4.6 สังคมและวัฒนธรรม 25-07-56...

50
โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที4 4-479 4.6 ดานสังคมและวัฒนธรรม การศึกษาดานสังคมและวัฒนธรรม ไดรวบรวมขอมูลดานประวัติศาสตร การตั้งถิ่นฐานลักษณะทางสังคม และวัฒนธรรมของทองถิ่น ทั้งสภาพสังคม กลุมชาติพันธุ จํานวนศาสนสถาน ภูมิปญญาทองถิ่น เทศกาลงาน ประเพณีที่สําคัญ และแหลงศิลปกรรม ของจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ เพื่อวิเคราะห แนวโนมของการเปลี่ยนแปลง และประมวลผลสําหรับการชี้นําแนวทางการวางแผนและพัฒนาพื้นที่อนุภาค ที่สอดคลองกับสภาพทางสังคมและวัฒนธรรมของพื้นที4.6.1 นโยบายและยุทธศาสตรที่สําคัญที่สงผลตอการพัฒนาดานสังคมและวัฒนธรรม ในชวงของการจัดทําแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที11 ซึ่งจะเริ่มใชในป ..2555 และสิ้นสุดลงในป ..2559 ไดมีการนําเสนอเชิงยุทธศาสตรที่เกิดจากการวิเคราะห การดําเนินงานตาม แผน 10 และการวิเคราะหความเชื่อมโยงระหวางทุนทั้ง 6 ไดแก ทุนธรรมชาติ ทุนกายภาพ ทุนสังคม ทุนมนุษย ทุนการเงิน และทุนทางวัฒนธรรม ซึ่งประเด็นขอเสนอเชิงยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับสภาพสังคมและวัฒนธรรม ก็คือ การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคควบคูกับเศรษฐกิจฐานความรู ซึ่งเศรษฐกิจสรางสรรคคือ แนวคิดการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการใชองคความรู (Knowledge) การศึกษา (Education) การสรางสรรคงาน (Creativity) และการใชทรัพยสินทางปญญา (Intellectual property) ที่เชื่อมโยงกับพื้นฐาน ทางวัฒนธรรม (Culture) การสั่งสมความรูของสังคม (Wisdom) และเทคโนโลยี /นวัตกรรมสมัยใหม (Technology and Innovation) ดังนั้นจะเห็นไดวาพื้นฐานทางวัฒนธรรมเปนเรื่องสําคัญสําหรับการดําเนินงานตามขอเสนอ เชิงยุทธศาสตรดังกลาว ซึ่งแหลงศิลปกรรมสามารถพัฒนาเพื่อใชประโยชนทั้งในดานของการเปนแหลงเรียนรู เปนจุดศูนยรวมใจของชุมชน และการใชประโยชนในดานของการทองเที่ยว แตในการพัฒนาเพื่อใชประโยชน จากแหลงศิลปกรรมนั้นจะตองคํานึงถึงเรื่องของการอนุรักษเปนหลัก เพื่อมิใหการพัฒนากอใหเกิดความเสียหาย กับแหลงศิลปกรรมได ดังนั้นกอนที่จะดําเนินการพัฒนาแหลงศิลปกรรมเพื่อเปนแหลงทองเที่ยว จึงตองมีการ วิเคราะหในเรื่องของคุณคา และระดับความวิกฤตของแหลงศิลปกรรมกอนและดําเนินกระบวนการในการอนุรักษ คุมครอง และฟนฟูในแหลงที่มีคุณคาสูงและระดับความวิกฤตสูงกอน สวนการพัฒนาแหลงศิลปกรรม ในระยะแรกจะเลือกแหลงที่มีคุณคาสูงและมีระดับความวิกฤตต่ํากอน จากนั้นจึงคอยๆ ขยายไปสูแหลงที่ไดมีการ วางมาตรการในการอนุรักษ คุมครอง และฟนฟู เปนที่เรียบรอยแลว

Upload: others

Post on 03-Sep-2019

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-479

4.6 ดานสังคมและวัฒนธรรม การศึกษาดานสังคมและวัฒนธรรม ไดรวบรวมขอมูลดานประวัติศาสตร การตั้งถ่ินฐานลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของทองถ่ิน ท้ังสภาพสังคม กลุมชาติพันธุ จํานวนศาสนสถาน ภูมิปญญาทองถ่ิน เทศกาลงานประเพณีท่ีสําคัญ และแหลงศิลปกรรม ของจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ เพ่ือวิเคราะหแนวโนมของการเปล่ียนแปลง และประมวลผลสําหรับการช้ีนําแนวทางการวางแผนและพัฒนาพื้นท่ีอนุภาค ท่ีสอดคลองกับสภาพทางสังคมและวัฒนธรรมของพ้ืนท่ี

4.6.1 นโยบายและยุทธศาสตรที่สําคัญท่ีสงผลตอการพัฒนาดานสังคมและวัฒนธรรม ในชวงของการจัดทําแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับ ท่ี 11 ซึ่งจะเ ริ่มใชในป พ.ศ.2555 และส้ินสุดลงในป พ.ศ.2559 ไดมีการนําเสนอเชิงยุทธศาสตรท่ีเกิดจากการวิเคราะห การดําเนินงานตามแผน 10 และการวิเคราะหความเชื่อมโยงระหวางทุนท้ัง 6 ไดแก ทุนธรรมชาติ ทุนกายภาพ ทุนสังคม ทุนมนุษย ทุนการเงิน และทุนทางวัฒนธรรม ซ่ึงประเด็นขอเสนอเชิงยุทธศาสตรท่ีเกี่ยวของกับสภาพสังคมและวัฒนธรรม ก็คือ การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคควบคูกับเศรษฐกิจฐานความรู ซ่ึงเศรษฐกิจสรางสรรคคือ แนวคิดการขับเคล่ือนเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการใชองคความรู (Knowledge) การศึกษา (Education) การสรางสรรคงาน (Creativity) และการใชทรัพยสินทางปญญา (Intel lectual property) ท่ีเ ชื่อมโยงกับพื้นฐาน ทางวัฒนธรรม (Culture) การสั่งสมความรูของสังคม (Wisdom) และเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม (Technology and Innovation) ดังนั้นจะเห็นไดวาพ้ืนฐานทางวัฒนธรรมเปนเร่ืองสําคัญสําหรับการดําเนินงานตามขอเสนอ เชิงยุทธศาสตรดังกลาว ซ่ึงแหลงศิลปกรรมสามารถพัฒนาเพื่อใชประโยชนท้ังในดานของการเปนแหลงเรียนรู เปนจุดศูนยรวมใจของชุมชน และการใชประโยชนในดานของการทองเท่ียว แตในการพัฒนาเพ่ือใชประโยชนจากแหลงศิลปกรรมนั้นจะตองคํานึงถึงเร่ืองของการอนุรักษเปนหลัก เพ่ือมิใหการพัฒนากอใหเกิดความเสียหายกับแหลงศิลปกรรมได ดังนั้นกอนท่ีจะดําเนินการพัฒนาแหลงศิลปกรรมเพ่ือเปนแหลงทองเท่ียว จึงตองมีการวิเคราะหในเร่ืองของคุณคา และระดับความวิกฤตของแหลงศิลปกรรมกอนและดําเนินกระบวนการในการอนุรักษ คุมครอง และฟนฟูในแหลงท่ีมีคุณคาสูงและระดับความวิกฤตสูงกอน สวนการพัฒนาแหลงศิลปกรรม ในระยะแรกจะเลือกแหลงท่ีมีคุณคาสูงและมีระดับความวิกฤตตํ่ากอน จากน้ันจึงคอยๆ ขยายไปสูแหลงท่ีไดมีการวางมาตรการในการอนุรักษ คุมครอง และฟนฟู เปนท่ีเรียบรอยแลว

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-480

4.6.2 ประวัติความเปนมาและการต้ังถ่ินฐาน 1) ดานประวัติศาสตรและพัฒนาการการตั้งถ่ินฐาน

ลักษณะทางสังคมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจังหวัดในพ้ืนท่ีศึกษาประวัติศาสตรอีสานสามารถแบงออกได 3 ยุคสมัย ดังนี้คือ

(1) ยุคกอนประวัติศาสตร จากสภาพภูมิศาสตรของภาคอีสานท่ีมีลักษณะเปนแองใหญ 2 แอง คือ แองโคราช และ

แองสกลนคร มีแมน้ําสายตางๆไหลผานทําใหภาคอีสานเหมาะสําหรับตั้งหลักแหลงท่ีอยูโดยจะเห็นไดจากการที่นักโบราณคดี คนพบหลักฐานทางประวัติศาสตรท่ีแสดงใหเห็นวาภูมิภาคอีสานมีชุมชนโบราณอาศัยอยู กระจัดกระจายในยุคหินกอนท่ีจะพบหลักฐานการตั้งชุมชน เผาพันธุ เปนสังคมเกษตรกรรม สังคมลาสัตวเก็บเกี่ยวพืชผล (Hunting and Gathering) เปนสังคมที่มีการเคล่ือนยายท่ีอยูตลอดเวลา มนุษยยุคนี้อาศัยอยูตามถํ้าในเพิงผา ใกลแหลงน้ํา หลักฐานท่ีคนพบ เชน กลุมศิลปะถํ้าบานผือ จังหวัดอุดรธานี กลุมภูแก จังหวัดหนองบัวลําภู จังหวัดขอนแกน กลุมภูกระดึง จังหวัดเลย กลุมภูพาน จังหวัดสกลนคร กลุมผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี กลุมมุกดาหาร กลุมเขาจันทรงาม จังหวัดนครราชสีมา

สังคมเกษตรกรรม (Village Farming Communities) เปนสังคมท่ีดํารงชีวิตดวยการปลูกขาว เล้ียงสัตว และติดตอแลกเปล่ียนผลผลิตกับสังคมภายนอก นอกจากนี้ยังมีการผลิตงานหัตถกรรมตางๆ เชน การทําเคร่ืองปนดินเผา การทอผา และการทําเคร่ืองมือเคร่ืองใชจากโลหะ มีการตั้งถ่ินฐานบานเรือนอยู เปนกลุม อยางถาวร พบกระจายอยูท่ัวไปทั้งในบริเวณแองสกลนครและแองโคราช

- ชุมชนโบราณแองสกลนคร (วัฒนธรรมบานเชียง) เปนชุมชนโบราณครอบคลุมพื้นท่ี อําเภอหนองหาร อําเภอบานดุง จังหวัดอุดรธานี อําเภอสวางแดนดิน อําเภอวาริชภูมิ อําเภอพังโคน อําเภอ วานรนิวาส อําเภอพรรณนานิคม และอําเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ซ่ึงจากการขุดคนพบแหลงโบราณคดี บานเชียง บานนาดี รวมท้ังการสํารวจแหลงชุมชนกลุมแมน้ําสงคราม ไดอธิบายลักษณะชุมชนโบราณของแองสกลนคร ดังนี้

• มีความเจริญในดานวิทยาการสูง สามารถทําเคร่ืองปนดินเผาลายสีแดง ซ่ึงหลากหลายท้ัง ข้ันตอนและรูปแบบ รู จักหลอสําริด เหล็กและแกว ท่ี เปนเคร่ืองมือและเคร่ืองประดับ

• มีการติดตอทางเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมกับชุมชนท่ีอยูหางไกล • หลักฐานขางตนช้ีใหเห็นวาชุมชนโบราณเหลานี้รวมตัวกันเปนสังคมใหญ และ

อาจจะพัฒนาเปนสังคมเมืองในเวลาตอมา แตยังไมพบแหลงท่ีจะกําหนดใหเปนเมืองหรือศูนยกลางทางการเมือง

- ชุมชนโบราณแองโคราช จากการศึกษาเชิงสํารวจในบริเวณตอนลางของแมน้ําชี ในเขตจังหวัดมหาสารคาม รอยเอ็ด ยโสธร ศรีสะเกษ สุรินทร บุรีรัมย พบชุมชนโบราณท่ีกระจายอยูตามลุมน้ําชี ซ่ึง แบงไดเปน 4 ลักษณะ คือ

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-481

• บริเวณเนินดินไมมีคูน้ําหรือคันดินลอมรอบ • บริเวณท่ีมีเนินดินท่ีมีคูน้ําลอมรอบช้ันเดียว • บริเวณท่ีมีเนินดินท่ีมีคูน้ําลอมรอบ 3 ช้ัน • บริเวณท่ีมีเนินดินท่ีมีคูน้ําและดินลอมรอบชุมชน

(2) ยุคประวัติศาสตร ในยุคประวัติศาสตรมีการกระจายตัวของชุมชนโบราณในภูมิภาคอีสาน ชุมชนโบราณ

