5 a % 0 ’ # # # # ! 5 h @ 5 h ’ ÷ -13).pdf · 2 e-learning คือ การเรียน...

47
บทที2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวของ 2.1 คําศัพทที่เกี่ยวของ 2.1.1 นิยาม/คําศัพท E-learning หมายถึง การเรียนผานทางสื่ออิเล็กทรอนิกสซึ่งใชการนําเสนอเนื้อหาทาง คอมพิวเตอร ในรูปของสื่อ มัลติมีเดีย ไดแก ขอความอิเล็กทรอนิกส ภาพนิ่ง ภาพกราฟก ภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติ ฯลฯ e-learning เปนการ สรางสิ่งแวดลอม ทางการเรียนใหมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพราะมีงานวิจัยหลายชิ้นที่สนับสนุนวา เนื้อหาการเรียน ซึ่งถูก ถายทอดผานทาง มัลติมีเดียนั้นสามารถทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดีกวาการเรียนจากสื่อขอควา เพียงอยางเดียว นอกจากนี้การที่เนื้อหาการ เรียนอยูในรูปของขอความอิเล็กทรอนิกส (e-text) ซึ่ง ไดแก ขอความซึ่งไดรับการจัดเก็บ ประมวล นําเสนอ และเผยแพรทาง คอมพิวเตอรจึงทําใหมีขอ ไดเปรียบสื่ออื่น ๆ หลายประการ โดยเฉพาะอยางยิ่งในดาน การเขาถึงขอมูลที่ตองการ ดวยความ สะดวกและรวดเร็วความคงทนของขอมูล รวมทั้งความสามารถในการทําขอมูลใหทันสมัยอยู ตลอดเวลา 1999 คุณ Campbell ไดใหความหมายบทเรียนออนไลน ( Online) e-Learning (อีเลิรนนิ่ง) คือ การใชเทคโนโลยีที่มีอยูในเครือขาย อินเทอรเน็ต (Internet) สรางการศึกษาที่มี ปฏิสัมพันธ และการศึกษาที่มีคุณภาพสูง ที่ผูคนทั่วโลกมีความสะดวก และสามารถเขาถึงไดอยาง รวดเร็ว ไมจํากัดสถานที่และเวลา เปนการเปดประตูการศึกษาตลอดชีวิตใหกับประชากร " 2000 คุณ Krutus ไดใหคํานิยามไววาบทเรียนออนไลน ( Online) อีเลิรนนิ่ง (e-Learning) หมายถึง รูปแบบของเนื้อหาสาระที่สรางเปนบทเรียนออนไลนสําเร็จรูป ที่อาจใช ซีดีรอม (CD-ROM) เปนสื่อกลางในการสงผาน หรือใชการสงผานอินเทอรเน็ต (Internet) หรือ เครือขายภายใน ทั้งนี้อาจจะอยูในรูปแบบคอมพิวเตอรชวยการฝกอบรม ( Computer Based Training: CBT) และการใชเว็บเพื่อการฝกอบรม (Web Based Training: WBT) หรือการเรียนการ สอนทางไกล (Distance Learning) ผานดาวเทียมก็ได

Upload: others

Post on 31-May-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

บทที่ 2ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เก่ียวของ

2.1 คําศัพทท่ีเกี่ยวของ2.1.1 นิยาม/คําศัพท

E-learning หมายถึง การเรียนผานทางสื่ออิเล็กทรอนิกสซึ่งใชการนําเสนอเน้ือหาทางคอมพิวเตอร ในรูปของสื่อ มัลติมีเดีย ไดแก ขอความอิเล็กทรอนิกส ภาพน่ิง ภาพกราฟกภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติ ฯลฯ e-learning เปนการ สรางสิ่งแวดลอม ทางการเรียนใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งน้ีเพราะมีงานวิจัยหลายชิ้นที่สนับสนุนวา เน้ือหาการเรียน ซึ่งถูกถายทอดผานทาง มัลติมีเดียน้ันสามารถทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดีกวาการเรียนจากสื่อขอความเพียงอยางเดียว นอกจากน้ีการที่เน้ือหาการ เรียนอยูในรูปของขอความอิเล็กทรอนิกส (e-text) ซึ่งไดแก ขอความซึ่งไดรับการจัดเก็บ ประมวล นําเสนอ และเผยแพรทาง คอมพิวเตอรจึงทําใหมีขอไดเปรียบสื่ออ่ืน ๆ หลายประการ โดยเฉพาะอยางยิ่งในดาน การเขาถึงขอมูลที่ตองการ ดวยความสะดวกและรวดเร็วความคงทนของขอมูล รวมทั้งความสามารถในการทําขอมูลใหทันสมัยอยูตลอดเวลา

ป 1999 คุณ Campbell ไดใหความหมายบทเรียนออนไลน (Online) e-Learning(อีเลิรนน่ิง) คือ การใชเทคโนโลยีที่มีอยูในเครือขาย อินเทอรเน็ต (Internet) สรางการศึกษาที่มีปฏิสัมพันธ และการศึกษาที่มีคุณภาพสูง ที่ผูคนทั่วโลกมีความสะดวก และสามารถเขาถึงไดอยางรวดเร็ว ไมจํากัดสถานที่และเวลา เปนการเปดประตูการศึกษาตลอดชีวิตใหกับประชากร"

ป 2000 คุณ Krutus ไดใหคํานิยามไววาบทเรียนออนไลน (Online) อีเลิรนน่ิง(e-Learning) หมายถึง รูปแบบของเน้ือหาสาระที่สรางเปนบทเรียนออนไลนสําเร็จรูป ที่อาจใชซีดีรอม (CD-ROM) เปนสื่อกลางในการสงผาน หรือใชการสงผานอินเทอรเน็ต (Internet) หรือเครือขายภายใน ทั้งน้ีอาจจะอยูในรูปแบบคอมพิวเตอรชวยการฝกอบรม (Computer BasedTraining: CBT) และการใชเว็บเพื่อการฝกอบรม (Web Based Training: WBT) หรือการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) ผานดาวเทียมก็ได

Page 2: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

5

จากเว็บไซต http://www.capella.edu/elearning ไดใหความหมายบทเรียนออนไลน(Online) e-Learning (อีเลิรนน่ิง) คือ นวัตกรรมทางการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงวิธีเรียนที่เปนอยูเดิมเปนการเรียนที่ใชเทคโนโลยีที่กาวหนา เชน อินทราเน็ต (Intranet) เอ็กซทราเน็ต (Extranet)อินเตอรเน็ต (Internet) ดาวเทียม แผนซีดี (CD) วีดิโอเทป (VDO Tape) ฯลฯ ดังน้ันจึงหมายรวมถึงการเรียนทางไกล (Distance Learning) การเรียนผานเว็บ หองเรียนเสมือนจริง (Virtualclassroom) ซึ่งมีจุดเชื่อมโยงคือ เทคโนโลยีการสื่อสารเปนสื่อกลางของการเรียนรู

ผศ.ดร.ถนอมพร (ตันพิพัฒน) เลาหจรัสแสง จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดใหคําจํากัดความไว 2 ความหมาย คือบทเรียนออนไลน (Online) อีเลิรนน่ิง (e-Learning)

ความหมายแรกบทเรียนออนไลน (Online) อีเลิรนน่ิง (e-Learning) หมายถึง การเรียนเน้ือหา หรือสารสนเทศสําหรับการสอน หรือการอบรม ซึ่งใชการนําเสนอดวยตัวอักษร (Text)ภาพน่ิง (Image) ผสมผสานกับการใชภาพเคลื่อนไหว (Animation) วีดิทัศน และเสียง (Sound) โดยอาศัยเทคโนโลยีของเว็บ (Web Technology) ในการถายทอดเน้ือหา รวมทั้งใชเทคโนโลยีการจัดการคอรส (Course Management System) ในการบริหารจัดการงานสอนตางๆ

ความหมายที่สองบทเรียนออนไลน (Online) อีเลิรนน่ิง (e-Learning) คือ การเรียนในลักษณะใดก็ได ซึ่งใชการถายทอดเน้ือหาผานทางอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ไมวาจะเปนคอมพิวเตอร(Computer) เครือขายอินทราเน็ต (Intranet) อินเตอรเน็ต (Internet) เอ็กซทราเน็ต (Extranet) หรือสัญญาณโทรทัศน สัญญาณดาวเทียม

ดร. สุรสิทธิ์ วรรณไกรโรจน ผูอํานวยการโครงการการเรียนรูแบบออนไลนแหงสวทช. ไดใหคําจํากัดความของ บทเรียนออนไลน (Online) e-Learning (อีเลิรนน่ิง) คือ การเรียนรูแบบออนไลน หรือ e-learning (อีเลิรนน่ิง) การศึกษา เรียนรูผานเครือขายคอมพิวเตอรอินเทอรเน็ต(Internet) หรืออินทราเน็ต(Intranet) เปนการเรียนรูดวยตัวเอง ผูเรียนจะไดเรียนตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเน้ือหาของบทเรียนซึ่งประกอบดวย ขอความ รูปภาพ เสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอ่ืนๆ จะถูกสงไปยังผูเรียนผาน Web Browser โดยผูเรียน ผูสอน และเพื่อนรวมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดตอ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางกันไดเชนเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัยเคร่ืองมือการติดตอ สื่อสารที่ทันสมัย เชน e-mail, webboard, chat) จึงเปนการเรียนสําหรับทุกคน, เรียนไดทุกเวลา และทุกสถานที่ (Learn for all : anyone, anywhere andanytime)

Page 3: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

6

นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย และ นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช ไดใหความหมายบทเรียนออนไลน (Online) อีเลิรนน่ิง (e-Learning) คือ การใชทรัพยากรตางๆ ในระบบอินเตอร เน็ต(Internet) มาออกแบบและจัดระบบเพื่อสรางระบบการเรียนการสอน โดยการสนับสนุนและสงเสริมใหเกิดการเรียนรูอยางมีความหมายตรงกับความตองการของผูสอน และผูเรียน เชื่อมโยงระบบเปนเครือขายที่สามารถเรียนรูไดทุกที่ ทุกเวลา และทุกคน สามารถประเมิน ติดตามพฤติกรรมผูเรียนได เสมือนการเรียนในหองเรียนจริง โดยสามารถพิจารณาไดจากคุณลักษณะ ดังน้ี

- เว็บไซตที่เกี่ยวของกับการศึกษา เกี่ยวของกับเน้ือหารายวิชาใด วิชาหน่ึงเปนอยางนอยหรือการศึกษาตามอัธยาศัย

- ผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง จากทุกที่ทุกเวลาโดยอิสระ- ผูเรียนมีอิสระในการเรียน การบรรลุจุดประสงคการเรียนรูแตละเน้ือหา ไมจําเปนตอง

เหมือนกัน หรือพรอมกับผูเรียนรายอ่ืน- มีระบบปฏิสัมพันธกับผูเรียน และสามารถเรียนรูรวมกันได- มีเคร่ืองมือที่วัดผลการเรียนได- มีการออกแบบการเรียนการสอนอยางมีระบบ- ผูสอนมีสภาพเปนผูชวยเหลือผูเรียนในการคนหา การประเมิน การใชประโยชนจากเน้ือหา

จากสื่อรูปแบบตางๆ ที่มีใหบริการ- มีระบบบริหารจัดการการเรียนรู (Learning Management System/LMS)- มีระบบบริหารจัดการเน้ือหา/หลักสูตร (Content Management System/CMS)

คําวา e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได ซึ่งการถายทอดเน้ือหาน้ัน กระทําผานทางสื่ออิเล็กทรอนิกส เชน ซีดีรอม เครือขายอินเทอรเน็ต อินทราเน็ตเอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) ฯลฯ เปนตน ซึ่งการเรียนลักษณะน้ีไดมีการนําเขาสูตลาดเมืองไทยในระยะหน่ึงแลว เชน คอมพิวเตอรชวยสอนดวยซีดีรอม, การเรียนการสอนบนเว็บ (Web-Based Learning), การเรียนออนไลน (On-line Learning)การเรียนทางไกลผานดาวเทียม หรือ การเรียนดวยวีดีโอผานออนไลน เปนตน

ในปจจุบัน คนสวนใหญมักจะใชคําวา e-Learning กับการเรียน การสอน หรือการอบรมที่ใชเทคโนโลยีของเว็บ (Web Based Technology) ในการถายทอดเน้ือหา รวมถึงเทคโนโลยีระบบการจัดการหลักสูตร (Course Management System) ในการบริหารจัดการงานสอนดานตางๆ โดยผูเรียนที่เรียนดวยระบบ e-Learning น้ีสามารถศึกษาเน้ือหาในลักษณะออนไลน หรือ จากแผนซีดีรอม ก็ได และที่สําคัญอีกสวนคือ เน้ือหาตางๆ ของ e-Learning สามารถนําเสนอโดยอาศัย

Page 4: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

7

เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology) และเทคโนโลยีเชิงโตตอบ (InteractiveTechnology)

คําวา e-Learning น้ันมีคําที่ใชไดใกลเคียงกันอยูหลายคําเชน Distance Learning (การเรียนทางไกล) Computer based training (การฝกอบรมโดยอาศัยคอมพิวเตอร หรือเรียกยอๆวา CBT)online learning (การเรียนทางอินเตอรเน็ต) เปนตน ดังน้ัน สรุปไดวา ความหมายของ e-Learningคือ รูปแบบของการเรียนรูดวยตนเอง โดยอาศัยเครือขายคอมพิวเตอร หรือสื่ออิเลคทรอนิกสในการถายทอดเร่ืองราว และเน้ือหา โดยสามารถมีสื่อในการนําเสนอบทเรียนไดต้ังแต 1 สื่อขึ้นไป และการเรียนการสอนน้ันสามารถที่จะอยูในรูปของการสอนทางเดียว หรือการสอนแบบปฎิสัมพันธได

2.1.2 เปรียบเทียบรูปแบบการเรียนการสอน

ตารางท่ี 2-1 แสดงการเปรียบเทียบรูปการเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติกับชั้นเรียนออนไลน

ชั้นเรียนปกติ ชั้นเรียนออนไลน1.ผูเรียนน่ังฟงบรรยายในชั้นเรียน 1.ใชระบบวิดีทัศนออนดีมานตผานทางเว็บเพจ

ที่ผูเรียนสามารถเรียกดูไดหรือสามารถเก็บไฟลไวดูเอง

2.ผูเรียนคนควาจากหองสมุด หรือคนหาจากสิ่งตีพิมพตางๆ

2.ใชการคนหาผานทางเว็บ เชน Search engineตาง ๆ

3. ปฏิบัติในหองทดลองหรือการปฏิบัติจริง ในสถานการณ

3. ใชการเรียนรูแบบโมดูล การใชแบบจําลองออนไลน online simulation

4. เรียนรูจากการโตตอบหรือสนทนาใน ชั้นเรียน

4.ใชระบบกระดานถาม-ตอบอิเล็กทรอนิกสชวยให การสนทนาดีกวาในแงสิ่งแวดลอมที่เปนชั้นเรียน ปกติเมื่อผูเรียนมีจํานวนมาก

5.ถูกจํากัดดวยเวลาและสถานที่ 5. ไมถูกจํากัดดวยเวลาและสถานที่

Page 5: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

8

2.1.3 ประโยชนของ e-learning2.1.3.1 ยืดหยุนในการปรับเปลี่ยนเน้ือหา และ สะดวกในการเรียน

การเรียนการสอนผานระบบ e-Learning น้ันงายตอการแกไขเน้ือหา และกระทําไดตลอดเวลา เพราะสามารถกระทําไดตามใจของผูสอน เน่ืองจากระบบการผลิตจะใชคอมพิวเตอรเปนองคประกอบหลัก นอกจากน้ีผูเรียนก็สามารถเรียนโดยไมจํากัดเวลา และสถานที่

2.1.3.2 เขาถึงไดงายผูเรียน และผูสอนสามารถเขาถึง e-learning ไดงาย โดยมากจะใช web browser

ของคายใดก็ได (แตทั้งน้ีตองขึ้นอยูกับผูผลิตบทเรียน อาจจะแนะนําใหใช web browser แบบใดที่เหมาะกับสื่อการเรียนการสอนน้ันๆ) ผูเรียนสามารถเรียนจากเคร่ืองคอมพิวเตอรที่ใดก็ได และในปจจุบันน้ี การเขาถึงเครือขายอินเตอรเน็ตกระทําไดงายขึ้นมาก และยังมีคาเชื่อมตออินเตอรเน็ตที่มีราคาตํ่าลงมากวาแตกอนอีกดวย

2.1.3.3 ปรับปรุงขอมูลใหทันสมัยกระทําไดงายเน่ืองจากผูสอน หรือผูสรางสรรคงาน e-Learning จะสามารถเขาถึง server ได

จากที่ใดก็ได การแกไขขอมูล และการปรับปรุงขอมูล จึงทําไดทันเวลาดวยความรวดเร็ว2.1.3.4 ประหยัดเวลา และคาเดินทาง

ผูเรียนสามารถเรียนโดยใชเคร่ืองคอมพิวเตอรเคร่ืองใดก็ได โดยจําเปนตองไปโรงเรียน หรือที่ทํางาน รวมทั้งไมจําเปนตองใชเคร่ืองคอมพิวเตอรเคร่ืองประจําก็ได ซึ่งเปนการประหยัดเวลามาก การเรียน การสอน หรือการฝกอบรมดวยระบบ e-Learning น้ี จะสามารถประหยัดเวลาถึง 50% ของเวลาที่ใชครูสอนหรืออบรม

