ท ำไมต้องลดใช้ถุงพลำสติก · 2015-05-08 ·...

5
มา ลดการใช้ถุงพลาสติกและเปลี่ยนมาใช้ถุงผ้า และภาชนะที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมตั้งแต่วันนี้ แบ่งปันความรู้และถุงผ้าที่มีอยู่แก่ผู้อื่น เพื่อขยาย วงกว้างของความมุ่งมั่นในการรักษาสิ่งแวดล้อม และการลดภาวะโลกร้อน ที่มา : สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทำไมต้องลดใช้ถุงพลำสติก วันนี้...คุณใช้ถุงผ้าหรือยัง !!! ในแต่ละปีทั่วโลกใช้ถุงพลาสติกถึงแสนล้านใบ แต่ถุงพลาสติกที่ถูก นามารีไซเคิลมีไม่ถึงร้อยละ 1 เนื่องจากต้นทุนการผลิตใหม่ถูกกว่า ปัจจุบันมี การทิ้งขยะถุงพลาสติกลงทะเลแล้วประมาณ 3 ล้านกิโลกรัม และยังคงมีการ ทิ้งอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากยังไม่มีมาตรการควบคุมการใช้ถุงพลาสติกและ การทิ้งถุงพลาสติกที่เข้มงวดและกว้างขวาง ปัจจุบันคงไม่มีใครไม่รู้จัก ปรากฏการณ์ที่เรียกว่า ภาวะโลกร้อน ( Global warming) ความเกี่ยวโยง ระหว่างการใช้ถุงพลาสติกกับภาวะโลกร้อน คือ ถุงพลาสติกที่เราใช้ใส่สินค้า และอาหาร ผลิตจากน้ามันดิบและยังใช้เชื้อเพลิงในการผลิตอีกด้วย ซึ่งพลังงานที่ใช้ผลิตถุงพลาสติกประมาณ 9 ใบ สามารถเปลี่ยนเป็นน้ามันให้ รถวิ่งได้ไกลถึง 1 กิโลเมตร ข้อดีของการใช้ถุงผ้า - ย่อยสลายได้ ไม่ตกค้างจนเป็นปัญหาใน สิ่งแวดล้อม - ไม่ทาให้เกิดก๊าซเรือนกระจก ช่วยลดปัญหา โลกร้อน - ซักทาความสะอาดง่าย - นุ่มสบายมือ และไม่ก่อให้เกิดการกดทับ อย่างรุนแรงต่อฝ่ามือเท่าถุงพลาสติก - ทนทานและใช้ซาได้มากครั้งกว่าถุงพลาสติก ช่วยลดปริมาณขยะมูลฝอย - บ่งบอกภาวะรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ของผู้ใช้ - พกพาติดตัว ติดรถได้ง่าย สามารถพร้อมใช้งาน ในทุกโอกาส - ถุงผ้าดิบจะช่วยลดการเกิดและการปนเปื้อน ของสารประกอบ ลดการใช้ถุงพลาสติกแล้วได้อะไร - ลดการเสื่อมโทรมของดิน - ลดการเสื่อมคุณภาพของน้- ลดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตทั้งในน้าและบนบก - ลดการเกิดก๊าซเรือนกระจกและภาวะโลกร้อน - ลดการเกิดสารปนเปื้อนของสารก่อมะเร็งใน ห่วงโซ่อาหาร - ลดการอุดตันในทางระบายน้า ส่งผลให้ ลดปัญหาน้าท่วม - ลดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม และระบบนิเวศน์ - ลดแหล่งเพาะพันธุ์การแพร่กระจายของพาหะ นาโรคและการแพร่ระบาดของโรค - ลดการเกิดอุบัติเหตุของการเดินทางทั้งทางบก ทางน้าและทางอากาศ - ลดการใช้นามันดิบที่ใช้ไปโดยไม่จาเป็น จากการผลิตถุงพลาสติก

Upload: others

Post on 06-Jan-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ท ำไมต้องลดใช้ถุงพลำสติก · 2015-05-08 · วันนี้...หน่วยงานของท่านน้ากระดาษหน้าเดียวน้ากลับมาใช้ใหม่หรือยัง

…มา ลดการใช้ถุงพลาสติกและเปลี่ยนมาใช้ถุงผ้า และภาชนะที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมตั้งแต่วันนี้ แบ่งปันความรู้และถุงผ้าที่มีอยู่แก่ผู้อื่น เพื่อขยาย วงกว้างของความมุ่งมั่นในการรักษาสิ่งแวดล้อม และการลดภาวะโลกร้อน

ที่มา : สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลยัเชียงใหม่

ท ำไมต้องลดใช้ถุงพลำสติก

วันนี้...คุณใชถ้งุผา้หรอืยัง !!!

