6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส...

38
บทที6 อินทิกรัลตามพื้นผิว 6 - 1 บทที6 อินทิกรัลตามพื้นผิว รองศาสตราจารย ดํารงค ทิพยโยธา ภาควิชาคณิตศาสตรและวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย http://www.math.sc.chula.ac.th/~tdumrong/2301217 บทที6 อินทิกรัลตามพื้นผิว 6 - 2 6.1 สมการเวกเตอรของพื้นผิว ในเนื้อหาแคลคูลัส 2 เราไดเคยศึกษา สมการเวกเตอรของ เสนตรง และ ระนาบ มาแลว เชน สมการเวกเตอรของเสนตรง L ผานจุด 0 P ( 0 x , 0 y , 0 z ) และมี A v เปนเวกเตอรแสดงทิศทาง คือ P v = 0 P v + t A v สมการเวกเวกเตอรของระนาบ M ซึ่งผานจุด 0 P และมี N v เปนเวกเตอรแนวฉากคือ P P 0 N v = 0 ในหัวขอนี้เราจะศึกษาเกี่ยวกับสมการเวกเตอรของพื้นผิว การเขียนกราฟของฟงกชันคาเวกเตอรที่มีโดเมนเปนจํานวน จริง และ กราฟของฟงกชันคาเวกเตอรที่มีโดเมนเปนสับเซตของ 2 R โดยจะแสดงภาพของโดเมน และ พิสัยของฟงกชัน ในรูปที6.1.1 เปนภาพที่แสดง กราฟของฟงกชันคาเวกเตอร r v (t) = (0, t, 2 t ) เมื่อ 0 t 4 ซึ่งแสดงทั้งโดเมน [0, 4] และ พิสัยของ r v (t) ซึ่งก็คือ วิถี C ของ r v (t) รูปที6.1.1 บทที6 อินทิกรัลตามพื้นผิว 6 - 3 สําหรับฟงกชัน r v : T 3 R เมื่อ T เปนสับเซตของ 2 R นิยามโดย r v (u, v) = (X(u, v), Y(u, v), Z(u, v)) ... (1) สมการ (1) เรียกวา สมการเวกเตอรของพื้นผิว สมการอิงตัวแปรเสริมของพื้นผิว คือ x = X(u, v) y = Y(u, v) z = Z(u, v) เมื่อ (u, v) เปนสมาชิกของ T กราฟของ r v ในปริภูมิสามมิติเรียกวา พื้นผิวของสมการเวกเตอร r v ใชสัญลักษณแทนดวย r v (T) ในการแสดงความหมายของฟงกชันคาเวกเตอร r v จาก 2 R ไป ยัง 3 R จึงตองแสดงโดเมนของ r v ซึ่งเปน สับเซตของ 2 R และ พิสัยของ r v ซึ่งเปนสับเซตของ 3 R เพราะฉะนั้นการแสดงกราฟของ r v พรอมโดเมนและพิสัย สามารถแสดงในลักษณะดังนีรูปที6.1.2 บทที6 อินทิกรัลตามพื้นผิว 6 - 4 ตัวอยาง 6.1.1 จงเขียนกราฟของ r v (u, v) = (x(u, v), y(u, v), z(u, v)) 1. r v (u, v) = (u, v, 4) เมื่อ r D v = [0, 4] × [0, 3] 2. r v (u, v) = ( 2 u , v, 4) เมื่อ r D v = [0, 4] × [0, 3] 3. r v (u, v) = (u, v, 6 – 2u – 3v) เมื่อ u 0 และ v 0 และ 6 – 2u – 3v 0 4. r v (u, v) = (u, v, 2 u + 2 v ) เมื่อ u และ v เปนจํานวนจริง วิธีทํา 1. r v (u, v) = (u, v, 4) เมื่อ r D v = [0, 4] × [0, 3] ภาพของโดเมน r v คือสี่เหลี่ยมผืนผา [0, 4] × [0, 3] บนระนาบ UV กราฟของ r v ในปริภูมิ XYZ คือ พื้นผิว {(x, y, 4) | (x, y) [0, 4] × [0, 3]} เพราะฉะนั้นกราฟของ r v เปนดังรูปที6.1.3 รูปที6.1.3 Calculus III page 1 / 38

Upload: others

Post on 17-Jul-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 1

บทที่ 6อินทิกรัลตามพื้นผิว

รองศาสตราจารย ดํารงค ทิพยโยธาภาควิชาคณิตศาสตรและวิทยาการคอมพิวเตอรคณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

http://www.math.sc.chula.ac.th/~tdumrong/2301217

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 2

6.1 สมการเวกเตอรของพื้นผิวในเนื้อหาแคลคูลัส 2 เราไดเคยศึกษา สมการเวกเตอรของเสนตรง และ ระนาบ มาแลว เชนสมการเวกเตอรของเสนตรง L ผานจุด 0P ( 0x , 0y , 0z )และมี A

v เปนเวกเตอรแสดงทิศทาง คือ Pv = 0P

v + tAv

สมการเวกเวกเตอรของระนาบ M ซึ่งผานจุด 0P

และมี Nv เปนเวกเตอรแนวฉากคือ PP0 ⋅Nv = 0

ในหัวขอนี้เราจะศึกษาเก่ียวกับสมการเวกเตอรของพื้นผิวการเขียนกราฟของฟงกชันคาเวกเตอรที่มีโดเมนเปนจํานวน

จริง และ กราฟของฟงกชันคาเวกเตอรที่มีโดเมนเปนสับเซตของ2R โดยจะแสดงภาพของโดเมน และ พิสัยของฟงกชัน

ในรูปที่ 6.1.1 เปนภาพที่แสดง กราฟของฟงกชันคาเวกเตอรrv(t) = (0, t, 2t ) เมื่อ 0 ≤ t ≤ 4ซึ่งแสดงทั้งโดเมน [0, 4] และพิสัยของ rv(t) ซึ่งก็คือ วิถี C ของ rv(t)

รูปที่ 6.1.1

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 3

สําหรับฟงกชัน rv : T → 3R เมื่อ T เปนสับเซตของ 2R

นิยามโดย rv(u, v) = (X(u, v), Y(u, v), Z(u, v)) ... (1)สมการ (1) เรียกวา สมการเวกเตอรของพื้นผิวสมการอิงตัวแปรเสริมของพื้นผิว คือ x = X(u, v)

y = Y(u, v)z = Z(u, v)

เมื่อ (u, v) เปนสมาชิกของ Tกราฟของ rv ในปริภูมิสามมิติเรียกวาพื้นผิวของสมการเวกเตอร rv ใชสัญลักษณแทนดวย rv(T)ในการแสดงความหมายของฟงกชันคาเวกเตอร rv จาก 2R ไปยัง 3R จึงตองแสดงโดเมนของ rv ซึ่งเปนสับเซตของ 2R และ พิสัยของ rv ซึ่งเปนสับเซตของ 3R

เพราะฉะนั้นการแสดงกราฟของ rv พรอมโดเมนและพิสัยสามารถแสดงในลักษณะดังนี้

รูปที่ 6.1.2

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 4

ตัวอยาง 6.1.1จงเขียนกราฟของ rv(u, v) = (x(u, v), y(u, v), z(u, v))1. rv(u, v) = (u, v, 4) เมื่อ rDv = [0, 4] × [0, 3]2. rv(u, v) = ( 2

u , v, 4) เมื่อ rDv = [0, 4] × [0, 3]3. rv(u, v) = (u, v, 6 – 2u – 3v) เมื่อ u ≥ 0 และ v ≥ 0 และ 6 – 2u – 3v ≥ 04. rv(u, v) = (u, v, 2u + 2v ) เมื่อ u และ v เปนจํานวนจริงวิธีทาํ1. rv(u, v) = (u, v, 4) เมื่อ rDv = [0, 4] × [0, 3]ภาพของโดเมน rv

คือส่ีเหลี่ยมผืนผา [0, 4] × [0, 3] บนระนาบ UVกราฟของ rv ในปริภูมิ XYZคือ พื้นผิว {(x, y, 4) | (x, y) ∈ [0, 4] × [0, 3]}เพราะฉะนั้นกราฟของ rv เปนดังรูปที่ 6.1.3

รูปที่ 6.1.3

Calculus III page 1 / 38

Page 2: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 5

2. rv(u, v) = ( 2u , v, 4) เมื่อ rDv = [0, 4] × [0, 3]

ภาพของโดเมน rv

คือส่ีเหลี่ยมผืนผา [0, 4] × [0, 3] บนระนาบ UVกราฟของ rv ในปริภูมิ XYZคือพ้ืนผิว {(x, y, 4) | (x, y) ∈ [0, 2] × [0, 3]}เพราะฉะนั้นกราฟของ rv เปนดังรูปที่ 6.1.4

รูปที่ 6.1.43. rv(u, v) = (u, v, 6 – 2u – 3v)เมื่อ u ≥ 0 และ v ≥ 0 และ 6 – 2u – 3v ≥ 0ภาพของโดเมน rv คือบริเวณ u ≥ 0 และ v ≥ 0และ 6 - 2u - 3v ≥ 0 บนระนาบ UVกราฟของ rv ในปริภูมิ XYZ คือพื้นผิว {(x, y, z) | z = 6 – 2x – 3y และ x ≥ 0และ y ≥ 0 และ 6 - 2x - 3y ≥ 0}เพราะฉะนั้นกราฟของ rv เปนระนาบ z = 6 – 2x – 3y

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 6

หรือ 2x + 3y + z = 6ซึ่งมีกราฟในในอัฐภาคที่หนึ่งดังรูปที่ 6.1.5

รูปที่ 6.1.54. rv(u, v) = (u, v, 2u + 2v ) เมื่อ u และ v เปนจํานวนจริงภาพของโดเมน rv คือบริเวณระนาบ UVกราฟของ rv ในปริภูมิ XYZคือพ้ืนผิว {(x, y, z) | z = 2x + 2y เมื่อ x, y เปนจํานวนจริง}เพราะฉะนั้นกราฟของ rv เปนกราฟของพื้นผิวอิลลิปติกพาราโบลอยด z = 2x + 2y ดังรูปที่ 6.1.6

รูปที่ 6.1.6

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 7

ตัวอยาง 6.1.2 พื้นผิวซึ่งมีสมการเวกเตอรrv(u, v) = (u cos v, u sin v, u) เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ 4 และ 0 ≤ v ≤ 2π}มีกราฟเปนรูปอะไรวิธีทาํ rv(u, v) = (u cos v, u sin v, u) เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ 4 และ 0 ≤ v ≤ 2π}เมื่อ x = u cos v, y = u sin v, z = uจะได 2x + 2y = 2u 2cos v + 2u 2sin v = 2u = 2z

เพราะฉะนั้นพื้นผิว rv เปนรูปกรวย

รูปที่ 6.1.7

หมายเหตุ ผลจากตัวอยางขางตนเราสรุปเปนกรณีทั่วไปไดวากรวย 2x + 2y = 2z และ 0 ≤ z ≤ kมีสมการเวกเตอรของพื้นผิวเปนrv(u, v) = (u cos v, u sin v, u) เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ k และ 0 ≤ v ≤ 2π}

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 8

ตัวอยาง 6.1.3 พื้นผิวซึ่งมีสมการเวกเตอรrv(u, v) = (k sin u cos v, k sin u sin v, k cos u)เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ π และ 0 ≤ v ≤ 2π}มีกราฟเปนรูปอะไรวิธีทาํ

รูปที่ 6.1.8rv(u, v) = (k sin u cos v, k sin u sin v, k cos u)เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ π และ 0 ≤ v ≤ 2π}เมื่อ x = k sin u cos v, y = k sin u sin v, z = k cos uจะได 2x + 2y + 2z

= 2k 2sin u 2cos v + 2k 2sin u 2sin v + 2k 2cos u= 2k 2sin u( 2cos v + 2sin v) + 2k 2cos u= 2k 2sin u(1) + 2k 2cos u = 2k ( 2sin u + 2cos u) = 2k

เพราะฉะนั้นพื้นผิว rv เปนพื้นผิวทรงกลมรัศมี kและมีจุดศูนยกลางที่จุด (0, 0, 0)

Calculus III page 2 / 38

Page 3: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 9

หมายเหตุ 1. ผลจากตัวอยางขางตนจะไดวาทรงกลม2x + 2y + 2z = 2k มีสมการเวกเตอรของพื้นผิวเปน

rv(u, v) = (k sin u cos v, k sin u sin v, k cos u)เมื่อ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ π และ 0 ≤ v ≤ 2π}

2. พื้นผิวครึ่งทรงกลมเหนือระนาบ XYมีสมการเวกเตอรของพื้นผิวเปนrv(u, v) = (k sin u cos v, k sin u sin v, k cos u)เมื่อ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ 2

π และ 0 ≤ v ≤ 2π}3. พื้นผิวครึ่งทรงกลมใตระนาบ XY

มีสมการเวกเตอรของพื้นผิวเปนrv(u, v) = (k sin u cos v, k sin u sin v, k cos u)เมื่อ T = {(u, v) | 2

π ≤ u ≤ π และ 0 ≤ v ≤ 2π}4. รูปแบบอื่น ๆ ของพ้ืนผิวครึ่งทรงกลมเหนือระนาบ XY

มีสมการเวกเตอรของพื้นผิวเปนrv(x, y) = (x, y, 222 yxk −− ) เมื่อ (x, y) ∈ Tโดยที่ T = {(x, y) | 2x + 2y ≤ 2k เมื่อ k > 0}

5. รูปแบบอื่น ๆ ของพ้ืนผิวครึ่งทรงกลมใตระนาบ XYมีสมการเวกเตอรของพื้นผิวเปนrv(x, y) = (x, y, – 222 yxk −− ) เมื่อ (x, y) ∈ Tโดยที่ T = {(x, y) | 2x + 2y ≤ 2k เมื่อ k > 0}

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 10

ตัวอยาง 6.1.4 จงหาสมการเวกเตอรของพื้นผิวพาราโบลอยดz = 2x + 2y เมื่อ 0 ≤ z ≤ 9วิธีทาํ

รูปที่ 6.1.9ให P(x, y, z) เปนจุดบนพาราโบลอยด z = 2x + 2y

เมื่อ 0 ≤ z ≤ 9โดยใชพิกัดทรงกระบอก จะไดวา พื้นผิวพาราโบลอยดจะมีสมการอิงตัวแปรเสริมเปน

x = u cos vy = u sin vz = 2u

เมื่อ (u, v) ∈ T โดยที่ T = [0, 3] × [0, 2π]จะไดสมการเวกเตอรของพื้นผิวrv(u, v) = (u cos v, u sin v, 2u ) เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ 3 และ 0 ≤ v ≤ 2π}

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 11

หมายเหตุ1. ผลจากตัวอยางขางตนจะไดวา

พาราโบลอยด z = 2x + 2y เมื่อ 0 ≤ z ≤ kมีสมการเวกเตอรเปน rv(u, v) = (u cos v, u sin v, 2u )เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ k และ 0 ≤ v ≤ 2π}

2. พาราโบลอยด z = 2x + 2y เมื่อ 0 ≤ z ≤ kสามารถกําหนดสมการเวกเตอรของพื้นผิวไดเปนrv(x, y) = (x, y , 2x + 2y ) เมื่อ (x, y) ∈ Tโดยที่ T = {(x, y) | 2x + 2y ≤ k}

ตัวอยาง 6.1.5 จงหาสมการเวกเตอรของทรงกระบอก 2x + 2y = 16 และ 0 ≤ z ≤ 5วิธีทาํ

รูปที่ 6.1.10

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 12

ให P(x, y, z) เปนจุดบนทรงกระบอก 2x + 2y = 16เมื่อ 0 ≤ z ≤ 5โดยใชพิกัดทรงกระบอก จะไดวา พื้นผิวทรงกระบอกจะมีสมการอิงตัวแปรเสริมเปน

x = 4 cos uy = 4 sin uz = v

เมื่อ (u, v) ∈ T โดยที่ T = [0, 2π] × [0, 5]จะไดสมการเวกเตอรของพื้นผิวrv(u, v) = (4 cos u, 4 sin u, v)เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ 2π และ 0 ≤ v ≤ 5}หมายเหตุเมื่อ h, k เปนจํานวนจริงบวกผลจากตัวอยางขางตนจะไดวาทรงกระบอก 2x + 2y = 2k เมื่อ 0 ≤ z ≤ hมีสมการเวกเตอรเปน rv(u, v) = (k cos u, k sin u, v)เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ 2π และ 0 ≤ v ≤ h}

Calculus III page 3 / 38

Page 4: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 13แบบฝกหัด 6.11. จงหาสมการเวกเตอรของพื้นผิว

1.1 3x + 2y - 6z = 241.2 2x + 2y = 161.3 2x + 2y = z1.4 4 2x - 9 2y = 36z1.5 49 2x + 9 2y + 2z = 25

2. พ้ืนผิวซึ่งมีสมการเวกเตอร rv (u, v) และ โดเมน T ที่กําหนดใหตอไปนี้ มีพ้ืนผิวเปนรูปอะไร2.1 rv (u, v) = (2u, v, 4 2u + 2v ) เมื่อ T = {(u, v) | 0 ≤ 4 2u + 2v ≤ 4}2.2 rv (u, v) = (4 cos u, 4 sin u, v) เมื่อ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ 2π และ -4 ≤ v ≤ 4}2.3 rv (u, v) = (u + v + 4, u - v + 5, 2u) เมื่อ T = {(u, v) | u และ v เปนจํานวนจริง}2.4 rv (u, v) = (u, v, 22 vu1 −− ) เม่ือ T = {(u, v) | 0 ≤ 2u + 2v ≤ 1}

เฉลยแบบฝกหัด 6.11. 1.1 rv (u, v) = (u, v, 6

v2u324−

−− )1.2 rv (u, v) = (4 cos u, 4 sin u, v)1.3 rv (u, v) = (u cos v, u sin v, 2u )1.4 rv (u, v) = (3u, 2v, 2u - 2v )

แนะนาํ ให x = 3u และ y = 2v จะได 4 2x = 36 2u และ 9 2y = 36 2v

เพราะฉะนั้น 4 2x - 9 2y = 36 2u - 36 2v = 36( 2u - 2v ) = 36z1.5 rv (u, v) = ( 7

5 sin u cos v, 35 sin u sin v, 5 cos u)

แนะนาํ ให 7x = 5 sin u cos v และ 3y = 5 sin u sin v และ z = 5 cos uเพราะฉะนั้น 49 2x + 9 2y + 2z = (5 sin u cos v) 2 + (5 sin u sin v) 2 + (5 cos u) 2 = 25

2. 2.1 พ้ืนผิวอิลลิปติกพาราโบลอยด 2x + 2y = z โดยที่ 0 ≤ z ≤ 42.2 พ้ืนผิวทรงกระบอก 2x + 2y = 16 โดยที่ -4 ≤ z ≤ 42.3 พ้ืนผิวระนาบ x + y - z = 9

แนะนาํ ให x = u + v + 4 และ y = u - v + 5 และ z = 2uเพราะฉะนั้น x + y = 2u + 9 = z + 9 เพราะฉะนั้น x + y - z = 9

2.4 พ้ืนผิวครึ่งทรงกลม 2x + 2y + 2z = 1 เหนือระนาบ XY

Calculus III page 4 / 38

Page 5: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 14

6.2 การหาพื้นที่ของพื้นผิวการหาพื้นที่ผิวของรูปทรงที่รูสมการเวกเตอร เชน ระนาบพื้นผิวไฮเพอรโบลิกพาราโบลอยด

