หรือใชเคร่ืองอบลดความชื้น

ลานตาก ตองสะอาด แหง และมีวัสดุปูรองขาวกอนตากบนลาน

อยาตากขาวหนาหรือบางเกินไป ความหนาที่เหมาะสมคือ 5-10 ซม.

ควรพลิกกลับกองขาวทุก 2 ชม.

เวลากลางคืนหรือมีฝนตก ใชวัสดุปดคลุมกองขาว เชน ผาพลาสติก

เพื่อไมใหขาวเปยกฝนหรือนํ้าคาง

หยุดตากขาว เมื่อลดความชื้นได 13 - 14 % (ขาวทั่ว ๆ ไป) หรือ

12 % (ขาวที่เก็บไวเปนเมล็ดพันธุ) หรือระดับความชื้นที่ตองการ

การทําความสะอาดขาว

ความสะอาดของขาวที่นวดมีผลตอราคาขาวที่ขาย เพราะ

ถามีสิ่งเจือปนมาก เชน ขาวลีบ เศษฟาง ระแง เมล็ดที่แตกหัก

ดิน หิน ทําใหขาวมีคุณภาพตํ่า ไมไดมาตรฐานและในการเก็บ

รักษาเปนเมล็ดพันธุน้ันสิ่งเจือปนเหลาน้ีทําใหความชื้นของขาวสูง

เร็วยิ่งขึ้น เพราะสิ่งเจือปนจะดูดความชื้นไดเร็ว ดังน้ัน ถาขาวมี

สิ่งเจือปนมากเกินไปควรจะทําความสะอาดกอนที่จะขายหรือเก็บ

รักษา

คุณภาพการสี

กําหนดจากการนําขาวเปลือกมาทดลองสีเพื่อประเมิน

ปริมาณแกลบ รํา ขาวสารเต็มเมล็ด ตนขาว และขาวหัก สิ่ง

สําคัญที่ใชประเมินราคาขาวเปลือก คือ ปริมาณขาวเต็มเมล็ดและ

ตนขาว ซึ่งถามีปริมาณมาก ราคาขาวเปลือกจะสูง

การแปรสภาพขาวหรือการสีขาว

การแปรสภาพขาวหรือการสีขาว หมายถึง การทําให

เปลือก รํา และคัพภะออกจากเมล็ด โดยใหมีคุณภาพการสีที่ดี

Page 74: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

5

คือ ขาวสารที่ไดมีปริมาณขาวเต็มเมล็ดและตนขาวมากที่สุดหรือมี

ขาวหักนอยที่สุด การสีขาวประกอบดวยขั้นตอนพื้นฐาน

4 ขั้นตอน ไดแก

1. การทําความสะอาด เพื่อกําจัดระแง ใบขาว เมล็ดลีบ

เมล็ดวัชพืช และสิ่งสกปรกอ่ืน ๆ ออกจากขาวเปลือก

2. การกะเทาะ เพื่อทําใหเปลือกขาวหลุดออกจากเมล็ด

สิ่งที่ไดรับในขั้นตอนน้ี คือ แกลบ และขาวกลอง

3. การขัดขาว เพื่อทําใหรําหลุดออกจากเมล็ดขาวกลอง

ซึ่งสิ่งที่ไดรับในขั้นตอนน้ี คือ รํา และขาวสาร

4. การคัดแยก เพื่อแยกขาวเต็มเมล็ด ตนขาว และขาวหัก

ขนาดตาง ๆ ออกจากกัน

สิ่งท่ีไดจากการสีขาว ไดแก

1. แกลบ เปนสวนผสมของเปลือกเมล็ด ( lemma + palea

+ awn) กลีบเลี้ยง ( sterial lemma) และขั้วเมล็ด ( rachilla) มีอยู

ประมาณ 20 -24 % ของขาวเปลือกแกลบเปนผลพลอยไดจากการ

สีขาว มีองคประกอบสวนใหญเปน cabohydrat พวก cellulose และ

hemicellulose ประมาณ 68.2 % ไมมี starch อยูเลย มี lignin 19.2-24.7 %

และ ash 13.2 - 29.0 % ( เปนsillica 94.96 %) มีคุณคาอาหารตํ่า

มี bulk density 96-160 Kg/ม3 แกลบบดมี bulk density ถึง 192-400 kg/ม3

ประโยชนของแกลบมีหลายประการเชน ทําเชื้อเพลิง ใหพลังงาน

5,000 - 6,000 B.t.u./hr ใหความรอนโดยตรงเชน ใชเผาอิฐ บด

ผสมอาหารสัตว ปรับปรุงดิน กันกระแทก เก็บรักษานํ้าแข็ง ทํา

วัสดุกอสราง ถมดิน และใชเปนตัวขัดสีเพราะมี Silica สูง

2. รํา เปนสวนผสมของเยื่อหุมผล ( pericarpl) เยื่อหุม

เมล็ด (tegmen) เยื่ออาลูโรน ( aleurone layer) คัพภะ (embryo)