ในแต่ละปีทั่วโลกใช้ถุงพลาสติกถึงแสนล้านใบ แต่ถุงพลาสติกที่ถูกน ามารีไซเคิลมีไม่ถึงร้อยละ 1 เนื่องจากต้นทุนการผลิตใหม่ถูกกว่า ปัจจุบันมีการทิ้งขยะถุงพลาสติกลงทะเลแล้วประมาณ 3 ล้านกิโลกรัม และยังคงมีการทิ้งอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากยังไม่มีมาตรการควบคุมการใช้ถุงพลาสติกและการทิ้งถุงพลาสติกที่เข้มงวดและกว้างขวาง ปัจจุบันคงไม่มีใครไม่รู้จักปรากฏการณ์ที่เรียกว่า ภาวะโลกร้อน (Global warming) ความเกี่ยวโยงระหว่างการใช้ถุงพลาสติกกับภาวะโลกร้อน คือ ถุงพลาสติกที่เราใช้ใส่สินค้าและอาหาร ผลิตจากน้ ามันดิบและยั งใช้เชื้อเพลิงในการผลิตอีกด้วย ซึ่งพลังงานที่ใช้ผลิตถุงพลาสติกประมาณ 9 ใบ สามารถเปลี่ยนเป็นน้ ามันให้รถวิ่งได้ไกลถึง 1 กิโลเมตร

ขอ้ดขีองการใชถ้งุผา้ - ย่อยสลายได้ ไม่ตกค้างจนเป็นปัญหาใน สิ่งแวดล้อม - ไม่ท าให้เกิดก๊าซเรือนกระจก ช่วยลดปัญหา โลกร้อน - ซักท าความสะอาดง่าย - นุ่มสบายมือ และไม่ก่อให้เกิดการกดทับ อย่างรุนแรงต่อฝ่ามือเท่าถุงพลาสติก - ทนทานและใช้ซ้ าได้มากครั้งกว่าถุงพลาสติก ช่วยลดปริมาณขยะมูลฝอย - บ่งบอกภาวะรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ของผู้ใช้ - พกพาติดตัว ติดรถได้ง่าย สามารถพร้อมใช้งาน ในทุกโอกาส - ถุงผ้าดบิจะช่วยลดการเกิดและการปนเปื้อน ของสารประกอบ

ลดการใชถ้งุพลาสตกิแลว้ไดอ้ะไร - ลดการเสื่อมโทรมของดิน - ลดการเสื่อมคุณภาพของน้ า - ลดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตทั้งในน้ าและบนบก - ลดการเกิดก๊าซเรือนกระจกและภาวะโลกร้อน - ลดการเกิดสารปนเปื้อนของสารก่อมะเร็งใน ห่วงโซ่อาหาร - ลดการอุดตันในทางระบายน้ า ส่งผลให้ ลดปัญหาน้ าท่วม - ลดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม และระบบนิเวศน์ - ลดแหล่งเพาะพันธุ์การแพร่กระจายของพาหะ น าโรคและการแพร่ระบาดของโรค - ลดการเกิดอุบัติเหตุของการเดินทางทั้งทางบก ทางน้ าและทางอากาศ - ลดการใช้น้ ามันดิบที่ใช้ไปโดยไม่จ าเป็น จากการผลิตถุงพลาสติก

Page 2: ท ำไมต้องลดใช้ถุงพลำสติก · 2015-05-08 · วันนี้...หน่วยงานของท่านน้ากระดาษหน้าเดียวน้ากลับมาใช้ใหม่หรือยัง