รูปที่ 6.2.1(ก) รูปที่ 6.2.1(ข)หมายเหตุ || A

v × Bv ||

= พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนานที่มีดานประชิดเปน A

v และ Bv

ดังรูปที่ 6.2.2 รูปที่ 6.2.2ตัวอยาง 6.2.1 จงหาพื้นที่ผิวของระนาบรูปสี่เหลี่ยมดานขนานS ที่มีดานประชิดเปน A

v = (1, –1, 2) และ Bv = (–1, 2, –1)

วิธีทาํ Av × B

v = 12 12 11 k j i

−−

vvv

= 12 2 1 −

− iv – 11

2 1 −− jv + 2 1

11 −− k

v

= (1 – 4) iv – (–1 + 2) j

v + (2 – 1)kv = –3 i

v – jv + k

v

เพราะฉะนั้น พื้นที่ระนาบ S = || Av × B

v ||= 222 1)1()3( +−+− = 11

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 15

ตัวอยาง 6.2.2 จงหาพื้นที่ผิวของพื้นผิวระนาบ2x + y + 3z = 6 ในอัฐภาคที่หนึ่งวิธีทาํ

รูปที่ 6.2.3 พื้นที่ผิวของระนาบ = 2

1 || AB × AC ||= 2

1 || ((0, 6, 0) – (3, 0, 0)) × ((0, 0, 2) – (3, 0, 0)) ||

= 21 || (–3, 6, 0) × (–3, 0, 2) ||

= 21 ||

2 0 30 6 3k j i

−−

vvv

||

= 21 || 20

06 iv – 23

03 −− j

v + 0363 −

− kv ||

= 21 || 12 i

v + 6 j

v + 18kv ||

= 21 32436144 ++

= 21 504

= 3 14

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 16

บทนิยาม 6.2.1 กําหนดให S เปนพื้นผิวในปริภูมิสามมิติภาพฉายของพื้นผิว S บนระนาบ XYหมายถึงเซต XYS = {(x, y, 0) | มี z ที่ทําให (x, y, z) ∈ S}ภาพฉายของพื้นผิว S บนระนาบ YZหมายถึงเซต YZS = {(0, y, z) | มี x ที่ทําให (x, y, z) ∈ S}ภาพฉายของพื้นผิว S บนระนาบ XZหมายถึงเซต XZS = {(x, 0, z) | มี y ที่ทําให (x, y, z) ∈ S}ตัวอยางเชนS = {(x, y, z) | 2x + 2y = z และ 0 ≤ z ≤ 4}

XYS = {(x, y, 0) | 2x + 2y ≤ 4}เปนจุดภายในวงกลมซึ่งมีจุดศูนยกลางที่จุด (0, 0)และมีรัศมีเทากับ 2 บนระนาบ XYภาพของ S และ XYS เปนดังรูปที่ 6.2.4

รูปที่ 6.2.4

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 17

ตัวอยาง 6.2.3 กําหนดสมการระนาบ M : 2x + 3y + z = 24S เปนสับเซตของพื้นผิวระนาบ M ที่มี

XYS = [0, 3] × [0, 4] × { 0 } จงหาพื้นที่ของ Sวิธีทาํ

รูปที่ 6.2.5จุด A(0, 0, 24) บน S มีภาพฉายของจุดบนระนาบ XYเปนจุด (0, 0, 0)จุด B(3, 0, 18) บน S มีภาพฉายของจุดบนระนาบ XYเปนจุด (3, 0, 0)จุด C(3, 4, 6) บน S มีภาพฉายของจุดบนระนาบ XYเปนจุด (3, 4, 0)จุด D(0, 4, 12) บน S มีภาพฉายของจุดบนระนาบ XYเปนจุด (0, 4, 0)

Calculus III page 5 / 38

Page 6: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 18

เพราะฉะนั้น ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนานที่มีดานประชิดเปน AB และ AD ดังแสดงในรูปที่ 6.2.5พื้นที่ S = || AB × AD ||= || ((3, 0, 18) – (0, 0, 24)) × ((0, 4, 12) – (0, 0, 24)) ||= || (3, 0, –6) × (0, 4, –12) ||

= || 21 4 06 0 3k j i

−−

vvv

||

= || 1246 0 −

− iv – 120

6 3 −− j

v + 4003 k

v ||= || 24 i

v + 36 jv + 12k

v || = 12 || 2 iv + 3 j

v + kv ||

= 12 194 ++ = 12 14

ระนาบสัมผัสพื้นผิวA( 0x , 0y , 0z ) บนพื้นผิว S ซึ่งมีสมการพื้นผิว f(x, y, z) = 0M เปนระนาบสัมผัสพื้นผิว S ที่จุด Aเวกเตอรแนวฉากของระนาบ M คือ ∇ f(A)= ( x∂

∂ f( 0x , 0y , 0z ), y∂∂ f( 0x , 0y , 0z ), y∂

∂ f( 0x , 0y , 0z ))สมการของระนาบ M คือ

x∂∂ f( 0x , 0y , 0z )(x – 0x ) + y∂

∂ f( 0x , 0y , 0z )(y – 0y ) + z∂

∂ f( 0x , 0y , 0z )(z – 0z ) = 0

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 19

ตัวอยาง 6.2.4 จงหาระนาบ M ซึ่งเปนระนาบสัมผัสพื้นผิวz = 4y – 2y – 2x + 2 ที่จุด A(3, 2, 5)และจงหาพื้นที่ S ซึ่งเปนสับเซตของพื้นผิวระนาบ M ที่มี

XYS = [2.9, 3.1] × [1.9, 2.1] × { 0 }วิธีทาํ ให f(x, y, z) = 4y – 2y – 2x + 2 – zเพราะฉะนั้น x

f∂∂ = –2x, y

f∂∂ = 4 3y – 2y, z

f∂∂ = –1

∇ f(3, 2, 5) = ( xf∂∂ (3, 2, 5), y

f∂∂ (3, 2, 5), z

f∂∂ (3, 2, 5))

= (–6, 28, –1)สมการของระนาบ M คือ(–6)(x – 3) + (28)(y – 2) + (–1)(z – 5) = 0 –6x + 28y – z = –18 + 56 – 5

–6x + 28y – z = 33

รูปที่ 6.2.6

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 20

เพราะวา XYS = [2.9, 3.1] × [1.9, 2.1] × { 0 }และสมการระนาบ M คือ z = –6x + 28y – 33เพราะฉะนั้นบริเวณ S บนระนาบ M ปดลอมดวยสี่เหลี่ยมที่มีจุดมุมเปน B(3.1, 1.9, 1.6), C(3.1, 2.1, 7.2),D(2.9, 2.1, 8.4) และ E(2.9, 1.9, 2.8)เพราะฉะนั้นสี่เหลี่ยม BCDE เปนสี่เหล่ียมดานขนาน S ที่มีดานประชิดเปน BC และ BE

รูปที่ 6.2.7พื้นที่ S = พื้นที่ของสี่เหลี่ยมดานขนาน BCDE= || BC × BE ||= || ((3.1, 2.1, 7.2) – (3.1, 1.9, 1.6))

× ((2.9, 1.9, 2.8) – (3.1, 1.9, 1.6)) ||

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 21

= || (0, 0.2, 5.6) × (–0.2, 0, 1.2) ||

= || 2.102.06.52.00k j i

vvv

||

= || 2.106.52.0 i

v – 2.12.06.50 − j

v + 02.02.00 − k

v ||= || 0.24 i

v + 1.12 jv + 0.04k

v ||= 222 04.012.124.0 ++

= 0016.02544.10576.0 ++

= 3136.1

ในวิชาแคลคูลัล 1 เราประมาณคาพ้ืนที่ใตโคง y = f(x) กับแกน X บนชวง [x, x + ∆ x] จนสามารถหาคาของพื้นที่ระหวางเสนโคงไดดวยการอินทิเกรต ในวิชาแคลคูลัส 2 เราประมาณความยาวสวนโคง rv(t) ในชวง [t, t + ∆ t] ไดดวยความยาวเสนตรง จากจุด rv(t) ไปยังจุด rv(t + ∆ t) จนสามารถหาความยาวสวนโคงทั้งเสนไดดวยอินทิกรัลตามเสน ในแนวคิดแบบเดียวกันเราจะประมาณคาพ้ืนที่ผิวโคงชิ้นเล็ก ๆ ดวยพื้นที่ระนาบสัมผัส

แนวคิวในการหาพื้นที่ผิวขางตน จะขยายแนวคิดดังกลาวเปนการอินทิเกรตได เพ่ือใหขอสมมติตางๆ ที่จําเปนในการอินทิเกตรสามารถทําได เราจําเปนตองทราบความหมายตาง ๆ เก่ียวกับพื้นผิวเพิ่มเติมดังนี้

Calculus III page 6 / 38

Page 7: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 22

พื้นผิว S ที่กําหนดโดยฟงกชันคาเวกเตอร rv : T → 3R

เมื่อ T เปนสับเซตของ 2R

rv(u, v) = (X(u, v), Y(u, v), Z(u, v))สิ่งที่ควรทราบมีดังนี้1. เมื่อ v = 0v เปนคาคงตัว จะไดวา rv(u, 0v )คือเสนโคง

0vC : rv(u, 0v ) บนพื้นผิว Sและ

ur

∂∂v (u, 0v ) เปนเวกเตอรสัมผัสเสนโคง

0vC : rv(u, 0v )2. เมื่อ u = 0u เปนคาคงตัว จะไดวา rv( 0u , v)คือเสนโคง

0uC : rv( 0u , v) บนพื้นผิว Sและ

vr

∂∂v ( 0u , v) เปนเวกเตอรสัมผัสเสนโคง

0uC : rv( 0u , v)3. rn vv (u, v) =

ur

∂∂v (u, v) ×

vr

∂∂v (u, v)

เรียกวา เวกเตอรแนวฉากของพื้นผิวNv =

|| n ||n

r

rv

vv

v เรียกวา เวกเตอรแนวฉากหนวยของพื้นผิว

4. rn vv ( 0u , 0v ) = ur

∂∂v ( 0u , 0v ) ×

vr

∂∂v ( 0u , 0v )

เรียกวาเวกเตอรแนวฉากของพื้นผิวที่ ( 0u , 0v )5. ภาพที่ใชแสดงความหมายของ จุด rv( 0u , 0v )

rn vv ( 0u , 0v ) = ur

∂∂v ( 0u , 0v ) ×

vr

∂∂v ( 0u , 0v )

เสนโคง 0vC : rv(u, 0v ) บนพื้นผิว S

ur

∂∂v (u, 0v )

เวกเตอรสัมผัสเสนโคง 0vC : rv(u, 0v )

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 23

เสนโคง 0uC : rv( 0u , v) บนพื้นผิว S

vr

∂∂v ( 0u , v)

เวกเตอรสัมผัสเสนโคง 0uC : rv( 0u , v)

โดยสังเขปคือ รูปที่ 6.2.8

รูปที่ 6.2.8บทนิยาม 6.2.1 พื้นผิว S ที่กําหนดโดยฟงกชันคาเวกเตอรrv : T → 3R เมื่อ T เปนสับเซตของ 2R

rv(u, v) = (X(u, v), Y(u, v), Z(u, v))rv( 0u , 0v ) เปนจุดบนพื้นผิวถา

ur

∂∂v และ

vr

∂∂v ตอเนื่องที่จุด ( 0u , 0v )

และ ur

∂∂v ( 0u , 0v ) ×

vr

∂∂v ( 0u , 0v ) ≠ 0

v

แลว rv( 0u , 0v ) เรียกวา จุดปกติถา

ur

∂∂v ไมตอเนื่องที่ ( 0u , 0v ) หรือ

vr

∂∂v ไมตอเนื่องที่ ( 0u , 0v )

หรือ ur

∂∂v ( 0u , 0v ) ×

vr

∂∂v ( 0u , 0v ) = 0

v

แลว rv( 0u , 0v ) เรียกวา จุดเอกฐาน

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 24

ตัวอยาง 6.2.5 ให S เปนพื้นผิวรูปครึ่งทรงกลมกําหนดโดยrv(u, v) = (u, v, 22 vu4 −− )เมื่อ T = {(u, v) | 2u + 2v ≤ 4}จงหาจุดเอกฐานและจุดปกติของพื้นผิว Sวิธีทาํ rv(u, v) = (u, v, 22 vu4 −− )

ur

∂∂v = (1, 0, –

22 vu4u

−−)

vr

∂∂v = (0, 1, –

22 vu4v−−

)

rn vv = ur

∂∂v ×

vr

∂∂v =

vu4v10

vu4u01

kji

22

22

−−−

−−−

vvv

=

vu4v1

vu4u0

22

22

−−−

−−−

iv –

vu4v0

vu4u1

22

22

−−−

−−−

jv

+ 1001 k

v

= (22 vu4

u−−

, 22 vu4

v−−

, 1)

เพราะวาจุดบนขอบของครึ่งทรงกลมมีคา 2u + 2v = 4เพราะฉะนั้นจุดบนขอบของครึ่งทรงกลมเปนจุดเอกฐานสวนจุดอื่น ๆ บนพื้นผิวครึ่งทรงกลมจะเปนจุดปกติ

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 25

ตัวอยาง 6.2.6 ให S เปนพื้นผิวรูปครึ่งทรงกลมกําหนดโดยrv(u, v) = (2 sin u cos v, 2 sin u sin v, 2 cos u)เมื่อ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ 2

π และ 0 ≤ v ≤ 2π}จงหาจุดเอกฐานของพื้นผิว Sวิธีทาํ rv(u, v) = (2 sin u cos v, 2 sin u sin v, 2 cos u)

ur

∂∂v = (2 cos u cos v, 2 cos u sin v, –2 sin u)

vr

∂∂v = (-2 sin u sin v, 2 sin u cos v, 0)

rn vv = ur

∂∂v ×

vr

∂∂v

= 0vcosusin2vsinusin2

usin2vsinucos2vcosucos2kji

vvv

= 0vcosusin2usin2vsinucos2 − i

v – 0vsinusin2usin2vcosucos2 −

− jv

+ vcosusin2vsinusin2vsinucos2vcosucos2 − k

v

= 4 2sin u cos v iv + 4 2sin u sin v j

v + 4sin u cos ukv

= (4 2sin u cos v, 4 2sin u sin v, 4sin u cos u)= 2 sin u (2 sin u cos v, 2 sin u sin v, 2 cos u)เพราะวา rv(u, v) ไมเปนเวกเตอรศูนยเพราะฉะนั้น rn vv = 0

v ก็ตอเมื่อ sin u = 0เพราะฉะนั้น rn vv = 0

v ก็ตอเมื่อ u = 0เพราะฉะนั้น u = 0 จะไดวา rn vv = 0

v

เพราะฉะนั้นจุด rv(0, v) = (0, 0, 2) เปนจุดเอกฐานCalculus III page 7 / 38

Page 8: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 26

ขอสังเกต บนพื้นผิว S คิดจากฟงกชันคาเวกเตอรตามตัวอยาง 6.2.5 จุด (0, 0, 2) ไมเปนจุดเอกฐาน

บทนิยาม 6.2.2 พื้นผิว S ที่กําหนดโดยฟงกชันคาเวกเตอรrv : T → 3R เมื่อ T เปนสับเซตของ 2R

ถา rv(u, v) เปนจุดปกติ ทุก (u, v) ใน Tแลว พื้นผิว S เปน พื้นผิวเรียบถา พื้นผิว S ไมเปนพื้นผิวเรียบแต S ประกอบดวยพื้นผิวเรียบแลว พื้นผิว S เปน พื้นผิวเรียบเปนสวน ๆตัวอยางเชนพื้นผิวระนาบเปนพื้นผิวเรียบพื้นผิวลูกบาศกประกอบดวยดาน 6 ดานไมเปนพื้นผิวเรียบแตเพราะวาดานทั้ง 6 ดานเปนระนาบซึ่งเปนพื้นผิวเรียบเพราะฉะนั้น พื้นผิวลูกบาศกเปนพื้นผิวเรียบเปนสวน

ขอสังเกต1. พื้นผิว S ในปริภูมิสามมิติ อาจไดมาจากฟงกชันคาเวกเตอร

1 rv ที่มีโดเมน 1T และ S = 1 r

v ( 1T )และ 2 r

v ที่มีโดเมน 2T และ S = 2 rv ( 2T )

โดยที่ 1 rv และ 2rv ตางกัน

เพราะฉะนั้นเปนไปไดที่ จุด P บนพื้นผิว S

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 27

ถา พิจารณาโดยใช 1 rv (u, v) ที่มีโดเมน 1T

แลว จะไดวาจุด P เปนจุดปกติแต ถา พิจารณาโดยใช 2 r

v (u, v) ที่มีโดเมน 2T

แลว จะไดวาจุด P เปนจุดเอกฐาน2. ถา

ur

∂∂v และ

vr

∂∂v เปนฟงกชันตอเนื่อง

แลว ur

∂∂v ×

vr

∂∂v เปนฟงกชันตอเนื่อง

เพราะฉะนั้น ระนาบสัมผัสจะจะการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่องเพราะฉะนั้นพื้นผิวเรียบจะไมมีการหักมุม3. สําหรับฟงกชัน rv : T → 3R เมื่อ T เปนสับเซตของ 2R

เมื่อ 0vL เปนสวนเสนตรง v = 0v ในโดเมน T บนระนาบ UV

จะไดวา rv(0vL ) เปนเสนโคงบนพื้นผิว rv(T)

ur

∂∂v (u, 0v ) คือ ความเร็วของการเคลื่อนที่บนเสนโคง rv(

0vL )การเคลื่อนที่บนเสนโคง rv(

0vL ) ในชวงเวลา ∆ uมีคาประมาณเทากับ = ความเร็ว × เวลา = ||

ur

∂∂v || (∆ u)

เมื่อ 0uL เปนสวนเสนตรง u = 0u ในโดเมน T บนระนาบ UV

จะไดวา rv(0uL ) เปนเสนโคงบนพื้นผิว rv(T)

vr

∂∂v ( 0u , v) คือ ความเร็วของการเคลื่อนที่บนเสนโคง rv(

0uL )

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 28

การเคลื่อนที่บนเสนโคง rv(0uL ) ในชวงเวลา ∆ v

มีคาประมาณเทากับ = ความเร็ว × เวลา = || vr

∂∂v || (∆ v)

รูปที่ 6.2.9เพราะฉะนั้น จากรูปที่ 6.2.9บริเวณสี่เหลี่ยมผืนผา ∆ T ที่มีพื้นที่ (∆ u)(∆ v)เมื่อสงคาไปยังพ้ืนผิว rv(T)จะสงไปยังบริเวณพ้ืนผิวที่มีคาประมาณเทากับ= พื้นที่สี่เหลี่ยมดานขนานที่มีดานประชิดเปนเวกเตอร

(∆ u)ur

∂∂v ( 0u , 0v ) และ (∆ v)

vr

∂∂v ( 0u , 0v )

= || (∆ u)ur

∂∂v ( 0u , 0v ) × (∆ v)

vr

∂∂v ( 0u , 0v ) ||

= || ur

∂∂v ( 0u , 0v ) ×

vr

∂∂v ( 0u , 0v ) ||(∆ u)(∆ v)

= || rn vv ( 0u , 0v ) || (∆ u)(∆ v)

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 29

เพราะฉะนั้นบริเวณสี่เหลี่ยมผืนผา ∆ T บนโดเมน Tบนระนาบ UV จะสงดวย rv(u, v) ไปยังพ้ืนผิว rv(T)ในปริภูมิสามมิติ จะมีพื้นที่โดยประมาณเทากับ || rn vv ( 0u , 0v ) || (∆ u)(∆ v)