2.1.4 ปจจัยท่ีชวยสนับสนุนใหเกิด e-learning2.1.4.1 นโยบายดานการศึกษาของชาติ2.1.4.2 วสิัยทัศนของผูบริหารการศึกษาทุกระดับ2.1.4.3 ความรูความสามารุดาน IT ของครู/อาจารย2.1.4.4 ความพรอมดานฮารดแวร และเครือขายคอมพิวเตอร2.1.4.5 ความพรอมดานซอฟแวร2.1.4.6 ความพรอมของ Multimedia ที่มีคุณภาพ2.1.4.7 การสนับสนุนดานงบประมาณอยางตอเน่ือง

Page 6: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

9

2.2 ระบบฐานขอมูล (Database System)2.2.1 ประวัติ

ฐานขอมูลในลักษณะที่คลายกับฐานขอมูลสมัยใหม ถูกพัฒนาเปนคร้ังแรกในทศวรรษ1960 ซึ่งผูบุกเบิกในสาขาน้ีคือ ชาลส บากแมน แบบจําลองขอมูลสําคัญสองแบบเกิดขึ้นในชวงเวลาน้ี ซึ่งเร่ิมตนดวย แบบจําลองขายงาน (พัฒนาโดย CODASYL) และตามดวยแบบจําลองเชิงลําดับชั้น(นําไปปฏิบัติใน IMS) แบบจําลองทั้งสองแบบน้ี ในภายหลังถูกแทนที่ดวย แบบจําลองเชิงสัมพันธซึ่งอยูรวมสมัยกับแบบจําลองอีกสองแบบ แบบจําลองแบบแรกเรียกกันวา แบบจําลองแบนราบ ซึ่งออกแบบสําหรับงานที่มีขนาดเล็กมาก ๆ แบบจําลองรวมสมัยกับแบบจําลองเชิงสัมพันธอีกแบบ คือฐานขอมูลเชิงวัตถุ หรือ โอโอดีบ3ี (OODB)

ในขณะที่แบบจําลองเชิงสัมพันธ มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีเซต ไดมีการเสนอแบบจําลองดัดแปลงซึ่งใชทฤษฎีเซตคลุมเครือ (ซึ่งมีพื้นฐานมาจากตรรกะคลุมเครือ) ขึ้นเปนอีกทางเลือกหน่ึง

ปจจุบันมีการกลาวถึงมาตรฐานโครงสรางฐานขอมูล เพื่อใหสามารถเชื่อมโยงฐานขอมูลตางระบบ ใหสืบคนรวมกันเสมือนเปนฐานขอมูลเดียวกัน และการสืบคนตองแสดงผลตรงตามคําถาม มาตรฐานดังกลาวไดแก XML RDF Dublin Core Metadata เปนตน และสิ่งสําคัญอีกประการหน่ึงที่จะชวยใหการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางตางหนวยงานไดดี คือการใช Taxonomy และอรรถาภิธาน ซึ่งเปนเคร่ืองมือสําหรับจัดการความรูในลักษณะศัพทควบคุม เพื่อจํากัดความหมายของคําที่ใชไดหลายคําในความหมายเดียวกัน

2.2.2 ระบบฐานขอมูล (Database System)ฐานขอมูลเปนการจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบ ทําใหผูใชสามารถใชขอมูลที่เกี่ยวของใน

ระบบงานตาง ๆ รวมกันได โดยที่จะไมเกิดความซ้ําซอนของขอมูล และยังสามารถหลีกเลี่ยงความขัดแยงของขอมูลดวย อีกทั้งขอมูลในระบบก็จะถูกตองเชื่อถือได และเปนมาตรฐานเดียวกัน โดยจะมีการกําหนดระบบความปลอดภัยของขอมูลขึ้น

นับไดวาปจจุบันเปนยุคของสารสนเทศ เปนที่ยอมรับกันวา สารสนเทศเปนขอมูลที่ผานการกลั่นกรองอยางเหมาะสม สามารถนํามาใชประโยชนอยางมากมาย ไมวาจะเปนการนํามาใชงานดานธุรกิจ การบริหาร และกิจการอ่ืน ๆ องคกรที่มีขอมูลปริมาณมาก ๆ จะพบความยุงยากลําบากในการจัดเก็บขอมูล ตลอดจนการนําขอมูลที่ตองการออกมาใชใหทันตอเหตุการณ ดังน้ันคอมพิวเตอรจึงถูกนํามาใชเปนเคร่ืองมือชวยในการจัดเก็บขอมูล การประมวลผลขอมูล ซึ่งทําใหระบบการจัดเก็บขอมูลเปนไปไดสะดวก ทั้งน้ีโปรแกรมแตละโปรแกรมจะตองสรางวิธีควบคุมและจัดการกับขอมูลขึ้นเอง ฐานขอมูลจึงเขามามีบทบาทสําคัญอยางมาก โดยเฉพาะระบบงานตาง ๆ ที่ใช

Page 7: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

10

คอมพิวเตอร การออกแบบและพัฒนาระบบฐานขอมูล จึงตองคํานึงถึงการควบคุมและการจัดการความถูกตองตลอดจนประสิทธิภาพในการเรียกใชขอมูลดวย

ระบบฐานขอมูล (Database System) หมายถึง โครงสรางสารสนเทศที่ประกอบดวยรายละเอียดของขอมูลที่เกี่ยวของกันที่จะนํามาใชในระบบตาง ๆ รวมกัน

ระบบฐานขอมูล จึงนับวาเปนการจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบ ซึ่งผูใชสามารถจัดการกับขอมูลไดในลักษณะตาง ๆ ทั้งการเพิ่ม การแกไข การลบ ตลอดจนการเรียกดูขอมูล ซึ่งสวนใหญจะเปนการประยุกตนําเอาระบบคอมพิวเตอรเขามาชวยในการจัดการฐานขอมูล

ระบบฐานขอมูล (database) หมายถึง กลุมของขอมูลที่มีความสัมพันธกันและถูกนํามาจัดเก็บในที่เดียวกัน โดยขอมูลอาจเก็บไวในแฟมขอมูลเดียวกันหรือแยกเก็บหลาย ๆ แฟมขอมูล แตตองมีการสรางความสัมพันธระหวางขอมูลเพื่อประสิทธิภาพในการจัดการขอมูลในการจัดเก็บขอมูลในระบบฐานขอมูลมีขอดีกวาการจัดเก็บขอมูลในระบบแฟมขอมูลพอสรุปประเด็นหลัก ๆ ไดดังน้ี

2.2.2.1 มีการใชขอมูลรวมกัน (data sharing)2.2.2.2 ลดความซ้ําซอนของขอมูล (reduce data redundancy)2.2.2.3 ขอมูลมีความถูกตองมากขึ้น (improved data integrity)2.2.2.4 เพิ่มความปลอดภัยใหกับขอมูล (increased security)2.2.2.5 มีความเปนอิสระของขอมูล (data independency)

2.2.3 นิยามและคําศัพทพื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานขอมูล2.2.3.1 บิท (Bit) หมายถึง หนวยของขอมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด2.2.3.2 ไบท (Byte) หมายถึง หนวยของขอมูลที่เกิดจากการนําบิทมารวมกันเปนตัว

อักขระ2.2.3.3 เขตขอมูล (Field) หมายถึง หนวยของขอมูลที่ประกอบขึ้นจากตัวอักขระต้ังแต

หน่ึงตัวขึ้นไปมารวมกันแลวไดความหมายของสิ่งใดสิ่งหน่ึง เชน ชื่อ ที่อยู เปนตน2.2.3.4 ระเบียน (Record) หมายถึง หนวยของขอมูลที่เกิดจากการนเอาเขตขอมูลหลาย ๆ

เขตขอมูลมารวมกัน เพื่อเกิดเปนขอมูลเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง เชน ขอมูลของนักศึกษา 1 ระเบียน (1 คน)จะประกอบดวย

รหัสประจําตัวนักศึกษา 1 เขตขอมูลชื่อนักศึกษา 1 เขตขอมูลที่อยู 1 เขตขอมูล

Page 8: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

11

2.2.3.5 แฟมขอมูล (File) หมายถึงหนวยของขอมูลที่เกิดจากการนําขอมูลหลาย ๆระเบียนที่เปนเร่ืองเดียวกันมารวมกัน เชน แฟมขอมูลนักศึกษา แฟมขอมูลลูกคา แฟมขอมูลพนักงาน

2.2.4 สวนในระบบฐานขอมูล มีคําศัพทตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของดังน้ี2.2.4.1 เอนทิต้ี (Entity) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหน่ึง ไดแก คน สถานที่ สิ่งของ การ

กระทํา ซึ่งตองการจัดเก็บขอมูลไว เชน เอนทิต้ีลูกคา เอนทิต้ีพนักงาน2.2.4.1.1 เอนทิต้ีชนิดออนแอ (Weak Entity) เปนเอนทิต้ีที่ไมมีความหมาย หาก

ขาดเอนทิต้ีอ่ืนในฐานขอมูล2.2.4.1.2 แอททริบิวต (Attribute) หมายถึง รายละเอียดขอมูลที่แสดงลักษณะ

และคุณสมบัติของเอนทิต้ีหน่ึง ๆ เชนเอนทิต้ีนักศึกษา ประกอบดวย

- แอทริบิวตรหัสนักศึกษา- แอททริบิวตชื่อนักศึกษา- แอททริบิวตที่อยูนักศึกษา

2.2.4.2 ความสัมพันธ (Relationships) หมายถึง ความสัมพันธระหวางเอนทิต้ี เชนความสัมพันธระหวางเอนทิต้ีนักศึกษาและเอนทิต้ีคณะวิชา เปนลักษณะวานักศึกษาแตละคนเรียนอยูคณะวิชาใดคณะวิชาหน่ึง

ในการแสดงความสัมพันธระหวางเอนทิต้ี เราจะใชหัวลูกศรเพื่อแสดงความสัมพันธ ดังตัวอยางในรูปตอไปน้ี

คณะวิชา นักศึกษา (คณะวิชามีความสัมพันธกับนักศึกษา)

ในการระบุความสัมพันธระหวางเอนทิต้ี จะกําหนดโดยใชหัวลูกศร และหากพิจารณาความสัมพันธจากเอนทิต้ีนักศึกษาไปยังเอนทิต้ีคณะวิชา อาจจะกําหนดความสัมพันธไดดังน้ี

คณะวิชา นักศึกษา (นักศึกษาสังกัดอยูคณะวิชา)

Page 9: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

12

และหากพิจารณาความสัมพันธจากเอนทิต้ีคณะวิชาไปยังเอนทิต้ีนักศึกษา อาจกําหนดความสัมพันธไดดังน้ี

คณะวิชา นักศึกษา (คณะวิชาประกอบดวยนักศึกษา)

จะเห็นไดวา นักศึกษา 1 คนจะสามารถสังกัดอยูไดเพียง 1 คณะวิชา แตถาหากพิจารณาจากรูปจะเห็นไดวา 1 คณะวิชาสามารถประกอบดวยนักศึกษาหลาย ๆ คน

2.2.5 ความสัมพันธระหวางเอนทิตี้ แบงออกเปน 3 ประเภท คือ2.2.5.1 ความสัมพันธแบบหน่ึงตอหน่ึง (One-to-one Relationships) เปนการแสดง

ความสัมพันธของขอมูลในเอนทิต้ีหน่ึงที่มีความสัมพันธกับขอมูลในอีกเอนทิต้ีหน่ึง ในลักษณะหน่ึงตอหน่ึง (1 : 1)

2.2.5.2 ความสัมพันธแบบหน่ึงตอกลุม (One-to-many Relationships) เปนการแสดงความสัมพันธของขอมูลในเอนทิต้ีหน่ึง ที่มีความสัมพันธกับขอมูลหลาย ๆ ขอมูลในอีกเอนทิต้ีหน่ึงในลักษณะ (1 : m)

2.2.5.3 ความสัมพันธแบบกลุมตอกลุม (Many-to-many Relationships) เปนการแสดงความสัมพันธของขอมูลสองเอนทิต้ีในลักษณะกลุมตอกลุม (m:n) ตัวอยางเชน

เอนทิต้ีใบสั่งซื้อแตละใบจะสามารถสั่งสินคาไดมากกวาหน่ึงชนิด ความสัมพันธของขอมูลจากเอนทิต้ีใบสั่งซื้อไปยังเอนทิต้ีสินคา จึงเปนแบบหน่ึงตอกลุม (1:m) ในขณะที่สินคาแตละชนิด จะถูกสั่งอยูในใบสั่งซื้อหลายใบ ความสัมพันธของขอมูลจากเอนทิต้ีสินคาไปยัง เอนทิต้ีใบสั่งซื้อ จึงเปนแบบหน่ึงตอกลุม (1:n) ดังน้ันความสัมพันธของเอนทิต้ีทั้งสอง จึงเปนแบบกลุมตอกลุม (m:n)

จากคําศัพทตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับระบบฐานขอมูลที่ไดกลาวมาแลวขางตน จึงอาจใหนิยามของฐานขอมูลในอีกลักษณะไดวา “ฐานขอมูล” อาจหมายถึง โครงสรางสารสนเทศ ที่ประกอบดวยหลาย ๆ เอนทิต้ีที่มีความสัมพันธกัน

2.2.6 ความสําคัญของการประมวลผลแบบระบบฐานขอมูลจากการจัดเก็บขอมูลรวมเปนฐานขอมูลจะกอใหเกิดประโยชนดังน้ี2.2.6.1 สามารถลดความซ้ําซอนของขอมูลได

การเก็บขอมูลชนิดเดียวกันไวหลาย ๆ ที่ ทําใหเกิดความซ้ําซอน (Redundancy)ดังน้ันการนําขอมูลมารวมเก็บไวในฐานขอมูล จะชวยลดปญหาการเกิดความซ้ําซอนของขอมูลได

Page 10: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

13

โดยระบบจัดการฐานขอมูล (Database Management System : DBMS) จะชวยควบคุมความซ้ําซอนได เน่ืองจากระบบจัดการฐานขอมูลจะทราบไดตลอดเวลาวามีขอมูลซ้ําซอนกันอยูที่ใดบาง

2.2.6.2 หลีกเลี่ยงความขัดแยงของขอมูลไดหากมีการเก็บขอมูลชนิดเดียวกันไวหลาย ๆ ที่และมีการปรับปรุงขอมูลเดียวกันน้ี

แตปรับปรุงไมครบทุกที่ที่มีขอมูลเก็บอยูก็จะทําใหเกิดปญหาขอมูลชนิดเดียวกัน อาจมีคาไมเหมือนกันในแตละที่ที่เก็บขอมูลอยู จึงกอใหเกิดความขัดแยงของขอมูลขึ้น (Inconsistency)

2.2.6.3 สามารถใชขอมูลรวมกันไดฐานขอมูลจะเปนการจัดเก็บขอมูลรวมไวดวยกัน ดังน้ันหากผูใชตองการใชขอมูล

ในฐานขอมูลที่มาจากแฟมขอมูลตางๆ ก็จะทําไดโดยงาย2.2.6.4 สามารถรักษาความถูกตองเชื่อถือไดของขอมูล

บางคร้ังพบวาการจัดเก็บขอมูลในฐานขอมูลอาจมีขอผิดพลาดเกิดขึ้น เชน จากการที่ผูปอนขอมูลปอนขอมูลผิดพลาดคือปอนจากตัวเลขหน่ึงไปเปนอีกตัวเลขหน่ึง โดยเฉพาะกรณีมีผูใชหลายคนตองใชขอมูลจากฐานขอมูลรวมกัน หากผูใชคนใดคนหน่ึงแกไขขอมูลผิดพลาดก็ทําใหผูอ่ืนไดรับผลกระทบตามไปดวย ในระบบจัดการฐานขอมูล (DBMS) จะสามารถใสกฎเกณฑเพื่อควบคุมความผิดพลาดที่เกดขึ้น

2.2.6.5 สามารถกําหนดความเปนมาตรฐานเดียวกันของขอมูลไดการเก็บขอมูลรวมกันไวในฐานขอมูลจะทําใหสามารถกําหนดมาตรฐานของ

ขอมูลไดรวมทั้งมาตรฐานตาง ๆ ในการจัดเก็บขอมูลใหเปนไปในลักษณะเดียวกันได เชนการกําหนดรูปแบบการเขียนวันที่ ในลักษณะ วัน/เดือน/ป หรือ ป/เดือน/วัน ทั้งน้ีจะมีผูที่คอยบริหารฐานขอมูลที่เราเรียกวา ผูบริหารฐานขอมูล (Database Administrator : DBA) เปนผูกําหนดมาตรฐานตางๆ

2.2.6.6 สามารถกําหนดระบบความปลอดภัยของขอมูลไดระบบความปลอดภัยในที่น้ี เปนการปองกันไมใหผูใชที่ไมมีสิทธิมาใช หรือมา

เห็นขอมูลบางอยางในระบบ ผูบริหารฐานขอมูลจะสามารถกําหนดระดับการเรียกใชขอมูลของผูใชแตละคนไดตามความเหมาะสม

2.2.6.7 เกิดความเปนอิสระของขอมูลในระบบฐานขอมูลจะมีตัวจัดการฐานขอมูล ที่ทําหนาที่เปนตัวเชื่อมโยงกับ