และผิวนอก ๆ ของขาวสาร ( outer part of endosperm) มีอยู

ประมาณ 8 - 10 % ของขาวเปลือก รํามีคุณคาอาหารสูง มี

สารอาหารที่เปนประโยชนอยูมาก เชน มี protein 10.6 - 13.4 %

ไขมัน 10.1 - 22.4 % Nitrogen Free Extract 38.7 - 44.3 %

และไวตามิน บี 0.544 % รําสวนใหญใชเลี้ยงสัตว บางสวน

นําไปสกัดนํ้ามัน ทําอาหารเด็กออน และอ่ืน ๆ

3. ขาวสาร ( total milled rice) มีประมาณ 68 - 70 %

ของขาวเปลือก (ประกอบดวยแปง ประมาณ 90 % มีโปรตีน

บางเล็กนอย) เปนสวนที่มนุษยนําไปทําอาหารรับประทาน

อาจจะหุงทั้งเมล็ดหรือบดเปนแปงแลวแปรรูปเปนเสนกวยเต๋ียว

ขนมจีน หรืออาหารคาวหวานอ่ืน ๆ

การประเมินระดับการสี ทําไดหลายวิธี เชน

1. การบรรยายลักษณะหรือดูดวยสายตา โดยอาศัยความ

ชํานาญหรือมีตัวอยางเปรียบเทียบ เชน

Page 75: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

6

ชั้นของการสีในมาตรฐานขาวของไทย แบงเปน 4 ชั้น คือ

- สีดีพิเศษ Extra well milled หมายความวา การสีเอา

เปลือกเชื้อพันธุ ( germ) และรําทั้งชั้นนอกและชั้นใน (รําขาว

กลอง และรําขาวสาร) ออกทั้งหมด จนขาวมีลักษณะงามเปน

พิเศษ

- สีดี ( Well milled) หมายความวา การสีเอาเปลือก เชื้อ

พันธุ และรําชั้นนอกและชั้นใน (รําขาวกลองและรําขาวขาว)

ออกทั้งหมดจนขาวมีลักษณะขาวงามแตหยอนความใสของขาวที่ดี

พิเศษเล็กนอย

- สีปานกลาง ( Reasonable well milled) หมายความวา

การสีเอาเปลือกเชื้อพันธุ รําชั้นนอก (รําขาวกลอง) และรําชั้นใน

(รําขาวขาว) สวนมากออกจนขาวมีลักษณะขาวงามพอสมควร

ความขาวงามหยอนกวาขาวสีดีเล็กนอย

- สีธรรมดา ( Ordinarily milled) หมายความวา การสีเอา

เปลือกเชื้อพันธุ บางสวนออก และรําชั้นนอก (รําขาวกลอง)

ออกหมด สวนรําชั้นใน (รําขาวขาว) ออกบางสวน การสีไมตอง

ถึงขนาดเต็มที่ สีขาวปานกลาง แตหยอนกวาขาวที่มีสีปานกลาง

เล็กนอย

2. บอกเปอรเซ็นตรําท่ีขัดออกหรือขาวสารหลังการขัดสี

วิธีคํานวณ

% แกลบ = นํ้าหนักขาวเปลือก - นํ้าหนักขาวกลอง x 100

นํ้าหนักขาวเปลือก

% รํา = นํ้าหนักขาวกลอง - นํ้าหนักขาวสาร x 100

นํ้าหนักขาวเปลือก

% ขาวหัก = นํ้าหนักขาวสาร - นํ้าหนักขาวเต็มเมล็ดและตนขาว x 100

นํ้าหนักขาวเปลือก

% ขาวเต็มเมล็ดและตนขาว = นํ้าหนักขาวเต็มเมล็ดและตนขาว x 100

นํ้าหนักขาวเปลือกท้ังหมด

คุณภาพการสีดูไดจาก เปอรเซ็นตขาวเต็มเมล็ดและตนขาว

โดยแบงเปน

คุณภาพการสี ดีมาก ใหขาวสารเต็มเมล็ดและตนขาว > 50 %

คุณภาพการสี ดี ใหขาวสารเต็มเมล็ดและตนขาว 40 - 50 %

คุณภาพการสี ปานกลาง ใหขาวสารเต็มเมล็ดและตนขาว 31 - 39 %

คุณภาพการสี ต่ํา ใหขาวสารเต็มเมล็ดและตนขาว 30 % ลงไป

Page 76: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

7

นิยาม

ขาวเต็มเมล็ด หมายถึง เมล็ดขาวที่อยูในสภาพเต็มเมล็ดไมมีสวน

ใดหักออกเลย แบงออกเปน 10 สวน

ตนขาว หมายถึง เมล็ดขาวที่สวนหัวหรือทายบางสวน หรือ

ทั้งหัวและทายของเมล็ดหักไป มีความยาว

เหลือต้ังแต 8 สวนขึ้นไป (8 - 9.9 สวน)