เหลานี้ไดรูจักใชเทคโนโลยีในการถลุงเหล็ก เปล่ียนการผลิตขาวเปนการเพาะปลูกแบบนาลุม มีการผลิตเกลือ และเร่ิมมีระบบแลกเปล่ียน จากการศึกษาเชิงสํารวจศิลาจารึกท่ีอยูในภาคอีสาน ประกอบกับซากโบราณสถานท่ีอยู ในบริเวณใกลเคียงกับศิลาจารึกนั้น สามารถแบงกลุมภายนอกท่ีเขามาในดินแดนแถบนี้ ไดเปน 3 กลุม คือ

- กลุมชุมชนคนท่ีใชภาษามอญ ซ่ึงเช่ือวามีศูนยกลางอยู ท่ีประเทศไทย มีอายุอยูในราว พุทธศตวรรษท่ี 11-16 และแพรเขามาสูภาคอีสานกระจายไปท่ัวแองโคราช และแองสกลนคร บริเวณท่ีพบรองรอยของวัฒนธรรมทวาราวดีแบงไดเปน 2 เขต ใหญๆ คือ ตอนกลางของลุมแมน้ํามูล ไดแก เขตจังหวัดบุรีรัมย และนครราชสีมา และบริเวณลุมแมน้ําชี ไดแก เขตจังหวัดชัยภูมิ ขอนแกน อุดรธานี กาฬสินธุ มหาสารคาม รอยเอ็ดและยโสธร หลักฐานทางประวัติศาสตรที่พบไดแก ธรรมจักรท่ีบานเสมา อําเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา เสมาฟาแดดสูงยาง อําเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ พระพิมพนาดูน อําเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

- กลุมชุมชนอาณาจักรเจนละ เช่ือวามีศูนยกลางอยูท่ีเมืองเศรษฐปุระหรือนครจําปาศักดิ์ ของสาธารณรัฐประชาชนลาวในปจจุบัน โดยพบหลักฐานทางประวัติศาสตรท่ีทําใหสันนิษฐานวาศูนยกลาง ของอาณาจักรเจนละอยูในเขตลุมแมน้ําโขง และแมน้ํามูลในเขตจังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดยโสธร ในชวงศตวรรษท่ี 13-14 ดังหลักฐานจาก ศาสนสถานท่ีบานดอนเมืองเตย อําเภอคําเข่ือนแกว จังหวัดยโสธร ทับหลัง ท่ีอําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี เปนตน

- กลุมชุมชน สมัยพระนคร เปนกลุมท่ีรุงเรืองในภาคอีสานในชวงพุทธศตวรรษท่ี 15-18 การกระจายของวัฒนธรรมเขมรในลุมแมน้ํามูลเปนไปอยางกวางขวาง โดยเฉพาะหลังสมัยพระเจาชัยวรมันท่ี 2 ทําใหเกิดศาสนสถานในลัทธิพราหมณหลายแหง เชน ปราสาทเขาพนมรุง จังหวัดบุรีรัมย ปราสาทหินพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ปราสาทเขาพระวิหาร ที่ตั้งอยูบนเทือกเขาพนมดงรัก โดยหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบไดแก พระธาตุพนม อําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม พระธาตุเรณูนคร อําเภอ เรณูนคร จังหวัดนครพนม พระธาตุเชิงชุม อําเภอเมือง จังหวัดสกลนคร พระธาตุบานแกง อําเภอภูเวียง จังหวัดชัยภูมิ พระธาตุ ขามแกน อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน พระธาตุกลองขาวนอย ท่ีบานตาดทอง จังหวัดยโสธร พระธาตุศรีสองรัก อําเภอดานซาย จังหวัดเลย พระธาตุบังพวน อําเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-482

2) ดานประวัติศาสตรและพัฒนาการการตั้งถ่ินฐานในแตละจังหวัด (1) จังหวัดอุบลราชธานี

ตํานานเมืองอุบล ไดกล าวถึงการสืบเ ช้ือสายจากเจ านครเ ชียงรุ ง ในพ .ศ . 2325 เ ม่ือพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ าจุฬาโลกมหาราช สถาปนากรุง เทพมหานครเปนราชธานีนั้น พระประทุมวรราชสุริยวงศเจาเมืองอุบลราชธานีคนแรก พรอมดวยครอบครัวไพรพลยังคงต้ังหลักแหลงอยูท่ี เวียงดอนกองแขวงเมืองนครจําปาศักดิ์ ใน พ.ศ. 2329 พระปทุมวรราชสุริยวงศ (ทาวคําผง) จึงไดพาครอบครัวไพรพลจากเวียงดอนกองมาต้ังหลักแหลงทํามาหากินอยู ณ บริเวณหวยแจระแม (ปจจุบันคือ บริเวณบานทาบอ) อันเปนท่ีราบลุมแมน้ํามูล ไดอาศัยอยู ณ บริเวณหวยแจระแมดวยความปกติสุข

สมัยรัตนโกสินทรตอนตน บริเวณจังหวัดอุบลราชธานีในปจจุบัน ไดมีการจัดต้ังเมืองข้ึน ท้ังหมด 17 เมือง เปนเมืองใหญท่ีข้ึนตอกรุงเทพฯ 4 เมือง คือ เมืองอุบลราชธานี เมืองยโสธร เมืองเขมราฐ และเมืองเดชอุดม นอกนั้นก็เปนเมืองเล็กๆ เทียบไดกับเมืองจัตวาท่ีข้ึนกับเมืองใหญๆเหลานี้อีก 13 เมือง กลาวคือ เมืองคําเข่ือนแกว เมืองอํานาจเจริญข้ึนตรงตอเมืองเขมราฐ เมืองเสนางคนิคม เมืองพิบูลมังสาหาร เมืองตระการพืชผล เมืองมหาชนะไชย เมืองชาณุมารมณฑล เมืองพนานิคม เมืองเกษมสีมา ข้ึนตรงตอเมืองอุบลราชธานี และเมืองโขงเจียม เมืองบัว (บุณฑริก) เมืองวารินชําราบ เมืองโดมประดิษฐ ข้ึนตรงตอเมืองนครจําปาศักดิ์

การต้ังเมืองท่ีกลาวมา มีขอสังเกตได คือ เมืองสวนใหญจะไดรับการยกฐานะใหเปนเมืองมาแลวต้ังแตสมัยรัตนโกสินทรตอนตน สวนเมืองวารินชําราบข้ึนตรงตอเมืองนครจําปาศักดิ์ เปนตน ท้ังนี้คงเปนเพราะการคมนาคมไมสะดวก ยากลําบาก จึงไมสามารถนําเอาเร่ืองการคมนาคมมาเปนเกณฑในการกําหนดวาเมืองใดได จึงเพียงแตคํานึงถึงวาเจาเมืองท่ีตั้งข้ึนใหมเคยสังกัดอยูกับเมืองใด เม่ืออพยพครอบครัวไพลพลไป ตั้งเมืองข้ึนใหม ก็จะขอข้ึนกับเมืองเดิม ท้ังนี้คงเพื่อความสะดวกในการสงสวย

เมืองอุบลราชธานีมีบทบาทและมีความสําคัญตอเมืองอ่ืน ๆในบริเวณใกลเคียงเปนอยางมาก เพราะตองควบคุมดูแลเมืองข้ึนโดยตรงถึง 7 เมือง และรับผิดชอบจัดรวมสวยอากรท่ีเก็บไดจากเมืองตางๆ สงไปยังกรุงเทพมหานครเปนประจําทุกป

ความสัมพันธของเมืองอุบลราชธานีกับการเติบโตของเมืองในอดีตนั้น นอกจากจะเปนศูนยกลาง และเปนท่ีตั้งกองขาหลวงกํากับราชการแลว ยังประกอบดวยหัวเมืองเอกท่ีเคยข้ึนตรงตอกรุงเทพฯ อีก 11 เมือง คือ กาฬสินธุ สุวรรณภูมิ มหาสารคาม รอนเอ็ด ภูแลนชาง กมลาสัย เขมราฐ ยโสธร สองคอนดง ศรีสะเกษ และเมืองนอง สวนหัวเมืองท่ีข้ึนกับหัวเมืองลาวฝายตะวันออกเฉียงเหนือ 29 เมือง คือ เมืองเสนางคนิคม พิบูลมังสาหาร ตระการพืชผล มหาชนะไชย ชาณุมารมณฑล พนานิคม เกษมสีมา แซงมาดาล กุฉิ-นารายณ ทาขอนยาง กันทรวิชัย สหัสขันธุ เกษตรวิสัย พนมไพรแดนมฤค จตุรพักตรพิมาฯ พยัครฒ-ภูมิพิสัย วาปปทุม โกสุมพิสัย ธวัชบุรี โขงเจียม เสมียะ คําเข่ือนแกลว อํานาจเจริญ ลําเนาหนองปรือ เมืองพอง เมืองพิน เมืองพาน และเมืองราษีไศล

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-483

(2) จังหวัดอํานาจเจริญ เม่ือพุทธศักราช 2437 เจาพระพรหมวรราชสุริยวงศ เจาเมืองอุบลราชธานี คนท่ี 2 ไดมี

ใบบอกลงไปกราบทูลพระกรุณาฯ พระพุทธเลิศหลานภาลัย ขอพระราชทานต้ังบานโคกกง กงพะเนียง (ปจจุบันเปนตําบลอยูในการปกครองของอําเภอชานุมาน) เปนเมืองเขมราฐธานี พระพุทธเลิศหลานภาลัย จึงทรงกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตั้งบานโคกกงกงพะเนียง เปนเมืองเขมราฐธานี ตามท่ีพระพรหมวรราชสิริยวงศากราบบังคมทูล และทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหอุปราชก่ํา บุตรชายคนโตของพระวอ จากเมืองอุบลราชธานีมาเปนเจาเมืองเขมราฐ (ท่ีตั้งอยูเมืองบริเวณบานคําแหว เมืองเกา อําเภอชานุมาน) ไดรับสถาปนาเปนพระเทพวงศา(ก่ํา)

ตอมาใน พ.ศ.2369 เกิดศึกระหวางกรุงเทพฯ กับกองทัพเจาอนุวงศ เจานครจําปาศักดิ์ ไดยกทัพมายึดเมืองเขมราฐ และขอใหพระเทพวงศา (ก่ํา) เขาเปนพวกดวย แตพระเทพวงศาไมยอมจึงถูกประหารชีวิตพระเทพวงศา (ก่ํา) มีบุตรชาย 3 คน คือ พระเทพวงศา (บุญเฮา) คนท่ี 3 ทาวแดง มียศเปนพระกําจนตุรงค ไดเปนเจาเมืองวารินชําราบ พระเทพวงศา (บุญจันทร) มีบุตรชาย 2 คน คือ ทาวบุญสิงห และทาวบุญชัย ตอมา ทาวบุญสิงห ไดเปนเจาเมืองเขมราฐมียศเปนพระเทพวงศา (บุญสิงห) มีบุตรชาย 2 คน คือ ทาวเสือ และทาวพวย ซ่ึงไดรับยศเปนทาวจันทบุรมหรือจันทบรม ซ่ึงตอมาในป พ.ศ.2401 ทาวจันทบุรมไดกราบบังคมทูลขอพระราชทานพระราชานุญาต ยกฐานะบานคอใหญ (ปจจุบันอยูในทองท่ีอําเภอลืออํานาจ) ข้ึนเปนเมืองอํานาจเจริญ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหยกฐานะบานคอใหญ ข้ึนเปนเมือง ใหช่ือวา “เมืองอํานาจเจริญ” เม่ือพ.ศ.2410 และโปรดเกลาฯ ใหทาวจันทบรม (เสือ) เปนเจาเมือง มียศเปนพระอมรอํานาจ (ตนสกุลอมรสิน) ดังปรากฏตราสารต้ังเจาเมืองอํานาจเจริญ ดังนี้