ฐานขอมูล โปรแกรมตาง ๆ อาจไมจําเปนตองมีโครงสรางขอมูลทุกคร้ัง ดังน้ันการแกไขขอมูลบางคร้ัง จึงอาจกระทําเฉพาะกับโปรแกรมที่เรียกใชขอมูลที่เปลี่ยนแปลงเทาน้ัน สวนโปรแกรมที่ไมไดเรียกใชขอมูลดังกลาว ก็จะเปนอิสระจากการเปลี่ยนแปลง

Page 11: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

14

2.2.7 รูปแบบของระบบฐานขอมูลรูปแบบของระบบฐานขอมูล มีอยูดวยกัน 3 ประเภท คือ2.2.7.1 ฐานขอมูลเชิงสัมพันธ (Relational Database)

เปนการเก็บขอมูลในรูปแบบที่เปนตาราง (Table) หรือเรียกวา รีเลชั่น (Relation)มีลักษณะเปน 2 มิติ คือเปนแถว (row) และเปนคอลัมน (column) การเชื่อมโยงขอมูลระหวางตารางจะเชื่อมโยงโดยใชแอททริบิวต (attribute) หรือคอลัมนที่เหมือนกันทั้งสองตารางเปนตัวเชื่อมโยงขอมูล ฐานขอมูลเชิงสัมพันธน้ีจะเปนรูปแบบของฐานขอมูลที่นิยมใชในปจจุบัน ดังตัวอยาง

ตารางท่ี 2-2 แสดงตารางพนักงาน

รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ท่ีอยู เงินเดือน รหัสแผนก

1250153512534568125034521235689215689730

นายสมพงศนายมนตรีนายเอกนายบรรทัดนายราชัน

กรุงเทพนครปฐมกรุงเทพนนทบุรีสมุทรปราการ

1200012500135001150012000

VOVNVOVDVA

2.2.7.2 ฐานขอมูลแบบเครือขาย (Network Database)ฐานขอมูลแบบเครือขายจะเปนการรวมระเบียนตาง ๆ และความสัมพันธ

ระหวางระเบียนแตจะตางกับฐานขอมูลเชิงสัมพันธ คือ ในฐานขอมูลเชิงสัมพันธจะแฝงความสัมพันธเอาไว โดยระเบียนที่มีความสัมพันธกันจะตองมีคาของขอมูลในแอททริบิวตใดแอททริบิวตหน่ึงเหมือนกัน แตฐานขอมูลแบบเครือขาย จะแสดงความสัมพันธอยางชัดเจน

2.2.7.3 ฐานขอมูลแบบลําดับชั้น (Hierarchical Database)ฐานขอมูลแบบลําดับชั้น เปนโครงสรางที่จัดเก็บขอมูลในลักษณะความสัมพันธ

แบบพอ-ลูก (Parent-Child Relationship Type : PCR Type) หรือเปนโครงสรางรูปแบบตนไม(Tree) ขอมูลที่จัดเก็บในที่น้ี คือ ระเบียน ซึ่งประกอบดวยคาของเขตขอมูล (Field) ของเอนทิต้ีหน่ึง ๆ ฐานขอมูลแบบลําดับชั้นน้ีคลายคลึงกับฐานขอมูลแบบเครือขาย แตตางกันที่ฐานขอมูลแบบ

Page 12: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

15

ลําดับชั้น มีกฎเพิ่มขึ้นมาอีกหน่ึงประการ คือ ในแตละกรอบจะมีลูกศรวิ่งเขาหาไดไมเกิน 1 หัวลูกศร

2.3 ระบบการจัดการฐานขอมูล (Database Management System)ซอฟตแวรสําหรับจัดการฐานขอมูลน้ัน โดยทั่วไปเ รียกวา ระบบจัดการฐานขอมูล หรือ

ดีบีเอ็มเอส (DBMS - Database Management System) สถาปตยกรรมซอฟตแวรของดีบีเอ็มเอสอาจมีไดหลายแบบ เชน สําหรับฐานขอมูลขนาดเล็กที่มีผูใชคนเดียว บอยคร้ังที่หนาที่ทั้งหมดจะจัดการดวยโปรแกรมเพียงโปรแกรมเดียว สวนฐานขอมูลขนาดใหญที่มีผูใชจํานวนมาก น้ัน ปกติจะประกอบดวยโปรแกรมหลายโปรแกรมดวยกัน และโดยทั่วไปสวนใหญจะใชสถาปตยกรรมแบบรับ-ใหบริการ (client-server)

2.3.1 การจัดการฐานขอมูลการจัดการฐานขอมูล(Database Management) คือ การบริหารแหลงขอมูลที่ถูกเก็บ

รวบรวมไวที่ศูนยกลาง เพื่อตอบสนองตอการใชของโปรแกรมประยุกตอยางมีประสิทธิภาพและลดการซ้ําซอนของขอมูล รวมทั้งความขัดแยงของขอมูลที่เกิดขึ้นภายในองคการ ในอดีตการเก็บขอมูลมักจะเปนอิสระตอกันไมมีการเชื่อมโยงของขอมูลเกิดการ สิ้นเปลืองพื้นที่ในการเก็บขอมูล เชนองคการหน่ึงจะมีแฟมบุคคล (Personnel) แฟมเงินเดือน (Payroll) และแฟม สวัสดิการ (Benefits)อยูแยกจากกัน เวลาผูบริหารตองการขอมูลของพนักงานทานใดจําเปนจะตองเรียกดูแฟมขอมูลทั้ง3 แฟม ซึ่งเปนการไมสะดวก จงทําใหเกิดแนวความคิดในการรวมแฟมขอมูลทั้ง 3 เขาดวยกันแลว

เก็บไวที่ ศูนยกลางในลักษณะฐานขอมูล (Database) จึงทําใหเกิดระบบการจัดการฐานขอมูล(Database Management system (DBMS) ซึ่งจะตองอาศัยโปรแกรมเฉพาะในการสรางและบํารุงรักษา (Create and Maintenance) ฐาน ขอมูลและสามารถที่จะใหผูใชประยุกตใชกับธุรกิจสวนตัวไดโดยการดึงขอมูล (Retrieve) ขึ้นมาแลวใชโปรแกรมสําเร็จรูปอ่ืนสรางงานขึ้นมาโดยใชขอมูลทีมีอยูในฐานขอมูล แสดงการรวมแฟมขอมูล 3 แฟมเขาดวยกัน

ระบบการจัดการฐานขอมูล (Data Base Management System: DBMS) หมายถึงซอฟตแวรที่สรางขึ้นเพื่อรวบรวมขอมูลใหเปนระบบ เพื่อจะไดนําไปเก็บรักษา เรียกใชหรือนํามาปรับปรุงใหทันสมัยไดงาย ทั้งน้ีจําเปนตองคํานึงถึงการรักษาความปลอดภัยของขอมูลเปนเร่ืองสําคัญดวย (ทักษิณา สวนานนท , 2544, หนา 155)

Page 13: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

16

นอกจากน้ี โอภาส เอ่ียมสิริวงศ (2546, หนา 29) ยังไดสรุปความหมายของระบบการจัดการฐานขอมูล วาคือ โปรแกรมที่ใชเปนเคร่ืองมือในการจัดการฐานขอมูล ซึ่งประกอบดวยหนาที่ตางๆ ในการจัดการกับขอมูล รวมทั้งภาษาที่ใชทํางานกับขอมูล โดยมักจะใชภาษา SQL ในการโตตอบระหวางกันกับผูใช เพื่อใหสามารถกําหนดการสราง การเรียกดู การบํารุงรักษาฐานขอมูลรวมทั้งการจัดการควบคุมการเขาถึงฐานขอมูล ซึ่งถือเปนการปองกันความปลอดภัยในฐานขอมูลเพื่อปองกันมิใหผูที่ไมมีสิทธิการใชงานเขามาละเมิดขอมูลในฐานขอมูลที่เปนศูนยกลางไดนอกจากน้ี DBMS ยังมีหนาที่ในการรักษาความมั่นคงและความปลอดภัยของขอมูล การสํารองขอมูล และการเรียกคืนขอมูลในกรณีที่ขอมูลเกิดความเสียหาย

สรุปไดวา “ระบบการจัดการฐานขอมูล” คือ โปรแกรมที่ทําหนาที่ในการกําหนดลักษณะขอมูลที่จะเก็บไวในฐานขอมูล อํานวยความสะดวกในการบันทึกขอมูลลงในฐานขอมูล กําหนดผูที่ไดรับอนุญาตใหใชฐานขอมูลได พรอมกับกําหนดดวยวาใหใชไดแบบใด เชน ใหอานขอมูลไดอยางเดียวหรือใหแกไขขอมูลไดดวย นอกจากน้ันยังอํานวยความสะดวกในการคนหาขอมูล และการแกไขปรับปรุงขอมูล ทําใหผูใชสามารถเขาถึงขอมูลไดงาย สะดวกและมีประสิทธิภาพ เสมือนเปนตัวกลางระหวางผูใชกับฐานขอมูลใหสามารถติดตอ

2.3.2 ประวัติความเปนมาของระบบการจัดการฐานขอมูลการจัดการฐานขอมูลเร่ิมตนจากการที่องคการบริหารการบินและอวกาศสหรัฐอเมริกา

หรือนาซาไดวาจางบริษัทไอบีเอ็ม (IBM) ประเทศสหรัฐอเมริกา ใหออกแบบระบบเก็บรวบรวมขอมูลที่ไดจากการสํารวจดวงจันทรในโครงการอะพอลโล (โครงการอะพอลโลเปนโครงการสํารวจอวกาศอยางจริงจัง และมีการสงมนุษยขึ้นบนดวงจันทรไดสําเร็จดวยยานอะพอลโล 11) ไดพัฒนาระบบการดูแลขอมูลเรียกวา ระบบ GUAM ( Generalized Upgrade Access Method) ซึ่งถือเปนตนกําเนิดของระบบการจัดการฐานขอมูล

ตอมาบริษัท ไอบีเอ็ม ไดพัฒนาระบบการจัดการฐานขอมูลขึ้นมาใหมเพื่อใหใชงานกับธุรกิจทั่วๆ ไปได เรียกวา DL/I (Data Language/I ) จนในที่สุดก็ไดกลายมาเปนระบบ IMS (Information Management System)

Page 14: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

17

ในชวงป พ.ศ. 2525 มีการนําระบบฐานขอมูลเขามาใชกับคอมพิวเตอรอยางเต็มที่ ไดมีการคิดคนและผลิตซอฟตแวรเกี่ยวกับฐานขอมูลออกมามากมาย การเจริญเติบโตของการจัดการฐานขอมูลรุดหนาไปอยางรวดเร็วพรอมกับระบบคอมพิวเตอรและมีการพัฒนามาจนถึงทุกวันน้ี

ปจจุบันไดมีการนําคอมพิวเตอรมาใชในการเก็บขอมูล โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทั่วไปโดยที่ผูใชไมตองเขียนโปรแกรมเอง เพียงแตเรียนรูคําสั่งการเรียกใชขอมูลหรือการจัดการขอมูลเชน การปอนขอมูล การบันทึกขอมูล การแกไขและเปลี่ยนแปลงขอมูล เปนตน

ในอดีตยุคที่มีไมโครคอมพิวเตอรเกิดขึ้นแรกๆ โปรแกรมสําเร็จรูปทางดานการจัดการฐานขอมูลที่นิยมใชกันอยางแพรหลาย คือ Personal Filling System) ตอมาไดมีโปรแกรมฐานขอมูลเพิ่มขึ้นหลายโปรแกรม เชน Datastar DB Master และ dBASE II เปนตนโดยเฉพาะโปรแกรมdBASE II ไดรับความนิยมมาก จนกระทั่งในป พ.ศ. 2528 ผูผลิตไดสราง dBASE III Plus ออกมาซึ่งสามารถจัดการฐานขอมูลแบบสัมพันธ (relational) เชื่อมโยงแฟมขอมูลตางๆ เขาดวยกัน คนหาและนํามาสรางเปนรายงานตามความตองการไดสะดวก รวดเร็ว ตอมาไดมีการสราง โปรแกรมสําเร็จรูปเกี่ยวกับฐานขอมูลออกมา เชน FoxBASE, FoxPro, Microsoft Access และ Oracle เปนตน

2.3.3 สวนประกอบของระบบการจัดการฐานขอมูลมีสวนประกอบที่สําคัญ 3 สวนไดแก2.3.3.1 ภาษาคํานิยามของขอมูล [Data Definition Language (DDL) ในสวนน้ีจะกลาวถึง

สวนประกอบของระบบการจัดการฐาน ขอมูลวาขอมูลแตละสวนประกอบดวยอะไรบาง (Dataelement) ในฐานขอมูลซึ่งเปนภาษาทางการที่นักเขียนโปรแกรมใชในการ สรางเน้ือหาขอมูลและโครงสรางขอมูลกอนที่ขอมูลดังกลาวจะถูกแปลงเปนแบบฟอรมที่ตองการของโปรแกรมประยุกตหรือในสวนของ DDL จะประกอบดวยคําสั่งที่ใชในการกําหนดโครงสรางขอมูลวามีคอลัมนอะไรแตละคอลัมนเก็บขอมูลประเภทใด รวมถึงการเพิ่มคอลัมน การกําหนดดัชนี เปนตน

2.3.3.2 ภาษาการจัดการฐานขอมูล (Data Manipulation Language (DML) เปนภาษาเฉพาะที่ใชในการจัดการระบบฐานขอมูล ซึ่งอาจจะเปนการเชื่อมโปรแกรมภาษาในยุคที่สามและยุคที่สี่เขาดวยกันเพื่อจัดการขอมูลในฐานขอมูล ภาษาน้ีมักจะประกอบดวยคํา สิ่งที่อนุญาตใหผูใชสามารถสรางโปรแกรมพิเศษขึ้นมา รวมถึงขอมูลตางๆ ในปจจุบันที่นิยมใช ไดแก ภาษา

Page 15: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

18

SQL(Structure Query Language) แตถาหากเปนเคร่ืองคอมพิวเตอรขนาดใหญ DBMS มักจะสรางดวยภาษาโคบอล (COBOL language) ภาษาฟอรแทน (FORTRAN) และภาษาอ่ืนในยุคที่สาม

2.3.3.3 พจนานุกรมขอมูล (Data Dictionary) เปนเคร่ืองมือสําหรับการเก็บและการจัดขอมูลสําหรับการบํารุงรักษาในฐานขอมูล โดยพจนานุกรมจะมีการกําหนดชื่อของสิ่งตางๆ (Entity)และระบุไวในโปรแกรมฐานขอมูล เชน ชื่อของฟลด ชื่อของโปรแกรมที่ใชรายละเอียดของขอมูล ผูมีสิทธิ์ใชและผูที่รับผิดชอบ แสดงสวนประกอบของระบบการจัดการฐานขอมูล

โปรแกรมประยุกต(Application Programs)

ระบบการจัดการฐานขอมูล DatabaseManagement System(DBMS)

กายภาพของฐานขอมูล(Physical database)

ภาพท่ี 2-1 แสดงสวนประกอบของระบบฐานขอมูล

แสดงสวนประกอบของระบบจัดการฐานขอมูล (Elements of a database managementsystems) ขอดีและขอเสียของระบบการจัดการฐานขอมูล ระบบการจัดการฐานขอมูลจะมีทั้งขอดีและขอเสียในการที่องคการจะนําระบบน้ีมาใชกับหนวยงาของตนโดยเฉพาะหนวยงานที่เคยใชคอมพิวเตอรแลวแตไดจัดแฟมแบบด้ังเดิม (Convention File) การที่จะแปลงระบบเดิมใหเปนระบบใหมจะทําไดยากและไมสมบูรณ ไมคุมกับการลงทุน ทั้งน้ีเน่ืองจากคาใชจาในการพัฒนาฐานขอมูลจะตองประกอบดวย

Page 16: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

19

1) คาใชจายเกี่ยวกับบุคลากรโดยเฉพาะผูดูแลระบบฐานขอมูล (Database Administrator(DBA)) และคณะ

2) คาใชจายเกี่ยวกับการสรางฐานขอมูลโดยแปลงขอมูลเกใหเปนฐานขอมูลและจะตองมีการแกไขโปรแกรมเกา

3) การเพิ่มอุปกรณของเคร่ืองคอมพิวเตอร เพื่อทําใหมีหนวยจัดเก็บขอมูลที่ใหญขึ้นมีการเขาถึง (Access) ขอมูลที่รวดเร็ว อาจตองมีการเพิ่มโพรเซสเซอร

4) คาใชจายทางดานโปรแกรมประยุกต

2.3.4 หนาท่ีของระบบการจัดการฐานขอมูลระบบการจัดการฐานขอมูลมีหนาที่สําคัญๆ หลายอยาง เพื่อใหเกิดความถูกตองและ

สอดคลองกันของขอมูลภายในฐานขอมูล ไดแก2.3.4.1 การจัดการพจนานุกรมขอมูล ระบบการจัดการฐานขอมูลจะทําการจัดเก็บนิยาม