ในชีวิตประจ ำวันเรำต้องพบเจอกับกล่องโฟมท่ีมำกับอำหำรทั้งคำวและหวำน โดยเฉพำะร้ำนอำหำรตำมสั่งเจ้ำประจ ำที่ซื้อขำยกันอยู่เกือบทุกวัน แต่เคยตั้งข้อสงสัยกันหรือไม่ว่ำร้ำนที่ใช้บริกำรอยู่นั้น ใช้โฟมประเภทไหน ใส่อำหำรมำให้เรำ ลองสังเกตให้ดีจะเห็นกล่องโฟมบำงประเภทมีค ำเตือนระบุไว้อย่ำงชัดเจนว่ำ “ไม่ควรน ำมำใส่อำหำร” หรือ “ไม่ควรน ำมำใส่ของร้อน” เพรำะอันตรำยที่มำกับกำรใช้กล่องโฟมอย่ำงผิดประเภทเป็นสำเหตุ ข้อใหญ่ๆ ที่ท ำให้คนไทยป่วยเป็นโรคมะเร็งเพิ่มมำกขึ้นทุกปี

คนทั่วไป : ถ้ารับประทานอาหารกล่องโฟมทุกวัน วันละอย่างน้อย 1 มื้อ ติดต่อกันเป็นเวลา 10 ปี จะมีโอกาสเสี่ยงเป็นมะเร็งสูงกว่าคนปกติถึง 6 เท่า

ภัยเงียบจากกล่องโฟม รู้ยัง

แพทย์เตอืน! กลอ่งโฟมอนัตราย ตน้เหตมุะเรง็

ใชอ้ะไรแทนกลอ่งโฟม

วนันี.้..คณุใชก้ลอ่งขา้วแทนกลอ่งโฟมหรอืยงั !!!

กล่องข้าวสิจ๊ะ...ปลอดภัยที่สุด

ต้นเหตุส ำคัญของกำรเกิดมะเร็งที่ส ำคัญนั้น เกิดจำกอำหำรต่ำงๆที่ถูกบรรจุใส่ไว้ในกล่องโฟม ซึ่งมี “สำรสไตรีน (Styrene)” ซ่อนอยู่ ต่อให้กำรใช้กล่องโฟมสะดวกสบำยแค่ไหน ก็ต้องแลกกับโรคมะเร็งที่พร้อม จะเข้ำสู่ร่ำงกำยได้ตลอดเวลำ โดยจะเข้ำไปสะสมอยู่ในร่ำงกำยที่ละเล็กทีละน้อย ค่อยๆ สะสมจนเป็นโรคร้ำยในที่สุด

นพ.วีรฉัตร กิตติรัตนไพบูลย์ แพทย์ผู้ เชี่ยวชำญด้ำนบรรจุภัณฑ์ บริษัทบรรจุภัณฑ์เพ่ือสิ่งแวดล้อม ได้ให้ควำมรู้ว่ำ กล่องโฟมที่ใช้ตำมท้องตลำดทั่วไป เป็นของเสียเหลือทิ้งสีด ำๆ จำกกระบวนกำรกลั่นน้ ำมันปิโตรเลียม ประกอบด้วย สไตรีน ซึ่งมีโครงสร้ำงโมเลกุลคล้ำยฮอร์โมนเอสโตรเจนในเพศหญิง อำหำรตำมสั่งที่บร รจุกล่องโฟม จึงเป็นแหล่งสะสมสำรสไตรีน ซึ่งเป็นสำรที่ออกฤทธิ์ท ำให้สมองมึนงง สมองเสื่อม หงุดหงิดง่ำย มีผลท ำให้ประจ ำเดือนมำไม่ปกติ และเป็นสำรก่อมะเร็งอีก 3 ชนิด ถ้ำเป็นผู้ชำยรับประทำนเข้ำไปมำกๆ จะมีโอกำสเสี่ยงเป็นโรคมะเร็งต่อมลูกหมำก ขณะที่ ผู้ หญิ งมี โอกำสเป็นมะเร็ ง เต้ ำนมมำกขึ้น และอำจส่ งผลให้ทั้ งชำยและหญิงมี โอกำส เป็นมะเร็งตับสูงขึ้นด้วย แม้จะไม่ได้ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจ ำก็ตำม

ส ำหรับ สไตรีน ถือว่ำเป็นสำรอันตรำยที่สหรัฐฯ เพ่ิงประกำศขึ้นบัญชีสำรก่อมะเร็ง หญิงมีครรภ์ที่รับประทำนอำหำรบรรจุในกล่องโฟม มีโอกำสท ำให้ลูกสมองเสื่อม กลำยเป็นเอ๋อ อวัยวะบำงส่วนพิกำร