“สารตราเจาพระยาจักรี ศรีองครักษ สมุหนายก อรรคมหาเสนาบดี อภัยภริยปรากรมพาหุ มาถึงพระเทพวงศ พระอุปราช ราชวงศ ราชบุตร เมืองเขมราฐธานี” ดวยมีพระราชโองการตรัสเหนือเกลาเหนือกระหมอมส่ังวา เจาพระยานิกรบดินทรมหากัลยาณบัตร สมุหนายก กราบบังคมทูลพระกรุณาวา ทาวจันทบุรม เปนนายกอง ตั้งอยูบานคอบานหมอแขวงเมืองเขมราฐธานี มีจํานวน คน พระสงฆ สามเณร 123 คนชรา คนพิการ 119 ทาวเพี้ย จาบาน 234 ชายฉกรรจ 578 ขาพระ 36 ทาส 22 รวม 1,117 คน รับผูกสวยเงินแทนผลเรว เปนหลวง ปละ 53 หาบ เม่ือถึงกําหนดป ใหสงผลเรวไปใหครบจํานวน บานคอ บานหมอ มีไรนา ท่ีทํากินกวางขวาง แตบานคอบานหมอเดินทางไปเขมราฐธานี ใชเวลาถึง 3 คืน จะข้ึนไป เมืองมุกดาหาร 4 คืน จะลงมาเมืองอุบลราชธานี ถึง 3 คืน จะตัดไปเมืองยศ (เมืองยโสธร) 2 คืน เจาเมืองเพ้ีย ข้ึนลงไปมาเปนท่ีพักอาศัยไมขาด เม่ือปมะโรง อัฐศก ไดมีหนังสือ ข้ึนไปปรึกษาพระเทพวงศา พระอุปฮาด ราชวงศ ราชบุตร เมืองเขมราฐธานี มีใบบอกใหราชบุตร พาทาวจันทบุรม นายกอง ทาวเพี้ย ลงมาขอรับพระราชทาน ตั้งบานหมอเปนเมือง โดยขอใหทาวจันทบุรม เปนเจาเมือง ทาวบุตร เปนอุปฮาด ทาว สีหาราช เปนราชวงศ ทาวสุริโย เปนราชบุตร ทําราชการขึ้นกับ เมืองเขมราฐธานี แลวแตจะโปรดเกลาโปรดกระหมอม จึงทรงพระราชดํารัสวา ... “ผูคนและไพรพลมีมาก ควร ตั้งเปนเมืองได คร้ันจะสมัครอยูไหน ก็ไดโปรดเกลาโปรดกระหมอม จัดแจงต้ังเปนเมือง ทําราชการข้ึนกับ เมืองนั้น ท่ัวไปทุกบานทุกเมือง” ซ่ึงเจาพระยานิกรบดินทรมหากัลยาณมิตร ท่ีสมุหนายกปรึกษา พระเทพวงศา

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-484

พระอุปราช ราชวงศราชบุตร จึงเห็นพองตองกันพรอมยกฐานะบานหมอ ข้ึนเปนเมือง ขอใหทาวจันทบุรม เปนเจาเมือง ทาวบุตรเปนอุปฮาด ทาวสีหาราช เปนราชวงศ ทาวสุริโย เปนราชบุตร ทําราชการข้ึนกับพระเทพวงศา เจาเมืองเขมราฐธานี นั้นชอบแลว ไดโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหพระราชทานนามสัญญาบัตร ประทับตราพระบรมราชโองการ ตั้งทาวจันทบุรม เปนพระอมรอํานาจ เจาเมือง พระราชทานถาดหมาก คนโทเงิน สํารับหนึ่ง สัปทนแพรคันหนึ่ง เส้ือเขมขาบร้ิวดอกตัวหนึ่ง แพรสีทับทิม ติดขลิบผืนหนึ่ง ผาสานวิลาศผืนหนึ่ง แพรหงอนไกลายผืนหนึ่ง ผาเชิงปูมผืนหนึ่ง เปนเครื่องยศฐานาศักดิ์ ข้ึนรักษาเมือง ทําราชการข้ึนกับเมืองเขมราฐธานีสืบไป และ ทาวจันทบุรม ผูเปนพระอมรอํานาจ ฟงบังคับบัญชาพระเทพวงศา อุปราชราชวงศ ราชบุตร เมืองเขมราฐธานี ใหทาวอุปราชราชวงศ ทาวราชบุตร เมืองอํานาจเจริญ ฟงบังคับบัญชา ทาวจันทบุรม ผูเปนพระอมรอํานาจ เจาเมืองอํานาจเจริญ แตท่ีชอบดวยราชการ อยาใหถือวาแตกอนอยูใตบังคับบัญชาพระเทพวงศา เดี๋ยวนี้ไดแยกออกเปนเมืองแลว อยาไดขัดแยงตอเมืองใหญ ฝายพระเทพวงศา ก็อยาอิจฉาพยาบาทถือเปนเมืองเขาเมืองเรา มีราชการเมืองมาก็ใหประนีประนอม ชวยเหลือราชการใหเปนอันหนึ่งใจเดียวกัน อยาถือเปรียบแกงแยงใหเสียราชการได อนึ่งเมืองอํานาจเจริญเปนเมืองท่ีตั้งใหม เจาเมือง อุปฮาด ราชวงศ ราชบุตร ยังไมรูกฏหมาย แบบอยางขนบธรรมเนียมใหพระเทพวงศา วากลาวส่ังสอนพระอมรอํานาจประพฤติแตท่ีชอบท่ีควร ฯลฯ ใหพระอมรอํานาจเจาเมือง พรอมอุปฮาด ราชวงศ ราชบุตร ทาวเพี้ย ไปพรอมดวยพระเทพวงศา อุปฮาด ราชวงศ ราชบุตร เมืองเขมราฐธานี ณ อุโบสถพระวิหารเมืองเขมราฐธานี กราบถวายบังคมสัตยานุสัตยถวายตอใตฝาละอองธุลีพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัวฯ รับพระราชทานน้ําพิพัฒนสัตยา ปละ 2 คร้ัง ตามธรรมเนียมสืบไป “หนังสือมา ณ วันอังคาร ข้ึน 12 คํ่า เดือน 9 จุลศักราช 1220 ปมะเมีย สัมฤทธิศก พุทธศักราช 2401”

เมืองอํานาจเจริญ จึงไดรับการสถาปนาเปนเมือง ตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา โดยข้ึนการบังคับบัญชาของเจาเมืองเขมราฐธานี มีทาวจันทบุรม (เสือ) มีพระอมรอํานาจ ซ่ึงเปนบุตรชายของพระเทพวงศา (ทาวบุญสิงห) เจาเมืองเขมราฐธานี ซ่ึงเปนหลานเจาพระวอ เจาเมืองอุบลราชธานี เปนเจาเมืองอํานาจเจริญคนแรก นับวาเมืองอํานาจเจริญ เปนเช้ือสายของเจาพระวอพระตาโดยตรง ตอมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวฯ ไดมีการเปล่ียนแปลงระบบการปกครอง โดยการปฏิรูปการปกครอง ใหเขาสูระบบการบริหารราชการแผนดินแบบยุโรปตามแบบสากล เปนระบบเทศาภิบาล เม่ือ พ.ศ.2429 ถึง พ.ศ.2445 โดยยกเลิกการปกครองแบบเดิมท่ีใหมีเจาเมือง พระอุปราช ราชวงศ และราชบุตร ท่ีเรียกวา อาญาส่ี

ตอมาไดมีพระราชบัญญัติจัดต้ังจังหวัดอํานาจเจริญ พ.ศ.2536 ซ่ึงมีผลบังคับต้ังแตวันท่ี 1 ธันวาคม 2536 ตรงกับวันพุธ แรม 3 คํ่า เดือน 12 ประกา ยกฐานะอําเภออํานาจเจริญ เปนจังหวัดอํานาจเจริญ โดยใหแยกอําเภออํานาจเจริญ อําเภอชานุมาน อําเภอปทุมราชวงศา อําเภอพนา อําเภอหัวตะพาน อําเภอ เสนางคนิคม และอําเภอลืออํานาจ (ปจจุบันอําเภอลืออํานาจ) รวม 6 อําเภอ 1 อําเภอ โดยแยกออกจากการปกครองจังหวัดอุบลราชธานี รวมกันข้ึน เปนจังหวัดอํานาจเจริญ (ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ หนา 4-6 เลม 110 ตอนท่ี 125 ลงวันท่ี 2 กันยายน พ.ศ.2536 (http://www.amnatcharoen.go.th คนเม่ือ พฤษภาคม 2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-485

(3) จังหวัดยโสธร ยโสธร มีประวัติความเปนมาอันยาวนาน เกี่ยวเนื่องกับเมือง หนองบัวลุมภู “นครเข่ือนขัณฑ

กาบแกวบัวบาน” (อดีตอําเภอหนองบัวลําภูในจังหวัดอุดรธานีปจจุบันเปนจังหวัดหนองบัวลําภู) และเกี่ยวพันกับเมืองอุบล กลาวคือเม่ือพระเจาวอ และผูเปนนองท้ัง 2 คือเจาคําผงและเจาฝายหนาอีกท้ังเจาก่ํา เจาทิดพรมไดยกทัพฝาหนีออกจากเมืองหนองบัวลุมภู หลังจากท่ีเจาตา เจาเมืองหนองบัวลําภูไดถูกขาศึกยิงดวยอาวุธปน และฟนดวยดาบจนถึงแกพิราลัย ขบวนทัพของเจาพระวอไดเดินทางตามลุมแมน้ําชีมาพักกับเจาคําสูผูปกครองบานสิงหทา (ปจจุบัน คือ จังหวัดยโสธร) ภายหลังตอมาเจาพระวอดําริวาหากอยูกับเจาคําสูแลวถาเวียงจันทรยกทัพมาก็จะเปนการลําบากและจะเกิดศึกสงครามกันตอไปเม่ือตกลงกันไดจึงไดพาไพรพล อพยพลงไปตามลําน้ํามูลและสรางเมืองใหมท่ีดอนมดแดงเขตนครจําปาศักดิ์เม่ือเจากรุงศรีสัตนาคนหุตทราบเร่ืองจึงแตงต้ังใหพระญาสุโพยก กองทัพไปปราบจับเจาพระวอฆาเสียใหตายเจาพระวอไดเปนแมทัพรบกับพระเจากรุงศรีสัตนาคนหุตจนถึงแกความตายตอมาน้ําไดทวมดอนมดแดง เจาคําผงนองเจาพระวอ จึงมาสรางเมืองใหมท่ีดงอูผ้ึงและมีใบบอกไปยังกรุงธนบุรี ใหทราบ และไดตั้งนามเมืองวา “เมืองอุบล” เพื่อเปนการรําลึกถึงเมืองเดิมของตน คือเมืองหนองบัวลุมภู จากน้ันเจาคําผงจึงไดรับโปรดเกลาฯ ใหเปนเจาเมืองคนแรกของเมืองอุบล และไดรับพระราชทินนามวา “พระปทุมสุรราช”

ตอมาเจาฝายหนานองพระปทุมสุรราชเจาเมืองอุบลพรอมกับนางอูสาไพรพลญาติวงศา อีกสวนหน่ึงไดขอแยกตัวไปอยูบานสิงหทา ไดปรับปรุงและสรางบานสิงหทาจนเจริญรุงเรือง ตอมาในป พ.ศ.2325 หลังจากที่ เจาฝายหนาไดไปชวยปราบกบฏ อายเซียงแกว เขาโองท่ีนครจําปาศักดิ์ตามใบบอกของ พระปทุมสุรราช เจาฝายหนาก็ไดรับการสถาปนาข้ึนเปน “เจาพระยาวิชัยราชขัตติยวงศา” ครองนครจําปาศักดิ์ ตามบัญชาของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก และใน พ.ศ.2354 เจาพระยาวิชัยราชขัตติยวงศาถึงแกพิราลัย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยโปรดฯ ใหเจาหนู หลานเจานครจําปาศักดิ์ครองนครจําปาศักดิ์สืบไป ฝายเจาราชวงศสิงห บุตรเจาพระยาวิชัยราชขัตติยวงศากลับมาอยูบานเดิมคือบานสิงหทา และไดนําอัฐิของเจาพระยาวิชัยราชขัตติยวงศากลับมาดวย โดยไดนํามากอเจดียบรรจุไวท่ีวัดมหาธาตุ ใกลกับพระธาตุพระอานนท ซ่ึงยังปรากฏอยูจนปจจุบัน และในป พ.ศ. 2357 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ยกบานสิงหทาข้ึนเปน “เมืองยโสธร” หรือ “เมืองยศสุนทร” ใหเจาราชวงศสิงหเปนเจาครองเมืองมีราชทินนามวา “พระสุนทรราชวงศา” เจาเมืองคนแรกของเมืองยโสธร ตอมาในป พ.ศ.2433 ตรงกับรัชสมัยของลนเกลารัชกาลท่ี 5 ไดมีการจัดรูปแบบการปกครองใหม เมืองยโสธรไดรวมเปนหัวเมืองตะวันออกเฉียงเหนือมีขาหลวงต้ังกองวาราชการอยูท่ีเมืองอุบลข้ึนตรงตอกรุงเทพฯ และในป พ.ศ. 2443 กระทรวงมหาดไทยไดยุบเลิกมณฑลอีสาน เมืองยโสธรจึงไดรวมเขากับเมืองอุบลโดยแยกออกเปน 2 อําเภอ คือ อํา เภออุทัยยโสธรภายหลังเปนอําเภอ คําเข่ือนแกว และอําเภอประจิมยโสธร ภายหลังเปนอําเภอยโสธรจนกระท่ังในป พ.ศ. 2494 กระทรวงมหาดไทยไดริเร่ิมขอต้ังอําเภอยโสธรข้ึนเปนจังหวัด และในวันท่ี 6 กุมภาพันธ พ.ศ.2515 จึงไดมีประกาศคณะปฏิวัติ