ของขอมูล และความสัมพันธระหวางขอมูลไวในพจนานุกรมขอมูล เปนสารสนเทศที่บอกเกี่ยวกับโครงสรางของฐานขอมูล โปรแกรมประยุกตทั้งหมดที่ตองการเขาถึงขอมูลในฐานขอมูลจะตองทํางานผานระบบการจัดการฐานขอมูล โดยที่ระบบจัดการฐานขอมูลจะใชพจนานุกรมขอมูล เพื่อคนหาโครงสรางตลอดจนสวนประกอบของขอมูลและความสัมพันธที่ตองการ นอกจากน้ันแลวการเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่มีตอโครงสรางฐานขอมูลจะถูกบันทึกไวโดยอัตโนมัติในพจนานุกรมขอมูล ทําใหเราไมตองเปลี่ยนแปลงแกไขโปรแกรมเมื่อโครงสรางขอมูลมีการเปลี่ยนแปลง

2.3.4.2 การจัดเก็บขอมูล ระบบการจัดการฐานขอมูลจะสรางโครงสรางที่จําเปนตอการจัดเก็บขอมูล ชวยลดความยุงยากในการนิยามและการเขียนโปรแกรมที่เกี่ยวของกับคุณสมบัติทางกายภาพของขอมูล ระบบการจัดการฐานขอมูลในปจจุบันไมเพียงแตจะชวยในการจัดเก็บขอมูลเทาน้ัน แตยังรวมถึงการจัดเก็บกฎเกณฑตางๆ ที่ใชในการตรวจสอบบูรณภาพของขอมูลอีกดวย

2.3.4.3 การแปลงและนําเสนอขอมูล ระบบการจัดการฐานขอมูลจะทําหนาที่ในการแปลงขอมูลที่ไดรับเขามา เพื่อใหสอดคลองกับโครงสรางในการจัดเก็บขอมูล ทําใหเราไมตองไปยุงเกี่ยวกับความแตกตางระหวางรูปแบบของขอมูลทางตรรกะและทางกายภาพ กลาวคือทําใหมีความ

Page 17: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

20

เปนอิสระของขอมูล ระบบการจัดการฐานขอมูลจะแปลงความตองการเชิงตรรกะของผูใช ใหเปนคําสั่งที่สามารถดึงขอมูลทางกายภาพที่ตองการ

2.3.4.4 การจัดการระบบความปลอดภัยของขอมูล ระบบการจัดการฐานขอมูลจะสรางระบบรักษาความปลอดภัยของขอมูล โดยการกําหนดรายชื่อผูมีสิทธิ์เขาใชระบบ และความสามารถในการใชระบบ เชน การอาน เพิ่ม ลบ หรือแกไขเปลี่ยนแปลงขอมูล การจัดการระบบความปลอดภัยของขอมูลมีความสําคัญมากในระบบฐานขอมูลแบบที่มีผูใชหลายคน

2.3.4.5 การควบคุมการเขาถึงขอมูลของผูใชหลายคน ระบบการจัดการฐานขอมูลจะใชหลักการออกแบบโปรแกรมที่เหมาะสม เพื่อใหแนใจวาผูใชหลายคนสามารถเขาใชฐานขอมูลพรอมกันได และขอมูลมีความถูกตอง

2.3.4.6 การเก็บสํารองและกูคืนขอมูล ระบบการจัดการฐานขอมูลจะมีโปรแกรมเพื่อสนับสนุนการสํารองและกูคืนขอมูล เพื่อใหแนใจดานความปลอดภัยและความมั่นคงของขอมูลในระบบ ระบบการจัดการฐานขอมูลจะกูขอมูลในฐานขอมูลคืนมาหลังจากระบบเกิดความลมเหลวเชน เมื่อเกิดกระแสไฟฟาขัดของ เปนตน

2.3.4.7 การควบคุมความถูกตองของขอมูล ระบบการจัดการฐานขอมูลจะสนับสนุนและควบคุมความถูกตองของขอมูล ต้ังแตลดความซ้ําซอนของขอมูล ไปจนถึงความไมสอดคลองกันของขอมูล ความสัมพันธของขอมูลที่เก็บไวในพจนานุกรมขอมูลจะถูกนํามาใชในการควบคุมความถูกตองของขอมูลดวย

2.3.4.8 ภาษาที่ใชในการเขาถึงฐานขอมูลและการเชื่อมตอกับโปรแกรมประยุกต ระบบการจัดการฐานขอมูลสนับสนุนการเขาถึงขอมูลโดยผานภาษาคิวรี (query language) ซึ่งเปนคําสั่งที่ใชในการคนคืนขอมูลจากฐานขอมูล โดยผูใชเพียงบอกวาตองการอะไร และไมจําเปนตองรูว ามีขั้นตอนอยางไรในการนําขอมูลออกมา เพราะระบบการจัดการฐานขอมูลจะเปนผูกําหนดวิธีการในการเขาถึงขอมูลอยางมีประสิทธิภาพเอง

2.3.4.9 การติดตอสื่อสารกับฐานขอมูล ระบบการจัดการฐานขอมูลที่ทันสมัยจะตองสนับสนุนการใชงานฐานขอมูลผานทางเครือขายอินเทอรเน็ตได

Page 18: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

21

2.3.5 อุปสรรคในการพัฒนาระบบขอมูล2.3.5.1 ความผิดพลาดจากการปอนขอมูลเขายอมมีผลกระทบกับหนวยงานอ่ืนทีนําขอมูล

น้ันไปใชเน่ืองจากไมมี ขอมูลอ่ืนที่มาเทียบกับขอมูลในฐานขอมูลชุดน้ัน2.3.5.2 สรางแฟมขอมูลรวมเพื่อตอบสนองกับองคการ ทุกแผนกกระทําไดยากเน่ืองจาก

แตละแผนกอาจจะตองการไดขอมูลในความละเอียดที่ไมเทากัน ผูจัดการระดับลางตองการใชขอมูลเพื่อการทํางานวันตอวัน แตผูบริหารระดับสูงตองการใชขอมูลเพื่อการวางแผน ดังน้ันการออกแบบฐานขอมูลจึงทําไดยากมาก

2.3.5.3 ในเร่ืองของความปลอดภัยทั้งน้ีเน่ืองจากทุกแผนกมีการใชขอมูลรวมกันจึงตองมีการสรางระบบปองกันความปลอดภัยของขอมูลเพื่อไมใหขอมูลร่ัวไหล จะตองมีการกําหนดรหัสผาน (Password) และการจัดลําดับความสําคัญของงาน (Priority) รวมถึงการกําหนดสิทธในการใชงานของผูใชแตละคน ซึ่งเปนการยุงยากสําหรับการใชฐานขอมูลรวมกัน ไมเหมือนกับระบบเดิม ทุกแผนภมูิสิทธิ์ใชเคร่ืองของตนเองไดเต็มที่มีอิสระในการตัดสินใจ

2.3.6 ขอดีการจัดการฐานขอมูล2.3.6.1 ลดความยุงยากของขอมูลภายในองคการโดยรวมขอมูลไวที่จุดหน่ึงและผูควบ

คุมดูแลการใชขอมูล การเขาถึงขอมูล การนําขอมูลไปใชประโยชนและดูแลความปลอดภัย2.3.6.2 ลดการซ้ําซอนของขอมูล (Redundancy) ในกรณีที่ขอมูลอยูเปนเอกเทศ2.3.6.3 ลดความสับสน (Confusion) ของขอมูลภายในองคการ2.3.6.4 คาใชจายในการพัฒนาโปรแกรมและการบํารุงรักษาภายหลังจากระบบสมบูรณ

แลวจะลดลงเมื่อเทียบกับแบบเกา2.3.6.5 มีความยืดหยุนในการขยายฐานขอมูล การปรับปรุงแกไขทําไดงายกวา2.3.6.6 การเขาถึงขอมูลและความสะดวกในการใชสารสนเทศมีเพิ่มขึ้น

2.3.7 ขอเสียของการใชฐานขอมูลแมวาการประมวลผลขอมูลดวยระบบการจัดการจัดการฐานขอมูล จะมีขอดีหลายประการ

แตก็จะมีขอเสียอยูบางดังตอไปน้ี

Page 19: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

22

2.3.7.1 เสียคาใชจายสูง เน่ืองจากราคาของโปรแกรมที่ใชในระบบการจัดการฐานขอมูลจะมีราคาคอนขางแพง รวมทั้งเคร่ืองคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพสูง คือ ตองมีความเร็วสูง มีขนาดหนวยความจําและหนวยเก็บขอมูลสํารองที่มีความจุมาก ทําใหตองเสียคาใชจายสูงในการจัดทําระบบการจัดการฐานขอมูล

2.3.7.2 เกิดการสูญเสียขอมูลได เน่ืองจากขอมูลตางๆ ภายในฐานขอมูลจะถูกจัดเก็บอยูในที่เดียวกัน ดังน้ันถาที่เก็บขอมูลเกิดมีปญหา อาจทําใหตองสูญเสียขอมูลทั้งหมดในฐานขอมูลไดดังน้ันการจัดทําฐานขอมูลที่ดีจึงตองมีการสํารองขอมูลไวเสมอ

2.3.8 โปรแกรมฐานขอมูลที่นิยมใช2.3.8.1 โปรแกรมฐานขอมูล เปนโปรแกรมหรือซอฟแวรที่ชวยจัดการขอมูลหรือรายการ

ตาง ๆ ที่อยูในฐานขอมูล ไมวาจะเปนการจัดเก็บ การเรียกใช การปรับปรุงขอมูลโปรแกรมฐานขอมูล จะชวยใหผูใชสามารถคนหาขอมูลไดอยางรวดเร็ว ซึ่งโปรแกรม

ฐานขอมูลที่นิยมใชมีอยูดวยกันหลายตัว เชน Access, FoxPro, Clipper, dBase, FoxBase, Oracle,SQL เปนตน โดยแตละโปรแกรมจะมีความสามารถตางกัน บางโปรแกรมใชงายแตจะจํากัดขอบเขตการใชงาน บงโปรแกรมใชงานยากกวา แตจะมีความสามารถในการทํางานมากกวา

2.3.8.2 โปรแกรม Access นับเปนโปรแกรมที่นิยมใชกันมากในขณะน้ี โดยเฉพาะในระบบฐานขอมูลขนาดใหญ สามารถสรางแบบฟอรมที่ตองการจะเรียกดูขอมูลในฐานขอมูลหลังจากบันทึกขอมูลในฐานขอมูลเรียบรอยแลว จะสามารถคนหาหรือเรียกดูขอมูลจากเขตขอมูลใดก็ได นอกจากน้ี Access ยังมีระบบรักษาความปลอดภัยของขอมูล โดยการกําหนดรหัสผานเพื่อปองกันความปลอดภัยของขอมูลในระบบไดดวย

2.3.8.3 โปรแกรม FoxPro เปนโปรแกรมฐานขอมูลที่มีผูใชงานมากที่สุด เน่ืองจากใชงายทั้งวิธีการเรียกจากเมนูของ FoxPro และประยุกตโปรแกรมขึ้นใชงาน โปรแกรมที่เขียนดวย FoxProจะสามารถใชกลับ dBase คําสั่งและฟงกชั่นตาง ๆ ใน dBase จะสามารถใชงานบน FoxPro ไดนอกจากน้ีใน FoxPro ยังมีเคร่ืองมือชวยในการเขียนโปรแกรม เชน การสรางรายงาน

2.3.8.4 โปรแกรม dBase เปนโปรแกรมฐานขอมูลชนิดหน่ึง การใชงานจะคลายกับโปรแกรม FoxPro ขอมูลรายงานที่อยูในไฟลบน dBase จะสามารถสงไปประมวลผลในโปรแกรมWord Processor ได และแมแต Excel ก็สามารถอานไฟล .DBF ที่สรางขึ้นโดยโปรแกรม dBase ไดดวย

2.3.8.5 โปรแกรม SQL เปนโปรแกรมฐานขอมูลที่มีโครงสรางของภาษาที่เขาใจงาย ไมซับซอน มีประสิทธิภาพการทํางานสูง สามารถทํางานที่ซับซอนไดโดยใชคําสั่งเพียงไมกี่คําสั่งโปรแกรม SQL จึงเหมาะที่จะใชกับระบบฐานขอมูลเชิงสัมพันธ และเปนภาษาหน่ึงที่มีผูนิยมใชกัน

Page 20: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

23

มาก โดยทั่วไปโปรแกรมฐานขอมูลของบริษัทตาง ๆ ที่มีใชอยูในปจจุบัน เชน Oracle, DB2 ก็มักจะมีคําสั่ง SQL ที่ตางจากมาตรฐานไปบางเพื่อใหเปนจุดเดนของแตละโปรแกรมไป

2.4 การนอรมัลไลเซชั่น (Normalization)นอรมัลไลเซชั่น (Normalization) เปนกระบวนการที่มีแบบแผนซึ่งนํามาใชสําหรับการจัดกลุม

แอททริบิวตซึ่งรวมเขากันในรีเลชั่นตาง ๆ ใหอยูในรูปแบบที่เรียกวารูปแบบบรรทัดฐาน (NormalForm) โดยมีเปาหมายเพื่อใหรีเลชั่นที่ไดรับการออกแบบน้ันอยูในรูปแบบบรรทัดฐานระดับที่เหมาะสม จากตารางที่ไดจากการแปลงมาจากคลาสน้ัน สามารถนํามาทําการนอรมัลไลเซชั่นไดดังน้ี

2.4.1 นอรมัลฟอรมระดับท่ี 1 (First Normal Form: 1 NF) เปนขั้นตอนแรกของกระบวนการนอรมัลไลเซชั่น โดยรีเลชั่นที่มีคุณสมบัติอยูในนอรมัลฟอรมระดับที่ 1 ก็คือ การจัดการกับกลุมแอททริบิวตที่รวมกลุมกัน (Repeating Groups) ใหเปนคาแอททริบิวตที่มีเพียงคาเดียว ซึ่งหากพิจารณาจากนิยามขางตนแลว จะพบวาขอมูลที่ไดจากการแปลงคลาสมาเปนตารางน้ัน ยังมีบางตารางที่ยังไมอยูในนอรมัลฟอรมระดับที่ 1 เพราะจากลักษณะการเก็บขอมูลที่เปนตัวอักษรหรือ ประโยคยาว ๆและซ้ํากันหลาย ๆ แถวน้ัน อาจจะทําใหเกิดขอผิดพลาดขึ้นในระหวางการปอนขอมูลดังน้ันจึงมีความจําเปนที่จะตองแยกเปนตารางใหม ดังน้ี

ภาพท่ี 2-2 แสดงแผนภาพการนอมัลไลซเซชั่นระดับ 1NF ของตารางการลงทะเบียน

Page 21: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

24

ภาพท่ี 2-3 แสดงแผนภาพการนอมัลไลซเซชั่นระดับ 1NF ของตารางนักศึกษา

ภาพท่ี 2-4 แสดงแผนภาพการนอมัลไลซเซชั่นระดับ 1NF ของตารางขอสอบ

2.4.2 นอรมัลฟอรมระดับท่ี 2 (Second Normal Form: 2NF) สําหรับรีเลชั่นที่มีคุณสมบัติเปน2NF ก็ตอเมื่อ รีเลชั่นน้ันตองอยูในรูปแบบ 1NF แลว และรีเลชั่นน้ันตองต้ังอยูบนพื้นฐานของ FullFunctional Dependency กลาวคือการแปลงรีเลชั่น 1NF เปน 2NF จะตองขจัดความสัมพันธระหวางคาของแอททริบิวตแบบบางสวน (Partial Dependency) หรือเปนการที่แอททริบิวตบางสวนของคียหลักสามารถระบุคาของแอททริบิวตอ่ืน ๆ ที่ไมใชคียหลักของรีเลชั่นได (Non-Key Attribute)ออกไปจากตารางน้ัน ซึ่งจากตารางระบบคลังขอสอบ มีตารางที่มีความสัมพันธของแอททริบิวตแบบบางสวนและทําการนอรมัลไลเซชั่น ใหอยูในระดับ 2NF ไดดังน้ี

Page 22: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

25

ภาพท่ี 2-5 แสดงแผนภาพการนอมัลไลซเซชั่นระดับ 2NF ของตารางขอสอบ

2.4.3 นอรมัลฟอรมระดับท่ี 3 (Third Normal Form: 3NF) ถึงแมวานอรมัลฟอรมระดับ 2NFจะสามารถชวยลดความซ้ําซอนในขอมูลไดแลว แตก็ยังคงพบความซ้ําซอนของขอมูล ในรีเลชั่นอยูซึ่งจะตองแปลงตารางใหอยูในรูป 3NF ซึ่งมีคุณสมบัติคือ รีเลชั่นน้ันตองอยูในระดับ 2NF กอนและรีเลชั่นดังกลาวจะตองไมมีความสัมพันธแอททริบิวตแบบทรานซิทีฟ (Transitive Dependency) การที่จะขจัดความสัมพันธของแอททริบิวตแบบทรานซิทีฟออกไปน้ัน ทําไดโดยการนําไปสรางเปนรัเลชั่นใหม ซึ่งจากตารางระบบคลังขอสอบ มีตารางที่มีความสัมพันธของแอททริบิวตแบบทรานซิทีฟและทําการนอรมัลไลเซชั่น ใหอยูในระดับ 3NF ไดดังน้ี