ขาวหักใหญ หมายถึง เมล็ดขาวหักที่มีขนาดต้ังแต 5 สวนของขาว

เต็มเมล็ดขึ้น แตไมถึงความยาวของตนขาว

(5 - 7.9)

ขาวหัก หมายถึง เมล็ดขาวหักที่มีขนาดต้ังแต 2.5 สวน ของ

ขาวเต็มเมล็ดขึ้นแตไมถึงความยาวของขาว

หักใหญ (2.5 - 4.9)

ปลายขาว หมายถึง ขาวหักที่มีความยาวตํ่ากวา 2.5 สวนของขาว

เต็มเมล็ดลงไป

3. บอกเปนปริมาณ Thiamine หรือ Vitamin B ที่วิเคราะห

ไดจากรําที่ขัดออกมา

4. ประเมินจากการยอมสีเมล็ดขาวสาร โดยใชสารเคมี

บางตัว เชน Sudan III ทําปฏิกิริยากับไขมันบนเมล็ดขาว ถามี

รําติดอยูมาก คือ มีไขมันมาก หรือ Undermilled จะเห็นเปนสี

แดง แตถาขาวน้ันขัดจนขาว (well milled) ไมมีรําติดอยูเลยก็จะ

ไมเกิดสีแดงหรืออ่ืน ๆ จะเปนสีเดิมของขาว

Fat + Sudan III สีแดง

วิธีน้ีตองอาศัยความชํานาญและเสียเวลามาก จึงใชเฉพาะ

ในหองปฏิบัติการเทาน้ัน

Page 77: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

8

ปจจัยท่ีมีผลกระทบตอคุณภาพของขาว

1. พันธุขาว แตละพันธุจะมีคุณภาพการสีของขาว

แตกตางกัน พันธุขาวรัฐบาลจะมีคุณภาพการสีดี เมล็ดมีทองไข

นอย ขึ้นอยูกับคุณภาพขาวเปลือกกอนสี ถาขาวเปลือกมีคุณภาพดี

จะทําใหเปอรเซ็นตขาวเต็มเมล็ดและตนขาวสูง ขาวหักนอย

คุณภาพการสีของขาวเปลือกจะเปลี่ยนแปลงอยางกวางขวาง ตาม

ลักษณะของพันธุ สภาพแวดลอม และการปฏิบัติดูแลรักษากอน

และหลังการเก็บเกี่ยว

โดยปกติ พันธุขาวที่มีลักษณะเมล็ดยาวมาก อวนมาก

และเปนทองไข จะใหปริมาณขาวเต็มเมล็ดและตนขาวตํ่า พันธุที่

มีเมล็ดยาว เรียว ใส จะใหปริมาณขาวเต็มเมล็ดและตนขาวสูง

ที่สุด เมล็ดขาวที่มีรูปรางผิดปกติ ปลายแหลมมาก จมูกขาวใหญ

เกินไป ปลายเมล็ดจะหักไดงายเมื่อผานการสี พันธุขาวที่มีเปลือก

บางหรือมีปริมาณเปลือกนอย เมื่อสีแลวจะใหปริมาณขาวสารสูง

พันธุขาวขึ้นนํ้ามักเปนทองไขมากกวาพันธุขาวนาดํา เมื่อ

รวงแกมักจะโนมรวงลงทําใหรวงขาวบางสวนแชอยูในนํ้า เมื่อ

นําไปตากแหงแลวสี จะมีเปอรเซ็นตขาวหักสูง ขาวเต็มเมล็ดและ

ตนขาวตํ่ากวาขาวนาดํา

2. การปฏิบัติกอนและหลังการเก็บเกี่ยว กอนการเก็บเกี่ยว

ควรมีการดูแลอยาใหขาวขาดนํ้าเพราะเมล็ดจะลีบ โดยเฉพาะ ใน

ระยะต้ังทองจนกระทั่งออกดอก และกอนเก็บเกี่ยว 1 อาทิตย

ขณะเก็บเกี่ยว ควรเก็บเกี่ยวขณะเมล็ดยังไมแกเต็มที่ ความชื้นใน

เมล็ดสูง หรือการเก็บเกี่ยวเมื่อเมล็ดแหงเกินไป ความชื้นในเมล็ด

ตํ่าจะทําใหปริมาณขาวหักสูง คุณภาพการสีตํ่า

3. สภาพแวดลอม

ปจจัยที่มีสวนสําคัญของการจะใหไดเมล็ดที่ดี ต้ังแต

เมล็ดขาวอยูในนา เก็บเกี่ยว จนขนเขายุงฉางเพื่อการเก็บรักษา มี

2 อยาง คือ

1. อุณหภูมิ 2. ความชื้น

ซึ่งปจจัยทั้ง 2 อยางน้ี จะเกี่ยวของและมีความสัมพันธ