รูปที่ 6.2.10

Calculus III page 8 / 38

Page 9: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 30

6.2.1 การหาพื้นที่ของพื้นผิวเรียบ rv

เมื่อโดเมน T เปนสี่เหลี่ยมผืนผากําหนดใหพื้นผิวเรียบ Sกําหนดโดยฟงกชันคาเวกเตอร rv : T → 3R

เมื่อ T = [a, b] × [c, d] เปนสับเซตของระนาบ UVบนระนาบ UVให UP = { 0u , 1u , 2u , ... , 1iu − , iu , ... , mu }เปนผลแบงก้ันของชวง [a, b]นั่นคือ UP แบงชวง [a, b] ออกเปน m ชวงยอยดวยจุด 0u , 1u , 2u , ... , 1iu − , iu , ... , mu

โดยที่ a = 0u < 1u < 2u < ... < mu = bและ ∆ iu = iu – 1iu − ทุก i = 1, 2, ... , mให VP = { 0v , 1v , 2v , ... , 1jv − , jv , ... , nv }เปนผลแบงก้ันของชวง [c, d]นั่นคือ VP แบงชวง [c, d] ออกเปน n ชวงยอยดวยจุด 0v , 1v , 2v , ... , 1jv − , jv , ... , nv

โดยที่ c = 0v < 1v < 2v < ... < nv = dและ ∆ jv = jv – 1jv − ทุก j = 1, 2, ... , n

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 31

รูปที่ 6.2.11สําหรับคา i = 1, 2, ... , m และ j = 1, 2, ... , n

ijT = [ 1iu − , iu ] × [ 1jv − , jv ]ijS = พื้นที่ของพื้นผิว rv( ijT )

สี่เหลี่ยมดานขนาน ABCD คือบริเวณ [ 1iu − , iu ] × [ 1jv − , jv ]บนระนาบ UVให rv(AB) = เสนโคง PQ บนพื้นผิว S

rv(BC) = เสนโคง QR บนพื้นผิว Srv(CD) = เสนโคง RM บนพื้นผิว Srv(DA) = เสนโคง MP บนพื้นผิว S

เพราะฉะนั้น rv(ABCD) = พื้นผิว PQRM บนพื้นผิว Sให PQ = rv(B) – rv(A)

= 1ii uu

)A(r)B(r−−

− vv ( iu – 1iu − )

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 32

เพราะวา ur

∂∂v เปนฟงกชันตอเนื่อง

เพราะฉะนั้นตองมี *iju เปนสมาชิกของ [ 1iu − , iu ]

ที่ทําให ur

∂∂v ( *

iju ) = 1ii uu

)A(r)B(r−−

− vv

เพราะฉะนั้น PQ = ur

∂∂v ( *

iju )( iu – 1iu − )ให PM = rv(D) – rv(A) =

1jj vv)A(r)D(r

−−− vv

( jv – 1jv − )

เพราะวา vr

∂∂v เปนฟงกชันตอเนื่อง

เพราะฉะนั้นตองมี *ijv เปนสมาชิกของ [ 1jv − , jv ]

ที่ทําให vr

∂∂v ( *

ijv ) = 1jj vv

)A(r)D(r−−

− vv

เพราะฉะนั้น PM = vr

∂∂v ( *

ijv )( jv – 1jv − ) ijS = พื้นที่พื้นผิว PQRM ≈ || PQ × PM ||

= || ur

∂∂v ( *

iju ) ( iu – 1iu − ) × vr

∂∂v ( *

ijv )( jv – 1jv − ) ||= ||

ur

∂∂v ( *

iju ) × vr

∂∂v ( *

ijv ) || ( iu – 1iu − )( jv – 1jv − )= ||

ur

∂∂v ( *

iju ) × vr

∂∂v ( *

ijv ) || (∆ iu )(∆ jv )

พื้นที่ของพื้นผิว S = ∑=

m

1 i∑=

n

1 jijS

= ∑=

m

1 i∑=

n

1 j||

ur

∂∂v ( *

iju ) × vr

∂∂v ( *

ijv ) || (∆ iu )(∆ jv )

เมื่อ m, n มีคาเพิ่มขึ้นอยางไมมีขีดจํากัด(m → ∞ และ n → ∞)

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 33

และ ∆ iu มีคาเขาใกล 0 ทุกคา i = 1, 2, ... , mและ ∆ jv มีคาเขาใกล 0 ทุกคา j = 1, 2, ... , nจะไดวา พื้นที่ของพื้นผิว S

= ∞→∞→

n m

lim ∑=

m

1 i∑=

n

1 j||

ur

∂∂v ( *

iju ) × vr

∂∂v ( *

ijv ) || (∆ iu )(∆ jv )

เพราะวา S เปนพื้นผิวเรียบเพราะฉะนั้น ||

ur

∂∂v ( *

iju ) × vr

∂∂v ( *

ijv ) || ตอเนื่องบน Tเพราะฉะนั้น ||

ur

∂∂v ( *

iju ) × vr

∂∂v ( *

ijv ) || อินทิเกรตไดบนโดเมน Tและพื้นที่ของพื้นผิว S = ∫∫

T|| rn vv (u, v) || dudv

เมื่อ rn vv = ur

∂∂v ×

vr

∂∂v

Calculus III page 9 / 38

Page 10: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 34

ตัวอยาง 6.2.7 กําหนดใหพื้นผิว Sมีฟงกชันเวกเตอรของพื้นผิวเปนrv(u, v) = (u, v, 24 – 2u – 3v)และ (u, v) ∈ [0, 3] × [0, 4] จงหาพื้นที่ของ Sวิธีทาํ rv(u, v) = (u, v, 24 – 2u – 3v)

ur

∂∂v = (1, 0, –2)

vr

∂∂v = (0, 1, –3)

rn vv = ur

∂∂v ×

vr

∂∂v

= 310201k ji

−−

vvv

= 3120 −

− iv - 30

21 −− j

v + 1001 k

v

= 2 iv + 3 j

v + kv

|| rn vv (u, v) || = || 2 iv + 3 j

v + kv || = 194 ++ = 14

พื้นที่ของพื้นผิว S = ∫∫T|| rn vv (u, v) || dudv

= ∫4

0∫3

014 dudv

= 14 (3)(4) = 12 14

หมายเหตุ เปรียบเทียบกับ ตัวอยาง 6.2.3 จะไดคําตอบเทากัน

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 35

6.2.2 การหาพื้นที่ของพื้นผิวเรียบ rv

เมื่อโดเมน T เปนบริเวณที่มีขอบเขตกําหนดใหพื้นผิวเรียบ S กําหนดโดยฟงกชันคาเวกเตอรrv : T → 3R เมื่อ T เปนเซตที่มีขอบเขต

รูปที่ 6.2.12(ก) รูปที่ 6.2.12(ข)เพราะวา T เปนเซตมีขอบเขตเพราะฉะนั้นมี a, b, c, d เปนจํานวนจริงที่ทําให T เปนสับเซตของ [a, b] × [c, d]ให UP = { 0u , 1u , 2u , ... , 1iu − , iu , ... , mu }เปนผลแบงก้ันของชวง [a, b]นั่นคือ UP แบงชวง [a, b] ออกเปน m ชวงยอยดวยจุด 0u , 1u , 2u , ... , 1iu − , iu , ... , mu

โดยที่ a = 0u < 1u < 2u < ... < mu = bและ ∆ iu = iu – 1iu − ทุก i = 1, 2, ... , m

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 36

ให VP = { 0v , 1v , 2v , ... , 1jv − , jv , ... , nv }เปนผลแบงก้ันของชวง [c, d]นั่นคือ VP แบงชวง [c, d] ออกเปน n ชวงยอยดวยจุด 0v , 1v , 2v , ... , 1jv − , jv , ... , nv

โดยที่ c = 0v < 1v < 2v < ... < nv = dและ ∆ jv = jv – 1jv − ทุก j = 1, 2, ... , nสําหรับคา i = 1, 2, ... , m และ j = 1, 2, ... , nให ijT = [ 1iu − , iu ] × [ 1jv − , jv ]เพราะฉะนั้น ijT ∩ T ≠ ∅ หรือ ijT ∩ T = ∅

ijS = พื้นที่ของพื้นผิว rv( ijT ) เมื่อ ijT ∩ T ≠ ∅ในทํานองเดียวกันกับการแสดงขางตน จะไดวา

ijS = พื้นที่ของพื้นผิว rv( ijT )= ||

ur

∂∂v ( *

iju ) ( iu – 1iu − ) × vr

∂∂v ( *

ijv )( jv – 1jv − ) ||= ||

ur

∂∂v ( *

iju ) × vr

∂∂v ( *

ijv ) || ( iu – 1iu − )( jv – 1jv − )= ||

ur

∂∂v ( *

iju ) × vr

∂∂v ( *

ijv ) || (∆ iu )(∆ jv )

พื้นที่ของพื้นผิว S = ∑=

m

1 i∑=

n

1 jijS และ ijT ∩ T ≠ ∅

= ∑=

m

1 i∑=

n

1 j||

ur

∂∂v ( *

iju ) × vr

∂∂v ( *

ijv ) || (∆ iu )(∆ jv )

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 37

เมื่อ m, n มีคาเพิ่มขึ้นอยางไมมีขีดจํากัดและ ∆ iu มีคาเขาใกล 0 ทุกคา i = 1, 2, ... , mและ ∆ jv มีคาเขาใกล 0 ทุกคา j = 1, 2, ... , nจะไดวาพื้นที่ของพื้นผิว S

= ∞→∞→

n m

lim ∑=

m

1 i∑=

n

1 j||

ur

∂∂v ( *

iju ) × vr

∂∂v ( *

ijv ) || (∆ iu )(∆ jv )

เพราะวา S เปนพื้นผิวเรียบเพราะฉะนั้น ||

ur

∂∂v ( *

iju ) × vr

∂∂v ( *

ijv ) || มีความตอเนื่องบน Tเพราะฉะนั้น ||

ur

∂∂v ( *

iju ) × vr

∂∂v ( *

ijv ) || อินทิเกรตไดบนโดเมน Tและพื้นที่ของพื้นผิว S = ∫∫

T|| rn vv (u, v) || dudv

Calculus III page 10 / 38

Page 11: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 38

ตัวอยาง 6.2.8 กําหนดใหพื้นผิว Sมีฟงกชันเวกเตอรของพื้นผิวเปนrv(u, v) = (u, v, 3

1(6 – 2u –v)) เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ 3 และ 0 ≤ v ≤ 6 – 2u}จงหาพื้นที่ของ Sวิธีทาํ

รูปที่ 6.2.13 rv(u, v) = (u, v, 3

1(6 – 2u –v))

ur

∂∂v = (1, 0, –

32)

vr

∂∂v = (0, 1, –

31)

rn vv (u, v) = ur

∂∂v ×

vr

∂∂v =

31103201k ji

vvv

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 39

=

311320

−iv -

310321

−jv + 10

01 kv

= 32 iv + 3

1 jv + 1k

v

|| rn vv (u, v) || = || 32 iv + 3

1 jv + 1k

v ||= 3

1 || 2 iv + 1 j

v + 3kv || = 3

1 914 ++ = 31 14

T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ 3 และ 0 ≤ v ≤ 6 – 2u}พื้นที่ของพื้นผิว S = ∫∫

T|| rn vv (u, v) || dudv

= ∫3

0∫− u26

0 31 14 dvdu

= 31 14 ∫

3

0∫− u26

0(1) dvdu

= 31 14 ∫

3

0(6 – 2u) du

= 31 14 [ 6u – 2u ] 0 u

3 u ==

= 31 14 (18 – 9)

= 3 14

หมายเหตุ เปรียบเทียบกับ ตัวอยาง 6.2.2 จะไดคําตอบเทากัน

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 40

ตัวอยาง 6.2.9จงหาพื้นที่ของพื้นผิวของระนาบ 2x + 3y + z = 6เฉพาะสวนที่อยูภายในทรงกระบอก 2x + 2y = 16วิธีทาํ

รูปที่ 6.2.14พื้นผิว S กําหนดโดยสมการเวกเตอรrv(u, v) = (u, v, 6 – 2u – 3v) เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 2u + 2v ≤ 16}

ur

∂∂v = (1, 0, –2)

vr

∂∂v = (0, 1, –3)

rn vv (u, v) = ur

∂∂v ×

vr

∂∂v =

310201k ji

−−

vvv

= 3120 −

− iv - 30

21 −− j

v + 1001 k

v = 2 iv + 3 j

v + 1kv

|| rn vv (u, v) || = || 2 iv + 3 j

v + 1kv || = 194 ++ = 14

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 41

พื้นที่ของพื้นผิว S = ∫∫T|| rn vv (u, v) || dudv = ∫∫

T14 dudv

โดยการเปลี่ยนเปนพิกัดเชิงขั้ว ให u = r cos θ , v = r sin θ

จะได T = {(r, θ) | 0 ≤ θ ≤ 2π, 0 ≤ r ≤ 4}และ ∫∫

T14 dudv = ∫

π2

0∫4

014 r drdθ

= 14 ∫π2

0[

2r2 ] 0r

4r== dθ

= 14 ∫π2

08 drdθ

= 14 [ 8θ ] 02

=θπ=θ

= 16 14π

เพราะฉะนั้น พื้นที่ของพื้นผิว S มีคาเทากับ 16 14π

Calculus III page 11 / 38

Page 12: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 42

ตัวอยาง 6.2.10จงหาพื้นที่ผิวของทรงกลม 2x + 2y + 2z = 2a เมื่อ a > 0วิธีทาํ

รูปที่ 6.2.15เพราะวาทรงกลมสมมาตรกับระนาบ XYเพราะฉะนั้นเราหาพื้นที่ผิวของทรงกลมที่อยูเหนือระนาบ XYสมการของผิวทรงกลมเหนือระนาบ XY คือ z = 222 yxa −−

ให S เปนพื้นผิวครึ่งทรงกลมเหนือระนาบ XYเพราะฉะนั้นพื้นผิว S กําหนดโดยสมการเวกเตอรrv(x, y) = (x, y, 222 yxa −− ) เมื่อ (x, y) ∈ Tโดยที่ T = {(x, y) | 2x + 2y ≤ 2a เมื่อ a > 0}

xr

∂∂v = (1, 0, –

222 yxax

−−)

yr

∂∂v = (0, 1, –

222 yxa

y

−−)

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 43

rn vv (x, y) = xr

∂∂v ×

yr

∂∂v =

yxa

y10

yxax01

k ji

222

222

−−−

−−−

vvv

=

yxa

y1

yxax0

222

222

−−−

−−−

iv -

yxa

y0

yxax1

222

222

−−−

−−−

jv

+ 1001 k

v

= 222 yxa

x−−

iv +

222 yxa

y

−−jv + 1k

v

|| rn vv (x, y) ||= ||

222 yxax

−−iv +

222 yxa

y

−−jv + 1k

v ||

= ( 2222

yxax

−− + 222

2

yxay

−− + 1) 2

1

= 222 yxa

a−−

เพราะวา xr

∂∂v = (1, 0, –

222 yxax

−−),

yr

∂∂v = (0, 1, –

222 yxa

y

−−)

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 44

และ || rn vv || = 222 yxa

a−−

ไมตอเนื่องที่จุด (x, y)

ซึ่ง 2x + 2y = 2a

เพราะฉะนั้นการหาคา ∫∫T|| rn vv (x, y) || dxdy

ตองใชความรูเก่ียวกับอินทิกรัลไมตรงแบบให bT = {(x, y) | 2x + 2y ≤ 2b } เมื่อ 0 < b < aและ A(b) = ∫∫

bT|| rn vv (x, y) || dxdy

โดยการเปลี่ยนเปนพิกัดเชิงขั้ว ให x = r cos θ , y = r sin θ

จะได bT = {(r, θ) | 0 ≤ θ ≤ 2π, 0 ≤ r ≤ b}และ A(b) = ∫∫

bT|| rn vv (x, y) || dxdy

= ∫π2

0∫b

0 22 raa−

r drdθ = ∫π2

0a( 22 ba −− + a) dθ

= a( 22 ba −− + a)[ θ ] 02

=θπ=θ

= 2aπ( 22 ba −− + a)เพราะวา ∫∫

T|| rn vv (x, y) || dxdy

= −→ab

lim 2aπ( 22 ba −− + a) = 2 2a π

เพราะฉะนั้นพื้นที่ผิวของทรงกลม 2x + 2y + 2z = 2a

เมื่อ a > 0 มีคาเทากับ 2(2 2a π) = 4 2a π

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 45

หมายเหตุ ในกรณีที่เรากําหนดสมการเวกเตอรของทรงกลม2x + 2y + 2z = 2a

เปน rv(u, v) = (a sin u cos v, a sin u sin v, a cos u)เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ π และ 0 ≤ v ≤ 2π}การหาพื้นที่ผิวของทรงกลมทําไดดังนี้ดังนั้น พื้นผิวของวัตถุกําหนดดวยฟงกชันrv(u, v) = (a sin u cos v, a sin u sin v, a cos u)เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ π, 0 ≤ v ≤ 2π}

ur

∂∂v = (a cos u cos v, a cos u sin v, –a sin u)

vr

∂∂v = (–a sin u sin v, a sin u cos v, 0)

rn vv = ur

∂∂v ×

vr

∂∂v =

0vcosusinavsinusinausinavsinucosavcosucosa

kji −

vvv

= 0vcosusina

usinavsinucosa

−iv

– 0vsinusina

usinavcosucosa −

−jv

+ vcosusinavsinusinavsinucosavcosucosa

kv

= 2a 2sin u cos v iv + 2a 2sin u sin v j

v + 2a sin u cos ukv

= ( 2a 2sin u cos v, 2a 2sin u sin v, 2a sin u cos u)Calculus III page 12 / 38

Page 13: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 46

|| rn vv (u, v) ||= ucosusinavsinusinavcosusina 224244244 ++

= 2a usin2

= 2a | sin u |พื้นที่ผิวของทรงกลม = ∫∫

T|| rn vv (u, v) || dudv

= ∫π2

0∫π

0

2a | sin u | dudv

= ∫π2

0∫π

0

2a sin u dudv

= 2a ∫π2

0[ –cos u ] 0u

u=π= dv

= 2a ∫π2

0(1 + 1) dv

= 2 2a ∫π2

01 dv

= 2 2a [ v ] 0v2v

=π=

= 4 2a π

เพราะฉะนั้นพื้นที่ผิวของทรงกลมตองมีคาเทากันถึงแมวาจะเขียนสมการเวกเตอรของพื้นผิวตางกัน

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 47

ตัวอยาง 6.2.11 จงหาพื้นที่ผิวของพาราโบลอยดz = 2x + 2y เมื่อ 0 ≤ z ≤ 9วิธีทาํ

รูปที่ 6.2.16แบบที่ 1 ใชสมการเวกเตอรของพาราโบลอยดrv(x, y) = (x, y, 2x + 2y ) เมื่อ (x, y) ∈ Tโดยที่ T = {(x, y) | 2x + 2y ≤ 9}

xr

∂∂v = (1, 0, 2x) และ

yr

∂∂v = (0, 1, 2y)

rn vv = xr

∂∂v ×

yr

∂∂v =

y210x201

kji

vvv

= y21x20 i

v - y20x21 j

v + 1001 k

v = –2x iv – 2y j

v + 1kv

|| rn vv (x, y) || = || –2x iv – 2y j

v + 1kv ||

= (4 2x + 4 2y + 1) 21

พื้นที่ผิวของพาราโบลอยด = ∫∫T|| rn vv (x, y) || dxdy

= ∫∫T

(4 2x + 4 2y + 1) 21 dxdy

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 48

โดยการเปลี่ยนเปนพิกัดเชิงขั้ว ให x = r cos θ , y = r sin θ

จะได T = {(r, θ) | 0 ≤ θ ≤ 2π, 0 ≤ r ≤ 3}

และ ∫∫T

(4 2x + 4 2y + 1) 21 dxdy

= ∫π2

0∫3

0(4 2r + 1) 2

1 r drdθ

= ∫π2

0 121 [ (4 2r + 1) 2

3 ] 0r

3r== dθ

= 121 ∫

π2

0(37 2

3 – 1) dθ =

121 (37 37 – 1) ∫

π2

01 dθ

= 121 (37 37 – 1)[ θ ] 0

2=θ

π=θ = 6π(37 37 – 1)