Page 23: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

26

ภาพท่ี 2-6 แสดงแผนภาพการนอมัลไลซเซชั่นระดับ 3NF ของตารางการสอบ

ภาพท่ี 2-7 แสดงแผนภาพการนอมัลไลซเซชั่นระดับ 3NF ของตารางการรายวิชาและอาจารย

Page 24: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

27

2.4.4 Boyce-Codd นอรมัลฟอรม (BCNF) นอรมัลฟอรมในรูปแบบ BCNF ต้ังอยูบนพื้นฐานของฟงกชั่นการขึ้นตอกันที่เกี่ยวของกับคียคูแขงในรีเลชั่น โดย BCNF จัดเปนเวอรชั่นหน่ึงของนอรมัลไลเซชั่นที่ทําให 3NF มีความแข็งแกรงยิ่งขึ้น ซึ่งจะเขาไปจัดการกับแอททริบิวตที่ไมใชเปนคียที่สามารถระบุคาดีเทอรมิแนนตของแอททริบิวตที่เปนสวนหน่ึงของคียหลัก กล าวคือแอททริบิวตที่เปนสวนหน่ึงของคียหลักไปขึ้นอยูกับแอททริบิวตที่ไมใชคียน่ันเอง และหลังจากการทําการนอมัลไลซเซชั่นทั้ง 3 ระดับที่ผานมาแลวน้ัน พบวาขอมูลของระบบคลังขอสอบอยูในระดับ BCNFแลว จึงไมไดเกิดการเปลี่ยนแปลงแตอยางใด

2.5 การออกแบบฐานขอมูลการออกแบบฐานขอมูล (Designing Databases) มีความสําคัญตอการจัดการระบบฐานขอมูล

(DBMS) ทั้งน้ีเน่ืองจากขอมูลที่อยูภายในฐานขอมูลจะตองศึกษาถึงความสัมพันธของขอมูลโครงสรางของขอมูลการเขาถึงขอมูลและกระบวนการที่โปรแกรมประยุกตจะเรียกใชฐานขอมูลดังน้ัน จึงสามารถแบงวิธีการสรางฐานขอมูลได 3 ประเภท

1.) รูปแบบขอมูลแบบลําดับข้ัน หรือโครงสรางแบบลําดับข้ัน (Hierarchical data model)วิธีการสรางฐาน ขอมูลแบบลําดับขั้นถูกพัฒนาโดยบริษัท ไอบีเอ็ม จํากัด ในป 1980 ไดรับความนิยมมาก ในการพัฒนาฐานขอมูลบนเคร่ืองคอมพิวเตอรขนาดใหญและขนาดกลาง โดยที่โครงสรางขอมูลจะสรางรูปแบบเหมือนตนไม โดยความสัมพันธเปนแบบหน่ึงตอหลาย (One- to -Many) ดังรูป แสดงโครงสรางลําดับขั้นของผูสอนทักษะผูสอน หลักสูตรที่สอน

ภาพท่ี 2-8 แสดงโครงสรางลําดับขั้นของผูสอน ทักษะผูสอน หลักสูตรที่สอน

Page 25: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

28

2.) รูปแบบขอมูลแบบเครือขาย (Network data Model) ฐานขอมูลแบบเครือขายมีความคลายคลึงกับฐาน ขอมูลแบบลําดับชั้น ตางกันที่โครงสรางแบบเครือขาย อาจจะมีการติดตอหลายตอหน่ึง (Many-to-one) หรือ หลายตอหลาย (Many-to-many) กลาวคือลูก (Child) อาจมีพอแม (Parent)มากกวาหน่ึง สําหรับตัวอยางฐานขอมูลแบบเครือขายใหลองพิจารณาการจัดการขอมูลของหองสมุดซึ่งรายการจะประกอบดวย ชื่อเร่ือง ผูแตง สํานักพิมพ ที่อยู ประเภท ดังน้ันการจัดขอมูลแบบเกาจะทําใหขอมูลซ้ําซอนกันมาก ดังรูป

ภาพท่ี 2-9 แสดงการออกแบบรายการแบบเกา

จากรูปจะเห็นวาโอกาสที่ขอมูลจะซ้ําซอนมีมากในระบบการจัดการแฟมแบบเกา หนังสือแตละเลมหรือแตละชื่อเร่ืองตางก็มีรายการแยกตางหาก ดังน้ันบรรดาผูแตงที่แตงหนังสือมากกวาหน่ึงเลมจะปรากฏมากวาหน่ึงคร้ังในไฟลนอกจากน้ันสํานักพิมพแตละแหงพิมพหนังสือหลายเลมดังน้ันชื่อของสํานักพิมพ ที่อยูก็จะปรากฏซ้ําๆกันในไฟลขอมูลรวม ดังน้ันผูวางระบบฐานขอมูลจึงแนะนําใหสรางฐานขอมูลลักษณะเครือขาย

ภาพท่ี 2-10 แสดงการสรางฐานขอมูลแบบเครือขาย

เพื่อลดความซ้ําซอน โดยการสรางความสัมพันธระหวางรายการเขาดวยกัน จะเห็นวาความสัมพันธแบบหน่ึงตอหลายรายการ (Record) ระหวางรายการชื่อสํานักพิมพและชื่อเร่ือง ซึ่งแสดงโดยมีรูปลูกศรซอนกัน 2 หัวเราเรียกรวมชื่อสํานักพิมพและชื่อเร่ืองซึ่งมีความสัมพันธกันวาเซตและเรียกวาสกีมา(Schema) ดังน้ันชื่อผูแตงแตละคนจะปรากฏเพียงหน่ึงคร้ังและเชื่อมโยงกับชื่อ

Page 26: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

29

หนังสือที่เปนผูแตง ขณะที่ชื่อสํานักพิมพก็เชื่อมโยงกับหนังสือที่ตนเปนผูพิมพ เมื่อตองการเขาถึงรายการจะสามารถเขาถึงผานทางชื่อเร่ือง ชื่อผูแตง หรือชื่อสํานักพิมพ ก็ได โดยอาศัยเสนทางเชื่อมตอระหวาง รายการ ทําใหขอมูลทุกรายการสามารถติดตอถึงกันไดอยางถูกตอง รายการหรือเรคอรดสมาชิก (Member) เชน เรียก เรคอรดของผูแตงกอนก็เปนเรคอรดนําและหาตัวเชื่อมเพื่อไปคนหารายชื่อหนังสือที่แตงซึ่งเปนเรคอรดสมาชิกก็จะปรากฏขึ้น

ขอดีและขอเสียของโครงสรางแบบเครือขาย คือ เรคอรดแตละประเภท สามารถใชเปนเรคอรดนําไดโดยกลาวถึงกอน สวนการซ้ําซอนของขอมูลจะมีนอยมากเน่ืองจากเรคอรดสมาชิกสามารถใชรวมกันได เชน รายละเอียดของหนังสือหน่ึงเลมอาจจะแตงจากผูแตงหลายคน จึงสามารถใชรวมกันได ขอเสีย ความสัมพันธของเรคอรดประเภทตางๆไมควรจะเกิน 3 ประเภท เชนชื่อเร่ือง ผูแตง สํานักพิมพ หากมีความสัมพันธหลายประเภท อาจจะออกแบบเครือขายไมไดหรือยุงยากขึ้น เน่ืองจากมีขอจํากัดในการออกแบบ

3.) รูปแบบความสัมพันธขอมูล (Relation data model) เปนลักษณะการออกแบบฐานขอมูลโดยจัดขอมูลใหอยูในรูปของตารางที่มีระบบคลายแฟม โดยที่ขอมูลแตละแถว (Row) ของตารางจะแทนเรคอรด (Record) สวน ขอมูลแนวด่ิงจะแทนคอลัมน (Column) ซึ่งเปนขอบเขตของขอมูล(Field) โดยที่ตารางแตละตารางที่สรางขึ้นจะเปนอิสระ ดังน้ันผูออกแบบฐานขอมูลจะตองมีการวางแผนถึงตารางขอมูลที่จําเปนตองใช เชนระบบฐานขอมูลบริษัทแหงหน่ึง ประกอบดวย ตารางประวัติพนักงาน ตารางแผนกและตารางขอมูลโครงการแสดงประวัติพนักงาน ตารางแผนก และตารางขอมูลโครงการ

ตารางท่ี 2-3 แสดงประวัติพนักงาน ตารางแผนก และตารางขอมูลโครงการ

แสดงประวัติพนักงานรหัส ช่ือ วันเขาทํางาน เงินเดือน ตําแหนง แผนก001 นายแดง 1/1/32 30000 ผูจัดการ วิศวกรรม002 นายเขียว 30/6/34 20000 หัวหนาชาง วิศวกรรม003 นายดํา 16/4/36 18000 สมุหบัญชี บัญชี004 น.ส น้ําฝน 1/5/39 9000 จัดซ้ือ บัญชี005 น.ส ทราย 16/6/40 7000 ธุรการ ธุรการ

Page 27: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

30

ตารางแผนก ตารางขอมูลโครงการ

ในกรณีที่ผูใชตองการเรียกขอมูลจากตารางทั้ง 3 มาใชก็สามารถทําไดโดยการสรางตารางใหม ดังแสดงการสรางตารางรหัสพนักงานวาอยูแผนกไหน ทํางานโครงการอะไรและระยะเวลาในการทํา

ตารางท่ี 2-4 แสดงการสรางตารางรหัสพนักงาน

รหัสพนักงานรหัสแผนก รหัสโครงการ ระยะเวลา(วัน)

001 20 03 30

004 10 03 60

002 20 02 180

ขอดีและขอเสียของโครงสรางแบบสัมพันธ คือ สามารถสรางตารางขนมาใหมโดยอาศัยหลักการทางคณิตศาสตรและคนหาวาขอมูลในฐานขอมูลมีขอมูลรวมกับตารางที่สรางขึ้นมาใหมหรือไม ถามีก็ใหประมวลผลโดยการอานเพิ่มเติมปรับปรุงหรือยกเลิกรายการ ขอเสีย คือ การศึกษาวิธีการเขียนโปรแกรมและใชฐานขอมูลจะตองอิงหลักทฤษฏีทางคณิตศาสตรจึงทําใหการศึกษาเพิ่มเติมของผูใช ยากแกการเขาใจ แตในปจจุบันมีโปรแกรมการสรางฐานขอมูลหลายโปรแกรมที่พยายามทําใหการเรียนรูและการใชงายขึ้น เชน โปรแกรมการสรางฐานขอมูลโดยใชภาษาSQL(Structured Query Language) เปนตน

รหัสโครงการ

ช่ือโครงการ วันเริ่ม วันส้ินสุด งบประมาณ

01 ทางดวนขั้นที ่3 1/1/38 31/12/41 50000000002 สรางเขื่อนเก็บน้ํา 1/5/39 30/4/40 2000000003 สรางสนามฟุตบอล 30/6/39 30/10/40 10000000

รหัสแผนก ช่ือแผนก10 บัญชี20 วิศวกรรม30 ธุรการ

Page 28: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

31

2.5.1 การออกแบบฐานขอมูลเชิงสัมพันธการออกแบบฐานขอมูลในองคกรขนาดเล็กเพื่อตอบสนองความตองการของผูใชงานอาจ

เปนเร่ืองที่ไมยุงยากนัก เน่ืองจากระบบและขั้นตอนการทํางานภายในองคกรไมซับซอน ปริมาณขอมูลที่มีก็ไมมาก และจํานวนผูใชงานฐานขอมูลก็มีเพียงไมกี่คน หากทวาในองคกรขนาดใหญ ซึ่งมีระบบและขั้นตอนการทํางานที่ซับซอน รวมทั้งมีปริมาณขอมูลและผูใชงานจํานวนมาก การออกแบบฐานขอมูลจะเปนเร่ืองที่มีความละเอียดซับซอน และตองใชเวลาในการดําเนินการนานพอควรทีเดียว ทั้งน้ี ฐานขอมูลที่ไดรับการออกแบบอยางเหมาะสมจะสามารถตอบสนองตอความตองการของผูใชงานภายในหนวยงานตาง ๆ ขององคกรได ซึ่งจะทําใหการดําเนินงานขององคกรมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น เปนผลตอบแทนที่คุมคาตอการลงทุนเพื่อพัฒนาระบบฐานขอมูลภายในองคกรทั้งน้ี การออกแบบฐานขอมูลที่นําซอฟตแวรระบบจัดการฐานขอมูลมาชวยในการดําเนินการสามารถจําแนกหลักในการดําเนินการได 6 ขั้นตอน คือ

1) การรวบรวมและวิเคราะหความตองการในการใชขอมูล2) การเลือกระบบจัดการฐานขอมูล3) การออกแบบฐานขอมูลในระดับแนวคิด4) การนําฐานขอมูลที่ออกแบบในระดับแนวคิดเขาสูระบบจัดการฐานขอมูล5) การออกแบบฐานขอมูลในระดับกายภาพ6) การนําฐานขอมูลไปใชและการประเมินผล

2.5.2 การออกแบบฐานขอมูลในระดับตรรกะการออกแบบฐานขอมูลในระดับตรรกะ หรือในระดับแนวความคิด เปนขั้นตอนการ

ออกแบบความสัมพันธระหวางขอมูลในระบบโดยใชแบบจําลองขอมูลเชิงสัมพันธ ซึ่งอธิบายโดยใชแผนภาพแสดงความสัมพันธระหวางขอมูล (E-R Diagram) จากแผนภาพ E-R Diagram นํามาสรางเปนตารางขอมูล (Mapping E-R Diagram to Relation) และใชทฤษฏีการ Normalization เพื่อเปนการรับประกันวาขอมูลมีความซ้ําซอนกันนอยที่สุด

Page 29: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

32

2.6 สตอร่ีบอรด (Storyboard)สตอร่ีบอรด (Storyboard) หมายถึง การสรางภาพใหเห็นลําดับขั้นตอนตามเน้ือเร่ืองที่ตองการ

โดยเฉพาะการสรางภาพเคลื่อนไหว ที่ระบุขอมูลในเร่ืองมุมและระยะกลอง ซึ่งมักจะมีการระบุเพลงประกอบ บทสนทนา และเสียงแทรกอ่ืนๆ รวมดวย

สตอร่ีบอรด หมายถึง การเตรียมการนําเสนอขอความ ภาพ รวมทั้งสื่อในรูปแบบ มัลติมีเดียตางๆ ลงบนกระดาษ การนําเสนอเน้ือหาและลักษณะการนําเสนอ ขั้นตอนการสรางสตอร่ีบอรดรวมไปถึงการเขียนสคริปต (สคริปตในที่น้ีคือ เน้ือหาขอความในบทเรียน) ที่ผูเรียนจะไดเห็นบนหนาจอซึ่งไดแก เน้ือหา ขอมูล คําถาม ผลยอนกลับ คําแนะนํา คําชี้แจง ขอความเรียกความสนใจ เสียงภาพน่ิง และภาพเคลื่อนไหว (ถนอมพร เลาหจรัสแสง , 2541 : 32 ) การจัดทําสตอร่ีบอรดที่มีลักษณะมัลติมีเดียน้ันจะตองมีการออกแบบภาพ ขอความ เสียง และการเคลื่อนไหวใหเขากับเน้ือหาบทเรียน ซึ่งจะตองผานกระบวนการทํางานที่เปนมาตรฐานในการคิด การสรางสตอร่ีบอรดเร่ิมตนดวย การทําแบบรางและการจัดวางเบื้องตน โดยการรางแบบคือการวาดเพื่อถายทอดความคิดเบื้องตนดวยดินสอ หรือปากกาดวยลายเสนงายๆ หรือใชคอมพิวเตอรในการรางแบบ เพื่อใหการนําเสนอขอความและสื่อในรูปแบบตางๆเหลาน้ีเปนไปอยางเหมาะสมตามลําดับขั้นตอนบนจอคอมพิวเตอร

การเขียนสตอร่ีบอรดเปนขั้นตอนของการเตรียมการนําเสนอขอความ ภาพ รวมทั้ง สื่อในรูปของมัลติมีเดียตางๆ ลงในกระดาษ เพื่อใหการนําเสนอขอความ และสื่อในรูปแบบตางๆ เหลาน้ีเปนไปอยางเหมาะสมบนหนาจอคอมพิวเตอรตอไป ขณะที่ผังงานนําเสนอลําดับ และขั้นตอนของการตัดสินใจ สตอร่ีบอรดนําเสนอเน้ือหา และลักษณะของการนําเสนอ ขั้นตอนการสรางสตอร่ีบอรดรวมไปถึงการเขียนสคริปต (ซึ่งสคริปตในที่น้ี คือ เน้ือหา) ที่ผูใชจะไดเห็นบนหนาจอซึ่งไดแกเน้ือหา ขอมูล คําถาม ผลปอนกลับ คําแนะนํา คําชี้แจง ขอความเรียกความสนใจ ภาพน่ิง และภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ

2.7 แผนภาพกระแสขอมูล (Data Flow Diagram: DFD)Data Flow Diagram : DFD คือแผนภาพกระแสขอมูลที่มีการวิเคราะหออกแบบในเชิง

โครงสรางมีการเร่ิมใชกันมานานต้ังแตยุคที่เร่ิมใชภาษาระดับสูง หรือกลาวงายๆก็คือการ Flow ของขอมูล แต Flow ของขอมูลน้ันจะมีสวนมาเกี่ยวของคือ Boundary และ Process

แผนภาพกระแสขอมูล (Data Flow Diagram:DFD) หมายถึง แผนภาพที่แสดงใหเห็นถึงทิศทางการไหลของขอมูลที่มีอยูในระบบ และการดําเนินงานที่เกิดขึ้นในระบบ โดยขอมูลในแผนภาพทําใหทราบถึง ขอมูลมาจากไหน, ขอมูลไปที่ไหน, ขอมูลเก็บที่ใด, เกิดเหตุการณใดกับขอมูลใน