ที่มำ : ศูนย์ข้อมูลข่ำวสำรด้ำนกำรแพทย์ฉุกเฉินไทย

Page 3: ท ำไมต้องลดใช้ถุงพลำสติก · 2015-05-08 · วันนี้...หน่วยงานของท่านน้ากระดาษหน้าเดียวน้ากลับมาใช้ใหม่หรือยัง

การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หมายถึง การจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หรือจัดจ้างบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามรายการสินค้าและบริการที่ได้จัดท าเกณฑ์ข้อก าหนดไว้แล้ว หรือสินค้า ที่ได้ฉลากสิ่งแวดล้อม เช่น ฉลากเขียว หรือบริการที่ได้การรับรองด้านสิ่งแวดล้อม เช่น โรงแรมที่ได้รับเกียรติบัตรใบไม้เขียว

จากรายงานการศึกษาวิจัยเชิงนโยบายและประเมินผลการขับเคลื่อนนโยบายการจัดซื้อสีเขียวของภาครัฐ เพ่ือส่งเสริมตลาดสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยฝ่ายวิจัยนโยบาย ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมกับกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจ านวน 10 รายการ พบว่า สามารถลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 25,685.52 ตัน และภาครัฐ ได้รับผลประโยชน์โดยอ้อมจากการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพียง 12 รายการรวมมูลค่าถึง 223.51 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 24.05 ของงบประมาณจัดซื้อสินค้าทั้งหมด และนอกจากนี้ได้มีการศึกษาผลกระทบต่อตลาดสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมผ่านกลไกตลาดตามแผนฯ โดยการกระตุ้นอุปสงค์และอุปทานตลาดสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผู้ผลิตมีความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมมากขึ้นโดยใน ปี 2552 - 2554 มีการขอการรับรองฉลากเขียวเพ่ิมขึ้นอย่างมีนัยส าคัญ รวมทั้ง เกิดการขยายตัวของตลาดสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมไปสู่ภาคเอกชน และภาคประชาชนเพิ่มขึ้นด้วย

ที่มา : รายงานการศึกษาวิจัยเชิงนโยบายและประเมินผลการขับเคลื่อนนโยบายการจัดซ้ือสีเขียวของภาครัฐ http://ptech.pcd.go.th/gp/event/

หนว่ยงานทา่นค านงึถงึการจดัซือ้จดัจา้งทีเ่ปน็มติรกบัสิง่แวดลอ้มหรอืยงั !!!

นิยาม

ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดซื้อจัดจ้างสินค้า และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

Page 4: ท ำไมต้องลดใช้ถุงพลำสติก · 2015-05-08 · วันนี้...หน่วยงานของท่านน้ากระดาษหน้าเดียวน้ากลับมาใช้ใหม่หรือยัง

กระดาษเก่า 1 ตัน สามารถทดแทนการตัดต้นไม้เพ่ือมาท าเป็นกระดาษได้ถึง 15 ต้น หากคนไทยทุกคนใช้กระดาษอย่างประหยัด โดยการใช้กระดาษทั้ง 2 หน้า จะช่วยรักษาชีวิตต้นไม้ได้ถึง 1.3 ล้านต้น หากทุกคนหันมาใช้ผ้าเช็ดหน้าแทนการใช้กระดาษทิชชู เพื่อจะช่วยรักษาชีวิตต้นไม้ได้ 3,315,000 ต้น ในกระบวนการผลิตกระดาษ 1 ตัน ต้องใช้ต้นไม้มากถึง 17 ต้น ใช้กระแสไฟฟ้ามากถึง 4,100 กิโลวัตต์ต่อชั่วโมง ใช้น้ าถึง 31,500 ลิตร และปล่อยคลอรีนที่ใช้ใน การฟอกกระดาษเป็นของเสียกว่า 7 กิโลกรัม หมายความว่า ในการสนองตอบความต้องการใช้กระดาษของคนไทยให้เพียงพอ เราต้องตัดต้นไม้ถึงปีละประมาณ 55 ล้านต้น