แบบที่ 2 ใชสมการเวกเตอรของพาราโบลอยดrv(u, v) = (u cos v, u sin v, 2u ) เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ 3, 0 ≤ v ≤ 2π}

ur

∂∂v = (cos v, sin v, 2u), v

r∂∂v = (–u sin v, u cos v, 0)

rn vv = ur

∂∂v × v

r∂∂v =

0vcosuvsinuu2vsinvcos

kji −

vvv

= 0vcosuu2vsin

iv –

0vsinuu2vcos

jv

+ vcosuvsinu

vsinvcos −

kv

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 49

= 2 2u cos v iv - 2 2u sin v j

v + (u 2cos v + u 2sin v)kv

= 2 2u cos v iv - 2 2u sin v j

v + ukv

|| rn vv (u, v) || = 22424 uvsinu4vcosu4 ++

= 24 uu4 +

= | u | 1u4 2 +

พื้นที่ผิวของพาราโบลอยด = ∫∫T|| rn vv (u, v) || dudv

= ∫π2

0∫3

0| u | 1u4 2 + dudv

= ∫π2

0∫3

0u 1u4 2 + dudv

= ∫π2

0 121 [ (4 2u + 1) 2

3 ] 0u

3u== dv

= ∫π2

0 121 (37 2

3 – 1) dv

= 121 (37 37 – 1) ∫

π2

01 dv

= 121 (37 37 – 1) ∫

π2

01 dv

= 121 (37 37 – 1)[ v ] 0v

2v=

π=

= 6π(37 37 – 1)

นั่นคือพ้ืนที่ผิวพาราโบลอยดตองมีคาเทากันถึงแมวาจะเขียนสมการเวกเตอรของพื้นผิวตางกัน

Calculus III page 13 / 38

Page 14: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 50แบบฝกหัด 6.21. จงหาพ้ืนที่ของระนาบ 2x + 3y + 6z = 24 เฉพาะบริเวณที่อยูในอัฐภาคที่ 12. จงหาพ้ืนที่ของระนาบ 3x + 4y + z = 12 เฉพาะบริเวณที่อยูในอัฐภาคที่ 13. จงหาพ้ืนที่ของพ้ืนผิวของระนาบ 3x + 2y + z = 6 เฉพาะบริเวณที่อยูในทรงกระบอก 2x + 2y = 254. จงหาพ้ืนที่ของพ้ืนผิวของกรวย z = 22 yx + เฉพาะบริเวณที่ 0 ≤ z ≤ 35. จงหาพ้ืนที่ของพ้ืนผิวพาราโบลอยด z = 4 2x + 4 2y เฉพาะบริเวณที่ 0 ≤ z ≤ 166. จงหาพ้ืนที่ของพ้ืนผิว S

เมื่อ S เปนพ้ืนผิวของ z = 2x4 − บนบริเวณ {(x, y) | 0 ≤ x ≤ 2 และ 0 ≤ y ≤ 4}7. จงหาพ้ืนที่ของพ้ืนผิว S เมื่อ S เปนพ้ืนผิว z = 2x4 − บนบริเวณ {(x, y) | 2x + 2y ≤ 4}8. จงหาพ้ืนที่ของทรงกลม 2x + 2y + 2z = 25 และ z ≥ 0

เฉพาะบริเวณที่อยูในทรงกระบอก 2x + 2y = 16เฉลยแบบฝกหัด 6.21. 56 2. 3 14 3. 25 14 π 4. 9 2 π

5. 96)1415125( π− 6. 4π 7. 16 8. 20π

Calculus III page 14 / 38

Page 15: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 51

6.3 อินทิกรัลตามพื้นผิวของฟงกชันคาจริงกอนศึกษาอินทิกรัลตามพื้นผิวของฟงกชันคาจริงในหัวขอนี้

ขอใหสังเกตวาอินทิกรัลสองชั้นที่กลาวมาแลวจากบทที่ 4 เปนเปนอินทิกรัลของฟงกชันคาจริงที่มีมีโดเมนของการอินทิเกรตเปนบริเวณซึ่งเปนสับเซตของระนาบ XY, YZ XZ ในหัวขอนี้เราจะขยายความหมายของอินทิกรัลสองชั้นของฟงกชันคาจริงใหกวางขึ้น โดยจะใหครอบคลุมถึงอินทิกรัลของฟงกชันคาจริงซึ่งมีโดเมนของการอินทิเกรตเปนสับเซตของพื้นผิว

รูปที่ 6.3.1ให S เปนพื้นผิวเรียบ ซึ่งกําหนดดวยสมการเวกเตอรrv(u, v) = (X(u, v), Y(u, v), Z(u, v))เมื่อ (u, v) ∈ T ⊆ 2R

เราจะแบงพ้ืนผิว S ออกเปนสวนยอย โดยมีผลมาจากการแบง Tออกเปนสวนยอยตามขั้นตอนดังนี้ให [a, b] เปนภาพฉายของ T บนแกน U

[c, d] เปนภาพฉายของ T บนแกน V

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 52

แบง [a, b] ออกเปน m ชวงยอยที่จุด 0t , 1t , 2t , ... , mt

โดยที่ a = 0t < 1t < 2t < ... < mt = bแบง [c, d] ออกเปน n ชวงยอยที่จุด 0k , 1k , 2k , ... , nk

โดยที่ c = 0k < 1k < 2k < ... < nk = dแบงบริเวณ T ดวยเสนตรงขนานแกน U และ แกน V ดังนี้

เสนตรง u = it ทุกคา i = 1, 2, 3, ... , mเสนตรง v = jk ทุกคา j = 1, 2, 3, ... , n

จะไดวาบริเวณ T ถูกแบงออกเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผายอยยกเวนบริเวณขอบของ Tดังนั้นจะไดวา พื้นผิว S ถูกแบงออกเปนพื้นผิวยอยภายใตการสงของ rv

ให ∆ A( iuξ ) เปนพื้นที่ของพ้ืนผิวยอย ijS ใน 3R

( iuξ , jvξ ) เปนจุดบนสี่เหลี่ยมผืนผา ijT

ดังนั้น rv( iuξ , jvξ ) เปนจุดบนพื้นผิวยอย ijS ซึ่งสมนัยกับจุด ( iuξ , jvξ )ให f(x, y, z) เปนฟงกชันคาจริง และ f มีความตอเนื่องที่ทุกจุด (x, y, z) บนพื้นผิว S

ถา ∞→∞→

nmlim

TT

ij ⊂∑∑ f( rv( iuξ , jvξ )) ∆ A( ijS ) มีคา

แลว ∞→∞→

nmlim

TT

ij ⊂∑∑ f( rv( iuξ , jvξ )) ∆ A( ijS )

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 53

เรียกวา อินทิกรัลตามพื้นผิวของฟงกชันคาจริง f บน Sซึ่งเราจะเขียนแทนอินทิกรัลตามพื้นผิวของฟงกชันคาจริง fบน S ดวยสัญลักษณ∫∫S

f หรือ ∫∫)T(rvf หรือ ∫∫

Sf dS หรือ ∫∫

)T(rvf dS

การหาคาอินทิกรัลตามพื้นผิวของฟงกชันคาจริง ∫∫S

f dS

ให i∆ u และ j∆ v เปนความยาวของดานสองดานของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ijT

เพราะฉะนั้น ∆ A( ijS ) ≈ || rn vv ( *iu , *

jv ) || i∆ u j∆ v

ดังนั้น TT

ij ⊂∑∑ f( rv( iuξ , jvξ )) ∆ A( ijS )

≈ TT

ij ⊂∑∑ f( rv( iuξ , jvξ )) || rn vv ( *

iu , *jv ) || i∆ u j∆ v

เมื่อ m → ∞, n → ∞และ max( i∆ u) → 0, max( j∆ v) → 0

จะไดวา ∞→∞→

nmlim

TT

ij ⊂∑∑ f( rv( iuξ , jvξ )) ∆ A( ijS )

= ∞→∞→

nmlim

TT

ij ⊂∑∑ f( rv( iuξ , jvξ )) || rn vv ( *

iu , *jv ) || i∆ u j∆ v

เพราะวา f( rv(u, v)) || rn vv (u, v) ||เปนฟงกชันที่มีความตอเนื่องบน T

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 54

เพราะฉะนั้นฟงกชัน f( rv(u, v)) || rn vv (u, v) ||อินทิเกรตไดบน Tดังนั้น ∫∫

Sf dS = ∫∫

Tf( rv(u, v)) || rn vv (u, v) || dudv

เมื่อ S เปนพื้นผิวที่เกิดจากสมการเวกเตอร rv

S เปนพื้นผิวเรียบมีโดเมน T อยูในระนาบ UVf เปนฟงกชันคาจริงซึ่งมีโดเมนครอบคลุม Sและ f มีความตอเนื่องที่ทุกจุด rv(u, v) ∈ Sเราเรียก S วา โดเมนของการอินทิเกรตขอสังเกต 1. ถา f(x, y, z) = c ทุก (x, y, z) ∈ Sแลว ∫∫

Sf dS = ∫∫

Tc || rn vv (u, v) || dudv

= c ∫∫T|| rn vv (u, v) || dudv

= c × พื้นที่ของพื้นผิว S= คาของฟงกชัน × พื้นที่ของพ้ืนผิว S

2. ให f(x, y, z) และ f( rv(u, v)) เปนคาของฟงกชัน fที่จุด (x, y, z) บนพื้นผิว Sถา f(x, y, z) = 1 ทุก (x, y, z) ∈ Sแลว ∫∫

Sf dS = ∫∫

S1 dS ซึ่งเปนพื้นที่ของพื้นผิว S

Calculus III page 15 / 38

Page 16: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 55

ตัวอยาง 6.3.1 จงหาคาของอินทิกรัลตามพื้นผิว ∫∫S

f dS

เมื่อ f(x, y, z) = xy + zและ S เปนทรงกระบอก 2x + 2y = 4, 0 ≤ z ≤ 4วิธีทาํ

รูปที่ 6.3.2กําหนดพื้นผิว S ดวยสมการเวกเตอรrv(u, v) = (2 cos u, 2 sin u, v) เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ 2π, 0 ≤ v ≤ 4}

ur

∂∂v = (–2 sin u, 2 cos u, 0)

vr

∂∂v = (0, 0, 1)

rn vv (u, v) = ur

∂∂v ×

vr

∂∂v =

1000ucos2usin2kji

vvv

= 10

0ucos2 i

v – 10

0usin2 −

jv

+ 00

ucos2usin2 −

kv

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 56

= 2 cos u iv + 2 sin u j

v + 0 kv

|| rn vv (u, v) || = usin4ucos4 22 + = 2จากสูตร f(x, y, z) = xy + zได f( rv(u, v)) = 4 cos u sin u + vและ ∫∫

Sf dS = ∫∫

Tf( rv(u, v)) || rn vv (u, v) || dudv

= ∫π2

0∫4

0(4 cos u sin u + v) 2 dvdu

= 2 ∫π2

0[ 4 cos u sin u v +

2v2 ] 0v

4v== du

= 2 ∫π2

0(16 cos u sin u + 8) du

= 16 ∫π2

0(2 cos u sin u + 1) du

= 16[ 2sin u + u ] 0u2u

=π=

= 32π

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 57

ตัวอยาง 6.3.2 จงหาคาของอินทิกรัลตามพื้นผิว ∫∫S

f dS

เมื่อ f(x, y, z) = 2x + y + zและ S เปนพื้นผิวของระนาบ 2x + 3y + z = 6เฉพาะสวนที่อยูภายในทรงกระบอก 2x + 2y = 16วิธีทาํ

รูปที่ 6.3.3พื้นผิว S กําหนดโดยสมการสมการเวกเตอรrv(u, v) = (u, v, 6 – 2u – 3v) เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 2u + 2v ≤ 16}

ur

∂∂v = (1, 0, –2)

vr

∂∂v = (0, 1, –3)

rn vv (u, v) = ur

∂∂v ×

vr

∂∂v =

310201k ji

−−

vvv

= 3120 −

− iv - 30

21 −− j

v + 1001 k

v = 2 iv + 3 j

v + 1kv

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 58

|| rn vv (u, v) || = || 2 iv + 3 j

v + 1kv || = 194 ++ = 14

จากสูตร f(x, y, z) = 2x + y + zได f( rv(u, v)) = f(u, v, 6 – 2u – 3v)= 2u + v + 6 – 2u – 3v = 6 – 2vและ ∫∫

Sf dS = ∫∫

Tf( rv(u, v)) || rn vv (u, v) || dudv

= ∫∫T

(6 – 2v) 14 dudv

โดยการเปลี่ยนเปนพิกัดเชิงขั้ว ให u = r cos θ , v = r sin θ

จะได T = {(r, θ) | 0 ≤ θ ≤ 2π, 0 ≤ r ≤ 4}และ ∫∫

T(6 - 2v) 14 dudv

= ∫π2

0∫4

0(6 – 2r sin θ) 14 r drdθ

= 2 14 ∫π2

0∫4

0(3r – 2r sin θ) drdθ

= 2 14 ∫π2

0[

2r3 2 – sin θ

3r3 ] 0r

4r== dθ

= 2 14 ∫π2

0(24 –

364 sin θ) dθ

= 2 14 [ 24θ + 3

64cos θ ] 02

=θπ=θ

= 96 14π

Calculus III page 16 / 38

Page 17: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 59

แบบฝกหัด 6.3จงหาคาของอินทิกรัลตามพื้นผิว ∫∫

S

f dS

1. f(x, y, z) = xy + zS เปนพ้ืนผิวกําหนดโดย z = 3 - 2x + y, 0 ≤ y ≤ x และ 0 ≤ x ≤ 1

2. f(x, y, z) = xyzS เปนพ้ืนผิวกําหนดโดย 2z = 2x + 2y , 1 ≤ z ≤ 4, x ≥ 0 และ y ≥ 0

3. f(x, y, z) = zS เปนพ้ืนผิวกําหนดโดย z = 22 yx25 −− , 0 ≤ 2x + 2y ≤ 4

4. f(x, y, z) = 2x + 2y

S เปนพ้ืนผิวกําหนดโดย z = 4 - 2x - 2y , 0 ≤ 2x + 2y ≤ 45. f(x, y, z) = 2x + 2y + z

S เปนพ้ืนผิวกําหนดโดย z = x + y, 0 ≤ x ≤ 1 และ 0 ≤ y ≤ 16. f(x, y, z) = xy

S เปนพ้ืนผิวกําหนดโดย z = 2x4 − , 0 ≤ x ≤ 2 และ 0 ≤ y ≤ 1เฉลยแบบฝกหัด 6.31. 8

69 2. 1021023 3. 20π

4. 60)117391( π+ 5. 3

35 6. 2

Calculus III page 17 / 38

Page 18: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพ้ืนผิว6 - 60

6.4 อินทิกรัลตามพ้ืนผิวของฟงกชันคาเวกเตอรเมื่อ S เปนพื้นผิวท่ีกําหนดดวยฟงกชันคาเวกเตอร rv บน

โดเมน T ณ แตละจุดปกติ rv (u, v) บน S จะมีเวกเตอรแนวฉากหนวยอยูสองเวกเตอรคือ เวกเตอร 1nv และ 2nv ซึ่งมีทิศทางตรงกันขาม เพราะฉะนั้น 1nv = – 2nv

ดังนั้น เมื่อกําหนดฟงกชันคาเวกเตอร rv (T) ข้ึนแทนพื้นผิว Sจะไดวา ถา 1nv มีทิศทางเดียวกับ rn vv แลว 2nv ตองมีทิศทางตรงกันขามกับ rn vv

รูปที่ 6.4.1บทนิยาม 6.4.1 ให S เปนพื้นผิวสองหนา ซึ่งกําหนดดวยฟงกชันคาเวกเตอร rv (T) และ F

v เปนฟงกชันคาเวกเตอรที่นิยามบนพ้ืนผิว S และ F

v เปนฟงกชันที่มีความตอเนื่องบน Sเราเรียก ∫∫

SFv ⋅Nv dS วา อินทิกรัลตามพ้ืนผิวของฟงกชันคา

เวกเตอร Fv บน S

เมื่อ Nv เปนเวกเตอรแนวฉากหนวยของพ้ืนผิว S

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพ้ืนผิว6 - 61

การหาคาของอินทิกรัลตามพ้ืนผิวของฟงกชันคาเวกเตอร ∫∫

SFv ⋅Nv dS

เพราะวา Nv มีทิศทางเก่ียวกับ rn vv เพราะฉะน้ัน N

v = ||n||

n

r

rv

vv

v

ดังนั้น ∫∫S

Fv ⋅Nv dS = ∫∫

)T(rvFv ⋅

||n||n

r

rv

vv

v dS

= ∫∫T

Fv ( rv (u, v)) ⋅ ||)v,u(n||

)v,u(nrrv

vv

v || rn vv (u, v) || dudv

เพราะฉะนั้น∫∫S

Fv ⋅Nv dS = ∫∫

TFv ( rv (u, v)) ⋅ rn vv (u, v) dudv ... (1)

ในกรณีที่ Nv มีทิศทางตรงกันขามกับ rn vv จะไดวา

∫∫S

Fv ⋅Nv dS = – ∫∫

TFv ( rv (u, v)) ⋅ rn vv (u, v) dudv ... (2)

จาก (1) และ (2) จะเห็นวาในการคํานวณคาของอินทิกรัลตามพื้นผิวของฟงกชันคาเวกเตอร F

v บนพ้ืนผิว Sจะตองระบุทิศทางของเวกเตอรแนวฉาก N

v ดวยวามีทิศทางเดียวกับ rn vv หรือ มีทิศทางตรงกันขามกับ rn vv

หมายเหตุ1. จุดทุกจุดบนพ้ืนผิว S มีเวกเตอรตําแหนงคือ rv (u, v)เวกเตอร rv (u, v) มีจุดเร่ิมตนอยูที่จุดกําเนิดดังนั้นเวกเตอร rv มีทิศทางพุงออกจากจุดกําเนิดเสมอ2. ทิศทางของเวกเตอร N

v หรือ rn vv จะหมายถึงทิศทางของเวกเตอรที่มีจุดเร่ิมตนอยูที่จุดบนพ้ืนผิว S

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพ้ืนผิว6 - 62

ตัวอยาง 6.4.1 จงหาอินทิกรัลตามพ้ืนผิว ∫∫S

Fv ⋅Nv dS

เมื่อ S เปนสวนของระนาบ x + y + z = 1 ในอัฐภาคท่ีหน่ึงให F

v (x, y, z) = (x, 2y, 3z) และให N

v แทนเวกเตอรแนวฉากหนวยของ S ซึ่งมีพิกัดท่ีสามมีคาไมเปนลบ

รูปที่ 6.4.2วิธีทาํ ระนาบ x + y + z = 1 เขียนในรูปแบบสมการเวกเตอรไดเปน rv (u, v) = (u, v, 1 – u – v) เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ 1, 0 ≤ v ≤ 1 – u}

ur

∂∂v = (1, 0, –1),

vr

∂∂v = (0, 1, –1)

rn vv (v, v) = ur

∂∂v ×

vr

∂∂v

= 110101k ji

−−

vvv

= 1110 −

− iv – 10

11 −− j

v + 1001 k

v

= 1 iv + 1 j

v + 1 kv = (1, 1, 1)