Page 30: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

33

ระหวางทาง แผนภาพกระแสขอมูลจะแสดงภาพรวมของระบบ (Overall picture of a system) และรายละเอียดบางอยาง แตในบางคร้ังหากตองการกําหนดรายละเอียดที่สําคัญในระบบ นักวิเคราะหระบบอาจจําเปนตองใชเคร่ืองมืออ่ืนๆ ชวย เชน ขอความสั้นๆที่เขาใจ หรือัลกอริทึม , ตารางการตัดสินใจ (Decision Table), Data Model, Process Description ทั้งน้ีก็ขึ้นอยูกับความตองการในรายละเอียด

2.7.1 วัตถุประสงคของการสรางแผนภาพกระแสขอมูลน้ีเพื่อ2.7.1.1 เปนแผนภาพที่สรุปรวมขอมูลทั้งหมดที่ไดจากการวิเคราะหในลักษณะของ

รูปแบบที่เปนโครงสราง2.7.1.2 เปนขอตกลงรวมกันระหวางนักวิเคราะหระบบและผูใชงาน2.7.1.3 เปนแผนภาพที่ใชในการพัฒนาตอในขั้นตอนของการออกแบบระบบ2.7.1.4 เปนแผนภาพที่ใชในการอางอิง หรือเพื่อใชในการพัฒนาตอในอนาคต2.7.1.5 ทราบที่มาที่ไปของขอมูลที่ไหลไปในกระบวนการตางๆ (Data and Process)

2.7.2 สัญลักษณท่ีใชในแผนภาพกระแสขอมูลสัญลักษณที่ใชเปนมาตรฐานในการแสดงแผนภาพกระแสขอมูลมีหลายชนิด แตในที่น้ีจะ

แสดงใหเห็นเพียง 2 ชนิด ไดแก ชุดสัญลักษณมาตรฐานที่พัฒนาโดย Gane and Sarson (1979) และชุดสัญลักษณมาตรฐานที่พัฒนาโดย DeMarco and Yourdon (DeMarco, 1979); Yourdon andConstantine,1979) โดยมีสัญลักษณดังตอไปน้ี

Page 31: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

34

ตารางท่ี 2-5 แสดงสัญลักษณที่ใชในแผนภาพกระแสขอมูล

DeMarco & Yourdon Gane & Sarson ความหมายProcess : ขั้นตอนการทํางานภายในระบบ

Data Store : แหลงขอมูลสามารถเปนไดทั้งไฟลขอมูลและฐานขอมูล(File or Database)External Agent : ปจจัยหรือสภาพแวดลอมที่มีผลกระทบตอระบบData Store : เสนทางการไหลของขอมูล แสดงทิศทางของขอมูลจากขั้นตอนการทํางานหน่ึงไปยังอีกขั้นตอนหน่ึง

2.7.3 ข้ันตอนการทํางานของระบบ (Process)Process หรือ ขั้นตอนการดําเนินงาน คือ งานที่ดําเนินการ/ตอบสนองขอมูลที่รับเขา หรือ

ดําเนินการ/ตอบสนองตอเงื่อนไข/ สภาวะใดๆ ที่เกิดขึ้น ไมวาขั้นตอนการดําเนินงานน้ันจะกระทําโดยบุคคล หนวยงาน หุนยนต เคร่ืองจักร หรือ เคร่ืองคอมพิวเตอรก็ตาม โดยจะเปนกริยา (Verb)เชน ลงทะเบียน เพิกถอนวิชา เพิ่มวิชา พิมพรายงาน เปนตน จํานวนโปรเซสควรมีอยูระหวาง 2-7โปรเซส หรือในบางตําราไดกําหนดจํานวนโปรเซสควรอยูในระหวาง 7 บวกลบดวย 2

Page 32: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

35

21Print

Report

Maintenance

สัญลักษณที่ใชแสดงแทน Process

ภาพท่ี 2-11 แสดงสัญลักษณที่ใชแสดงแทน Process

จากรูป แสดงสัญลักษณที่ใชแสดงแทน Process ดวยสี่เหลี่ยมมุมมน ประกอบไปดวย 2สวน คือ สวนบนใชแสดงหมายเลขของ Process เชน 0, 1.0, 1.1 เปนตน สวนลางจะใชแสดงชื่อของProcess เชน

ภาพท่ี 2-12 แสดงชื่อของ Process

2.7.4 เสนทางการไหลของขอมูล (Data Flow)เสนทางการไหลของขอมูล (Data Flows) เปนการสื่อสารระหวางขั้นตอนการทํางาน

(Process) ตางๆ และสภาพแวดลอมภายนอกหรือภายในระบบ โดยแสดงถึงขอมูลที่นําเขาไปในแตละ Process และขอมูลที่สงออกจาก Process ใชในการแสดงถึงการบันทึกขอมูล การลบขอมูล การแกไขขอมูลตางๆ ในไฟลหรือในฐานขอมูล ซึ่งใน Data Flow Diagram เรียกวา “Data Store”สัญลักษณของ Data Flow

สัญลักษณที่ใชอธิบายเสนทางการไหลของขอมูลคือ เสนตรงที่ประกอบดวยหัวลูกศรตรงปลายเพื่อบอกทิศทางการเดินทางหรือการไหลของขอมูล ดังรูป

X.X

ช่ือ Process

Page 33: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

36

ช่ือ External

Agent

ช่ือ External

Agent

2.7.5 ตัวแทนขอมูล (External Agent)ตัวแทนขอมูล (External Agents) หมายถึง บุคคล หนวยงานในองคกร องคกรอ่ืนๆ หรือ

ระบบงานอ่ืนๆ ที่อยูภายนอกขอบเขตของระบบ แตมีความสัมพันธกับระบบ โดยมีการสงขอมูลเขาสูระบบเพื่อดําเนินงาน และรับขอมูลที่ผานการดําเนินงานเรียบรอยแลวจากระบบ ในบางคร้ังเรียกวา “External Entity”

สัญลักษณของ External Agents สัญลักษณที่ ใชอธิบาย คือ สี่ เหลี่ ยม จั ตุ รัสหรือสี่เหลี่ยมผืนผา ภายในจะตองแสดงชื่อของ External Agent โดยสามารถทําการซ้ํา (Duplicate)ไดดวยการใชเคร่ืองหมาย (back slash) ตรงมุมลางซาย

ภาพท่ี 2-13 แสดงสัญลักษณของ External Agents

2.7.6 แหลงจัดเก็บขอมูล (Data Store)แหลงจัดเก็บขอมูล (Data Store) เปนแหลงเก็บ/บันทึกขอมูล เปรียบเสมือนคลังขอมูล

(เทียบเทากับไฟลขอมูล และฐานขอมูล) โดยอธิบายรายละเอียดและคุณสมบัติเฉพาะตัวของสิ่งที่ตองการเก็บ/บันทึก

สัญลักษณของ Data Store สัญลักษณที่ใชอธิบายคือสี่เหลี่ยมเปดหน่ึงขาง แบงออกเปนสองสวน ไดแก สวนที่ 1 ทางดานซายใชแสดงรหัสของ Data Store อาจจะเปนหมายเลขลําดับหรือตัวอักษรไดเชน D1, D2 เปนตน สําหรับสวนที่ 2 ทางดานขวา ใชแสดงชื่อ Data Store หรือชื่อไฟลเชน Employee, Application, Member เปนตน ดังรูป

ภาพท่ี 2-14 แสดงสัญลักษณของ Data Store

รหัส ช่ือ Data Store

Page 34: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

37

2.7.7 สรางแผนภาพบริบท (Context Diagram)แผนภาพบริบท (Context Diagram) คือ แผนภาพกระแสขอมูลระดับบนสุดที่แสดง

ภาพรวมการทํางานของระบบที่มีความสัมพันธกับสภาพแวดลอมภายนอกระบบ ทั้งยังแสดงใหเห็นขอบเขต และเสนแบงเขตของระบบที่ศึกษาและพัฒนา

อันดับแรกของการสรางแบบจําลองขั้นตอนการทํางานของระบบ นักวิเคราะหระบบควรจะทําการสราง Context Diagram กอน เน่ืองจาก Context Diagram เปนตัวกําหนดขอบเขต และเสนแบงเขตของระบบที่ศึกษาและพัฒนา แนวทางในการกําหนดขอบเขตมีดังน้ี

1) เปรียบระบบเสมือนภาชนะบรรจุ เพื่อแบงแยกสิ่งที่อยูภายในภาชนะออกจากสิ่งที่อยูภายนอกภาชนะ โดยไมตองสนใจสิ่งที่อยูภายในภาชนะมีอะไรบาง

2) ศึกษาระบบโดยอาจจะการสอบถามผูใชงานถึงเหตุการณ (Event) หรือ การดําเนินงานประจําวันที่เกิดขึ้นของระบบวามีการติดตอ จัดการ หรือดําเนินงานอยางไรบาง และระบบมีการตอบสนองตอเหตุการณน้ันๆ อยางไร อะไรคือขอมูลที่รับเขามา (Input) และสงมาจากใคร (ExternalAgent)

3) สอบถามผูใชระบบวาระบบจะตองสงขอมูลอะไร (Output) ออกไปสู External Agentบาง ตองการรูปแบบรายงาน การสอบถามขอมูล (Query) แบบใด สิ่งเหลาน้ีทําใหนักวิเคราะหระบบสามารถพิจารณาการวาด Data Flow ได

4) จําแนกแหลงขอมูลภายนอกระบบ (External data store) ที่ระบบตองการจากไฟลหรือฐานขอมูลจากระบบอ่ืน ซึ่งอาจเปนการอาน แกไข เปลี่ยนแปลง ขอมูลเหลาน้ัน

5) ทําการวาด Context Diagram จากสิ่งที่รวบรวมไดจากขอ 1-4หลังจากที่ไดศึกษาการทํางาน ขอมูลรับเขา ขอมูลสงออก นักวิเคราะหระบบอาจมี

เสนทางการไหลของขอมูล (Data Flow) มากมาย ซึ่งไมอาจแสดงไดทั้งหมดใน Context Diagram น้ีดังน้ัน Data Flow ที่แสดงควรเปนขอมูลหลักและมีความสําคัญตอระบบ สวนรายละเอียดของการเคลื่อนไหวของขอมูลน้ันสามารถนําไปอธิบายใน DFD ระดับตอไปได

ใน Context Diagram ประกอบดวย Process ที่แทน Process ของระบบทั้งหมดเพียงหน่ึงProcess เทาน้ันที่อยูภายในขอบเขตของระบบ และใหแสดงหมายเลขศูนย (“o”) ตรงสวนบนของสัญลักษณ Process นอกจากน้ีใน Context Diagram ยังแสดงรายละเอียดของ External Agent และExternal Data Store รอบๆ ขั้นตอนการดําเนินงาน (ภายนอกขอบเขตของระบบ) และมี Data Flows

Page 35: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

38

แสดงการติดตอระหวางระบบกับสิ่งที่อยูภายนอก และสิ่งสําคัญคือภายใน Context Diagram จะตองไมมี Data Store ปรากฏอยู

2.7.8 สรางแผนภาพระดับ 0 (Level-0 Diagram)Level-0 Diagram คือ แผนภาพกระแสขอมูลในระดับที่แสดงขั้นตอนการทํางานหลัก

ทั้งหมด (Process หลัก) ของระบบแสดงทิศทางการไหลของ Data Flow และแสดงรายละเอียดของแหลงจัดเก็บขอมูล (Data Store)

Level-0 Diagram เปนการแสดงใหเห็นถึงรายละเอียดของ Process การทํางานหลักๆ ที่มีอยูภายในภาพรวมของระบบ (Context Diagram) วามีขั้นตอนใดบาง โดยแตละ Process จะมีหมายเลขกํากับอยูดานบนของสัญลักษณ ต้ังแต 1 เปนตนไป

2.8 มัลติมีเดีย (Multimedia)2.8.1 ความหมายของมัลติมีเดีย

multimedia หมายถึง เทคโนโลยีที่ไดรับการพัฒนาใหกาวหนาอยางรวดเร็ว มัลติมีเดียเปนเทคโนโลยีที่ใชคอมพิวเตอรแสดงผลในลักษณะการผสมของสื่อหลายชนิดเขาดวยกัน ทั้งตัวอักษร รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ โดยเนนการโตตอบและมีปฏิสัมพันธกับผูใชมัลติมีเดียจึงตองการชองสัญญาณสื่อสารที่มีแถบกวางสูง รองรับการทํางานแบบสองทิศทาง โดยเนนการยนยอระยะทางจากที่ไกล ๆ ใหเสมือนอยูชิดใกล โตตอบกันไดอยางรวดเร็ว

มัลติมีเดีย (multimedia) หรือ สื่อประสม หรือ สื่อหลายแบบ เปนการใชสื่อในหลายรูปแบบไมวาจะเปน ขอความ เสียง รูปภาพ หรือ ภาพเคลื่อนไหว สําหรับใหขอมูลความรูหรือใหความสําราญตอผูชม

ปจจุบันความกาวหนา ของเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเอ้ือใหนักออกแบบสื่อ มัลติมีเดียสามารถประยุกตสื่อตางๆ ใหมารวมกันบนระบบคอมพิวเตอร ผูใช สามารถโตตอบกับระบบคอมพิวเตอรในรูปแบบตางๆ กันได เทคโนโลยีเหลาน้ี ไดพัฒนาขึ้นพรอมกับการพัฒนาฮารดแวรเชน การพัฒนาอุปกรณที่ใชอานและ บันทึกขอมูล การพัฒนาหนวยความจําใหมีขนาดที่เล็กลงแตมี

Page 36: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

39

ความจุมากขึ้น นอกจากน้ี ยังมีการพัฒนาเทคโนโลยีดานอุปกรณตอพวงสําคัญตางๆ เพื่อ ใหติดตอสื่อสารกับผูใชงาน

มัลติมีเดีย การใชสื่อมากกวา 1 สื่อรวมกันนําเสนอขอมูลขาวสาร โดยมีจุดมุงหมายใหผูรับสื่อสามารถรับรูขาวสารไดมากกวา 1 ชองทาง โดยผานการควบคุมการใช และโตตอบดวยระบบคอมพิวเตอรสวนบุคคลหรือเครือขาย ปจจุบันมีการพัฒนารูปแบบของมัลติมีเดียใหสอดคลองกับปรัชญาการ เรียนรูมากขึ้น สื่อประเภทน้ีไมไดเปนเพียงรูปแบบของบทเรียนแบบโปรแกรม ที่ใหเพียงเน้ือหา คําถาม และคําตอบ แตไดรับการออกแบบใหเปดกวางสําหรับ การสํารวจกระตุนใหผูเรียนไดคิดคน สืบคนมากขึ้น

สื่อมัลติมีเดีย สื่อประสมหรือสื่อหลายแบบที่มีการใชอุปกรณตางๆ เพื่อการนําเสนอขอมูล เปนหลัก โดยไดมีการออกแบบนําเสนอไวอยางเปนระบบ มัลติมีเดียน้ันไดรวมเอาฮารดแวรและซอฟตแวรไวดวยกัน จะเนนสวนไหน มากนอยน้ันขึ้นอยูกับลักษณะการใชงาน และจะเนนผลผลิตที่เกิดจากการ นําเสนอขอมูลหลากลายรูปแบบ เชน ภาพน่ิง ภาพ เคลื่อนไหว เสียง และขอความ เทคโนโลยีมัลติมีเดีย เทคโนโลยีไดเขามามีบาทเปนอยางสูงสําหรับในยุคน้ี ซึ่งสามารถพิจารณา จากการพัฒนาคอมพิวเตอร ไมวาจะเปนดานสมรรถนะของซีพียู รวมทั้งประสิทธิ์ภาพของอุปกรณฮารดแวรและซอฟตแวรในปจจุบันน้ี ตางก็พัฒนาขึ้น มาเพื่อรองรับความตองการของเทคโนโลยีมัลติมีเดียมากขึ้น ตัวอยางเชน

2.8.1.1 ความสามารถของโปรเซสเซอรที่สามารถปะมวลผลขอมูลอยางรวดเร็ว เพื่อรองรับกคํานวณดานคอมพิวเตอรกราฟกที่มีความซับซอนมากขึ้น2.8.1.2 หนวยความจําในเคร่ืองที่มีความเร็วสูงขึ้น และเพิ่มขยายไดมากขึ้น2.8.1.3 การดแสดงผลที่ชวยใหแสดงภาพไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในการแสดงผลสูง2.8.1.4 จอภาพขนาดใหญ2.8.1.5 การดเสียงและลําโพงที่สมบูรณแบบเทียบไดกับเคร่ืองเสียงราคาแพง ๆ2.8.1.6 อุปกรณจัดเก็บขอมูลที่มีความจุมากขึ้น เชน ฮารดดิสก เปนตน

มัลติมีเดีย เปนเทคโนโลยีที่ไดรับการพัฒนาใหกาวหนาอยางรวดเร็ว มัลติมีเดียเปนเทคโนโลยีที่ใชคอมพิวเตอรแสดงผลในลักษณะการผสมของสื่อหลายชนิดเขาดวยกัน ทั้งตัวอักษร

Page 37: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

40

รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว วีดิโอ โดยเนนการโตตอบและมีปฏิสัมพันธกับผูใชมัลติมีเดียจึงตองการชองสัญญาณสื่อสารที่มีแถบกวางสูง รองรับการทํางานแบบสองทิศทาง โดยเนนการยนยอระยะทางจากที่ไกล ๆ ใหเสมือนอยูชิดใกล โตตอบกันไดอยางรวดเร็ว