ส าหรับการผลิตกระแสไฟฟ้า 1 กิโลวัตต์/ชั่วโมง จะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 0.71 กิโลกรัมและต้นไม้ 1 ต้น ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ปีละ 15 กิโลกรัม ทว่า ในความเป็นจริงแล้ว เราทุกคนสามารถช่วยกัน ลดการตัดต้นไม้ รวมทั้ง การใช้น้้าและพลังงานไฟฟ้าในการผลิตกระดาษลงได้ ด้วยการน้ากระดาษที่ใช้แล้วหมุนเวียนกลับมาผลิตเป็นกระดาษใหม่ ซึ่งจะช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้ถึงร้อยละ 50 ซึ่งเป็นการช่วยลดปัญหาโลกร้อนไปในตัว รวมทั้ง ช่วยลดปริมาณขยะในส้านักงาน บ้านเรือน และกรุงเทพมหานครลงด้วย

ในบรรดาขยะท่ีคนไทยเราทิ้งกันทุกวันนี้เฉลี่ยคนละ 1 กิโลกรมัต่อวัน คิดขยะทั่วประเทศวันละ 40,000 ตัน หรือปีละ 14.6 ล้านตัน เฉพาะในกรุงเทพมหานครมีขยะเกือบ 10,000 ตันต่อวัน แต่ส านักงานกรุงเทพมหานครจัดเก็บได้ไม่หมด คงเหลือตกค้างตามท่ีต่างๆ ส่งผลต่อสุขภาพอนามัยและเป็นมลภาวะต่อสภาพแวดล้อม

ทั้งนี้ ในกองขยะทั่วไป เกือบครึ่งหนึ่งเป็นขยะที่มีราคาสามารถน ากลับมาใช้ใหม่ได้ ซึ่งแยกเป็นกระดาษ 19% พลาสติก 13% แก้ว 8% โลหะ 5% จะเห็นว่า ขยะกระดาษ มีจ้านวนมากที่สุด คิดเป็นขยะที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ ประมาณ 2.47 ล้านตัน ซึ่งเศษกระดาษเหล่านี้ ควรถูกรวบรวมป้อนให้แก่โรงงานผลิตกระดาษ เพ่ือน าไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตกระดาษรีไซเคิล ซึ่งโรงงานผลิตกระดาษมีความต้องการเศษกระดาษปีละ 2.5 ล้านตัน แต่เรากลับสามารถหาเศษกระดาษภายในประเทศป้อนโรงงานได้ไม่ถึงร้อยละ 50 ที่เหลือต้องน าเข้าเศษกระดาษจากต่างประเทศ จึงเป็นเรื่องที่ไม่น่าเชื่อที่ประเทศไทยต้องน าเข้าเศษกระดาษกว่าปีละ 1 ล้านตัน ทั้งๆ ที่มีขยะกระดาษภายในประเทศถึงปีละ 2.7 ล้านตัน

วันนี้...หน่วยงานของท่านน้ากระดาษหน้าเดียวน้ากลับมาใช้ใหม่หรือยัง !!!

คนไทยใช้กระดาษเฉลี่ยปลีะ 3.9 ล้านตัน หรือ คนละประมาณ 60 กิโลกรัมต่อปี ดังนั้น เพ่ือตอบสนองความต้องการการใช้กระดาษของคนไทย จะต้องตดัต้นไม้ 66.3 ล้านต้นต่อปี

หรือเท่ากับทุกๆนาที ตน้ไม้จะถกูโค่นลง จ้านวน 126 ต้น

ดังนั้น ทางที่ดีที่จะท้าให้มีการน้ากระดาษใช้แล้วมาหมุนเวียนใช้ใหม่ (Recycle) มีปริมาณมากขึ้น คือ การรวบรวมเศษกระดาษใช้แล้วในส้านักงานและบ้านเรือน โดยแยกแยะเศษกระดาษเหล่านี้ออกจากขยะชนิดอื่น เพื่อสะดวกในการจัดเก็บและน้ากลับไปรีไซเคิล เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งในทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ

ที่มา : มูลนิธิศูนย์สื่อเพ่ือการพัฒนา

Page 5: ท ำไมต้องลดใช้ถุงพลำสติก · 2015-05-08 · วันนี้...หน่วยงานของท่านน้ากระดาษหน้าเดียวน้ากลับมาใช้ใหม่หรือยัง