กันอยางมาก ถาอุณหภูมิสูง ความชื้นในเมล็ดสูง เมล็ดจะเสื่อมสภาพ

ลงอยางรวดเร็ว เมล็ดขาวจะเกิดเชื้อรา ทําใหเกิดขาวเมล็ดเหลือง

ได ทําใหอายุในการเก็บรักษาสั้นลง แตระหวางปจจัยทั้ง 2 อยางน้ี

ความชื้นจะเปนปจจัยที่สําคัญกวาอุณหภูมิ ความชื้นในที่น้ีหมายถึง

ความชื้นภายในเมล็ดและความชื้นสัมพัทธของบรรยากาศรอบ ๆ

เมล็ด เพราะความชื้นทั้ง 2 อยางน้ีจะมีการถายเทกันจนถึงจุดสมดุล

ดังน้ัน หลักการที่สําคัญในการเก็บรักษาเมล็ด คือ ถาตองการเก็บ

รักษาเมล็ดใหคงสภาพเปนเมล็ดที่ดี ตองเก็บไวในอุณหภูมิตํ่าและ

ความชื้นตํ่า หรือการลดความชื้นของเมล็ดใหตํ่าที่สุดเทาที่สามารถ

ทําได แลวเก็บในภาชนะที่ปดสนิท อากาศไมสามารถถายเทได

Page 78: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

9

ข้ันตอนปฏิบัติในการหาคุณภาพการสี

1. ทําความสะอาดขาวเปลือกโดยผาน Aspirator เพื่อดูด

เอาเมล็ดลีบ ระแง และสิ่งเจือปนตาง ๆ ออก สําหรับวัตถุหนักเลือก

ออกดวยมือ

2. วัดความชื้นดวยเคร่ืองมือวัดความชื้น ถามากกวา 14 %

ตองนําไปตากลดความชื้นใหเหลือ 14% แลวจึงนํามาทําคุณภาพการสี

3. ชั่งขาวเปลือกที่สะอาดแลว 125 กรัม (หรือตาม

คําแนะนําของเคร่ือง)

4. กะเทาะเปลือกดวยเคร่ืองกะเทาะ จนเปลือกออกหมด

ชั่งนํ้าหนักขาวกลอง แลวบันทึกไวที่ซอง (หรือตามคําแนะนําของ

เคร่ือง)

5. ขัดขาวกลองดวย เปนเวลา 1 นาที คร่ึงนาทีแรกใสตุม

คร่ึงนาทีหลังเอาตุมออก ทิ้งขาวสารไวใหเย็น แลวชั่งนํ้าหนัก

บันทึกไวที่ซอง (หรือตามคําแนะนําของเคร่ือง)

6. นําขาวสารทั้งหมดไปแยกขาวเต็มเมล็ด ตนขาว และ

ขาวหักดวยเคร่ืองคัดแยก หลังจากน้ันนํามาคัดเลือกขาวเต็มเมล็ด

ตนขาว และขาวหักดวยมืออีกคร้ังหน่ึง ชั่งนํ้าหนักขาวเต็มเมล็ด

ตนขาว แลวบันทึกไวที่ซอง นําตัวเลขที่ไดไปคํานวณหาเปอรเซ็นต

ขาวเต็มเมล็ดและตนขาว เปอรเซ็นตแกลบ เปอรเซ็นตรํา และ

เปอรเซ็นตขาวหัก ตามวิธีคํานวณขางตน

อุปกรณท่ีใชในการวิเคราะหหาคุณภาพการสี

เคร่ืองชั่ง

เคร่ืองกะเทาะขาว เคร่ืองขัดขาว

เคร่ืองคัดแยกขาว

เคร่ืองวัดความชื้น

Page 79: คู มือ การอารักขาพืช การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการ ...psl-rrc.ricethailand.go.th/web/images/image/File/rice2/5.pdf ·

10

การเก็บเกี่ยวและปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว

เพ่ือใหไดขาวคุณภาพดี

รวบรวมและเรียบเรียง โดย

สุพัตรา สุวรรณธาดา นักวิชาการเกษตร ระดับชํานาญการพิเศษ

สอาง ไชยรินทร นักวิชาการเกษตร ระดับชํานาญการพิเศษ

ศูนยวิจัยขาวพิษณุโลก

กัณญา เชื้อพันธุ นักวิชาการเกษตร ระดับชํานาญการพิเศษ

ศูนยวิจัยขาวปทุมธานี

ขาวเต็มเมล็ด

ตนขาว ขาวหัก