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพ้ืนผิว6 - 63

เพราะวา Nv มีทิศทางเดียวกับ rn vv

เพราะฉะนั้น ∫∫S

Fv ⋅Nv dS = ∫∫

TFv ( rv (u, v)) ⋅ rn vv (u, v) dudv

= ∫1

0∫−u1

0(u, 2v, 3(1 – u – v)) ⋅ (1, 1, 1) dvdu

= ∫1

0∫−u1

0(u + 2v + 3(1 – u – v)) dvdu

= ∫1

0∫−u1

0(3 – 2u – v) dvdu

= ∫1

0[ 3v – 2uv –

2v2 ] 0v

u1v=

−= du

= ∫1

0(3(1 – u) – 2u(1 – u) – 2

1(1 – u)2) du

= ∫1

0(2

5 – 4u + 23 2u ) du

= [ 25u – 2 2u + 2

1 3u ] 0u1u

==

= 1

Calculus III page 18 / 38

Page 19: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 64

ตัวอยาง 6.4.2 จงหาคาของอินทิกรัลตามพื้นผิว ∫∫S

Fv ⋅Nv dS

เมื่อ S แทนพื้นผิวครึ่งทรงกลม 2x + 2y + 2z = 4, z ≥ 0ให N

v แทนเวกเตอรแนวฉากหนวยมีทิศทางพุงออกจากทรงกลมกําหนดให F

v (x, y, z) = (x, –y, z)วิธีทาํ

รูปที่ 6.4.3แบบที่ 1. พื้นผิว S กําหนดดวยสมการเวกเตอรrv (u, v) = (2 sin u cos v, 2 sin u sin v, 2 cos u)เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ 2

π , 0 ≤ v ≤ 2π}

ur

∂∂v = (2 cos u cos v, 2 cos u sin v, – 2 sin u)

vr

∂∂v = (–2 sin u sin v, 2 sin u cos v, 0)

rn vv (u, v) = ur

∂∂v ×

vr

∂∂v

= 0vcosusin2vsinusin2

usin2vsinucos2vcosucos2kji

vvv

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 65

= 0vcosusin2

usin2vsinucos2

−iv–

0vsinusin2

usin2vcosucos2 −

−jv

+ vcosusin2vsinusin2

vsinucos2vcosucos2 −

kv

= 4 2sin u cos v iv + 4 2sin u sin v j

v

+ (4 sin u cos u 2cos v + 4 sin u cos u 2sin v) kv

= 4 2sin u cos v iv + 4 2sin u sin v j

v

+ (4 sin u cos u ( 2cos v + 2sin v) kv

= 4 2sin u cos v iv + 4 2sin u sin v j

v + 4 sin u cos u kv

= (4 2sin u cos v, 4 2sin u sin v, 4sin u cos u)= 2 sin u (2 sin u cos v, 2 sin u sin v, 2 cos u)= 2 sin u rv(u, v)เพราะวา sin u ≥ 0 เมื่อ 0 ≤ u ≤ 2

π

เพราะฉะนั้น rn vv มีทิศทางเดียวกับ rv

นั่นคือ rn vv มีทิศทางพุงออกจากทรงกลมเชนเดียวกับ rv

ดังนั้น Nv และ rn vv มีทิศทางเดียวกัน

เพราะฉะนั้น ∫∫S

Fv ⋅Nv dS = ∫∫

TFv ( rv (u, v)) ⋅ rn vv (u, v) dudv

เพราะวา Fv ( rv (u, v))

= Fv (2 sin u cos v, 2 sin u sin v, 2 cos u)

= (2 sin u cos v, –2 sin u sin v, 2 cos u)

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 66

Fv ( rv (u, v)) ⋅ rn vv (u, v)= (2 sin u cos v, –2 sin u sin v, 2 cos u)

⋅ (2 sin u (2 sin u cos v, 2 sin u sin v, 2 cos u))= 8 sin u ( 2sin u 2cos v – 2sin u 2sin v + 2cos u)= 8( 3sin u 2cos v – 3sin u 2sin v + sin u 2cos u)เพราะฉะนั้น ∫∫

SFv ⋅Nv dS

= ∫π2

0∫π2

0(8( 3sin u 2cos v – 3sin u 2sin v + sin u 2cos u)) dvdu

= 8 ∫π2

0∫π2

0( 3sin u( 2cos v – 2sin v) + sin u 2cos u) dvdu

= 8 ∫π2

0∫π2

0( 3sin u cos 2v + sin u 2cos u) dvdu

= 8 ∫π2

0[ 3sin u

2v2sin + (sin u 2cos u) v ] 0v

2v=

π= du

= 8 ∫π2

0(sin u 2cos u)(2π) du = 16π ∫

π2

0sin u 2cos u du

= 16π ∫π2

0(– 2cos u) d(cos u) = 16π[ –

3ucos3 ]

0u2u

=

π=

= 3

16π

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 67

แบบที่ 2. พื้นผิว S กําหนดดวยสมการเวกเตอรrv (u, v) = (2 sin v cos u, 2 sin v sin u, 2 cos v)เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ v ≤ 2

π , 0 ≤ u ≤ 2π}

ur

∂∂v = (–2 sin v sin u, 2 sin v cos u, 0)

vr

∂∂v = (2 cos v cos u, 2 cos v sin u, –2 sin v)

rn vv = ur

∂∂v ×

vr

∂∂v =

vsin2usinvcos2ucosvcos20ucosvsin2usinvsin2kji

vvv

= vsin2usinvcos2

0ucosvsin2

−iv–

vsin2ucosvcos20usinvsin2

−jv

+ usinvcos2ucosvcos2ucosvsin2usinvsin2

kv

= –4 2sin v cos u iv – 4 2sin v sin u j

v

+ (–4 sin v cos v 2sin u – 4 sin u cos u 2cos u) kv

= 4 2sin v cos u iv + 4 2sin v sin u j

v

– (4 sin v cos v ( 2sin u + 2cos u) kv

= –4 2sin v cos u iv – 4 2sin v sin u j

v – 4 sin v cos v kv

= –(4 2sin v cos u, 4 2sin v sin u, 4 sin v cos v)= –2 sin v (2 sin v cos u, 2 sin v sin u, 2 cos v)= (–2 sin v) rv (u, v)

Calculus III page 19 / 38

Page 20: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 68

เพราะวา sin v ≥ 0 เมื่อ 0 ≤ v ≤ 2π

เพราะฉะนั้น rn vv มีทิศทางตรงขามกับ rv

เพราะฉะนั้น rn vv มีทิศทางพุงเขาสูจุดศูนยกลางของทรงกลมดังนั้น N

v และ – rn vv มีทิศทางเดียวกันเพราะฉะนั้น∫∫S

Fv ⋅Nv dS = ∫∫

TFv ( rv (u, v)) ⋅ (– rn vv (u, v)) dvdu

เพราะวาFv ( rv (u, v)) = F

v (2 sin v cos u, 2 sin v sin u, 2 cos v)= (2 sin v cos u, –2 sin v sin u, 2 cos v)และ rv (u, v) = (2 sin v cos u, 2 sin v sin u, 2 cos v)และ rn vv (u, v) = (–2 sin v) rv (u, v)เพราะฉะนั้น F

v ( rv (u, v)) ⋅ (– rn vv (u, v))= (2 sin v cos u, –2 sin v sin u, 2 cos v) ⋅ (2 sin v rv (u, v))= (2 sin v cos u, –2 sin v sin u, 2 cos v)

⋅ (2 sin v (2 sin v cos u, 2 sin v sin u, 2 cos v))= 8(sin v cos u, –sin v sin u, cos v)

⋅ ( 2sin v cos u, 2sin v sin u, sin v cos v))= 8( 3sin v 2cos u – 3sin v 2sin u + sin v 2cos v)

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 69

เพราะฉะนั้น ∫∫S

Fv ⋅Nv dS

= ∫π2

0∫π2

08 ( 3sin v 2cos u – 3sin v 2sin u + sin v 2cos v) dudv

= ∫π2

0∫π2

08 ( 3sin v 2cos u – 3sin v 2sin u + sin v 2cos v) dudv

= 3

16π

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 70

ตัวอยาง 6.4.3 กําหนดให Fv (x, y, z) = (2x, 2y, 3z)

ให S แทนพื้นผิวของพาราโบลอยด z = 2x + 2y

เมื่อ 0 ≤ z ≤ 9จงหา ∫∫

SFv ⋅Nv dS เมื่อกําหนดให N

v ⋅kv < 0

วิธีทาํ

รูปที่ 6.4.5พื้นผิว S มีสมการเวกเตอรrv (u, v) = (u cos v, u sin v, 2u ) เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ 3, 0 ≤ v ≤ 2π}

ur

∂∂v = (cos v, sin v, 2u) และ

vr

∂∂v = (–u sin v, u cos v, 0)

rn vv = ur

∂∂v ×

vr

∂∂v =

0vcosuvsinuu2vsinvcos

kji −

vvv

= 0vcosuu2vsin

iv –

0vsinuu2vcos

jv

+ vcosuvsinu

vsinvcos −

kv

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 71

= –2 2u cos v iv - 2 2u sin v j

v + (u 2cos v + u 2sin v) kv

= (–2 2u cos v, –2 2u sin v, u)เพราะวา

rn vv ⋅kv = (–2 2u cos v, –2 2u sin v, u) ⋅ (0, 0, 1) = u ≥ 0เพราะฉะนั้น rn vv มีทิศทางตรงกันขามกับ N

v

ซึ่งจะไดวา ∫∫S

Fv ⋅Nv dS = ∫∫

TFv ( rv (u, v)) ⋅ (– rn vv (u, v)) dudv

เพราะวา Fv ( rv (u, v)) ⋅ (– rn vv (u, v))

= (2u cos v, 2u sin v, 3 2u ) ⋅ (2 2u cos v, 2 2u sin v, –u)= 4 3u 2cos v + 4 3u 2sin v – 3 3u

= 4 3u ( 2cos v + 2sin v) – 3 3u

= 4 3u – 3 3u

= 3u

เพราะฉะนั้น ∫∫S

Fv ⋅Nv dS

= ∫∫T

Fv ( rv (u, v)) ⋅ (– rn vv (u, v)) dudv

= ∫π2

0∫3

0( 3u ) dudv

= 2π[ 4

u 4 ] 0u3u

==

= 2

81π

Calculus III page 20 / 38

Page 21: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 72แบบฝกหัด 6.4จงหาคาของอินทิกรัลตามพื้นผิว ∫∫

S

Fv ⋅ N

v dS

1. Fv (x, y, z) = (-y, x, 9)S เปนพ้ืนผิวกําหนดโดย z = 22 yx9 −− และ 0 ≤ 2x + 2y ≤ 4

2. Fv (x, y, z) = (x, y, z)S เปนพ้ืนผิวกําหนดโดย z = 1 - 2x - 2y และ z ≥ 0

3. Fv (x, y, z) = (-y, x, 0)S เปนพ้ืนผิวกําหนดโดย z = 8x - 4y - 5 เหนือบริเวณสามเหลี่ยมที่มีจุดยอด (0, 0, 0), (0, 1, 0)และ (1, 0, 0)

4. Fv (x, y, z) = (y, -x, 2)S เปนพ้ืนผิวกําหนดโดย z = 2y1 − และ 0 ≤ x ≤ 5

5. Fv (x, y, z) = (-2, 3, 5)S เปนพ้ืนผิวกําหนดโดย z = 2x + 2y และ 0 ≤ z ≤ 4

6. Fv (x, y, z) = (x 3

5222 )zyx( ++ , y 3

5222 )zyx( ++ , z 3

5222 )zyx( ++ ))

S เปนพ้ืนผิวทรงกลม 2x + 2y + 2z = 17. F

v (x, y, z) = (x, y, z)S เปนพ้ืนผิวทรงกลม 2x + 2y + 2z = 1

เฉลยแบบฝกหัด 6.41. 36π 2. 2

3π 3. 2 4. 205. 20π 6. 4π 7. 4π

Calculus III page 21 / 38

Page 22: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 73

6.5 อินทิกรัลตามพื้นผิวในรูป∫∫S

1f (x, y, z) dydz + 2f (x, y, z) dzdx + 3f (x, y, z) dxdy

ให S เปนพื้นผิวเรียบซึ่งกําหนดสมการrv (u, v) = (X(u, v), Y(u, v), Z(u, v)) เมื่อ (u, v) ∈ Tให 3f (x, y, z) เปนฟงกชันคาจริงซึ่งตอเนื่องทุกจุด (x, y, z)บนพื้นผิว Sสัญลักษณ ∫∫

S3f (x, y, z) dxdy หมายถึง อินทิกรัลตามพื้นผิว

∫∫T

3f ( rv (u, v)) )v,u()Y,X(

∂∂ dudv

เพราะฉะนั้น ∫∫S

3f (x, y, z) dxdy = ∫∫T

3f ( rv (u, v)) )v,u()Y,X(

∂∂

dudv

ในทํานองเดียวกัน∫∫S

1f (x, y, z) dydz = ∫∫T

1f ( rv (u, v)) )v,u()Z,Y(

∂∂ dudv

∫∫S

2f (x, y, z) dzdx = ∫∫T

2f ( rv (u, v)) )v,u()X,Z(

∂∂ dudv

การหาคาอินทิกรัลที่เขียนในรูป

∫∫S

1f (x, y, z) dydz + 2f (x, y, z) dzdx + 3f (x, y, z) dxdy

ใหพื้นผิว S กําหนดโดยสมการเวกเตอรrv (u, v) = (X (u, v), Y (u, v), Z(u, v)) เมื่อ (u, v) ∈ Tจะได

ur

∂∂v = (

uX∂∂ ,

uY∂∂ ,

uZ∂∂ ) และ

vr

∂∂v = (

vX∂∂ ,

vY∂∂ ,

vZ∂∂ )

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 74

rn vv (u, v) = ur

∂∂v ×

vr

∂∂v =

vZ

vY

vX

uZ

uY

uX

kji

∂∂

∂∂

∂∂

∂∂

∂∂

∂∂

vvv

= vZ

vY

uZ

uY

∂∂

∂∂

∂∂

∂∂

iv -

vZ

vX

uZ

uX

∂∂

∂∂

∂∂

∂∂

jv +

vY

vX

uY

uX

∂∂

∂∂

∂∂

∂∂

kv

= vZ

vY

uZ

uY

∂∂

∂∂

∂∂

∂∂

iv +

vX

vZ

uX

uZ

∂∂

∂∂

∂∂

∂∂

jv +

vY

vX

uY

uX

∂∂

∂∂

∂∂

∂∂

kv

= )v,u()Z,Y(

∂∂ i

v + )v,u()X,Z(

∂∂ j

v + )v,u()Y,X(

∂∂ k

v

= ( )v,u()Z,Y(

∂∂ , )v,u(

)X,Z(∂∂ , )v,u(

)Y,X(∂∂ )

ให Nv เปนเวกเตอรแนวฉากหนวยของพื้นผิว S

ให Fv (x, y, z) = ( 1f (x, y, z), 2f (x, y, z), 3f (x, y, z))

ให Nv มีทิศทางเดียวกับ rn vv จะได

∫∫S

Fv ⋅Nv dS = ∫∫

TFv ⋅Nv dS = ∫∫

TFv ( rv (u, v)) ⋅ rn vv (u, v) dudv

= ∫∫T

( 1f (x, y, z) )v,u()Z,Y(

∂∂ + 2f (x, y, z)

)v,u()X,Z(

∂∂

+ 3f (x, y, z))v,u()Y,X(

∂∂ ) dudv

= ∫∫S

1f (x, y, z) dydz + 2f (x, y, z) dzdx + 3f (x, y, z) dxdy

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 75

ขั้นตอนการหาคา∫∫S

1f (x, y, z) dydz + 2f (x, y, z) dzdx + 3f (x, y, z) dxdy

ขั้นที่ 1 หาสมการเวกเตอรของพื้นผิว Sใหพื้นผิว S กําหนดโดยสมการเวกเตอรrv (u, v) = (X (u, v), Y (u, v), Z(u, v)) เมื่อ (u, v) ∈ Tขั้นที่ 2 หา u

r∂∂v = ( u

X∂∂ , u

Y∂∂ , u

Z∂∂ )

vr

∂∂v = ( v

X∂∂ , v

Y∂∂ , v

Z∂∂ )

rnvv (u, v) = ur

∂∂v × v

r∂∂v

หรือ rnvv (u, v) = ( )v,u()Z,Y(

∂∂ , )v,u(

)X,Z(∂∂ , )v,u(

)Y,X(∂∂ )

= (vZ

vY

uZ

uY

∂∂

∂∂

∂∂

∂∂

, vX

vZ

uX

uZ

∂∂

∂∂

∂∂

∂∂

, vY

vX

uY

uX

∂∂

∂∂

∂∂

∂∂

)

ขั้นที่ 3 ให Nv มีทิศทางเดียวกับ rnvv

ขั้นที่ 4∫∫S

1f (x, y, z) dydz + 2f (x, y, z) dzdx + 3f (x, y, z) dxdy

= ∫∫S

Fv ⋅Nv dS

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 76

ตัวอยาง 6.5.1 ให S เปนพื้นผิวทรงกลม 2x + 2y + 2z = 16จงหาคาของอินทิกรัลตามพื้นผิว∫∫S

yz dydz + zx dzdx + xy dxdy

โดยใชฟงกชันคาเวกเตอร rv แทนพื้นผิวซึ่งมี rnvv มีทิศทางพุงออกจากทรงกลมวิธีทาํ

รูปที่ 6.5.1ขั้นที่ 1 หาสมการเวกเตอรของพื้นผิว Sให S กําหนดดวยสมการเวกเตอรrv (u, v) = (4 sin u cos v, 4 sin u sin v, 4 cos u)เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ π, 0 ≤ v ≤ 2π}ขั้นที่ 2 หาคา u

r∂∂v , v

r∂∂v , rnvv (u, v)

ur

∂∂v = (4 cos u cos v, 4 cos u sin v, –4 sin u)

vr

∂∂v = (–4 sin u sin v, 4 sin u cos v, 0)

Calculus III page 22 / 38

Page 23: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 77

rnvv (u, v) = ur

∂∂v × v

r∂∂v

= 0vcosusin4vsinusin4

usin4vsinucos4vcosucos4kji

vvv

= 0vcosusin4

usin4vsinucos4

−iv

– 0vsinusin4

usin4vcosucos4 −

−jv

+ vcosusin4vsinusin4

vsinucos4vcosucos4 −

kv

= 16 2sin u cos v iv + 16 2sin u sin v j

v

+ (16 sin u cos u 2cos v + 16 sin u cos u 2sin v) kv

= 16 2sin u cos v iv + 16 2sin u sin v j

v

+ (16 sin u cos u ( 2cos v + 2sin v)) kv

= 16 2sin u cos v iv + 16 2sin u sin v j

v + 16 sin u cos u kv

= (16 2sin u cos v, 16 2sin u sin v, 16 sin u cos u)= 8(2 2sin u cos v, 2 2sin u sin v, sin 2u)เพราะวา (16 2sin u cos v, 16 2sin u sin v, 16 sin u cos u)= 4 sin u (4 sin u cos v, 4 sin u sin v, 4 cos u)= 4 sin u rv(u, v)เพราะฉะนั้น rnvv มีทิศทางเดียวกับเวกเตอรรัศมี rv