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-486

ฉบับท่ี 70 ตั้งอําเภอยโสธรข้ึนเปนจังหวัดยโสธร โดยมีผลบังคับใชตั้งแตวันท่ี 1 มีนาคม พ.ศ.2515 เปนตนมา ยโสธรจึงเปนจังหวัดท่ี 71 ของประเทศไทย (http://www.yasothon.go.th/a_province.html คนเม่ือ พฤษภาคม 2554)

(4) จังหวัดศรีสะเกษ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายในราว พ.ศ. 2302 สมเด็จพระเจาเอกทัศนโปรดเกลาฯ

ใหยกบานปราสาทส่ีเหล่ียมดงลําดวนข้ึนเปนเมืองนครลําดวน ตอมาเมืองนครลําดวนเกิดภาวะขาดแคลนนํ้า จึงโปรดเกลาฯ ใหเทครัวไปจัดต้ังเมืองใหมท่ีริมหนองแตระหางจากเมืองเดิมไปทางใต เมืองใหมเรียก “เมืองขุขันธ” หรือ “เมืองคูขัณฑ” ซ่ึงไดแกอําเภอขุขันธในปจจุบัน ตอมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกโปรดเกลาฯ ใหแยกบานโนนสามขาสระกําแพงออกจากเมืองขุขันธ แลวต้ังเปนเมืองใหมเรียก เมืองศรีสะเกศ คร้ันในป พ.ศ.2455 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระประเมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จึงไดโปรดเกลาฯ ใหรวมบานเมืองขุขันธ เมืองศรีสะเกษและเมืองเดชอุดม เขาเปนเมืองเดียวกันเรียก “เมืองขุขันธ” ตอมาใน พ.ศ.2459 มีประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเปล่ียนคําวาเมืองเรียกวา จังหวัด ลงวันท่ี 19 พฤษภาคม ปนั้นเองเมืองขุขันธจึงเรียกใหมเปน “จังหวัดขุขันธ”

คร้ันรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ในวันท่ี 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2481 คณะผูสําเร็จราชการแทนพระองคไดตราพระราชกฤษฎีกาเปล่ียนนามจังหวัดและอําเภอบางแหง พุทธศักราช 2481 โดยในมาตรา 3 ใหเปล่ียนช่ือ “จังหวัดขุขันธ” เปน จังหวัดศรีสะเกษ (เดิมในพระราชกฤษฎีกาสะกดวา “ศีรษะเกษ”) นับแตนั้น ท้ังนี้พระราชกฤษฎีกาดังกลาวมีผลใชบังคับต้ังแตวันท่ี 14 พฤศจิกายน พ.ศ.2481 (http://www.sisaket.go.th/story_sisaket.html คนเม่ือ พฤษภาคม 2554)

• ลําน้ําสําคัญท่ีบอกถึงการตั้งถ่ินฐาน ในพื้นท่ี อนุภาคกลุมจังหวัด คือ - ลําน้ํามูล เปนลําน้ําใหญเพียงสายเดียวบนท่ีราบสูงแหงนี้ นับวาเปนเสมือน เสนโลหิต

ใหญท่ีหลอเล้ียงพื้นท่ีดินทรายอันกวางใหญ เปนลําน้ําสายเดียวท่ีหลอเล้ียงเกือบทุกจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ 12 จังหวัด ใน 15 จังหวัด ยกเวน 3 จังหวัด คือ สกลนคร นครพนม และหนองคาย ในตอนตนน้ําจะไหลอยูในซอกหิน แลวจึงขยายกวางออกไปตามลําดับ ในฤดูแลงลําน้ําบางตอนจะต้ืนเขิน ลุยขามไดความเร็วของกระแสน้ําไมเปล่ียนแปลง ในฤดูน้ําจะทวมท่ีลุมท้ังสองฟาก ในเขตจังหวัดอุบลราชธานีจะกวาง ถึง 2 กิโลเมตร และนับตั้งแตอําเภอทาชางจนถึงปากมูล จะมีน้ําตลอดป ลําน้ํามูลมีความยาวทั้งส้ิน 600 กิโลเมตร ลําหวยท่ีสําคัญของลําน้ํามูล ไดแก

- หวยสําราญ ตนน้ําเกิดจากทิวเขาพนมดงรัก บริเวณชองจอมไหลผานอําเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร อําเภอขุขันท จังหวัดศรีสะเกษไปบรรจบลําน้ํามูลทางเหนืออําเภอเมืองศรีสะเกษ มีความยาวประมาณ 126 กโลเมตร มีหวยทาเอกไหลมาบรรจบบริเวณเหนืออําเภอเมืองศรีสะเกษ หวยทาเอกยาว 90 กิโลเมตร

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-487

- ลําชี เปนสาขาใหญท่ีสุดของลําน้ํามูล มีขนาด และความยาวเกือบเทากัน ลําชี หลอเล้ียงจังหวัดในภาคน้ี 8 จังหวัด มีลําหวย และลําน้ําเล็กไหลลงสูลําชีเปนจํานวนมาก ตอนตนน้ําแบงออกเปนสองแคว แควเหนือ ตนน้ํามาจากบึงอีจอย ในทิวเขาเพชรบูรณ ไหลมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต มาบรรจบกับ แควตะวันตก คือลําคันถู ซ่ึงเกิดจากทิวเขาดงพระยาเย็น ไหลผานอําเภอบําเหน็จณรงค อําเภอจตุรัส จังหวัดชัยภูมิ เม่ือแควท้ังสองนี้ไหลมาบรรจบกันแลว ก็ไหลผานอําเภอเมืองชัยภูมิ อําเภอปญจคีรี อําเภอเมืองขอนแกน จากน้ัน ก็มีลําพองไหลมาบรรจบ แลวไหลผานอําเภอโกสุมพิสัย อําเภอเมืองมหาสารคาม จากน้ันมีลําน้ําปาว ลําน้ําไหล มาบรรจบ แลวไหลตอไปผานอําเภอเมืองยโสธร อําเภอพนมไพร จังหวัดรอยเอ็ด อําเภอมหาชนะชัย แลวไหลไปบรรจบลําน้ํามูลท่ีบานทาดอน ใกลอําเภอเมืองอุบลฯ

3) สภาพทางสังคม กลุมชน ภูมิปญญาทองถ่ิน และวัฒนธรรม จากการศึกษาทางประวัติศาสตรและโบราณคดี พบวา ดินแดนภาคอีสานของไทยเปนแหลงท่ีมีการตั้งถ่ินฐานของชุมชนหลายเผาหลายภาษาต้ังแตยุคกอนประวัติศาสตร มีวัฒนธรรม ประเพณี ความเช่ือ การนับถือ ศาสนา และระบบสังคมของเผาพันธุ หรือกลุมชนตางๆสืบตอกันมาชานานประมาณ 6,500 ปมาแลว เชน วัฒนธรรมบานเชียง วัฒนธรรมโนนนกทา วัฒนธรรมทวาราวดี วัฒนธรรมขอม วัฒนธรรมลานนา วัฒนธรรมสุโขทัย วัฒนธรรมลานชาง วัฒนธรรมอยุธยา ศาสนาพุทธฝายมหายาน ศาสนาฮินดู เปนตน ลักษณะวัฒนธรรมประเพณีบางอยางมีความคลายคลึงกัน บางลักษณะของวัฒนธรรมก็มีความแตกตางในเร่ืองของเผาพันธุ แหลงท่ีมา ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีชีวิตของประชาชนภาคอีสาน นอกจากจะผูกพันกับวัฒนธรรมประเพณีทองถ่ินและ การนับถือศาสนาแลว ยังเช่ือมโยงกับการประกอบอาชีพ คือ การเพาะปลูกพืชท่ีสําคัญ คือ ขาว มันสําปะหลัง ปอ ขาวโพด ภาคอีสานมีพื้นท่ีทํานามากกวาภาคอื่นๆ แตผลผลิตท่ีไดต่ํา เพราะการทํานาสวนใหญอาศัยน้ําฝน ซ่ึงไมคอยแนนอน บางปมีน้ํามาก บางปไมมีน้ําเลย พอถึงฤดูแลงน้ําในแมน้ําลําธารจะเหือดแหงไปเสียสวนใหญ การขาดแคลนน้ําในภาคอีสานทําใหไมคอยมีการเพาะปลูกพืชหลังการเก็บเกี่ยวขาวแลว จึงมีผลผลิตนอย เปนเหตุใหประชาชน ในภูมิภาคนี้มีความยากจนเปนสวนมาก ปญหาการขาดแคลนนํ้าเพื่อการเกษตรและปญหาความยากจน ทําใหประชาชนบางสวนในภาคอีสานเปล่ียนวิถีชีวิตจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมในทองถ่ินเปนการอพยพ ยายถ่ินไปหางานทําในภาคอ่ืนสวนมากไปในลักษณะการบุกเบิกหาท่ีทํากินใหม เรียกวา “หานาดี” ในระยะหลังการหานาดีก็ทําไดยาก เพราะไมมีพื้นท่ีจะใหบุกเบิกใหม สวนใหญจึงไปทํางานรับจางในท่ีตางๆ และไปทํางานตางประเทศ เชน สิงคโปร บรูไน จีนไตหวัน และประเทศในตะวันออกกลาง เปนตน ชาวอีสานสวนใหญมีวิถีชีวิตเรียบงายแบบสังคมเกษตรกรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีสําคัญและปฏิบัติสืบตอกันมาเปนแบบชาวอีสานท่ัวไป ท่ียึด การดําเนินชีวิตท่ีเรียกวา “ฮีตสิบสองคลองสิบส่ี” อันถือเปนจารีตประเพณีของชาวมุกดาหารก็วาได ฮีตสิบสองคลองสิบส่ี เปนจารีตประเพณีท่ีประชาชนอนุภาคกลุมจังหวัดไดถือปฏิบัติสืบตอกันมาเปนเวลาชานาน ถาจะพิจารณาตามเนื้อหาแลว ถือเปนบัญญัติในการควบคุมพฤติกรรมสังคม เปนการกําหนดระเบียบของสังคม

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-488

ท่ีพึงประพฤติปฏิบัติ ถาละเลยเชื่อกันวาจะเกิดอัปมงคลฮีตสิบสอง หมายถึง ขนบธรรมเนียมประเพณีแบบแผน ท่ีดีงาม หรือประเพณีทําบุญ 12 เดือน อันไดแก บุญเขาจี่ บุญผะเหวส บุญสรงน้ํา บุญบ้ังไฟ บุญซําฮะ บุญเขาพรรษา บุญเขาประดับดิน บุญขาวสาก บุญออกพรรษา บุญกฐิน และบุญลอยกระทง ครองสิบส่ี หมายถึง ตัวบทกฎหมายโบราณเร่ิมต้ังแตผูซ่ือสัตย เปนผูมีอํานาจปกครองบานเมืองเปนขอแรก และคุณสมบัติคูนเมือง 14 อยาง เปนขอสุดทาย ตัวกฎหมายโบราณมีไมมาก แตคนโบราณก็ปกครองบานเมืองใหรมเย็นเปนสุข โดยปกครองแบบพอปกครองลูก พี่ปกครองนอง ในปจจุบันชาวไทยไดยอมรับนับถือพุทธศาสนาวาเปนศาสนาประจําชาติ

4) ประเพณีและวัฒนธรรมท่ีสําคัญ วัฒนธรรมความเช่ือท่ีเกี่ยวของเนื่องในศาสนาของชาวอีสานท่ัวไปท่ีรูกันและเรียกวา “ฮีต12” คือประเพณีพิธีกรรมงานบุญในรอบปท้ัง 12 เดือน งานบุญประเพณีท่ีจัดทํากันท่ัวไปในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บางงานบุญก็จัดทํากัน เปนบางหมูบาน บางงานบุญก็มีหมูบานใดหมูบานหนึ่งเปนเหมือนเจาภาพจัดงาน โดยมีหมูบานอ่ืนเขารวมงานและก็มีบางท่ีวางเวนจากการจัดงานเปนเวลานาน จนกลาวไดวาไมจัดกันอีกแลว รวมท้ังท่ีพบวาในทางปฏิบัติจริงของชาวบาน มีการขยับเล่ือนเวลา ในการจัดงานบุญไปรวมกันบางก็มี และก็มีบางบานท่ีมีการปรับเปล่ียนท้ังจากชาวบานเอง และองคกรหนวยงานภายนอกท่ีมีความสัมพันธเกี่ยวของกันกับความศรัทธาความเช่ือท่ีชาวบานมีตอโบราณสถานและศาสนสถาน