ขยะ หรือ มูลฝอย หรือ ของเสีย เป็นสาเหตุส าคัญประการหนึ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม และมีผลต่อสุขภาพอนามัย มูลฝอยหรือของเสียก าลังมีปริมาณเพ่ิมมากขึ้นทุกปี เพราะสาเหตุจากการเพ่ิมขึ้นของประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม นับเป็นปัญหาที่ส าคัญของชุมชนซึ่งต้องจัดการและแก้ไขปริมาณกากของเสียและสารอันตราย ได้แก่ ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และสารพิษที่ปนเปื้อนอยู่ในแหล่งน้ า ดิน และอากาศ ตลอดจนตกค้างอยู่ในอาหาร ท าให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง และโรคผิดปกติทางพันธุกรรม เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันกรุงเทพมหานครมีปริมาณขยะสูงถึง 8.5 พันตันต่อวัน หากคิดเฉลี่ยเป็นรายบุคคลแล้ว 1 คน จะก่อให้เกิดขยะปริมาณ 0.8 - 1 กิโลกรัมต่อวัน ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นมากมายท าให้มีขยะตกค้างเป็นจ านวนมากในแต่ละวัน ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ในสังคมมากมาย

ในการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร จ าเป็นต้องจัดให้มีระบบการคัดแยกขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ ตามแต่ลักษณะองค์ประกอบ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพ่ือน ากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ สามารถด าเนินการได้ตั้งแต่แหล่งก าเนิด โดยจัดวางภาชนะให้เหมาะสม ตลอดจนวางระบบการเก็บรวบรวมมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับระบบการคัดแยกขยะมูลฝอย พร้อมทั้งพิจารณาความจ าเป็นของสถานีขนถ่ายและระบบขนส่งขยะมูลฝอยไปก าจัดต่อไป

เอ๊ะ...ๆ ตาวิเศษเห็นนะ วันนี้...คุณท้ิงขยะลงถังขยะแยกประเภทหรือยัง !!!

การคดัแยกขยะ

ประโยชน์การคัดแยกขยะ

1. สามารถลดปริมาณขยะลงได้ 2. สามารถประหยัดงบประมาณลงได้ 3. สามารถได้วัสดุหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่เรียกว่า (Recycle) 4. สามารถสงวนทรัพยากรธรรมชาติและประหยัดพลังงาน 5. สามารถช่วยให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น

ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ

ถังขยะ เพ่ือให้การจัดเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและลดการปนเปื้อนของขยะมูลฝอยที่มี

ศักยภาพในการน ากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่จะต้องมีการตั้งจุดรวบรวมขยะมูลฝอย (Station) และให้มีการแบ่งแยกประเภทของถังรองรับขยะมูลฝอยตามสีต่างๆ โดยมีถุงบรรจุภายในถังเพ่ือสะดวกและไม่ตกหล่น หรือแพร่กระจาย ดังนี้

- ถังขยะสีน ้าเงิน/สีฟ้า ใช้ส าหรับรองรับขยะที่ย่อยสลายไม่ได้ หรือย่อยสลายยาก เช่น ถุงพลาสติกหรือกล่องโฟมท่ีเปื้อนเศษอาหาร

- ถังขยะสีเขียว ใช้ส าหรับรองรับขยะท่ีย่อยสลายได้ อินทรียวัตถุที่ย่อยสลายเน่าเปื่อยง่าย หรือขยะเปียก เช่น เปลือกผลไม้ เศษอาหาร พืช ผักและผลไม้ เป็นต้น

- ถังขยะสีเหลือง ใช้ส าหรับรองรับขยะท่ีสามารถน ามารีไซเคิลได้ หรือขยะแห้ง เช่น แก้ว กระดาษ โลหะ พลาสติก เศษผ้า เป็นต้น

- ถังขยะสีแดง/สีส้ม/สีเทา ใช้ส าหรับรองรับขยะที่มีอันตราย หรือขยะมีพิษต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องสเปรย์ กระป๋องยาฆ่าแมลง ยาปราบศัตรูพืช ภาชนะใส่น้ ายาท าความสะอาด และภาชนะใส่น้ ามันเครื่องและภาชนะบรรจุสารอันตรายต่างๆ เป็นต้น