เพราะฉะนั้น rnvv มีทิศทางพุงออกจากทรงกลม

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 78

ขั้นที่ 3 ให Nv = rnvv

ขั้นที่ 4∫∫S

1f (x, y, z) dydz + 2f (x, y, z) dzdx + 3f (x, y, z) dxdy

= ∫∫S

Fv⋅Nv dS

ให Fv (x, y, z) = (yz, zx, xy)

Fv ( rv (u, v)) = ((4 sin u sin v)(4 cos u), (4 cos u)(4 sin u cos v), (4 sin u cos v)(4 sin u sin v))= (8 sin 2u sin v, 8 sin 2u cos v, 8 2sin u sin 2v)= 8(sin 2u sin v, sin 2u cos v, 2sin u sin 2v)และ rnvv (u, v) = 8(2 2sin u cos v, 2 2sin u sin v, sin 2u)เพราะฉะนั้น ∫∫

Syz dydz + zx dzdx + xy dxdy = ∫∫

SFv ⋅Nv dS

= ∫∫T

(8(sin 2u sin v, sin 2u cos v, 2sin u sin 2v))

⋅ (8(2 2sin u cos v, 2 2sin u sin v, sin 2u)) dvdu

= 64 ∫π

0∫π2

0(sin 2u sin v, sin 2u cos v, 2sin u sin 2v)

⋅ (2 2sin u cos v, 2 2sin u sin v, sin 2u) dvdu= 64 ∫

π

0∫π2

0((sin 2u sin v)(2 2sin u cos v)

+ (sin 2u cos v)(2 2sin u sin v) + ( 2sin u sin 2v)(sin 2u)) dvdu

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 79

= 64 ∫π

0∫π2

0( 2sin u sin 2u sin 2v + 2sin u sin 2u sin 2v

+ 2sin u sin 2u sin 2v) dvdu= 64 ∫

π

0∫π2

03 2sin u sin 2u sin 2v dvdu

= 192 ∫π

0∫π2

0

2sin u sin 2u sin 2v dvdu

= 192 ∫π

0

2sin u sin 2u [ – 2v2cos ] 0v

2v=

π= du

= 192 ∫π

0

2sin u sin 2u (0 – 0) du = 0

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 80

ตัวอยาง 6.5.2 จงหาคาของ ∫∫S

(x + y) dydz

เมื่อ S เปนพื้นผิวพาราโบลอยดซึ่งกําหนดโดยสมการเวกเตอร rv (u, v) = (u, v, 2u + 2v )เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 2u + 2v ≤ 1}วิธีทาํ

รูปที่ 6.5.2ขั้นที่ 1 หาสมการเวกเตอรของพื้นผิว Sพื้นผิว S กําหนดโดยสมการเวกเตอรrv (u, v) = (u, v, 2u + 2v ) เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 2u + 2v ≤ 1}ขั้นที่ 2 หาคา u

r∂∂v , v

r∂∂v , rn vv (u, v)

ur

∂∂v = (1, 0, 2u), v

r∂∂v = (0, 1, 2v)

Calculus III page 23 / 38

Page 24: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 81

rn vv (u, v) = ur

∂∂v × v

r∂∂v =

v210u201

kji

vvv

= v21u20 i

v – v20u21 j

v + 1001 k

v

= –2u iv – 2v j

v + 1 kv

= (–2u, –2v, 1)ขั้นที่ 3 ให N

v มีทิศทางเดียวกับ rn vv

ขั้นที่ 4∫∫S

1f (x, y, z) dydz + 2f (x, y, z) dzdx + 3f (x, y, z) dxdy

= ∫∫S

Fv ⋅Nv dS

จัดรูป ∫∫S

(x + y) dydz เปน

= ∫∫S

(x + y) dydz + (0) dzdx + (0) dxdy

= ∫∫T

(u + v) )v,u()Z,Y(

∂∂ + (0) )v,u(

)X,Z(∂∂ + (0) )v,u(

)Y,X(∂∂ ) dudv

= ∫∫T

(u + v) )v,u()Z,Y(

∂∂ dudv

เพราะวา rnvv (u, v) = ( )v,u()Z,Y(

∂∂ , )v,u(

)X,Z(∂∂ , )v,u(

)Y,X(∂∂ )

= (–2u, –2v, 1)เพราะฉะนั้น )v,u(

)Z,Y(∂∂ = –2u

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 82

เพราะฉะนั้น ∫∫S

(x + y) dydz

= ∫∫T

(u + v)(-2u) dudv

= –2 ∫∫T

( 2u + uv) dudv

= -2 ∫−

1

1∫−

−−

2u1

2u1

( 2u + uv) dudv

= -2 ∫π2

0∫1

0( 2r 2cos θ + (r cos θ)(r sin θ)) r drdθ

(ให u = r cos θ, v = r sin θ)= -2 ∫

π2

0∫1

0( 2cos θ + cos θ sin θ) 3r drdθ

= -2 ∫π2

0( 2cos θ + cos θ sin θ) [ 4

r4 ] 0r1r

== dθ

= -2 ∫π2

0( 2cos θ + cos θ sin θ)( 4

1) dθ

= - 21 ∫

π2

0( 2cos θ dθ + cos θ sin θ) dθ

= - 21 ∫

π2

0( 2

2cos1 θ+ + 22sin θ) dθ

= - 21 [ 2

θ + 42sin θ + 4

2sin θ ] 02

=θπ=θ

= – 2π

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 83

ตัวอยาง 6.5.3 ให S เปนพื้นผิวครึ่งทรงกลมทรงกลม 2x + 2y + 2z = 1 และ z ≥ 0จงหาคาของอินทิกรัลตามพื้นผิว ∫∫

S(x + y + z) dxdy

วิธีทาํ

รูปที่ 6.5.3ขั้นที่ 1 หาสมการเวกเตอรของพื้นผิว Sให S กําหนดดวยสมการเวกเตอรrv (u, v) = u, v, 22 vu1 −− ) เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | -1 ≤ u ≤ 1, -1 ≤ v ≤ 1}ขั้นที่ 2 หาคา u

r∂∂v , v

r∂∂v , rn vv (u, v)

ur

∂∂v = (1, 0,

22 vu1u−−

− )

vr

∂∂v = (0, 1,

22 vu1v−−

− )

rn vv (u, v) = ur

∂∂v × v

r∂∂v = (

22 vu1u−−

, 22 vu1

v−−

, 1)

ขั้นที่ 3 ให Nv = rn vv

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 84

ขั้นที่ 4 ∫∫S

(x + y + z) dxdy

จัดรูปเปน ∫∫S

(0) dydz + (0) dzdx + (x + y + z) dxdy

= ∫∫S

1f (x, y, z) dydz + 2f (x, y, z) dzdx + 3f (x, y, z) dxdy

ให Fv (x, y, z) = (0, 0, x + y + z)

เพราะฉะนั้น ∫∫S

(x + y + z) dxdy = ∫∫S

Fv ⋅Nv dS

= ∫∫S

(0, 0, u + v + 22 vu1 −− )

⋅(22 vu1

u−−

, 22 vu1

v−−

, 1) dvdu

= ∫−

1

1∫−

−−

2v1

2v1

(u + v + 22 vu1 −− ) dvdu

= ∫π2

0∫1

0(r cos θ + r sin θ + 2r1 − ) r dr dθ

(ให u = r cos θ, v = r sin θ)

= ∫π2

0 [ 3

r3 (cos θ + sin θ) - 31(1 - 2r ) 2

3] 0r

1r== dθ

= 31 [ sin θ - cos θ - θ] 0

2=θ

π=θ

= 32π

Calculus III page 24 / 38

Page 25: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 85แบบฝกหัด 6.51. จงหาคา ∫∫

S

2 dydz + 3 dzdx + 6 dxdy

S เปนพ้ืนผิวของระนาบ 3x + 2y + z = 6 เฉพาะบริเวณที่อยูในทรงกระบอก 2x + 2y = 12. จงหาคา ∫∫

S

x(y + z) dydz

S เปนพ้ืนผิวกรวย 2z = 2x + 2y , 0 ≤ z ≤ 23. ∫∫

S

(x + y + z) dydz

S เปนระนาบ 2x + 3y + 6z = 12 ในอัฐภาคที่ 14. จงหาคา ∫∫

S

z dydz + y dzdx + (2x - 1) dxdy

S เปนพ้ืนผิว z = 2x1 − และ 0 ≤ y ≤ 15. จงหาคา ∫∫

S

2x dydz + 2y dzdx + 2z dxdy

S เปนพ้ืนผิวของพาราโบลอยด z = 2x + 2y , 0 ≤ z ≤ 16. จงหาคา ∫∫

S

2z dxdy

S เปนพ้ืนผิวทรงกลม 2x + 2y + 2z = 4 ในอัฐภาคที่ 1เฉลยแบบฝกหัด 6.51. 18π⋅ 2. 4π⋅ 3. 3

22 4. -2 5. 3π 6. 2π⋅

Calculus III page 25 / 38

Page 26: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 86

6.6 ไดเวอรเจนซและเคิลของเวกเตอรหัวขอจะศึกษาเกี่ยวกับ ไดเวอรเจนซ และ เคิล

ของเวกเตอร ซึ่งมีความสัมพันธกับอินทิกรัลตามพื้นผิวและนําอินทิกรัลตามพื้นผิวไปใชประโยชนบทนิยาม 6.6.1 ให F

v = ( 1f , 2f , 3f ) เมื่อ 1f , 2f , 3f เปนฟงกชันคาจริงของสามตัวแปรซึ่งมีอนุพันธยอย ไดเวอรเจนซของ F

v คือฟงกชันคาจริง ซึ่งเขียนแทนดวยสัญลักษณ divFv

นิยามโดย divFv = x

f1∂∂ + y

f2∂∂ + z

f3∂∂

ขอสังเกตให ∇ = ( x∂

∂ , y∂∂ , z∂

∂ ) F

v = ( 1f , 2f , 3f )และนิยาม ∇ ⋅ Fv ในทํานองเดียวกันกับผลคูณสเกลารกลาวคือ

∇ ⋅ Fv = xf1∂∂ + y

f2∂∂ + z

f3∂∂

ดังนั้นเราอาจเขียนแทน divFv ไดดวยสัญลักษณ ∇ ⋅ Fv

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 87

ตัวอยาง 6.6.1 ให Fv (x, y, z) = (3xy, 2x 3y , yz)

จงหา divFv ที่จุด (1, 2, 4)

วิธีทาํ divFv (x, y, z) = x∂

∂ (3xy) + y∂∂ (2x 3y ) + z∂

∂ (yz)= 3y + 6x 2y + y

divFv (1, 2, 4) = 6 + 24 + 2

= 32

ตัวอยาง 6.6.2 ให Fv (x, y, z) = (xyz, xz + 3y , 2x + yz)

จงหา divFv ที่จุด (2, 1, –1)

วิธีทาํ divFv (x, y, z)

= x∂∂ (xyz) + y∂

∂ (xz + 3y ) + z∂∂ ( 2x + yz)

= yz + 3 2y + ydivF

v (2, 1, –1) = –1 + 3 + 1 = 3

บทนิยาม 6.6.2 ให Fv = ( 1f , 2f , 3f ) เมื่อ 1f , 2f , 3f

เปนฟงกชันคาจริงของสามตัวแปรซึ่งมีอนุพันธยอย เคิล ของ Fv

คือฟงกชันคาเวกเตอร ซึ่งเขียนแทนดวยสัญลักษณ curl Fv

นิยามโดย curl Fv = ( y

f3∂∂ – z

f2∂∂ , z

f1∂∂ – x

f3∂∂ , x

f2∂∂ – y

f1∂∂ )

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 88

ขอสังเกต ให ∇ = ( x∂∂ , y∂

∂ , z∂∂ ) และ F

v = ( 1f , 2f , 3f )และนิยาม ∇ × F

v ในทํานองเดียวกับผลคูณเวกเตอรกลาวคือ

ให ∇ × Fv =

fffzyx

kji

321

∂∂

∂∂

∂∂

vvv

หรือ ∇ × Fv = ( y

f3∂∂ – z

f2∂∂ , z

f1∂∂ – x

f3∂∂ , x

f2∂∂ – y

f1∂∂ )

ดังนั้น เราอาจเขียนแทน curl Fv ดวยสัญลักษณ ∇ × F

v

หมายเหตุ การหาคา curl Fv ในรูปของคากําหนดทําไดดังนี้

curl Fv =

fffzyx

kji

321

∂∂

∂∂

∂∂

vvv

ตัวอยาง 6.6.3 ใหFv (x, y, z) = (2 2x + 3yz, 3 2y + 2xz, 4 2z + xy)จงหา curl F

v

วิธีทาํ จาก Fv (x, y, z) = (2 2x + 3yz, 3 2y + 2xz, 4 2z + xy)

curl Fv =

xy4zxz2y3yz32xzyx

kji

222 +++∂∂

∂∂

∂∂

vvv

= (x – 2x) iv – (y – 3y) j

v + (2z – 3z) kv

= –x iv + 2y j

v – z kv

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 89

ตัวอยาง 6.6.4 ให Fv (x, y, z) = (3yz, 2xz, xy) จงหา curl F

v

วิธีทาํ จาก Fv (x, y, z) = (3yz, 2xz, xy)

curl Fv =

xyxz23yzzyx

kji

∂∂

∂∂

∂∂

vvv

= (x – 2x) iv – (y – 3y) j

v + (2z – 3z) kv

= –x iv + 2y j

v – z kv

ตัวอยาง 6.6.3 กําหนดให u = 2x yz จงหา div(grad u)วิธีทาํ div(grad u) = ∇ ⋅ (∇ u)เนื่องจาก ∇ u = ( x

u∂∂ , y

u∂∂ , z

u∂∂ ) = (2 xyz, 2x z, 2x y)

ดังนั้น div(grad u) = x∂∂ (2xyz) + y∂

∂ ( 2x z) + z∂∂ ( 2x y)

= 2yz ตัวอยาง 6.6.4 กําหนดให u เปนฟงกชันคาจริงซึ่งมีอนุพันธยอยอันดับที่สองมีความตอเนื่องจงพิสูจนวา curl (grad u) = 0

v

วิธีทาํ curl (grad u) =

zu

yu

xu

zyx

kji

∂∂

∂∂

∂∂

∂∂

∂∂

∂∂

vvv

= ( zyu2

∂∂∂ – yz

u2

∂∂∂ , xz

u2

∂∂∂ – zx

u2

∂∂∂ , yx

u2

∂∂∂ – xy

u2

∂∂∂ ) = 0

v

Calculus III page 26 / 38

Page 27: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 90

แบบฝกหัด 6.6จงหา div F

v และ curl Fv

1. Fv (x, y, z) = ( 2x yz, 3xy 3z , 2x - 2z )

2. Fv (x, y, z) = ( 2x , -2xy, y 2z )

3. Fv (x, y, z) = (yz, xz, xy)

4. Fv (x, y, z) = ( xe cos y, xe sin y, z)

5. Fv (x, y, z) = ( 2x , 2y , 2z )

6. Fv (x, y, z) = (3z, 5x, -2y)

7. Fv (x, y, z) = (y - x, z - y, x - z)

8. Fv (x, y, z) = (x + z, y + x, z + y)

9. Fv (x, y, z) = (x + cos y, y + sin z, z + xe )

10. Fv (x, y, z) = (( 2x + 2y + 2z )x, ( 2x + 2y + 2z )y, ( 2x + 2y + 2z )z)

เฉลยแบบฝกหัด 6.61. div F

v = 2xyz + 3x 3z - 2z, curl Fv = (-9xy 2z , 2x y - 2x, 3y 3z - 2x z)

2. div Fv = 2yz, curl F

v = ( 2z , 0, -2y)3. div F

v = 0, curl Fv = (0, 0, 0)

4. div Fv = 2 xe cos y + 1, curl F

v = (0, 0, 2 xe sin y)5. div F

v = 2x + 2y + 2z, curl Fv = (0, 0, 0)

6. div Fv = 0, curl F

v = (-2, 3, 5)7. div F

v = -3, curl Fv = (-1, -1, -1)

8. div Fv = 3, curl F

v = (1, 1, 1)9. div F

v = 3, curl Fv = (-cos z, - xe , sin y)

10. div Fv = 5( 2x + 2y + 2z ), curl F

v = (0, 0, 0)

Calculus III page 27 / 38

Page 28: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 91

6.7 ความสัมพันธระหวางอินทิกรัลตามพื้นผิวกับอินทิกรัลตามเสน

หัวขอนี้จะกลาวถึงความสัมพันธของอินทิกรัลตามพื้นผิวของฟงกชันคาเวกเตอรบนพื้นผิวเปดสองหนาที่มีขอบเปนเสนโคงเรียบปดกับอินทิกรัลตามเสนของฟงกชันคาเวกเตอรที่มีความสัมพันธกับฟงกชันแรกบนเสนโคงเรียบปดซึ่งเปนขอบของพื้นผิวนั้นรูปที่ 6.7.1 S เปนพื้นผิวทรงกลม 2x + 2y + 2z = 1และ z ≥ 0ขอบของพื้นผิว S คือเสนโคง C คือ (cos θ, sin θ, 0)เมื่อ 0 ≤ θ ≤ 2π

รูปที่ 6.7.1

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 92

รูปที่ 6.7.2 S เปนพื้นผิวพาราโบลอยด z = 4 2x + 2y

และ 0 ≤ z ≤ 4ขอบของพื้นผิว S คือเสนโคง C คือวงรี (cos θ, 2 sin θ, 0)เมื่อ 0 ≤ θ ≤ 2π

รูปที่ 6.7.2รูปที่ 6.7.3 S เปนพื้นผิวกรวย 2z = 2x + 2y และ 0 ≤ z ≤ 4ขอบของพื้นผิว S คือเสนโคง C คือวงกลม(4 cos θ, 4 sin θ, 0) เมื่อ 0 ≤ θ ≤ 2π

รูปที่ 6.7.3

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 93

6.7.1 ทฤษฎีบทของสโตกสทฤษฎีบทที่ 6.7.1 (ทฤษฎีบทของสโตกส)กําหนดให1. T เปนอาณาบริเวณแบบเชื่อมโยงเชิงเดียวในระนาบ UV

และ Γ เปนเสนโคงปดเชิงเดียวซึ่งเรียบเปนชวงๆและลอมรอบบริเวณ T

2. มีเซตเปด D ซึ่ง T ∪ Γ ⊆ Dให rv : D → 3R เปนฟงกชัน 1 – 1 ซึ่งมีอนุพันธยอยอันดับที่สองตอเนื่องและ rnvv (u, v) ≠ 0 บน T

ถา S คือพ้ืนผิว rv(T) และ C คือเสนโคง rv(Γ) ; P, Q, Rเปนฟงกชันคาจริงซึ่งมีอนุพันธยอยตอเนื่องบน Sจะไดวา

C$ (P dx + Q dy + R dz)

= ∫∫S

[( yR∂∂

– zQ∂∂ ) dydz + ( z

P∂∂

– xR∂∂ ) dzdx + ( x

Q∂∂

– yP∂∂ ) dxdy]

... (I)โดยที่การอินทิเกรตบน C กระทําในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาของΓ ภายใตการสงของ rv