สภาพสังคมในพื้นท่ีกลุมจังหวัดอนุภาคอีสานตอนลางเปนกลุมชนท่ีนับถือศาสนาพุทธ สวนใหญมีลักษณะเปนสังคมเกษตรกรรมในชนบท สลับกับสังคมเมืองในเขตเมืองซ่ึงเปนสวนนอย วัฒนธรรมและประเพณีโดยสวนใหญคอนขางใกลชิดธรรมชาติ และมีขนบธรรมเนียมท่ีสืบทอดมาเปนระยะเวลายาวนาน เพราะวัฒนธรรมของกลุมชนโดยสวนใหญยังคงความสืบเนื่องมาจากอาณาจักรลานชาง ท้ังนี้ประเพณีวัฒนธรรมของพ้ืนท่ีอนุภาคฯ สวนใหญจะแตกตางกันไปในแตละทองถ่ินแตละจังหวัด ศิลปวัฒนธรรมเหลานี้เปนตัว บงบอกถึงความเช่ือ คานิยม ศาสนาและรูปแบบการดําเนินชีวิตตลอดจนอาชีพของคนในทองถ่ินนั้น ไๆดเปนอยางดี สาเหตุท่ีภาคอีสานมีความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรมประเพณีสวนหนึ่งอาจจะเปนผลมาจากการเปนศูนยรวมของประชากรหลากหลายเช้ือชาติ และมีการติดตอสังสรรคกับประชาชนในประเทศใกลเคียง จนกอใหเกิด การแลกเปล่ียนทางวัฒนธรรม

ในจังหวัดอุบลราชธานี และอํานาจเจริญ ท่ีมีพรมแดนติดตอกับประเทศลาว ประชาชนของ ท้ังสองประเทศมีการเดินทางไปมาหากัน ทําใหเกิดการถายทอดและแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมและประเพณีระหวางกัน ซ่ึงจะเห็นไดวาชาวไทยอีสานและชาวลาวแถบลุมแมน้ําโขงมีศิลปวัฒนธรรมประเพณีท่ีคลายๆ กันและรูปแบบการดําเนินชีวิตก็มีความคลายคลึงกันดวย รวมทั้งชาวเวียดนามท่ีอพยพเขามาในชวงสงครามเวียดนาม ก็ไดนําเอาศิลปวัฒนธรรมของเวียดนามเขามาดวย ถึงแมปจจุบันชาวเวียดนามเหลานี้จะไดปรับตัว เขา กับวัฒนธรรมของทองถ่ินอีสาน (เพื่อใหการดํารงชีวิตเปนไปอยางราบร่ืน) โดยเฉพาะชาวเวียดนามท่ีเปนวัยรุนในปจจุบันไดรับการศึกษาที่ดีเหมือนกับชาวไทยทุกประการ จนแทบแยกไมออกวาเปนคนไทยอีสานหรือ

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-489

คนเวียดนามกันแน แมวาวัยรุนสวนใหญจะนิยมวัฒนธรรมตะวันตก (เหมือนเด็กวัยรุนของไทย) จนลืมวัฒนธรรม อันดีงามของตัวเอง แตก็ยังมีชาวเวียดนามบางกลุมสวนใหญท่ีเปนคนสูงอายุยังคงยึดม่ันกับวัฒนธรรมของตนเองอยูอยางม่ันคง รูปแบบการดําเนินชีวิตแบบเวียดนามสามารถไดตามชุมชนชาวเวียดนามในจังหวัดท่ีกลาวมาแลว

สวนประชาชนท่ีอยูทางจังหวัดศรีสะเกษ มีการติดตอกันกับประชาชนชาวกัมพูชาก็จะรับเอาวัฒนธรรมของกัมพูชามาประยุกตใช ซ่ึงสวนใหญแลววัฒนธรรมประเพณีของคนท้ังสองเช้ือชาติก็มีความคลายคลึงกันอยูแลว จะเห็นไดอยางชัดเจนวาภาคอีสานเปนภูมิภาคท่ีมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและวัฒนธรรมตางๆ ก็มีความแตกตางกันตามแตละทองถ่ินและแตกตางจากภูมิภาคอื่นๆของไทยอยางเห็นไดชัด ท้ังวัฒนธรรมทางดานการดํารงชีวิตและวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวของกับศาสนา ซ่ึงเราสามารถสังเกตรูปแบบวัฒนธรรม ท่ีดีงามของชาวอีสานผานทางประเพณีตางๆท่ีชาวอีสานจัดข้ึนซ่ึงสามารถถายทอดวัฒนธรรมอีสานไดเปนอยางดี

คุณคาอนุรักษเชิงทองเท่ียวในดานกลุมชาติพันธุ หรือชนเผาตางๆ ในพ้ืนท่ีอนุภาคกลุมจังหวัด จะพบวาจะประกอบดวยกลุมชนหลายเผา เชน ชาวไทยอีสาน ลาว เวียดนาม (ญวน) เขมร สวย (กุย) แสก ยอ ผูไทย กะโส (โซ) รวมทั้งไทยโคราช ซ่ึงแตละเผามีความแตกตางกันท้ังทางดานภาษา ศิลปวัฒนธรรมประเพณี วิถีการดําเนินชีวิต แตวิถีชีวิตความเปนอยูท่ียึดม่ันอยูในจารีตประเพณี ท่ีเรียกวา “ฮีตบานคองเมือง” และ “ฮีตสิบสอง คองสิบส่ี” สอนใหเกิดการชวยเหลือเกื้อกูลซ่ึงกันและกัน รวมกิจกรรมสังคมและ งานบุญงานกุศลเปนประจํา ทําใหการใชชีวิตอยูรวมกันของกลุมชนตางๆ เหลานี้มีความสงบสุขตลอดมาตราบถึงปจจุบัน (ชมรมอีสานและ อินโดจีนศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2554)

ในดานภูมิปญญาทองถ่ินในพื้นท่ีอนุภาคกลุมจังหวัด จะเห็นไดวาดวยอุปนิสัยขยันขันแข็ง และสุขภาพรางกายที่สมบูรณ จิตใจผองใสออนโยน และเวลาท่ีวางจากการทํานา จึงคิดคนสรางสรรคงานศิลป ในรูปแบบตางๆ เปนภูมิปญญาทองถ่ิน เชน ผาไหมลายสวย ผาฝายทอมือท่ีนับวันจะหายาก ขาวของเคร่ืองใช เคร่ืองจักสาน และเคร่ืองปนดินเผา ท่ีเดิมผลิตเพื่อใชเองในครัวเรือนและแลกเปล่ียนระหวางกันในชุมชน แตตอมา ผลิตไดเปนจํานวนมากจึงนําออกจําหนายสรางรายไดแกครอบครัวอีกทางหน่ึง นอกจากนี้ความอุดมสมบูรณดวยธรรมชาติท่ีสวยงามบนยอดเขาสูงหลายแหง และแหลงรวมอารยธรรมโบราณนับพันป ท่ีทรงคุณคา ทางประวัติศาสตร ตลอดจนวัฒนธรรมพื้นบาน วิถีชีวิตท่ีเรียบงาย และความมีน้ําใจของชาวอีสาน จึงเปนทุน ในการสรางคุณภาพชีวิตท่ีดี และเปนส่ิงท่ีดึงดูดใหนักทองเท่ียวเดินทางมาเยือนภาคอีสานอยางตอเนื่อง

อยางไรก็ตามรายละเอียดงานประเพณีท่ีสําคัญ ในพื้นท่ีอนุภาคกลุมจังหวัดท่ีมีคุณคาและความสําคัญ ในการดึงดูดนักทองเท่ียว มีดังนี้

(1) จังหวัดอุบลราชธานี เทศกาลและงานประเพณีท่ีสําคัญของจังหวัดอุบลราชธานี ไดแก งานแหเทียนพรรษา

เทศนมหาชาติชาดกและสรงนํ้าปดทองพระเจาใหญอินแปลง งานประเพณีไหลเรือไฟ งานแขงขันเรือยาวประเพณี งานประเพณีมหาสงกรานตแกงสะพือ และเทศกาลไมดอกไมประดับ ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-490

- งานแหเทียนพรรษา เปนงานบุญท่ียิ่งใหญท่ีสุดของจังหวัดอุบลราชธานีจัดใหมีข้ึนในวันอาสาฬบูชา ซ่ึงตรง

กับวันเพ็ญเดือน 8 และวันเขาพรรษาบริเวณทุงศรีเมืองและศาลาจตุรมุข มีการประกวดตนเทียน 2 ประเภท คือ ประเภทติดพิมพและประเภทแกะสลัก โดยขบวนแหจากคุมวัดตางๆ พรอมนางฟาประจําตนเทียนจะเคล่ือนขบวนจากหนาวัดศรีอุบลรัตนารามไปตามถนนมาส้ินสุดขบวนท่ีทุงศรีเมือง

- งานประเพณีไหลเรือไฟ บริเวณเชิงสะพานรัตนโกสินทร 200 ปมีการไหลเรือไฟของคุมวัดตางๆ จัดข้ึนในชวงวัน

ออกพรรษา (ประมาณเดือนตุลาคม) - งานแขงขันเรือยาวประเพณี

ตามลําน้ํามูลในพื้นท่ีจังหวัดอุบลราชธานีในชวงหลังจากเสร็จส้ินงานบุญประเพณี ออกพรรษา (ประมาณเดือนตุลาคม)แลวมีการจัดแขงขันเรือยาวประเพณีข้ึนหลายแหง และท่ีจัดข้ึนประจําไดแกเทศบาลเมืองอุบลฯ จัดข้ึนบริเวณสะพานรัตนโกสินทร 200 ป เทศบาลตําบลพิบูลมังสาหารจัดข้ึนบริเวณ เชิงสะพานขามแมน้ํามูล วัดโพธ์ิตากอําเภอพิบูลมังสาหาร

- งานประเพณีมหาสงกรานตแกงสะพือ ทางเทศบาลพิบูลมังสาหาร ไดกําหนดจัดงานประเพณีสงกรานตแกงสะพือข้ึน

เปนประจํา ในงานมีการประกวดธิดาสงกรานตการออกรานจําหนายสินคาของภาคเอกชน มีการละเลนกีฬาพื้นเมืองและการประกวดการเลนดนตรีพื้นบานอีสาน จัดข้ึนในเดือนเมษายน

(2) จังหวัดยโสธร - งานประเพณีบุญบั้งไฟ

จัดขึ้นในวันเสาร-อาทิตยท่ี 2 ของเดือนพฤษภาคม บริเวณสวนสาธารณะพญาแถน โดยแตเดิมมีวัตถุประสงคเพื่อมุงแสดงออกถึงความสามัคคีของหมูคณะ และเช่ือวาเทพยดาและส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ จะบันดาลใหมีฝนตกตามฤดูกาลทําใหพืชพันธุธัญญาหาร อุดมสมบูรณ

- งานสมโภชพระธาตุอานนท เปนพระธาตุรุนเกาท่ีสําคัญองคหนึ่งในภาคอีสาน เจดียทรงสี่ เหลี่ยมสวนยอดคลาย พระธาตุพนม ภายในพระธาตุบรรจุอัฐิธาตุของพระอานนท การกอสรางไดรับอิทธิพลศิลปะลาวท่ีนิยมสรางข้ึนเม่ือปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาถึงตนรัตนโกสินทร สรางราว พ.ศ. 2321 ลักษณะพระธาตุ ฐานรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัส ยาวดานละ 81 เมตร กออิฐถือปูนเอวฐานคอดเปนรูปบัวคว่ําบัวหงาย เหนือข้ึนไปเปนเรือนธาตุ มีซุม 4 ทิศ ประดิษฐานพระพุทธรูปประทับยืน สวนยอดธาตุมียอดปลีเล็กแซมท้ัง 4 ดาน ยอดกลางทรงส่ีเหล่ียมสอบ มี 2 ช้ัน รูปแบบการกอสรางคลายกับพระธาตุกองขาวนอย และทางวัดจะจัดใหมีงานสมโภชพระธาตุอานนทข้ึนเปนประจําทุกปในเดือนมีนาคม