มัลติมีเดียมีองคประกอบที่สําคัญอยูสี่ประการ ประการแรกคือตองมีคอมพิวเตอร ซึ่งเปนเคร่ืองมือที่ทําใหเราเห็นหรือไดยิน และสามารถโตตอบมีปฏิสัมพันธได ประการที่สองคือมีการเชื่อมโยงสื่อสารเพื่อทําใหสื่อตาง ๆ ไหลเขามาเชื่อมโยงเกี่ยวกันและนําเสนอออกไปได ประการที่สามตองมีเคร่ืองมือที่ทําใหเราทองไปในเครือขายที่เชื่อมโยงขาวสารตาง ๆ ประการสุดทายคือมัลติมีเดียตองเปดชองทางใหเราในฐานะผูใช สามารถสราง ประมวลผล และสื่อสารขาวสารตาง ๆได หากขาดสิ่งหน่ึงสิ่งใดไป ก็ไมสามารถเรียกวา มัลติมีเดียได เชน ถาขาดคอมพิวเตอรที่จะทําใหเรามีปฏิสัมพันธโตตอบได สิ่งน้ันก็จะไมใชมัลติมีเดีย แตนาจะเรียกวา การแสดงสื่อหลายสื่อ ถาขาดการเชื่อมโยงสื่อสาร ก็เหมือนกับเปนชั้นหนังสือ ถาขาดเคร่ืองมือหรือซอฟตแวรที่ทําใหทองไปหรือใหเรามีสวนเขาไปปฏิสัมพันธดวย ก็จะเหมือนกับดูภาพยนตร และถาขาดชองทางที่ใหผูใชเขามีสวนรวมได ก็จะเหมือนกับโทรทัศนมัลติมีเดียจึงเกี่ยวของกับเทคโนโลยีหลายอยางที่ประกอบกันทั้งเทคโนโลยีคอมพิวเตอร ซอฟตแวร และระบบสื่อสารขอมูล การพัฒนาของเทคโนโลยีเหลาน้ีตองพัฒนาใหกาวหนาในทุกทิศทาง

มัลติมีเดียประกอบดวยเทคโนโลยีการสรางและประมวลผลวีดิโอ ภาพเคลื่อนไหว เสียงขอความ ที่ผสมกับภาพ และเมื่อมีการสื่อสารรวมดวยระบบสื่อสารขอมูลจึงตองการแถบกวางทางการสื่อสารที่สูง และใหมีการรับสงขอมูลไดเร็ว ลองนึกดูวา หากตองการสงหรือรับขอมูลแบบมัลติมีเดีย ภาพเคลื่อนไหวก็ดี เสียงก็ดี จะตองมีความตอเน่ือง จะขาดหายเปนชวง ๆ ไมได คุณภาพของระบบมัลติมีเดียจึงเกี่ยวโยงกับระบบสื่อสาร เทคโนโลยีมัลติมีเดียจึงอยูที่การประมวลผลขอมูลซึ่งตองมีความรวดเร็วสูงมาก ปจจุบันซีพียูของคอมพิวเตอรสวนใหญไดพัฒนาไปจนสามารถประมวลผลขอมูลเหลาน้ีไดทัน สิ่งที่สําคัญตามมาคือ เทคโนโลยีการบีบอัดขอมูล ขอมูลวีดิโอก็มีเทคนิคการบีบอัดที่เปนมาตรฐาน เชน MPEG ขอมูลเสียงก็มีเทคนิคการบีบอัดเปน MIDI เปนเสียงพูดที่บีบอัดดวย ADPCM หรือแมแตรูปภาพก็บีบอัดเปน GIF หรือ JPEG เปนตน การบีบอัดทําใหรับสงขอมูลไดเร็วขึ้น และยังเก็บที่ที่เก็บที่ความจุลดลงสําหรับระบบสื่อสารขอมูลก็ตองมีการรับประกันการบริการ กลาวคือ การรับสงขอมูลระหวางตนทางและปลายทาง ขอมูลที่สงมีลักษณะ

Page 38: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

41

เปนสายธาร ดังน้ันขอมูลจะตองถึงปลายทางตามกําหนดเวลา และใหรูปแบบที่ตอเน่ืองไดพัฒนาการของระบบเครือขายขอมูลขาวสารจึงตองไดรับการพัฒนาใหรองรับในระบบสื่อสารขอมูลทั่วไป เราแบงแยกการรับสงเปนสองแบบ คือ โปรโตคอลที่เชื่อมโยง (Connection Protocol) และโปรโตคอลที่ไมเชื่อมโยง (Connectionless Protocol)

โปรโตคอลที่เชื่อมโยงหมายถึง กอนการรับสงสายธารของขอมูลจริง จะตองมีการตรวจสอบ สํารวจหาเสนทาง เพื่อใหตัวรับและตัวสงเชื่อมโยงกันใหไดกอน จากน้ันสายขอมูลจึงจะไหลไปตามการเชื่อมโยงน้ัน สวนโปรโตคอลที่ไมเชื่อมโยง อาศัยการสงแพ็กเก็ตขอมูลที่มีการกําหนดแอดเดรสไวบนแพ็กเก็ต อุปกรณสื่อสารบนเสนทางจะสงตอกันไปจนถึงปลายทางไดเองความตองการใชมัลติมีเดียบนเครือขายจึงตองมีการพัฒนาเทคโนโลยีตาง ๆ ใหใชงานได พัฒนาการจึงตองรองรับการประยุกตใชงานตาง ๆ ที่มีอยูบนเครือขาย ซึ่งนับวันจะมีความตองการสูงมากยิ่งขึ้นตอไปเร่ิมจากการสื่อสารแบบรอดคาส (Broadcast) กลาวคือ สถานีบริการหน่ึงสามารถสงกระจายขาวสารมัลติมีเดียไปใหกับผูขอใชบริการ (client) ไดทุกเคร่ืองบนเครือขายในขณะเดียวกัน เชนถาเชิรฟเวอรเปนสถานีบริการทีวี ก็จะกระจายไปยังผูชมที่อยูบนเครือขายไดทุกคน เปาหมายที่สําคัญตอมาคือ ตองการใหผูชมมีปฏิสัมพันธได หรือโตตอบกลับได ถาเปนเชนน้ี ผูชมสามารถรวมเลนเกมโชวจากทางบานไดการสื่อสารแบบยูนิคาส หรือพอยตคาส (unicast or pointcast) เปนการกระจายขาวสารจากเชิรฟเวอรไปยังไคลแอนตในลักษณะเจาะจงตัวเปนแบบหน่ึงเดียว เชน เชิรฟเวอรเปนสถานีบริการขาว ผูใชอยูที่บานตองการรับขาวสารก็สามารถบอกรับ โดยเลือกหัวขอขาวสารตาง ๆ ตามที่ตนเองสนใจ เมื่อเชิรฟเวอรมีขาวใหมในหัวขอที่ผูใชคนใดสนใจก็จะติดตอสงขาวสารมาให

การสื่อสารแบบมัลติคาส (multicast) การสื่อสารแบบน้ีแตกตางจากแบบรอดคาสอยูบางเพราะบรอดคาสกระจายขาวสารทั่วทั้งเครือขาย แตมัลติคาสกระจายแบบเจาะจงไปยังผูใชตามที่ไดเรียกขอมา หากพิจารณาดูวามีขาวสารแบบมัลติมีเดียอยูมากมายวิ่งอยูบนเครือขาย มีการประยุกตใชงานตาง ๆ มากมาย ต้ังแตทีวีบอกรับ การใหบริการขาวหนังสือพิมพ การใหบริการคาราโอเกะ การเรียนการสอนทางไกล การบริการทางการแพทย การซื้อขายของบนเครือขาย ฯลฯ ลวนแลวแตตองใชเทคโนโลยีมัลติมีเดียและเครือขายทั้งสิ้น สายขอมูลที่วิ่งบนเครือขายคงตองการแถบกวางของระบบสื่อสารอีกมาก ตองการโครงสรางพื้นฐานการเชื่อมโยงที่รองรับการใหบริการตาง ๆ เหลาน้ี

Page 39: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

42

ลองนึกดูวา สถานีบริการวิทยุ (real audio) หรือบริการทีวี (real video) ตองสงสายขอมูลไปใหผูใชจํานวนมากบนเครือขาย จะทําใหเกิดปญหาความซ้ําซอนของสายขอมูล ปญหาน้ีสามารถลดไดดวยการสงสายขอมูลเพียงสายเดียวในเครือขาย อุปกรณสวิตชิ่งจะตองสงกระจายไปหลายที่ตามที่ผูใชตองกรไดเอง ลักษณะการสงกระจายบนเครือขายแบบน้ีเรียกวา มัลติคาสแบ็กโบน (MBONE -Multicast Backbone) เทคนิคของระบบสื่อสารขอมูลบนเครือขายยังคงตองพัฒนาตอไปอีกมาก เพื่อรองรับกระแสการประยุกตใชมัลติมีเดียที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้น และพัฒนาการที่จะสรางระบบจําลองบนไซเบอรสเปซที่กําลังจะเกิดขึ้นอีกมาก โลกในเครือขายหรือไซเบอรสเปซ จึงฝากไวกับการพัฒนาเทคโนโลยี

2.8.2 ประโยชนของมัลติมีเดีย2.8.2.1 ดานการเรียนการสอน สงผลใหเกิดระบบหองสมุดแบบดิจิตอล (Digital Library)

การเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) การสรางหองเรียนเสมือนจริง (Virtual Classroom)และการเรียนการสอนแบบกระจาย อันสงผลใหเกิดการเรียนรูอยางกวางขวาง

2.8.2.2 ดานธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจรูปแบบใหมที่เรียกวา E-Commerce อันจะชวยใหการนําเสนอสินคา มีความนาสนใจมากกวาเดิม

2.8.2.3 การสื่อสารโทรคมนาคม เน่ืองดวยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ตองอาศัยสื่อเพื่อเผยแพรขอมูล ดังน้ันเทคโนโลยีน้ี จึงมีความสัมพันธกับ ระบบการสื่อสารโทรคมนาคม อยางแยกกันไดยากมาก

2.8.2.4 ธุรกิจการพิมพ นับเปนอีกหน่ึงธุรกิจที่สัมพันธกับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย อันจะสงผลใหหนังสือ สิ่งพิมพตางๆ มีความนาสนใจมากขึ้น และปจจุบันก็มี E-Magazine หรือ E-Bookออกมาอยางแพรหลาย

2.8.2.5 ธุรกิจการใหบริการขอมูลขาวสาร เมื่อมีการนําเทคโนโลยีมัลติมีเดียมาชวย จะทําใหขอมูลขาวสารที่เผยแพรออกไป มีความนาสนใจมากกวาเดิม

2.8.2.6 ธุรกิจโฆษณา และการตลาด แนนอนวามีความสัมพันธอยางหลีกเลี่ยงไมได อันจะชวยดึงดูดคนเขามาชม ดวยเทคโนโลยีใหมๆ ที่มีความแปลกใหม

Page 40: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

43

2.8.2.7 การแพทยและสาธารณสุข ปจจุบันมีการสรางสื่อเรียนรูดานการแพทย ชวยใหประชาชนทั่วไป มีความสนใจศึกษา เพื่อสรางความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการดูแล รักษาสุขภาพตนเอง

2.8.2.8 นันทนาการ นับเปนบทบาทที่สําคัญมาก ทั้งในรูปของเกมสการเรียนรู และ VRเปนตน

2.8.3 เทคโนโลยีของมัลติมีเดีย2.8.3.1 เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับเสียง (Audio Technology) เสียงพูด และเสียงดนตรี ต้ังแต

การประมวลผล การแสดงผล การจัดการตางๆ เชน การบีบอัดสัญญาณ การสื่อสาร การสงสัญญาณเสียงที่ทํางานผานคอมพิวเตอร เปนสัญญาณดิจิตอล ซึ่งมี 2 รูปแบบคือ

2.8.3.1.1 Synthesize Sound เปนเสียงที่เกิดจากตัววิเคราะหเสียง ที่เรียกวา MIDIโดยเมื่อตัวโนตทํางาน คําสั่ง MIDI จะถูกสงไปยัง Synthesize Chip เพื่อทําการแยกสียงวาเปนเสียงดนตรีชนิดใด ขนาดไฟล MIDI จะมีขนาดเล็ก เน่ืองจากเก็บคําสั่งในรูปแบบงายๆ

2.8.3.1.2 Sound Data เปนเสียงจากที่มีการแปลงจากสัญญาณ analog เปนสัญญาณ digital โดยจะมีการบันทึกตัวอยางคลื่น (Sample) ใหอยูที่ใดที่หน่ึงในชวงของเสียงน้ันๆและการบันทึกตัวอยางคลื่นเรียงกันเปนจํานวนมาก เพื่อใหมีคุณภาพที่ดี ก็จะทําใหขนาดของไฟลโตตามไปดวย

2.8.3.2 เทคโนโลยีเกี่ยวกับวีดิโอ (Video Technology) ไดแก การจัดเก็บ การประมวลผลการปรับแตง การใชงาน การเรียกหา สืบคน การสงกระจาย มาตรฐานการบีบอัดสัญญาณ การเขาและถอดรหัส การสงขอมูล การทํางานรวมกับสื่ออ่ืนๆ วิดีโอ เปนสื่ออีกรูปแบบหน่ึงที่นิยมใชกับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย เน่ืองจากสามารถแสดงผลไดทั้งภาพเคลื่อนไหว และเสียงไปพรอม ๆ กัน ทําใหเกิดความนาสนใจในการนําเสนอ มีหลายรูปแบบไดแก

2.8.3.2.1 AVI (Audio / Video Interleave) เปนฟอรแมตที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต เรียกวา Video for Windows มีนามสกุลเปน .avi ปจจุบันมีโปรแกรมแสดงผลติดต้ังมาพรอมกับชุด Microsoft Windows คือ Windows Media Player

Page 41: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

44

2.8.3.2.2 MPEG - Moving Pictures Experts Group รูปแบบของไฟลที่มีการบีบอัดไฟล เพื่อใหมีขนาดเล็กลง โดยใชเทคนิคการบีบขอมูลแบบ Inter Frame หมายถึง การนําความแตกตางของขอมูลในแตละภาพมาบีบ และเก็บ โดยสามารถบีบขอมูลไดถึง 200 : 1 หรือเหลือขอมูลเพียง 100 kb/sec โดยคุณภาพยังดีอยู มีการพัฒนาอยางตอเน่ือง โดย MPEG-1 มีนามสกุล คือ .mpg

2.8.3.2.3 Quick Time เปนฟอรแมตที่พัฒนาโดยบริษัท Apple นิยมใชนําเสนอขอมูลไฟลผานอินเทอรเน็ต มีนามสกุลเปน .mov

2.8.3.3 รูปภาพ (Image Technology) เปนการพัฒนา และประยุกตใชภาพ การจัดการฟอรแมต คลังภาพ การคนหา การสราง และตกแตงภาพ

2.8.3.4 เทคโนโลยีขอความ (Text Technology) เกี่ยวกับขอความหรือ ตัวอักษร ทั้งการใช และลักษณะรูปแบบของ ขอความแบบตางๆ

2.8.3.5 เทคโนโลยีภาพเคลื่อนไหว และภาพสามมิติ (Animation & 3D Technology)เปนเทคโนโลยีเกี่ยวกับการแสดงผล ดนภาพเคลื่อนไหว ทั้งแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ การสรางภาพเสมือนจริง (VR - Visual Reality) การสราง ตกแตง ประมวลผล การใชงาน

2.8.3.6 เทคโนโลยีการพัฒนา (Authoring System Technology) คือ เทคโนโลยีที่ไดพัฒนา เพื่อสรางเคร่ืองมือสําหรับ งานพัฒนามัลติมีเดีย ในรูปของ ซอฟตแวรชวย ในการนําขอมูลเน้ือหา (Content) เขาไปเก็บตามสื่อรูปแบบตางๆ ที่วางไว เพื่อนําเสนอ เชน การใชเคร่ืองมือตางๆหรือการสรางเคร่ืองมือใหมๆ

2.8.3.7 เทคโนโลยีกับระบบการศึกษา เปนการศึกษาเพื่อนําเอา เทคโนโลยีมัลติมีเดีย มาประยุกตใชกับ ระบบการศึกษา ในรูปของ CAI - Computer Aided Instruction, CBT - ComputerBased Training ตลอดจนงานประชาสัมพันธ โฆษณา สรางภาพยนตร

2.8.3.8 เทคโนโลยีการผลิตสิ่งพิมพ (Publishing Technology) เปนการนําเอามัลติมีเดียมาใชดานงานพิมพ เพื่อเพิ่มชีวิตชีวาใหกับงานพิมพ มีรูปแบบที่โดดเดน และนําเสนอ หรือพิมพลงสื่อไดหลากรูปแบบ เชน งาน DTP - Desktop Publishing, CD-ROM Title & Publishing

2.8.3.9 เทคโนโลยีการกระจาย (Broadcasting & Conferencing) สงเกี่ยวของกับการเผยแพรขอมูล เผยแพรสัญญาณ เชน Conference, Multicasting Backbone เปนตน