ถา Fv = (P, Q, R) และ rNv

v = n

nrrv

vv

v

เราอาจเขียนสูตร (1) ไดอีกรูปแบบหนึ่ง

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 94

คือ C$ F

v ⋅ dαv = ∫∫S

curl Fv ⋅ rNv

v dS ... (II)

เมื่อ αv (t) = rv(βv(t))โดยที่ βv นิยาม Γ ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา

รูปที่ 6.7.4ตัวอยาง 6.7.1 จงหาคาของอินทิกรัลตามพื้นผิว∫∫S

curl Fv ⋅Nv dS เมื่อ F

v (x, y, z) = (y, z, x)

และ S เปนสวนของพื้นผิวพาราโบลอยดz = 1 – 2x – 2y , z ≥ 0ให N

v เปนเวกเตอรแนวฉากหนวยซึ่งมีสวนประกอบที่สามเปนบวก โดย

1. ใชทฤษฎีบทของสโตกส2. ไมใชทฤษฎีบทของสโตกส

Calculus III page 28 / 38

Page 29: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 95

วิธีทาํ

รูปที่ 6.7.5ใหพื้นผิว S กําหนดโดยฟงกชันคาเวกเตอร rv โดยมีคาrv(u, v) = (u, v, 1 – 2u – 2v ), (u, v) ∈ Tเมื่อ T = {(u, v) | 2u – 2v ≤ 1 }

ur

∂∂v = (1, 0, –2u)

vr

∂∂v = (0, 1, –2v)

rn vv = ur

∂∂v × v

r∂∂v

rn vv (u, v) = (2u, 2v, 1)ดังนั้น N

v มีทิศทางเดียวกับ rnvv และ Nv = ||n||

nrrv

vvv

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 96

1. โดยใชทฤษฎีบทของสโตกสจากทฤษฎีบทของสโตกส ∫∫

Scurl F

v ⋅Nv dS = C" F

v ⋅ dαv

เราจะหาอินทิกรัลตามเสนแทนการหาอินทิกรัลตามพื้นผิวซึ่งทําไดดังนี้เสนโคง Γ ซึ่งลอมรอมบริเวณ Tกําหนดโดยฟงกชันคาเวกเตอร βv ดังนี้βv(t) = (cos t, sin t) เมื่อ t ∈ [0, 2π]ให αv (t) = rv(βv(t)) = rv(cos t, sin t)= (cos t, sin t, 1 – tcos2 – tsin2 )= (cos t, sin t, 0) ทุกคา t ∈ [0, 2π]จะไดเสนโคง C ซึ่งเปนขอบของพื้นผิวพาราโบลอยดกําหนดโดยฟงกชัน αv และมีทิศทางสืบเนื่องมาจากทิศทางทวนเข็มนาฬิกาของ βv

จาก Fv (x, y, z) = (y, z, x)

ได Fv (αv (t)) = (sin t, 0, cos t)

เพราะฉะนั้น C$ Fv ⋅ dαv = ∫

π2

0Fv (αv (t)) ⋅ α′v (t) dt

= ∫π2

0(sin t, 0, cos t) ⋅ (–sin t, cos t, 0) dt

= ∫π2

0(– 2sin t) dt

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 97

= ∫π2

0( 2

1t2cos − ) dt

= [ 41 sin 2t – 2

1 t ] 0t2t

=π= = –π

2. โดยไมใชทฤษฎีบทของสโตกส

curl Fv =

xzyzyx

kji

∂∂

∂∂

∂∂

vvv

= (–1, –1, –1)

∫∫S

curl Fv ⋅Nv dS = ∫∫

Tcurl F

v ⋅ rnvv (u, v) dudv

= ∫∫T

(–1, –1, –1) ⋅ (2u, 2v, 1) dudv

= ∫∫T

(–2u – 2v – 1) dudv

เปลี่ยนเปนระบบพิกัดเชิงขั้ว ให u = r cos θ, v = r sin θ

เมื่อ 0 ≤ r ≤ 1 และ 0 ≤ θ ≤ 2πจะได ∫∫

T(–2u – 2v – 1) dudv

= ∫π2

0∫1

0(–2 r cos θ – 2 r sin θ – 1) r drdθ

= ∫π2

0[ –2 cos θ 3

r3 – (2 sin θ) 3r3 – 2

r2 ] 0r1r

== dθ

= ∫π2

0(–3

2cos θ – 32 sin θ – 2

1) dθ

= [ –32sin θ + 3

2cos θ – 21θ) ] 0

2=θ

π=θ = –π

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 98

หมายเหตุ การหาอินทิกรัลตามพื้นผิว ∫∫S

curl Fv ⋅Nv dS

เมื่อ S เปนพื้นผิวเปดสองหนาที่มีขอบเปนเสนโคงเรียบปดนอกจากจะทําไดโดยการหาอินทิกรัลตามเสนแทนแลวยังอาจกระทําไดอีกวิธีหนึ่งโดยการหาอินทิกรัลตามพื้นผิว ∫∫

1Scurl F

v ⋅ 1Nv dS แทน เมื่อ 1S เปนพื้นผิวระนาบมีโดเมน

เดียวกับ S และผานเสนโคงเรียบปดที่เปนขอบของ Sทั้งนี้ 1S ตองกําหนดดวยฟงกชัน 1 r

v

ซึ่งทําให 1 rn vv มีทิศเดียวกับเวกเตอรแนวฉากของ S ดวยความจริงขอนี้จะไมพิสูจน ณ ที่นี้แตจะแสดงใหเห็นดวยตัวอยางดังนี้ จากโจทยในตัวอยาง 6.7.1ให 1S เปนสวนของพื้นผิวระนาบ z = 0 ซึ่งมีขอบเปนวงกลม 2x + 2y = 1, z = 0ดังนั้นพื้นผิวระนาบ 1S และพ้ืนผิวพาราโบลอยด Sในโจทยมีขอบเปนเสนโคงเดียวกันให 1S กําหนดดวยฟงกชัน

1 rv (u, v) = (u, v, 0) เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 2u + 2v ≤ 1}ได

ur1 ∂∂v = (1, 0, 0),

vr1 ∂∂v = (0, 1, 0) และ 1 rn vv = (0, 0, 1)

จะเห็นวา 1 rn vv และ Nv ของพื้นผิวพาราโบลอยด

มีทิศทางเดียวกันCalculus III page 29 / 38

Page 30: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 99

พิจารณา C : 2x + 2y = 1, z = 0ซึ่งเปนขอบของพื้นผิวทั้งสองให C กําหนดดวยฟงกชัน 1 α

v

ซึ่งไดมาจาก βv ภายใตการสงของ 1rv

เนื่องจาก Γ : βv(t) = (cos t, sin t), t ∈ [0, 2π] 1C : 1 α

v (t) = 1 rv (βv(t)) = 1 r

v (cos t, sin t) = (cos t, sin t, 0)จะเห็นวา 1 α

v และ αv มีทิศทางเดียวกัน(ในที่นี้เปนฟงกชันเดียวกันดวย ดูคา αv (t) จากตัวอยาง 6.7.1)ดังนั้น

C1$ F

v ⋅ d 1 αv =

C$ F

v ⋅ dαv

โดยอาศัยทฤษฎีบทของสโตกส จึงสรุปไดวา ∫∫1S

curl Fv ⋅ 1N

v dS

= ∫∫S

curl Fv ⋅Nv dS ... (1)

ซึ่งอาจแสดงใหเห็นจริงไดดังนี้∫∫1S

curl Fv ⋅ 1N

v dS = ∫∫T

(–1, –1, –1) ⋅ (0, 0, 1) dudv

= ∫∫T

(–1) dudv = –π

(หมายเหตุ ∫∫T

dudv เปนพื้นที่ของวงกลมรัศมียาว 1 หนวย)

จากตัวอยาง 6.7.1 หาไวแลววา ∫∫S

curl Fv ⋅Nv dS = –π

จึงเห็นวา (1) เปนจริง

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 100

ตัวอยาง 6.7.2 จงหาคาของอินทิกรัลตามพื้นผิว ∫∫

Scurl F

v ⋅Nv dS เมื่อกําหนดให Fv (x, y, z) = (y, z, x)

และ S เปนพื้นผิวครึ่งทรงกลม 2x + 2y + 2z = 4, z ≥ 0ให N

v เปนเวกเตอรแนวฉากหนวยของ S ซึ่ง Nv ⋅kv > 0

วิธีทาํ

รูปที่ 6.7.6แบบที่ 1 โดยใชทฤษฎีบทของสโตกสจากสูตร ∫∫

Scurl F

v ⋅Nv dS = C$ F

v ⋅ dαv

rv(u, v) = (u, v, 22 vu4 −− ), (u, v) ∈ Tเมื่อ T = {(u, v) | 2u + 2v ≤ 4 }ดังนั้นเราจะใชการหาอินทิกรัลตามเสนแทนการหาอินทิกรัลตามพื้นผิวในที่นี้ Γ เปนขอบของ T = {(u, v) | 2u + 2v ≤ 4 }Γ : βv(t) = (2 cos t, 2 sin t), t ∈ [0, 2π]จะเห็นวา βv มีทิศทางทวนเข็มนาฬิกา

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 101

ให C เปนภาพของ Γ ภายใตการสงของ rv

C : αv (t) = rv(βv(t))= rv(2 cos t, 2 sin t)= (2 cos t, 2 sin t, 0) เมื่อ t ∈ [ 0, 2π]

C$ F

v ⋅ dαv = ∫π2

0Fv (αv (t)) ⋅ αv ′(t) dt

= ∫π2

0(2 sin t, 0, 2 cos t) ⋅ (–2 sin t, 2 cos t, 0) dt

= ∫π2

0(–4 2sin t) dt

= ∫π2

02(cos 2 t – 1) dt

= [ sin 2t – 2t ] 0t2t

=π= = –4π

แบบที่ 2 หาอินทิกรัลตามพื้นผิวระนาบซึ่งผานขอบของทรงกลมแทนการหาอินทิกรัลตามพื้นผิวทรงกลมให 1S แทนสวนของพื้นผิวระนาบ z = 0ซึ่งกําหนดดวย 1 r

v (u, v) = (u, v, 0) เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 2u + 2v ≤ 4}ได u

r1 ∂∂v = (1, 0, 0), v

r1 ∂∂v = (0, 1, 0) และ 1 rn vv = (0, 0, 1)

จะเห็นวาพ้ืนผิว 1S และทรงกลมมีขอบเปนเสนโคงปดเดียวกันและนอกจากนั้นเมื่อกําหนด 1S ดวย 1 r

v

เวกเตอรแนวฉาก 1 rn vv ก็มีทิศทางเดียวกับ Nv

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 102

โดยอาศัยทฤษฎีบทของสโตกส จึงได∫∫S

curl Fv ⋅Nv dS = ∫∫

1Scurl F

v ⋅ 1Nv dS

= ∫∫T

(–1, –1, –1) . (0, 0, 1) dudv

= ∫∫T

(–1) dudv

= - ∫∫T

(1) dudv

= –4π (เนื่องจาก ∫∫

T(1) dudv คือพ้ืนที่ของวงกลมรัศมียาว 2 หนวย )

Calculus III page 30 / 38

Page 31: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 103

ตัวอยาง 6.7.3 จงใชทฤษฎีบทของสโตกสหาคาของอินทิกรัลตามเสน

C$ –z 2x dx + yz dy + x 2y dz

เมื่อ C เปนรอยตัดระหวางทรงกระบอก 2x + 2y = 2yและระนาบ y = zพรอมทั้งระบุทิศทางของการอินทิเกรตซึ่งจะทําใหอินทิกรัลตามเสนมีคาตามคําตอบที่ไดวิธีทาํ

รูปที่ 6.7.7ให F

v (x, y, z) = (–z 2x , yz, x 2y )จากทฤษฎีบทของสโตกส

C$ F

v ⋅ dαv = ∫∫S

curl Fv ⋅Nv dS

ในที่นี้ให S คือสวนของพื้นผิวระนาบ y = z ซึ่งมีขอบเปนเสนโคง C ซึ่งเปนรอยตัดระหวางระนาบ y = zกับทรงกระบอก 2x + 2y = 2y

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 104

เพราะฉะนั้น C เปนเสนโคงปดเราจะคํานวณคาของอินทิกรัลตามเสนโดยใชทฤษฎีบทของสโตกสนั่นคือจะหาคาของ ∫∫

Scurl F

v ⋅Nv dS แทน

ซึ่งทําไดดังนี้ curl Fv =

xyyzzxzyx

kji

22−∂∂

∂∂

∂∂

vvv

= (2xy – y, – 2y – 2x , 0)พื้นผิว S กําหนดไดดวยฟงกชันrv(u, v) = (u, v, v) เมื่อ (u, v) ∈ Tโดยที่ T = {(u, v) | 2u + 2v – 2v ≤ 0}เพราะฉะนั้น u

r∂∂v = (1, 0, 0),

vr

∂∂v = (0, 1, 1)

และ rn vv (u, v) = (0, –1, 1) ∫∫

Scurl F

v ⋅Nv dS

= ∫∫T

curl Fv ( rv(u, v)) ⋅ rn vv (u, v) dudv

= ∫∫T

( 2u + 2v ) dudv

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 105

เปลี่ยนเปนระบบพิกัดเชิงขั้ว ให u = r cos θ, v = r sin θ

จะไดสมการวงกลมเปน 2r – 2 r sin θ = 0 หรือ r = 2 sin θ

∫∫T

( 2u + 2v ) dudv = ∫π

0∫θsin2

0

2r r drdθ

= ∫π

0[ 4

r4 ] 0rsin2r

=θ= dθ

= 23π

เพราะฉะนั้น ∫∫S

curl Fv ⋅Nv dS = 2

ตอไปเราจะพิจารณาวาคําตอบที่ไดมาจากการอินทิเกรตตามเสนซึ่งกระทําในทิศทางใดจาก T = {(u, v) | 2u + 2v – 2 v ≤ 0}พิจารณาวงกลม 2u + 2v – 2 v = 0 ... (1)สมการ (1) แทนเสนโคงปดเชิงดียวซึ่งเปนขอบของ Tจาก (1) ได 2u + (v – 1)2 = 1ให βv(t) = (cos t, 1 + sin t), t ∈ [0, 2π]จะเห็นวา βv เปนฟงกชันคาเวกเตอรแทนเสนโคงปดเชิงเดียวซึ่งเปนขอบของ T และมีทิศทางทวนเข็มนาฬิกาให αv (t) = rv(βv(t))= rv(cos t, 1 + sin t )= (cos t, 1 + sin t, 1 + sin t ) เมื่อ t ∈ [0, 2π]

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 106

ดังนั้น αv เปนฟงกชันคาเวกเตอรซึ่งแทนเสนโคงปดเชิงเดียวซึ่งเปนขอบของ Sและมีทิศทางสืบเนื่องมาจากทิศทางทวนเข็มนาฬิกาของ βv

จึงไดวาถาการอินทิเกรตตามเสนโคง C กระทําในทิศทางเดียวกับทิศทางของ αv

แลวโดยทฤษฎีบทของสโตกสจะได

C$ –z 2x dx + yz dy + x 2y dz = 2

ถาการอินทิเกรตตามเสนโคง C กระทําในทิศทางตรงกันขามกับทิศทางของ αv

แลว จะได C$ –z 2x dx + yz dy + x 2y dz = – 2

Calculus III page 31 / 38

Page 32: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 107แบบฝกหัด 6.7จงใชผลของทฤษฎีบทของสโตกสชวยในการคํานวณคา

C$ F

v ⋅ d αv

1. Fv (x, y, z) = (3z, 5x, -2y)C เปนรอยตัดของระนาบ z = y + 3 กับทรงกระบอก 2x + 2y = 1

2. Fv (x, y, z) = (2z, 8x - 3y, 3x + y)C เปนเสนรอบรูปสามเหลี่ยม ABC เมื่อ A(1, 0, 0), B(0, 1, 0) และ C(0, 0, 2)C เปนเสนโคงปด AB + BC + CA

3. Fv (x, y, z) = (2z, x, 3y)C เปนเสนโคงที่เปนรอยตัดของระนาบ z = x กับพ้ืนผิวทรงกระบอก 2x + 2y = 4

4. Fv (x, y, z) = (y - x, x - z, x - y)C เปนเสนโคงที่เปนขอบของระนาบ x + 2y + z = 2 ในอัฐภาคที่ 1

5. Fv (x, y, z) = (y - z, y, x)C เปนเสนโคงที่เปนรอยตัดของพื้นผิวทรงกระบอก 2x - x + 2y = 0 กับพื้นผิวทรงกลม

2x + 2y + 2z = 1 และ z ≥ 06. F

v (x, y, z) = (2z, x, 3y)C เปนเสนโคงที่เปนรอยตัดของระนาบ z = x และพ้ืนผิวทรงกระบอก 2x + 2y = 4

7. Fv (x, y, z) = ( 2x - y, 4z, 2x )C เปนเสนโคงที่เปนรอยตัดของระนาบ z = 2 และพ้ืนผิวกรวย z = 22 yx +

8. Fv (x, y, z) = (xz, xy, 3xz)C เปนเสนโคงที่เปนขอบของระนาบ 2x + y + z = 2 ในอัฐภาคที่ 1

9. Fv (x, y, z) = ( 2x , 2x, 2z )C เปนเสนโคงที่เปนขอบของพื้นผิวทรงกระบอก 4 2x + 2y = 4 บนระนาบ XY

10. Fv (x, y, z) = (y, xz, 2x )C เปนเสนโคงที่เปนขอบของระนาบ x + y + x = 1 ในอัฐภาคที่ 1

11. Fv (x, y, z) = ( 2y + 2z , 2x + 2z , 2x + 2y )C เปนเสนโคงที่เปนขอบของสี่เหลี่ยมบนระนาบ XY ที่ปดลอมดวย x = ± 1, y = ± 1

จงใชผลของทฤษฎีบทของสโตกสชวยในการคํานวณคา ∫∫S

curl Fv ⋅ N

v dS

12. Fv (x, y, z) = (y, -x, yz)S เปนพ้ืนผิว z = 2x + 2y และ 0 ≤ z ≤ 4

13. Fv (x, y, z) = (3y, -2x, xyz)S เปนพ้ืนผิว z = 22 yx4 −− และ 0 ≤ z ≤ 2

14. Fv (x, y, z) = (y, -x, yz)S เปนพ้ืนผิวทรงกลม 2x + 2y + (z - 4) 2 = 10 ที่อยูใตระนาบ z = 1

Calculus III page 32 / 38

Page 33: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 10815. F

v (x, y, z) = (y + z, 2x + 2z , y)S เปนพ้ืนผิวทรงกระบอก z = 2x1 − และ 0 ≤ y ≤ 1

16. Fv (x, y, z) = (yz, 3xz, 2z )S เปนพ้ืนผิวทรงกลม 2x + 2y + 2z = 16 และ z ≤ 2

17. Fv (x, y, z) = (yz, -xz, 3z )S เปนพ้ืนผิวกรวย z = 22 yx + และ 1 ≤ z ≤ 3

18. Fv (x, y, z) = (y, -x, 0)S เปนพ้ืนผิวทรงกลม 2x + 2y + 2z = 9 และ z ≥ 0

19. Fv (x, y, z) = (y, 2x , ( 2x + 4y ) 2

3sin( xyze ))

S เปนพ้ืนผิวของ 4 2x + 9 2y + 36 2z = 36 และ z ≥ 020. F

v (x, y, z) = (2z, 3x, 5y)S เปนพ้ืนผิวที่มีสมการอิงตัวแปรเสริมเปน rv (r, θ) = (r cos θ, r sin θ, 4 - 2r ), 0 ≤ r ≤ 2และ 0 ≤ θ ≤ 2π