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-491

(3) จังหวัดศรีสะเกษ - ประเพณีเผาไทยศรีสะเกษและเทศกาลดอกลําดวน เพื่อเปนการ เผยแพรศิลปวัฒนธรรม

ของจังหวัดศรีสะเกษ ในงานจะมีขบวนแห การแสดง ศิลปวัฒนธรรมพื้นบานอีสานใต เชน การแสดงชุดแตงกายพื้นเมือง 4 เผา คือ สวน ลาว เยอ และเขมร สาธิตการทอผา ประกวดเปาแคน ดีดพิณ หมอลํา การ จําหนายสินคาพื้นเมืองท่ีข้ึนช่ือ ไดแก หอมแดง กระเทียม และกระเทียมโทน ดองน้ําผ้ึง การจัดงานเล้ียง พาแลง และการแสดงแสงเสียงยอนรอยอดีตตํานาน เมืองศรีสะเกษ เ รื่อ งศรีพฤท เธศวร ซ่ึงเปนตํานานการกอสรางปราสาทหิน วัดสระกําแพงใหญเกี่ยวพันกับประวัติศาสตรการเดินทางแหงองคสุริยวรมัน จากนครวัดสูเมืองละโว และเมือง พิมาย จัดข้ึนราวตนเดือนมีนาคม ในบริเวณสวนสมเด็จพระศรีนครินทร

(4) จังหวัดอํานาจเจริญ - ประเพณีลงขวง เปนการชุมนุมกันของหนุมสาว แสดงถึงวิถี ชีวิตแบบหนึ่งของ

ชาวจังหวัดอํานาจเจริญในอดีต โดยที่ฝ ายสาวซ่ึงมีความสามารถในการทอผา รูจักการใหสีสันและ ลวดลาย ท่ีสวยงามเปนเอกลักษณของชาวภูไทย จะทําการทอผาหรือสาวไหม พวกหนุมๆ ก็มาบรรเลงเพลงดวยเคร่ืองดนตรีพื้นบาน เชน แคน และพิณ เพื่อความเพลิดเพลินสนุกสนานควบคูกับการทํางานของสาว ๆ

- ประเพณีการแขงเรือยาว จัดข้ึนในเดือนพฤศจิกายนของทุกป จัดขึ้นที่บริ เวณทาน้ํา แมน้ําโขง หนาท่ีวาการอําเภอชานุมาน มีเรือจากอําเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร เรือจากอําเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี เรือจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และเรือจากอําเภอชานุมาน จังหวัดอํานาจเจริญ มารวมแขงขันเพื่อเปนการเช่ือมสัมพันธไมตรี

5) แหลงศิลปกรรม แหลงศิลปกรรมอันควรอนุรักษในกลุมจังหวัดอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง มีท้ังแหลง

ศิลปกรรมประเภทรองรอยของคูเมืองกําแพงเมือง แหลงโบราณคดี โบราณสถานท้ังท่ีไดรับการข้ึนทะเบียนและ ท่ีไมไดข้ึนทะเบียนโบราณสถาน รวมท้ังแหลงสถาปตยกรรมพื้นถ่ิน และอาคารอันควรอนุรักษ ซ่ึงแหลงศิลปกรรมแตละประเภทท่ีปรากฏอยูในพื้นท่ีอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง มีรายละเอียดดังนี้

(1) รองรอยคูเมือง-กําแพงเมือง เปนส่ิงท่ีแสดงถึงการดัดแปลงสภาพภูมิประเทศเพื่อการ

อยูอาศัยของมนุษยในอดีต รองรอยเหลานี้จึงมีลักษณะแตกตางไปจากรองรอยตามธรรมชาติ และยังคงสามารถ

เห็นไดจากภาพถายทางอากาศ (Arial Photo) และภาพดาวเทียมรายละเอียดสูง (Satellite Image) ซ่ึงบางคร้ัง

มีผูเรียกแหลงศิลปกรรมประเภทนี้วาชุมชนโบราณ ท้ังนี้ ภายในชุมชนโบราณบางแหงยังคงปรากฏเศษโบราณวัตถุ

หรือฐานอาคารเชนเดียวกับแหลงโบราณคดี และบางแหงมีการอยูอาศัยตอเนื่องกันมาจนกลายเปนเมืองเกา

ในดานการสํารวจรองรอยคูเมือง-กําแพงเมือง กรมธนารักษไดมอบหมายให รองศาสตราจารยทิวา ศุภจรรยา จากภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ศึกษาภาพถายทางอากาศ

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-492

ท่ัวประเทศเพ่ือคนหารองรอยคูเมืองและกําแพงเมืองท่ีแสดงถึงการอยูอาศัยของชุมชนโบราณในอดีต จากการศึกษาพบวา มีรองรองคูเมืองและกําแพงเมืองในประเทศไทยมากถึง 1,208 แหง

ท้ังนี้พื้นท่ีเหลานี้แมวาจะไดมีการระบุตําแหนงท่ีตั้งท่ีแนชัดโดยวิเคราะหจากภาพถาย ทางอากาศ (Arial Photo) และภาพดาวเทียมรายละเอียดสูง (Satellite Image) แลวก็ตาม แตในปจจุบันบริเวณท่ีปรากฏรองรอยเหลานี้หลายแหงไดถูกบุกรุก ท้ังจากการขยายตัวของชุมชน และการสรางสาธารณูปโภคโดยเฉพาะถนน ทับไปบนแนวกําแพงเมือง รวมท้ังคูเมืองหลายแหงตื้นเขิน จึงมีเพียงบางแหงเทานั้นท่ียังคงรักษาความสมบูรณ ไวได นอกจากนี้หลายแหงเร่ิมมีชุมชนขยายตัวเขามาในบริเวณคูเมือง-กําแพงเมือง อยางไรก็ตามยังมีรองรอยคูเมือง และกําแพงเมืองอีกหลายแหงท่ียังคงอยูในสภาพท่ีสมบูรณ และสมควรไดรับการอนุรักษไว ดังปรากฏตารางแสดงจํานวนแหลงศิลปกรรมประเภทคูเมืองกําแพงเมืองในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางในตารางท่ี 4.6-5 และตารางแสดงรายละเอียดของแหลงศิลปกรรมประเภทรองรอยคูเมือง-กําแพงเมือง ในตารางท่ี 4.6-1 และปรากฏตัวอยางในรูปท่ี 4.6-1

ตารางท่ี 4.6-1 จํานวนแหลงศิลปกรรมประเภทรองรอยคูเมือง-กําแพงเมือง จําแนกตามรายจังหวัด ในกลุมอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง

ลําดับท่ี จังหวัด จํานวนแหลงศิลปกรรมประเภทรองรอยคูเมือง-กําแพงเมือง (แหง)

ไมพบโบราณวัตถุรวมดวย พบโบราณวัตถุรวมดวย รวม 1 อุบลราชธานี 16 1 17 2 อํานาจเจริญ 1 0 1 3 ยโสธร 6 6 12 4 ศรีสะเกษ 54 7 61

รวม 77 14 91

ขอมูลในตารางขางตนแสดงใหเห็นวา รองรอยคูเมืองกําแพงเมืองท่ีพบในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางโดยสวนใหญมักไมพบโบราณวัตถุรวมดวย โดยชุมชนโบราณท่ีพบโบราณวัตถุ รวมดวยมีเพียงรอยละ 15.38 เทานั้น และจังหวัดศรีสะเกษเปนจังหวัดท่ีปรากฏแหลงศิลปกรรมประเภทรองรอย คูเมือง-กําแพงเมืองจํานวนมากท่ีสุด สวนรองรอยคูเมืองกําแพงเมืองท่ีปรากฏท้ังโบราณวัตถุ และโบราณสถานโดยสวนใหญจะไดรับการข้ึนทะเบียนเปนโบราณสถาน อาทิ เมืองคงโคก ท่ีพบใบเสมา และฐานอาคาร รวมท้ังโบราณวัตถุจํานวนมาก ไดรับการประกาศข้ึนทะเบียนเปนโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษาเลม 115 ตอนท่ี 83 ง เม่ือวันท่ี 21 กันยายน พ.ศ.2541 เปนตน

ท้ังนี้แหลงศิลปกรรมประเภทรองรอยคูเมือง-กําแพงเมืองทุกแหลงมีความสําคัญ แตแหลงท่ีมีการพบโบราณวัตถุตางๆ ดูจะมีความสําคัญมากกวาแหลงท่ีมีเพียงรองรอยคูเมือง-กําแพงเมือง ดังปรากฏรองรอยคูเมือง-กําแพงเมืองท่ีมีการพบโบราณวัตถุรวมดวยในแตละจังหวัดดังนี้

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-493

- จังหวัดอุบลราชธานี มี 2 แหง ไดแก

• โนนบานเกา ตําบลโพนแพง อําเภอมวงสามสิบ

• บานคูเมือง หมู 7 ตําบลคูเมือง อําเภอวารินชําราบ

- จังหวัดอํานาจเจริญ มีเพียงแหงเดียว คือ โพนเมือง(โนนเมือง) ตําบลคําพระ อําเภอหัวตะพาน

- จังหวัดยโสธร มี 6 แหง ไดแก

• บานขุมเงิน ตําบลขุมเงิน อําเภอเมืองยโสธร

• บานบึงแก หมู 1 ตําบลบึงแก อําเภอมหาชนะชัย

• บานหัวเมือง หมู 8 ตําบลมหาชนะชัย อําเภอมหาชนะชัย

• บานแข หมู 9 ตําบลฟาหวาน อําเภอคอวัง

• บานโพนเมือง หมู 3 ตําบลฟาหวาน อําเภอคอวัง

• บานน้ําออม หมู 9 ตําบลน้ําออม อําเภอคอวัง

- จังหวัดศรีสะเกษ มี 5 แหง ไดแก

• บานตูม หมู 1 ตําบลตูม อําเภอปรางคกู

• บานน้ําออมนอย หมู 6 ตําบลหวานคํา อําเภอราศีไศล

• ดอนเกลือ หมู 1 ตําบลดู อําเภอราศีไศล

• บานหนองลุง หมู 4 ตําบลตาเกษ อําเภออุทุมพรพิสัย

• บานดวนใหญ หมู 15 ตําบลดวนใหญ อําเภอวังหิน

รองรอยของคูเมือง-กําแพงเมืองเหลานี้เปนหลักฐานท่ีแสดงถึงการอยูอาศัยของมนุษย ในดินแดนสุวรรณภูมิและ เปนหลักฐานทางโบราณคดีท่ีไมสามารถศึกษาขอมูลจากส่ิงอ่ืนทดแทนได ดังนั้นแหลงศิลปกรรมประเภทนี้จึงควรไดรับการอนุรักษไวเพื่อประโยชนในการเปนแหลงเรียนรู และชวยสรางความภาคภูมิใจ แกชุมชนในปจจุบันดวย

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-494

ก ข

ค ง

รูปท่ี 4.6-1 ภาพดาวเทียมไมระบุมาตราสวนแสดงรองรอยคูเมือง-กําแพงเมืองท่ีปรากฏในพ้ืนท่ี อนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง

ก. บานหนองหิน ตําบลอางศิลา อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ข. เมืองง้ิว ตําบลเค็งใหญ อําเภอหัวตะพาน จังหวัดอํานาจเจริญ ค. บานโพนแบง ตําบลนอออม อําเภอคอวัง จังหวัดยโสธร ง. บานคงโคก ตําบลเมืองคง อําเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ

สําหรับการกระจายตัวของแหลงศิลปกรรมประเภทรองรอยคูเมือง-กําแพงเมืองในพื้นที่อนุภาคกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางปรากฏอยูในแผนท่ี 4.6-1 ซ่ึงจะเห็นไดวาโดยสวนใหญการกระจายตัวจะคอนขางหนาแนนในบริเวณทิศตะวันตกเฉียงใตของอนุภาค โดยเฉพาะในจังหวัดศรีสะเกษ

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-495

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-496

(2) แหลงโบราณคดี และแหลงท่ีมีศักยภาพทางโบราณคดี ในพ้ืนท่ีอนุภาคกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง สวนใหญจะพบแหลง

โบราณคดีใตพื้นดิน และบนผิวดิน ซ่ึงมีท้ังแหลงโบราณคดีประเภทภาพเขียนสี (Pictograph) ภาพจําหลักหิน (Petroglyph) แหลงท่ีมีการคนพบโครงกระดูกมนุษยโบราณหรือเศษโบราณวัตถุ (Artifact) หรือแมกระท่ังแหลงเตาเผา ฯลฯ ท้ังนี้ในชวงระหวางป พ.ศ.2526-2530 กองโบราณคดี กรมศิลปากร ไดสํารวจแหลงโบราณคดี ท่ัวประเทศ ดังปรากฏขอมูลในเอกสารกองโบราณคดี หมายเลข 3/2533 จากเอกสารพบวา ในพื้นท่ีในกลุมจังหวัดอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง มีแหลงโบราณคดีท้ังส้ินรวม 37 แหง ดังปรากฏในตารางท่ี 4.6-2