Page 42: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

45

2.8.3.10 เทคโนโลยีการจัดเก็บขอมูล (Storage Technology) เน่ืองดวยขอมูลดานมัลติมีเดีย มักจะมีขนาดโต ทําใหตองเกี่ยวของกับสื่อบันทึกขอมูลอยางหลีกเลี่ยงไมได ทั้งเกี่ยวกับรูปแบบของสื่อ รูปแบบการบีบอัดขอมูล รูปแบบการบันทึกขอมูล

2.8.3.11 เทคโนโลยี WWW & HyperText โดยจะชวยใหเกิดการเผยแพรสื่อมัลติมีเดียในรูปแบบที่นิยมมากที่สุด และเร็วที่สุด ผานระบบ WWW และมีระบบโตตอบดวยเทคโนโลยีHyperText & HyperMedia

2.8.3.12 เทคโนโลยีคลังขอมูล (Media Archives) ซึ่งเกี่ยวกับการจัดเก็บขอมูลปริมาณมากๆ และการเรียกคนภายหลัง เชน Photo & Image Server, AVI archive

2.9 โปรแกรม Photoshop CS2Photoshop หมายถึง โปรแกรมที่ใชสําหรับการจัดการภาพหรืองานกราฟฟกที่ตองการความ

ละเอียดสูงPhotoshop เปนโปรแกรมกราฟฟกที่จัดระบบความละเอียดของงานเปนแบบ Rester Graphic

ภาพที่อยูในโปรแกรมน้ันจะแบงความละเอียดของภาพออกเปนตารางสี่เหลี่ยมซึ่งในแตละชองหรือPixelจะแนนอนหากทําการยอหรือขยายภาพจะทําใหความละเอียดของภาพเปลี่ยนไป โดยเฉพาะการขยายขนาดของภาพ จะทําใหความละเอียด หรือความคมชัดของภาพ ลดลง เน่ืองจาก อัตราความละเอียดของแตละชองจะเทาเดิม แตเน้ือที่กลับถูกขยาย ใหใหญขึ้น

การตกแตง หรือ Retuching สามารถทําไดอยางเต็มที่ ตามที่ผูใชงานตองการ ปจจุบันไดมีการพัฒนาโปรแกรมใหมีประสิทธิภาพสูงกวาเดิม มีการเพิ่ม Filter นอยลง โดยมีคําสั่ง History และAction ผูใชโปรแกรมสามารถสรางคําสั่งสําเร็จ สําหรับการทํางาน โดยการใชคําสั่งที่กําหนดเองเพียงคร้ังเดียว

2.10 Adobe Flashอะโดบี แฟลช (อังกฤษ: Adobe Flash) (ในชื่อเดิม ช็อกเวฟแฟลช - Shockwave Flash และ

แมโครมีเดียแฟลช - Macromedia Flash) เปนโปรแกรมที่ใชในการเขียนสื่อมัลติมีเดียที่เอาไวใชสรางเน้ือหาเกี่ยวกับ Flash ซึ่งตัว Flash Player พัฒนาและเผยแพรโดย อะโดบีซิสเต็มส (เร่ิมตนพัฒนาโดยบริษัท ฟวเจอรแวร ตอนหลังเปลี่ยนเปน แมโครมีเดีย ซึ่งภายหลังถูกควบรวมกิจการเขากับ อะโดบี ) ซึ่ง เปนโปรแกรมที่ทําให เว็บเบราว เซอร สามารถแสดงตัวมันได ซึ่ งมันมีความสามารถในการรองรับ ภาพแบบเวกเตอร และ ภาพแบบแรสเตอร และมีภาษาสคริปตที่เอาไว

Page 43: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

46

ใชเขียนโดยเฉพาะเรียกวา แอ็กชันสคริปต (ActionScript) และยังสามารถเลนเสียงและวีดิโอ แบบสเตริโอได

แตในความหมายจริงๆ แลว แฟลช คือโปรแกรมแบบ integrated development environment(IDE) และ Flash Player คือ virtual machine ที่ใชในการทํางานงานของไฟล แฟลชซึ่งในภาษาพูดเราจะเรียกทั้งสองคําน้ีในความหมายเดียวกัน: "แฟลช" ยังสามารถความความถึงโปรแกรมเคร่ืองมือตางๆตัวแสดงไฟลหรือ ไฟลโปรแกรม

แฟลชเร่ิมมีชื่อเสียงประมาณป ค.ศ. 1996 หลังจากน้ัน เทคโนโลยีแฟลชไดกลายมาเปนที่นิยมในการเสนอ แอนิเมชัน และ อินเตอรแอกทีฟ ในเว็บเพจ และในโปรแกรมหลายๆ โปรแกรมระบบและ เคร่ืองมือตางๆ ที่มีความสามารถในการแสดง แฟลชได และ แฟลชยังเปนที่นิยมในการใชสราง คอมพิวเตอรแอนิเมชันโฆษณาออกแบบสวนตางๆ ของเว็บเพจใสวิดีโอบนเว็บ และอ่ืนๆ อีกมากมาย

ไฟล Flashในบางคร้ังอาจเรียกวา "flash movies"โดยทั่วไปกับไฟลที่มีนามสกุล .swf และ .flvแฟลชเปนโปรแกรมที่มีชื่อเสียงมากของทางบริษัทแมโครมีเดีย ซึ่งตอมาไดถูกซื้อโดยอะโดบี

2.10.1 ประวัติ adobe Flashในเดือนธันวาคม ป ค.ศ. 1996 แมโครมีเดียไดเปดตัวโปรแกรม vector-based animation

ชื่อวา FutureSplash แลวหลังจากน้ันไดเผยแพรมันในฐานะ Flash 1.0.Macromedia Flash 2 ไดถูกวางจําหนายในป ค.ศ. 1997 พรอมเพิ่มความสามารถในการ

รองรับ เสียงสเตอริโอ และ การใสภาพแบบ bitmap.ไมนานนักปลักอิน Flash Player ถูกปลอยใหดาวนโหลดผานหนาเว็บของ แมโครมีเดีย

แตในป ค.ศ. 2000 Flash Player ไดติดต้ังมาพรอมกับโปรแกรมคนดูเว็บ อยาง Netscape และInternet Explorer. สองปถัดมา ไดติดต้ังมาพรอมกับ Windows และ Mac OS

ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2001, ผลสํารวจเกี่ยวกับแมคโครมีเดียซึ่งสํารวจโดย MediaMetrix แสดงใหเห็นวาจาก 10 ในเว็บไซตยักษใหญในอเมริกา 7 เว็บไซตมีการใชเน้ือหาจากแฟลช

แมโครมีเดีย เจเนเรเตอร เปนจุดเร่ิมตนจุดแรกจากแมโครมีเดียที่แบงการดีไซนจากเน้ือหาในไฟลแฟลช เจเนเรเตอร 2.0 ไดออกวางจําหนายในเดือนเมษายน ค.ศ. 2000 และมีความสามารถในการเปนตัวจําลองเซิรฟเวอรแบบเรียลไทมในการสรางเน้ือหาแฟลชใน รุนEnterprise. เจเนเรเตอร ถูกยกเลิกจากแผนงานในป ค .ศ. 2002 โดยเขาไปรวมเทคโนโลยีใหม เชนFlash Remoting และ เซิรฟเวอร โคลดฟวชัน

Page 44: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

47

2.10.2 รูปแบบไฟลและนามสกุลไฟลท่ีเกี่ยวของ2.10.2.1 .swf ไฟล .swf เปนไฟลที่สมบูรณ, ถูก compiled และ published ไฟลแลว ซึ่ง

ไมสามารถแกไขดวย Macromedia Flash ไดอีกตอไป. อยางไรก็ตาม, ยังมีโปรแกรม '.swfdecompilers' อยูดวย

2.10.2.2 .fla ไฟล .fla เปนไฟลตนฉบับของโปรแกรม Flash. โปรแกรมที่ใชเขียน Flashสามารถแกไขไฟล FLA และ compile มันใหเปนไฟล .swf ได. อยางไรก็ตาม รูปแบบไฟล FLAยังคงไมกําหนดเปนแบบ "เปด

2.10.2.3 .flv ไฟล .flv เปนไฟลวีดิโอ Flash, ซึ่งสรางโดย Macromedia Flash, SorensonSqueeze, หรือ On2 Flix

2.10.2.4 .avi ไฟล AVI เปนไฟลวีดิโอ, เปนคํายอของ Audio Video Interleave. ซึ่งFlash สามารถสรางไฟลในรูปแบบน้ีได

2.10.2.5 .spa ไฟล .spa คือไฟลเอกสารของ FutureSplash2.10.2.6 .xml ไฟล .xml คือไฟล configuration ของ flash ซึ่งใชเก็บขอมูลที่ไมตองการ

คอมไพลใหม เชน link เปนตน

2.10.3 ไฟล Flash สามารถใชได2.10.3.1 .avi ไฟล AVI เปนไฟลวิดิโอ, เปนคํายอของ Audio Video Interleave2.10.3.2 .gif ภาพเคลื่อนไหว GIF2.10.3.3 .png ไฟล .png คือ ไฟล PNG ซึ่งสามารถมาแกไขไดภายหลัง (ซึ่งยังมีการแบง

เลเยอรไว) หลังจากที่บันทึกไว2.10.3.4 .ssk ไฟล .ssk คือไฟล SmartSketch2.10.3.5 .piv ไฟล .piv คือไฟลคอมพิวเตอรแอนิเมชัน Pivot Stick Figure

Page 45: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

48

2.11 วรรณกรรมท่ีเกี่ยวของผูชวยศาสตราจารย ดร.สังคม ภูมิพันธุและคณะ. แนวทางการพัฒนาการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส(e-Learning) สําหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย, 2549.(http://www.senate.go.th/web-senate/research47/p113.htm)

การศึกษาแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส(e-Learning)สําหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยมีวัตถุประสงค (1)เพื่อศึกษาสถานภาพการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส (e-Learning) ในระดับมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและตางประเทศ(2) เพื่อวิเคราะหองคประกอบเชิงระบบในการจัดการเรียนการสอนทาง อิเล็กทรอนิกสในสถาบันอุดมศึกษา (3)เพื่อศึกษากฎระเบียบและแนวทางการรับรองวิทยฐานะการจัดการศึกษาทางไกลทางอิเล็กทรอนิกส และ(4)เพื่อเสนอแนวทาง มาตรการและการประกันคุณภาพในการเปดสอนทางอิเล็กทรอนิกสเพื่อกําหนดเปนกฎระเบียบสําหรับการประกาศใชในสถาบันอุดมศึกษากลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคร้ังน้ี ไดแก ผูทรงคุณวุฒิดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และเปนผูมีประสบการณในการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส (e-Learning) จํานวน 48 คนไดมาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) การเก็บรวบรวมขอมูล จากเอกสารทั้ง

ภาษาไทยและตางประเทศ การสัมภาษณ และแบบสอบถาม การวิเคราะหขอมูล ใชวิธีสรุปจากเอกสารและสรุปความเชิงวิเคราะหจากแบบสัมภาษณและแบบสอบถามผลการศึกษา พบวา

1. สภาพของการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส(e-Learning) สําหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยยังมีคอนขางนอยและใชเปนสื่อเสริม ในบางสถาบันก็ยังไมไดมีการใช อยางจริงจังและเหตุผลที่สถาบันอุดมศึกษาจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส(e-Learning) เพราะเชื่อวาประหยัดทรัพยากรในระยะยาว มีองคความรู สามารถเรียนรูมากขึ้น และเปนนวัตกรรมใหมทางการศึกษา สามารถสรางโอกาสและความเทาเทียมดานการศึกษา สนองความแตกตางระหวางบุคคลลดปญหาเร่ืองระยะทาง เวลา และสถานที่ไดและองคประกอบที่สําคัญของการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส (e-learning) ประกอบดวย

ดานเน้ือหา เปนสิ่งที่สําคัญที่สุด รองลงมาคือ ดานบุคลากร ดานการจัดการเรียนการสอนและดานการบริหารจัดการการเรียนการสอน

สําหรับสภาพการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกสในระดับมหาวิทยาลัย (e-Learning) ของตางประเทศในปจจุบัน มีความพรอมมาก ทั้งในดานโครงสรางพื้นฐาน ดานบุคคลากร ดานฮารดแวรและซอฟแวร มีหนวยงานที่รับผิดชอบ มีกฎระเบียบ การประกันคุณภาพทางการศึกษาโดยเฉพาะและมีแนวทางการรับรองวิทยฐานะที่ชัดเจน อาทิ มหาวิทยาลัยโทรสารสนเทศมิชิแกน

Page 46: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

49

(Michigan Virtual University : MVU) และ The Open University (OU) สําหรับในแถบเอเชียน้ันประเทศสิงคโปร มีการพัฒนาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศมาเกือบ 20 ป ทําใหมีความพรอมกวาชาติอ่ืนๆ คือ โครงการสิงคโปรวัน (Singapore One) ใหเปนเครือขายคอมพิวเตอรที่มุงเนนงานดานเน้ือหาสาระทางมัลติมีเดีย และปฏิสัมพันธระหวางผูใชกับมัลติมีเดีย (Interactivity) ที่ครอบคลุมการใหบริการหลาย ๆ ดานทั้งการบริหารรัฐกิจ การศึกษา ธุรกิจ และอุตสาหกรรมสําหรับแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาน้ันไดกําหนดวัตถุประสงคไวอยางชัดเจนวาทั้งครูและผูเรียนตองใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีประสิทธิผล

2. องคประกอบเชิงระบบในการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส (e-Learning) สําหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ประกอบดวย ดานโครงสรางพื้นฐาน มีคอมพิวเตอรเพื่อใหบริการในสถานศึกษาอยางเพียงพอ ใชโปรแกรมสําเร็จรูปที่มีความเปนมาตรฐานสากล และเปนที่ยอมรับ ดานระบบการผลิตชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส ตองไดมาตรฐาน และดานระบบการจัดการเรียน ตองไดมาตรฐานและปรับปรุงตลอดเวลา

3. กฎระเบียบและแนวทางการรับรองวิทยฐานะการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส(e-Learning) ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ปจจุบันยังคลุมเครือไมชัดเจน ควรจัดใหมี

องคกรหรือหนวยงานของรัฐอาทิ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือหนวยงานเอกชนขึ้นมาดูแลการรับรองวิทยฐานะ มีขอเสนอแนะวา ควรใชระบบอเมริกันมาพัฒนาใชในการรับรองวิทยฐานะและการประกันคุณภาพการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส (e-Learning)

4. ทิศทางในอนาคตของการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส (e-Learning)ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย มีแนวโนม 2 ลักษณะ คือ เรียนอยูบานเพื่อรับปริญญา และเรียนที่สถาบันการศึกษาของตนเองหรืออยูวิทยาเขต ทั้งเรียนในหองและผานเครือขาย กลุมเปาหมายสวนใหญเปนนักศึกษาปริญญาโทและปริญญาเอก บทบาทของผูสอน จะเปลี่ยนไปจะเนนการทํากิจกรรมรวมกับผูเรียนมากขึ้น ปญหาที่ตองรีบแกไข คือ เร่ืองลิขสิทธิ์ของผูพัฒนา e-Learning ทุกสถาบันตองเตรียมการดานเทคโนโลยี ผูพัฒนา e-Learning และโครงสรางพื้นฐาน รัฐควรกําหนดนโยบายใหชัดเจนและมีหนวยงานที่รับผิดชอบในเร่ืองน้ีโดยเฉพาะ

Page 47: 5 A % 0 ’ # # # # ! 5 H @ 5 H ’ ÷ -13).pdf · 2 e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ + # 7 - # 9 ˙ A ˆ ˆ C G D ÷ 6 H 2

50

นางสาวเสาวลักษณ พอลีละ. เว็บไซตเรียนรูสุภาษิตคําพังเพยผานสื่อมัลติมีเดีย , มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2550.

วัตถุประสงคของโครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศฉบับน้ี เปนการวิเคราะหออกแบบและพัฒนาเว็บไซตเรียนรูสุภาษิต คําพังเพยผานสื่อมัลติมีเดีย เพื่อเปนสื่อกลางในการเรียนการสอนสุภาษิตคําพังเพย และเปนการที่ผูพัฒนาไดนําความรูที่ไดเรียนมา มาประยุกตใหเกิดประโยชน เปนการใชเทคโนโลยีอันกอใหเกิดประโยชนตอสังคมและผูทั่วไปที่สนใจ โดยใชภาษา PHP, HTML และอ่ืนๆในการพัฒนารูปแบบการทํางานของระบบการใชงานอินเตอรเน็ต โดยใช Appserv เปนเซิรฟเวอร ในสวนของฐานขอมูลจะใชโปรแกรม phpMyAdmin ซึ่งเปนโปรแกรมชวยในการจัดการฐานขอมูล ชวยใหงายตอการเพิ่ม ลบ แกไข ปรับปรุงขอมูล และรายละเอียดตางๆ ที่เกี่ยวของกับการทําเว็บไซต

ผูพัฒนาเว็บไซตเรียนรูสุภาษิต คําพังเพย หวังเปนอยางยิ่งวาเว็บไซตเรียนรูสุภาษิตคําพังเพยผานสื่อมัลติมี เดียที่พัฒนาในคร้ังน้ี จะกอใหเกิดประโยชนแกผูที่สนใจไดไมมากก็นอย หากมีขอผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยมา ณ ที่น้ี