21. Fv (x, y, z) = ( 2x y, 2 3y z, 3z)S เปนพ้ืนผิวที่มีสมการอิงตัวแปรเสริมเปน rv (r, θ) = (r cos θ, r sin θ, r), 0 ≤ r ≤ 1และ 0 ≤ θ ≤ 2π

22. Fv (x, y, z) = (3y, 5 - 2x, 2z - 2)S เปนพ้ืนผิวที่มีสมการอิงตัวแปรเสริมเปนrv (φ, θ) = ( 3 sin φ cos θ, 3 sin φ sin θ, 3 cos φ), 0 ≤ φ ≤ 2

π และ 0 ≤ θ ≤ 2π

เฉลยแบบฝกหัด 6.71. 2π 2. 4 3. -8π 4. -25. 4

π 6. -8π 7. 4π 8. -19. 4π 10. - 6

5 11. 012. -2π 13. -20π 14. -2π 15. -216. -48π 17. -52π 18. -18π 19. -6π20. 12π 21. - 4

π 22. -15π

Calculus III page 33 / 38

Page 34: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 109

6.8 ความสัมพันธระหวางอินทิกรัลตามพื้นผิวกับอินทิกรัลสามชั้นทฤษฎีบท 6.8.1(ทฤษฎีบทไดเวอรเจนซหรือทฤษฎีบทของเกาส)กําหนดให1. S เปนพื้นผิวเรียบเปนสวน ๆ ซึ่งปดลอมรูปทรงสามมิติ V

และ Nv เปนเวกเตอรแนวฉากหนวยของพื้นผิว S

ซึ่งมีทิศทางพุงออกจาก V2. F

v (x, y, z) เปนฟงกชันคาเวกเตอรซึ่งมีความตอเนื่องและอนุพันธยอยอันดับที่หนึ่งของ F

v ก็มีความตอเนื่องทุกจุด (x, y, z) ∈ V

จะได ∫∫∫V

divFv dxdydz = ∫∫

SFv ⋅Nv dS

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 110

ในรูปที่ 6.8.1 V เปนรูปทรงในสามมิติที่ปดลอมดวย Sซึ่งประกอบดวย 3 พื้นผิวคือ

1S = {(x, y, z) | z = h(x, y), (x, y) ∈ 1T }2S = {(x, y, z) | z = g(x, y), (x, y) ∈ 1T }3S เปนพื้นผิวทรงกระบอกปดลอม V และตั้งฉากกับระนาบ XYให 1T เปนภาพฉายของรูปทรงสามมิติ V บนระนาบ XYเราสามารถเขียน V ไดดังนี้V = {(x, y, z) | g(x, y) ≤ z ≤ h(x, y), (x, y) ∈ 1T }

รูปที่ 6.8.1ในการหาคา ∫∫

SFv ⋅Nv dS ตองแบงการอินทิเกรตเปน 3 สวนคือ

∫∫S

Fv ⋅Nv dS = ∫∫

1SFv ⋅Nv dS + ∫∫

2SFv ⋅Nv dS + ∫∫

3SFv ⋅Nv dS

โดยทฤษฎีบทไดเวอรเจนซคํานวณคา ∫∫∫V

divFv dxdydz

จะได ∫∫S

Fv ⋅Nv dS = ∫∫∫

VdivF

v dxdydz

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 111

ตัวอยาง 6.8.1 จงหาคาของอินทิกรัลตามพื้นผิว ∫∫S

Fv ⋅Nv dS

เมื่อ Fv (x, y, z) = ( 3x , 3y , z) และ s เปนพื้นผิวซึ่งลอมรอบรูป

ทรงสามมิติ V โดยที่ S ประกอบดวยพื้นผิวทรงกระบอก 2x + 2y = 1 ระนาบ z = 0และระนาบ z = x + 2ให N

v เปนเวกเตอรแนวฉากหนวยมีทิศทางพุงออกจาก Vวิธีทาํ

รูปที่ 6.8.2วิธีที่ 1 โดยใชทฤษฎีบทไดเวอรเจนซเรามีสูตร ∫∫

SFv ⋅Nv dS = ∫∫∫

VdivF

v dxdydz

เนื่องจาก Fv (x, y, z) = ( 3x , 3y , z)

ได divFv (x, y, z) = 3 2x + 3 2y + 1

เพราะฉะนั้น ∫∫S

Fv ⋅Nv dS = ∫∫∫

V(3 2x + 3 2y + 1) dxdydz

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 112

จากลักษณะของรูปทรงตัน เปลี่ยนตัวแปรใหอยูในระบบพิกัดทรงกระบอก x = r cos θ, y = r sin θ, z = zเพราะฉะนั้น∫∫S

Fv ⋅Nv dS = ∫∫∫

T(3 2r + 1) r dzdrdθ

เมื่อ T = {(r, θ, z) | 0 ≤ θ ≤ 2π, 0 ≤ r ≤ 1,0 ≤ z ≤ r cos θ + 2}

∫∫S

Fv ⋅Nv dS = ∫

π2

0∫1

0∫+θ 2cosr

0(3 2r + 1) r dzdrdθ

= ∫π2

0∫1

0(3 3r + r)(r cos θ + 2) drdθ

= ∫π2

0∫1

0cos θ (3 4r + 2r ) + 2(3 3r + r) drdθ

= ∫π2

0[ cos θ ( 5

r3 5 + 3r3 ) + 2

r3 4 + 2r )] 0r1r

== dθ

= ∫π2

0(15

14cos θ + 25) dθ

= [ 1514sin θ + 2

5θ ] 02

=θπ=θ

= 5π

Calculus III page 34 / 38

Page 35: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 113

วิธีที่ 2 ไมใชทฤษฎีบทไดเวอรเจนซ พื้นผิว S ประกอบดวยพื้นผิวสามพื้นผิว คือ

1S เปนพื้นผิวระนาบ z = x + 22S เปนพื้นผิวทรงกระบอก 2x + 2y = 13S เปนผิวระนาบ z = 0เพราะฉะนั้น ∫∫

SFv ⋅Nv dS

= ∫∫1S

Fv ⋅Nv dS + ∫∫

2SFv ⋅ 2N

v dS + ∫∫3S

Fv ⋅ 3N

v dS

ให 1S กําหนดโดยฟงกชันคาเวกเตอร 1 rv โดยมี

1 rv (u, v) = (u, v, u + 2), (u, v) ∈ 1T

เมื่อ 1T = {(u, v) | 2u + 2v ≤ 1} u

r1 ∂∂v = (1, 0, 1), v

r1 ∂∂v = (0, 1, 0)

และ 1 rn vv (u, v) = (–1, 0, 1)จะเห็นวา 1 rn vv มีทิศทางพุงออกจาก Vได ∫∫

1SFv ⋅ 1N

v dS = ∫∫1T

Fv ( 1 rv (u, v) ) ⋅ 1 rn vv (u, v) dudv

= ∫∫1T

( 3u , 3v , u + 2) ⋅ (–1, 0, 1) dudv

= ∫∫1T

(– 3u + u + 2) dudv

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 114

เปลี่ยนเปนระบบพิกัดเชิงขั้ว ให u = r cos θ , v = r sin θ

เพราะฉะนั้น

∫∫1S

Fv ⋅ 1N

v dS = ∫π2

0∫1

0(– 3r 3cos θ + r cos θ + 2) rdrdθ

= ∫π2

0[(– 3cos θ) 5

r5 + (cos θ) 3r3 + 2r )] 0r

1r== dθ

= ∫π2

0(–5

1 3cos θ + 31cos θ + 1) dθ

= ∫π2

0–5

1 (1 – 2sin θ) dsin θ + [ 31sin θ + θ ] 0

2=θ

π=θ

= [ –51 sin θ + 15

1 3sin θ ] 02

=θπ=θ + 2π

= 2π

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 115

ใหพื้นผิว 2S กําหนดโดยฟงกชันคาเวกเตอร 2 rv

โดยมี 2 rv (u, v) = (cos u, sin u, v), (u, v) ∈ 2T

เมื่อ 2T = {(u, v) | 0 ≤ u ≤ 2π, 0 ≤ v ≤ cos u + 2} u

r 2 ∂∂v = (–sin u, cos u, 0), v

r 2 ∂∂v = (0, 0, 1)

และ 2 rn vv (u, v) = (cos u, sin u, 0)จะเห็นวา 2 rn vv มีทิศทางพุงออกจาก V ได

∫∫2S

Fv ⋅ 2N

v dS = ∫∫2T

Fv ( 2 rv (u, v)) ⋅ 2 rn vv (u, v) dudv

= ∫π2

0∫+2ucos

0( 3cos u, 3sin u, v) ⋅ (cos u, sin u, 0) dvdu

= ∫π2

0∫+2ucos

0( 4cos u + 4sin u) dvdu

= ∫π2

0( 4cos u + 4sin u)(cos u + 2) du

= ∫π2

0

5cos u du + ∫π2

0

4sin u cos u du

+ 2 ∫π2

0( 4cos u + 4sin u) du

= ∫π2

0(1 – 2 2sin u + 4sin u) d(sin u) + ∫

π2

0

4sin u d(sin u)

+ 21 ∫

π2

0(3 + cos 4u) du

= [ sin u – 3usin2 3 + 5

usin2 5 + 23u + 8

u4sin ] 02

=θπ=θ

= 3π

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 116

ใหพื้นผิว 3S กําหนดโดยฟงกชันคาเวกเตอร 3 rv

โดยมี 3 rv (u, v) = (u, v, 0), (u, v) ∈ 3T

เมื่อ 3T = {(u, v) | 2u + 2v ≤ 1} u

r3 ∂∂v = (1, 0, 0), v

r3 ∂∂v = (0, 1, 0)

และ 3 rn vv (u, v) = (0, 0, 1) มีทิศทางชี้เขาหา Vได – 3 rn vv (u, v) = (0, 0, –1) มีทิศทางพุงออกจาก V ∫∫

3SFv ⋅ 3N

v dS = ∫∫3T

Fv ( 3 rv (u, v)) ⋅ (– 3 rn vv (u, v)) dudv

= ∫∫3T

( 3u , 3v , 0) ⋅ (0, 0, –1) dudv

= 0ดังนั้น ∫∫

SFv ⋅Nv dS

= ∫∫1S

Fv ⋅Nv dS + ∫∫

2SFv ⋅ 2N

v dS + ∫∫3S

Fv ⋅ 3N

v dS

= 2π + 3π + 0 = 5π

Calculus III page 35 / 38

Page 36: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 117

หมายเหตุ 1. จะเห็นวา ตัวอยาง 6.8.1เมื่อทําโดยอาศัยทฤษฎีบทไดเวอรเจนซ คือหาอินทิกรัลตามพื้นผิวจากการหาอินทิกรัลสามชั้นจะสะดวกกวาหาโดยตรงจากสูตร ∫∫

SFv ⋅Nv dS

2. ในการหา 3 rn vv (u, v) นั้นอาจจะกําหนดใหเปนเวกเตอร (0, 0, -1) ไดเนื่องจากเรารูวาเวกเตอร –k

v จะตั้งฉากกับระนาบ XYและพุงออกจาก V

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 118

ตัวอยาง 6.8.2 จงหาคาของอินทิกรัลตามพื้นผิว ∫∫S

Fv ⋅Nv dS

เมื่อ S เปนพื้นผิวหาหนาของรูปปริซึม ซึ่งประกอบดวยระนาบ y = 0 ระนาบ y = x ระนาบ x = 1 ระนาบ z = 0และระนาบ z = 1ให F

v (x, y, z) = (2x, 3y, z)และ N

v เปนเวกเตอรแนวฉากหนวยซึ่งพุงออกจากรูปปริซึมวิธีทาํ

รูปที่ 6.8.3จากลักษณะของ S ซึ่งประกอบดวยพื้นผิวถึง 5 พื้นผิวจึงเห็นวาถาหาคาของอินทิกรัลตามพื้นผิวโดยใชหาจากอินทิกรัลสามชั้นจะงายกวา

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 119

ให V เปนปริมาตรของปริซึม และใหภาพฉายของ Vอยูบนระนาบ XY V = {(x, y, z) | 0 ≤ z ≤ 1 ทุก (x, y) ∈ T}เมื่อ T = {(x, y) | 0 ≤ x ≤ 1, 0 ≤ y ≤ x}เพราะวา F

v (x, y, z) = (2x, 3y, z)เพราะฉะนั้น divF

v = 2 + 3 + 1 = 6โดยทฤษฎีบทไดเวอรเจนซ ∫∫

SFv ⋅Nv dS

= ∫∫∫v

divFv dxdy xz

= ∫1

0∫x

0∫1

0(6) dzdydx

= ∫1

0∫x

0[ 6z ] 0z

1z== dydx

= ∫1

0∫x

06 dydx

= ∫1

0[ 6y ] 0y

xy== dx

= ∫1

06x dx

= 6[ 2x2 ] 0x

1x==

= 3

Calculus III page 36 / 38

Page 37: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 120แบบฝกหัด 6.8จงใชผลของทฤษฎีบทของเกาสชวยคํานวณอินทิกรัลตามพื้นผิว ∫∫

S

Fv ⋅ N

v dS

1. Fv (x, y, z) = ( 3x + tan(yz), 3y - xze , 3z + 3x )S เปนพ้ืนผิวของรูปทรงที่ปดลอมดวยทรงกระบอก 2x + 2y = 4 และระนาบ z = 0, z = 3

2. Fv (x, y, z) = ( 2x y, 2xz, y 3z )S เปนพ้ืนผิวของทรงสี่เหลี่ยมที่ปดลอมดวย x = 0, x = 1, y = 0, y = 2, z = 0 และ z = 3

3. Fv (x, y, z) = ( 2x , 2y , 2z )S เปนพ้ืนผิวของรูปทรงที่ปดลอมดวยพาราโบลอยด z = 2x + 2y และระนาบ z = 4

4. Fv (x, y, z) = (x + 2z , y - 2z , x)S เปนพ้ืนผิวของรูปทรงที่ปดลอมดวยทรงกระบอก 0 ≤ 2y + 2z ≤ 1 และระนาบ z = 0, z = 2

5. Fv (x, y, z) = (2x, 3y, 4z)S เปนพ้ืนผิวของอาณาบริเวณที่ 9 ≤ 2x + 2y + 2z ≤ 16

6. Fv (x, y, z) = (2x + yz, 3y, 2z )S เปนพ้ืนผิวทรงกลม 2x + 2y + 2z = 1

7. Fv (x, y, z) = ( 2x , 2y , 2z )S เปนพ้ืนผิวทรงกลม (x - 2) 2 + 2y + 2z = 1

8. Fv (x, y, z) = ( 2x , 0, 0)S เปนพ้ืนผิวของทรงสี่เหลี่ยมที่ปดลอมดวย x = 0, x = 1, y = 0, y = 1, z = 0 และ z = 1

9. Fv (x, y, z) = (x + z, y + x, z + y)S เปนพ้ืนผิวของทรงสี่หนาในอัฐภาคที่ 1 ที่ปดลอมดวยระนาบ XY, YZ, ZX และ 3x + 4y + 2z = 12

10. Fv (x, y, z) = ( 3x , 3y , 3z )S เปนพ้ืนผิวทรงกลม 2x + 2y + 2z = 1

11. Fv (x, y, z) = (x + cos y, y + sin z, z + xe )S เปนพ้ืนผิวของรูปทรงที่ปดลอมดวย z = 1 - 2x , y = 0 และ y = 2

12. Fv (x, y, z) = (x 222 zyx( ++ , y 222 zyx( ++ , z 222 zyx( ++ )S เปนพ้ืนผิวของรูปทรงที่ปดลอมดวยทรงกระบอก 2x + 2y = 4 และระนาบ z = 0, z = 3

13. Fv (x, y, z) = (x, y, z)S เปนพ้ืนผิวทรงกลม 2x + 2y + 2z = 4

14. Fv (x, y, z) = (x + y, y + z, z + x)S เปนพ้ืนผิวของทรงสี่หนาในอัฐภาคที่ 1 ที่ปดลอมดวยระนาบ XY, YZ, ZX และ x + y + z = 1

15. Fv (x, y, z) = ( 3x , 3y , 3z )S เปนพ้ืนผิวของรูปทรงที่ปดลอมดวยทรงกระบอก 2x + 2y = 9 และระนาบ z = -1, z = 4

16. Fv (x, y, z) = ( 2x + yze− , y + sin(xz), cos(xy))S เปนพ้ืนผิวของทรงสี่หนาในอัฐภาคที่ 1 ที่ปดลอมดวยระนาบ XY, YZ, ZX และ x + y + z = 1

Calculus III page 37 / 38

Page 38: 6 - 1 6 - 2 6.1 บทที่ 6 ในเนื้อหาแคลคูลัส เราได เคยศึกษา ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~tdumrong/2301217/... ·

บทที่ 6 อินทิกรัลตามพื้นผิว6 - 12117. F

v (x, y, z) = (x, y, 3)S เปนพ้ืนผิวของรูปทรงที่ปดลอมดวยพาราโบลอยด z = 2x + 2y และระนาบ z = 4

18. Fv (x, y, z) = (x + y, y + z, z + x)18.1 S เปนพ้ืนผิวของรูปทรงตัน {(x, y, z) | 0 ≤ z ≤ 4 - 2x - 2y และ 0 ≤ 2x + 2y ≤ 4}18.2 S เปนพ้ืนผิวของรูปทรงตัน

{(x, y, z) | -4 + 2x + 2y ≤ z ≤ 4 - 2x - 2y และ 0 ≤ 2x + 2y ≤ 4}18.3 S เปนพ้ืนผิวของรูปทรงตัน {(x, y, z) | 0 ≤ 2x + 2y ≤ 9 และ 0 ≤ z ≤ 5}18.4 S เปนพ้ืนผิวของรูปทรงตัน {(x, y, z) | -1 ≤ x ≤ 1, -1 ≤ y ≤ 1 และ -1 ≤ z ≤ 1}

19. Fv (x, y, z) = (xy, yz, xz)S เปนพ้ืนผิวของรูปทรงตัน {(x, y, z) | 0 ≤ x ≤ 1, 0 ≤ y ≤ 1 และ 0 ≤ z ≤ 1}

20. Fv (x, y, z) = (y - x, z - y, y - x)S เปนพ้ืนผิวของรูปทรงตัน {(x, y, z) | -1 ≤ x ≤ 1, -1 ≤ y ≤ 1 และ -1 ≤ z ≤ 1}

21. Fv (x, y, z) = (y, xy, -z)S เปนพ้ืนผิวของรูปทรงตัน {(x, y, z) | 0 ≤ z ≤ 4 - 2x - 2y และ 0 ≤ 2x + 2y ≤ 4}

22. Fv (x, y, z) = ( 2x , -2xy, 3xz)S เปนพ้ืนผิวของรูปทรงตันที่ปดลอมดวยทรงกลม 2x + 2y + 2z = 4 ในอัฐภาคที่ 1

23. Fv (x, y, z) = ( 222 zyx ++ (x, y, z))S เปนพ้ืนผิวของรูปทรงตัน {(x, y, z) | 1 ≤ 2x + 2y + 2z ≤ 2}

เฉลยแบบฝกหัด 6.81. 108π 2. 60 3. 3

64π 4. 4π5. 1176π 6. 3

20π 7. 316π 8. 1

9. 36 10. 512π 11. 8 12. 300π

13. 4π 14. 21 15. 2

2385π 16. 41

17. 16π18. 18.1 24π 18.2 48π 18.3 135π 18.4 2419. 2

3 20. -16 21. -8π 22. 3π23. 12π

Calculus III page 38 / 38