ตารางท่ี 4.6-2 แหลงโบราณคดี จําแนกตามรายจังหวัดในกลุมอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง

ลําดับท่ี จังหวัด จํานวนแหลงโบราณคดี (แหง)

กอนประวัติศาสตร ประวัติศาสตร หลายสมัย รวม 1 อุบลราชธานี 26 0 1 27 2 อํานาจเจริญ 0 2 3 5 3 ยโสธร 0 1 1 2 4 ศรีสะเกษ 0 3 0 3

รวม 26 6 5 37

ท่ีมา : กองโบราณคดี กรมศิลปากร (2533)

แหลงโบราณคดีเหลานี้มีท้ังท่ีเปนแหลงโบราณคดีในสมัยกอนประวัติศาสตร เปนหลักฐาน

สําคัญซ่ึงแสดงใหเห็นวามีมนุษยอยูอาศัยในบริเวณพ้ืนท่ีลุมน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาต้ังแตอดีต โดย สวนใหญเปนแหลงโบราณคดีประเภทแหลงภาพเขียนสีสมัยกอนประวัติศาสตร อยางไรก็ตามในพ้ืนท่ีอนุภาค กลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง ยังมีศักยภาพในการท่ีจะพบแหลงโบราณคดีใหมๆ เพิ่มข้ึนอีก ซ่ึงการอนุรักษแหลงโบราณคดีเหลานี้ไวเพื่อเปนแหลงเรียนรูสําหรับเยาวชน และเปนแหลงศึกษาคนควาขอมูลทางโบราณคดีจะเปนประโยชนอยางยิ่งสําหรับงานวิชาการทางดานโบราณคดีของประเทศ นอกจากน้ันในแหลงโบราณคดีท่ีมีการรวบรวมขอมูลทางโบราณคดีไวมากพอสมควรแลว ยังสามารถสรางเปนพิพิธภัณฑ หรือจัดเปนเรือนแรม (Home stay) เพื่อประโยชนในดานการทองเที่ยวไดอีกดวย

จากการสํารวจขอมูลในปจจุบัน ไดมีการคนพบแหลงศิลปกรรมประเภทแหลงโบราณคดีเพิ่มข้ึนเปนจํานวนมาก ดังปรากฏขอมูลในตารางท่ี 4.6-3

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-497

ตารางท่ี 4.6-3 จํานวนแหลงศิลปกรรมประเภทโบราณคดีในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง

ลําดับท่ี จังหวัด จํานวนแหลงโบราณคดี (แหง)

แหลงภาพเขียนสี จารึก และภาพจําหลักหิน แหลงท่ีพบโบราณวัตถุ รวม 1 อุบลราชธานี 26 1 20 47 2 อํานาจเจริญ 0 0 6 6 3 ยโสธร 0 0 5 5 4 ศรีสะเกษ 0 0 2 2

รวม 26 1 33 60

ขอมูลในตารางท่ี 4.6-3 ทําใหทราบวาอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางมีแหลงศิลปกรรมประเภทแหลงโบราณคดี 60 แหง โดยแบงเปนแหลงภาพเขียนสี (Pictograph) จํานวน 26 แหง ท่ีพบเฉพาะ ในจังหวัดอุบลราชธานีเทานั้น ท้ังนี้ในจํานวนดังกลาวจะไมนับรวมแหลงภาพเขียนสีท่ีไดรับการประกาศข้ึนทะเบียนเปนโบราณสถานแลว อาทิ ภาพเขียนสีผาแตมในรูปท่ี 4.6-2 สวนจารึกและภาพจําหลักหินมีเพียง แหงเดียว คือ ถํ้าพระ (ถํ้าภูหมาไน/ถํ้าปราสาท) ในอุทยานแหงชาติแกงตะนะ ซ่ึงในแหลงดังกลาวพบทั้งภาพจําหลักหิน รูปนารายณบรรทมสินธุ (รูปท่ี 4.6-3) และจารึกในอารยธรรมขอม นอกเหนือจากนี้เปนแหลงโบราณคดีประเภท ท่ีพบโบราณวัตถุเหนือพื้นดิน และในช้ันดิน ซ่ึงจังหวัดอุบลราชธานีก็มีจํานวนมากท่ีสุด

อยางไรก็ตามในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางยังมีภาพจําหลักหิน และจารึกท่ีสําคัญ

อีกหลายแหง แตเนื่องจากแหลงเหลานั้นไดรับการประกาศข้ึนทะเบียนเปนโบราณสถาน จึงไมนํามากลาวถึงในสวนนี้ แตจะปรากฏในตารางที่ 4.6-8 ถึง 4.6-11 ในสวนของโบราณสถานตอไป ซ่ึงแหลงโบราณคดีที่ไดกลาวถึงแลวเหลานั้น จัดไดวาเปนแหลงท่ีมีความสําคัญในระดับชาติ สวนแหลงโบราณคดีท่ีมีความสําคัญในระดับภาค และระดับจังหวัดโดยสวนใหญจะเปนแหลงท่ีมีการพบโบราณวัตถุบนผิวดิน และใตดิน ซ่ึงแหลงโบราณคดีเหลานี้เปนหลักฐานสําคัญท่ีแสดงใหเห็นถึงวัฒนธรรมประเพณีของคนในยุคกอนประวัติศาสตร โดยเฉพาะแหลงโบราณคดีท่ีปรากฏหลักฐานท่ีแสดงถึงวัฒนธรรมในการฝงศพคร้ังท่ี 2 ดังเชนแหลงโบราณคดีบานกานเหลือง

รูปท่ี 4.6-2 ผาแตมซ่ึงเปนแหลงภาพเขียนสีที่สมบูรณและมีขนาดใหญที่สุดในอนุภาคตะวันออกเฉยีงเหนอืตอนลาง

รูปท่ี 4.6-3 ภาพจําหลักหินที่ถ้ําภูหมาใน

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-498

ท่ีจังหวัดอุบลราชธานี ท่ีแมจะมีการพบแหลงโบราณคดีในลักษณะนี้ในหลายพื้นท่ี แตแหลงโบราณคดีกานเหลืองจัดไดวามีความสมบูรณ และมีการเปดเปนหลุมขุดคนกลางแจงเพ่ือใหผู ท่ีสนใจท้ังนักทองเท่ียว นักเรียน นักศึกษา ฯลฯ สามารถเยี่ยมชมไดอยางใกลชิดดังปรากฏในรูปท่ี 4.6-4

นอกจากนี้ยังมีขอมูลในสวนของบริเวณที่ไดรับการแจงวามีการพบโบราณวัตถุท่ีแสดงถึงความเปนแหลงโบราณคดี แตทางกรมศิลปากรยังไมไดดําเนินการสํารวจอีกจํานวนหนึ่ง โดยอยูในจังหวัดอุบลราชธานี 27 แหง จังหวัดอํานาจเจริญ 3 แหง จังหวัดยโสธร 2 แหง และจังหวัดศรีสะเกษ 5 แหง ดังปรากฏในตารางท่ี 4.6-8 ดังนั้นจึงเห็นไดวาในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางยังมีศักยภาพในการพบแหลงศิลปกรรมประเภทแหลงโบราณคดีเพิ่มเติมไดอีก

รูปท่ี 4.6-4 แหลงโบราณคดีบานกานเหลือง จังหวดัอุบลราชธานี มีการพบ Burial Jar จํานวนมาก

กลาวโดยสรุปแลวจะพบวาแหลงโบราณคดีทุกแหงมีความสําคัญ แตแหลงท่ีมีความสําคัญอยางยิ่งสวนใหญจะเปนแหลงท่ีไดรับการข้ึนทะเบียนโบราณสถาน ซ่ึงในแตละจังหวัดไดแก

- จังหวัดอุบลราชธานี ไดแก ภาพเขียนสีผาแตม อําเภอโขงเจียม และแหลงโบราณคดี บานกานเหลือง ตําบลขามใหญ อําเภอเมือง

- จังหวัดอํานาจเจริญ ไดแก แหลงโบราณคดีบานโพนเมืองนอย หมู 11 ตําบลโพน เมืองนอย อําเภอหัวตะพาน

- จังหวัดยโสธร ไดแก แหลงโบราณคดีดอนปูตา ตําบลกูจาน อําเภอคําเข่ือนแกว - จังหวัดศรีสะเกษ ไดแก แหลงโบราณคดีบานดาน หมู 4 ตําบลสรางป อําเภอราษีไศล สําหรับรายละเอียดขอมูลแหลงศิลปกรรมประเภทรองรอยคูเมืองกําแพงเมือง และแหลง

โบราณคดีในกลุมจังหวัดอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางปรากฏอยูในตารางท่ี 4.6-8 ถึง 4.6-10 และแหลงท่ีตั้งของแหลงโบราณคดีปรากฏอยูในแผนท่ี 4.6-2 แลว ซ่ึงจะเห็นไดวาแหลงศิลปกรรมประเภทแหลงโบราณคดีนี้กระจายหนาแนนอยูในบริเวณตอนกลางของอนุภาค และมีสวนของภาพเขียนสีอยูบริเวณเพิงผาทางดานตะวันออกของพื้นท่ีกลุมจังหวัดอนุภาคอีสานตอนลาง โดยมีความหนาแนนสูงบริเวณจังหวัดอุบลราชธานี และ ยโสธร ตามลําดับ สวนจังหวัดอํานาจเจริญยังมีการคนพบแหลงศิลปกรรมประเภทน้ีคอนขางนอย

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-499

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-500

ตารางที่ 4.6-4 แหลงศิลปกรรมประเภทรองรอยคูเมือง-กําแพงเมืองในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การพบโบราณวัตถุ หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

1 บานปากน้ํา (บานคงทาราง) - กุดลาด เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ไมพบ 2 บานโนนทอง - ทุงเทิง เดชอุดม อุบลราชธานี ไมพบ 3 บานคําครั่ง - คําครั่ง เดชอุดม อุบลราชธานี ไมพบ 4 บานหมอทอง - ทุงเทิง เดชอุดม อุบลราชธานี ไมพบ 5 บานหนองบัว 7 นาสวง เดชอุดม อุบลราชธานี ไมพบ 6 บานยางสักกระโพหลุม 7 ยางสักกระโพหลุม มวงสามสิบ อุบลราชธานี ไมพบ 7 บานโพนเมืองมะทัน 6 หนองเหลา มวงสามสิบ อุบลราชธานี ไมพบ 8 โนนบานเกา - โพนแพง มวงสามสิบ อุบลราชธานี พบเศษภาชนะดินเผา ชิ้นสวน

กําไรสําริด และเครื่องมือเหล็ก 9 บานไผใหญหรือโนนปูตา - ไผใหญ โนนปูตา อุบลราชธานี ไมพบ 10 บานคูเมือง 7 คูเมือง วารินชําราบ อุบลราชธานี พบเศษภาชนะดินเผา 11 บานดอนผอุง 5 คูเมือง วารินชําราบ อุบลราชธานี ไมพบ 12 บานหนองวัด - ดอนจิก พิบูลมังสาหาร อุบลราชธานี ไมพบ 13 บานหนองคูณ - บานแขม พิบูลมังสาหาร อุบลราชธานี ไมพบ 14 บานหนองหิน - อางศิลา พิบูลมังสาหาร อุบลราชธานี ไมพบ 15 บานโคกกอง 1 โคกกอง สําโรง อุบลราชธานี ไมพบ 16 บานหนองบัว 4 หนองไฮ สําโรง อุบลราชธานี ไมพบ 17 บานสระดอกเกษ 7 โคกสวาง สําโรง อุบลราชธานี ไมพบ

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-501

ตารางที่ 4.6-4 แหลงศิลปกรรมประเภทรองรอยคูเมือง-กําแพงเมืองในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การพบโบราณวัตถุ หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

18 โพนเมือง (โนนเมือง) - คําพระ หัวตะพาน อํานาจเจริญ ภาชนะดินเผา และใบเสมา 19 บานตาดทอง - ตาดทอง เมืองยโสธร ยโสธร ไมพบ 20 บานขุมเงิน - ขุมเงิน เมืองยโสธร ยโสธร ภาชนะดินเผา หินดุ ใบเสมา 21 บานโนนเมืองนอย - แคนนอย คําเขื่อนแกว ยโสธร ไมพบ 22 บานบากเรือ 1 บากเรือ มหาชนะชัย ยโสธร ไมพบ 23 บานบึงแก 1 บึงแก มหาชนะชัย ยโสธร พระพุทธรูปหินทราย เสมา 24 บานหัวเมือง 8 หัวเมือง มหาชนะชัย ยโสธร พระพุทธรูปหินทราย เสมา 25 บานโพนแบง 3 น้ําออม คอวัง ยโสธร ไมพบ 26 บานแข 9 ฟาหวาน คอวัง ยโสธร เศษภาชนะดินเผา ฐานอาคาร 27 บานโพนเมือง 3 ฟาหวาน คอวัง ยโสธร เศษภาชนะดินเผา 28 บานหมากมาย 3 คอวัง คอวัง ยโสธร ไมพบ 29 บานน้ําออม 9 น้ําออม คอวัง ยโสธร เศษภาชนะดินเผา 30 บานมันปลา 5 กุดแห เลิงนกทา ยโสธร ไมพบ 31 บานโพนคอ 1 โพนคอ เมืองศรีสะเกษ ศรีสะเกษ ไมพบ 32 บานบอน 1 บึงบอน ยางชุมนอย ศรีสะเกษ ไมพบ 33 บานยางชุมใหญ 1 ยางชุมใหญ ยางชุมนอย ศรีสะเกษ ไมพบ 34 บานจอม 3 บึงบอน ยางชุมนอย ศรีสะเกษ ไมพบ 35 บานยางชุมนอย 3 ยางชุมนอย ยางชุมนอย ศรีสะเกษ ไมพบ 36 บานคอนกาม 7 คอนกาม ยางชุมนอย ศรีสะเกษ ไมพบ

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-502

ตารางที่ 4.6-4 แหลงศิลปกรรมประเภทรองรอยคูเมือง-กําแพงเมืองในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การพบโบราณวัตถุ หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

37 บานโนน 7 บึงบอน ยางชุมนอย ศรีสะเกษ ไมพบ 38 บานคูขาด 9 ปราสาทเยอ ไพรบึง ศรีสะเกษ ไมพบ 39 บานชําแระ 4 สําโรงพลัน ไพรบึง ศรีสะเกษ ไมพบ 40 บานหวยตะวันออก 5 สุขสวัสดิ์ ไพรบึง ศรีสะเกษ ไมพบ 41 บานพะแวะ (1) 12 สุขสวัสดิ์ ไพรบึง ศรีสะเกษ ไมพบ 42 บานสลักได 6 สุขสวัสดิ์ ไพรบึง ศรีสะเกษ ไมพบ 43 บานพะแวะ (2) 8 สุขสวัสดิ์ ไพรบึง ศรีสะเกษ ไมพบ 44 บานปราสาทเยอเหนือ 1 ปราสาทเยอ ไพรบึง ศรีสะเกษ ไมพบ 45 บานคูสี่แจ 7 ปราสาทเยอ ไพรบึง ศรีสะเกษ ไมพบ 46 บานหนองอารี 1 ดินแดง ไพรบึง ศรีสะเกษ ไมพบ 47 บานกุดจง - สําโรงปราสาท ปรางคกู ศรีสะเกษ ไมพบ 48 บานปราสาท 3 สมอ ปรางคกู ศรีสะเกษ ไมพบ 49 บานตูม 1 ตูม ปรางคกู ศรีสะเกษ เศษภาชนะดินเผา 50 บานรงระ 8 ตูม ปรางคกู ศรีสะเกษ ไมพบ 51 บานกู 1 กู ปรางคกู ศรีสะเกษ ไมพบ 52 บานแขว 3 หวยใต ขุขันธ ศรีสะเกษ ไมพบ 53 บานกระโพ 6 ดองกําเม็ด ขุขันธ ศรีสะเกษ ไมพบ 54 บานขี้เหล็ก 8 ปรือใหญ ขุขันธ ศรีสะเกษ ไมพบ 55 บานสําโรงสูง 3 สะเดาใหญ ขุขันธ ศรีสะเกษ ไมพบ

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-503

ตารางที่ 4.6-4 แหลงศิลปกรรมประเภทรองรอยคูเมือง-กําแพงเมืองในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การพบโบราณวัตถุ หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

56 บานโคกสูง 9 โพธิ์ศรี ปรางคกู ศรีสะเกษ ไมพบ 57 บานจะกุด 7 โนนสูง ขุนหาญ ศรีสะเกษ ไมพบ 58 บานน้ําออมนอย 6 หวานคํา ราษีไศล ศรีสะเกษ Burial Jar เศษภาชนะดินเผา

และ สําริด 59 บานกระเดา 12 ดู ราษีไศล ศรีสะเกษ ไมพบ 60 บานแสง 9 เมืองแคน ราษีไศล ศรีสะเกษ ไมพบ 61 บานคูสระ (1) 10 ไผ ราษีไศล ศรีสะเกษ ไมพบ 62 ดอนเกลือ 1 ดู ราษีไศล ศรีสะเกษ Burial Jar หินดุ ขวานหินขัด

พระพุทธรูปหินทราย 63 บานคูสระ (2) 10 ไผ ราษีไศล ศรีสะเกษ ไมพบ 64 บานเมืองแคน 1 เมืองแคน ราษีไศล ศรีสะเกษ ไมพบ 65 บานแคนนอย 12 เมืองแคน ราษีไศล ศรีสะเกษ ไมพบ 66 บานบึงหมอก - สมปอย ราษีไศล ศรีสะเกษ ไมพบ 67 บานนอย (3) - ดู ราษีไศล ศรีสะเกษ ไมพบ 68 บานกําแพง 1 สระกําแพงใหญ อุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ ไมพบ 69 บานพงพรต 17 หนองหาง อุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ ไมพบ 70 บานคอกําแพง 6 สระกําแพงใหญ อุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ ไมพบ 71 บานหนองลุง 4 ตาเกษ อุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ สระโบราณ เสาไมแปดเหลี่ยม 72 บานกลาง (3) 4 ขะยูง อุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ ไมพบ

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-504

ตารางที่ 4.6-4 แหลงศิลปกรรมประเภทรองรอยคูเมือง-กําแพงเมืองในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การพบโบราณวัตถุ หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

73 บานทุงไชยใหญ - ทุงไชย อุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ ไมพบ 74 บานสระภู 9 กําแพง อุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ ไมพบ 75 บานสมอ 9 โพธิ์ชัย อุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ ไมพบ 76 บานเมืองหลวง 3 เมืองหลวง หวยทับทัน ศรีสะเกษ ไมพบ 77 บานออ 7 เมืองหลวง หวยทับทัน ศรีสะเกษ ไมพบ 78 บานหนองดินดํา 5 บก โนนคูณ ศรีสะเกษ ไมพบ 79 บานโปรง 2 บก โนนคูณ ศรีสะเกษ ไมพบ 80 บานโพธิ์ 9 โพธิ์ โนนคูณ ศรีสะเกษ ไมพบ 81 บานตะเคียน 2 ศรีแกว ศรีรัตนะ ศรีสะเกษ ไมพบ 82 บานตองปด 1 ตองปด น้ําเกลี้ยง ศรีสะเกษ ไมพบ 83 บานขี้เหล็ก 2 ละเอาะ น้ําเกลี้ยง ศรีสะเกษ ไมพบ 84 บานดวนใหญ 15 ดวนใหญ วังหิน ศรีสะเกษ เศษภาชนะดินเผา 85 บานโคกตาล 10 โคกตาล ภูสิงห ศรีสะเกษ ไมพบ 86 บานเมืองจันทร (บานปราสาท) 2 เมืองจันทร เมืองจันทร ศรีสะเกษ ไมพบ 87 บานหนองหวา 1-4 หนองหวา เบญจลักษ ศรีสะเกษ ไมพบ 88 บานตําแย 14 ตําแย พยุห ศรีสะเกษ ไมพบ 89 บานคูเมือง (2) 3 พยุห พยุห ศรีสะเกษ ไมพบ 90 บานพยุห - พยุห พยุห ศรีสะเกษ ไมพบ 91 บานคูเมือง (1) 3 พยุห พยุห ศรีสะเกษ ไมพบ

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-505

ตารางที่ 4.6-5 แหลงศิลปกรรมประเภทแหลงโบราณคดีในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

สิ่งสําคัญ หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

1 บานกานเหลือง - ขามใหญ เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี หลุมขุดคนกลางแจง 2 ผาฝามือ 5 หวยไผ โขงเจียม อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 3 ถ้ําผาบอง (ถ้ําวัดเกา, วัดปูเกศ) 5 หวยไผ โขงเจียม อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 4 ถ้ําภูโปะ - นาโพธิ์กลาง โขงเจียม อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 5 ถ้ําแตมโงนจะพะ - นาโพธิ์กลาง โขงเจียม อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 6 เพิงหินหลังภูถ้ํามืด (ถ้ําปาฏิหาริย) - นาโพธิ์กลาง โขงเจียม อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 7 ถ้ําพระบด - นาโพธิ์กลาง โขงเจียม อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 8 ถ้ําลายมือ - นาโพธิ์กลาง โขงเจียม อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 9 ผาเจก 5 หวยไผ โขงเจียม อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 10 ถ้ําพระ (ถ้ําภูหมาไน) - โขงเจียม โขงเจียม อุบลราชธานี ศิลาจารึก ฐานโยนี 11 ถ้ําพระอานนท - นาโพธิ์กลาง โขงเจียม อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 12 บานศรีสุข - ศรีสุข เขื่องใน อุบลราชธานี ลูกปด เศษสําริด และเหล็ก 13 ขุมหิน - สรางถอ เขื่องใน อุบลราชธานี ใบเสมาหินทราย 14 โนนเจาปู - บานไทย เขื่องใน อุบลราชธานี ใบเสมา 15 บานสวายนอย 4 ยางใหญ น้ํายืน อุบลราชธานี โครงกระดูก ขวานหินขัด 16 ถ้ําโลง 6 โนนกุง ตระการพืชผล อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 17 ถ้ําโลง 2 - สําโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 18 ถ้ําแตม - สําโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 19 ถ้ําแตม 1 - สําโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี ภาพเขียนสี

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-506

ตารางที่ 4.6-5 แหลงศิลปกรรมประเภทแหลงโบราณคดีในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

สิ่งสําคัญ หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

20 ถ้ําแตม 5 - สําโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 21 ถ้ําแตม 6 - สําโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 22 ถ้ํานางเข็นฝาย - สําโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 23 ถ้ําโนนหินตั้ง - สําโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 24 ถ้ําเดิ่น - สําโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 25 ถ้ําแตม 4 - สําโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 26 ถ้ําแตม 9 - สําโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 27 ถ้ําโลง 1 - สําโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 28 ถ้ําแตม 8 - สําโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 29 ถ้ําแตม 2 - สําโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 30 ถ้ําแตม 3 - สําโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 31 ถ้ําโลง 3 - สําโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 32 ถ้ําผักหนาม - สําโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี ภาพเขียนสี 33 บานดอนแสนพัน 6 เจียด เขมราฐ อุบลราชธานี ภาชนะดินเผา โครงกระดูก 34 บานโพธิ์เมือง 9 นาแวง เขมราฐ อุบลราชธานี Burial Jar 35 บานชีทวน - ชีทวน เขื่องใน อุบลราชธานี ภาชนะดินเผา กลองมโหระทึก 36 บานโพนเมือง 3 ตระการ ตระการพืชผล อุบลราชธานี ภาชนะดินเผา 37 บานสรางถอ สรางถอ เขื่องใน อุบลราชธานี ใบเสมาหินทราย 38 บานหนองเซือม - สรางถอ เขื่องใน อุบลราชธานี ใบเสมาหินทราย

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-507

ตารางที่ 4.6-5 แหลงศิลปกรรมประเภทแหลงโบราณคดีในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

สิ่งสําคัญ หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

39 บานซะซอม - นาโพธิ์กลาง โขงเจียม อุบลราชธานี โลงไม 40 บานนาโพธิ์ใต - นาโพธิ์กลาง โขงเจียม อุบลราชธานี กลองมโหระทึก 41 บานกลาง 1 ดอนมดแดง ดอนมดแดง อุบลราชธานี กระดูกมนุษย เปลือกหอย 42 หลุบเตา - ดอนมดแดง ดอนมดแดง อุบลราชธานี เศษภาชนะดินเผา 43 บานโนนใหญ - กลาง เดชอุดม อุบลราชธานี ไหเคลือบสีน้ําตาล 44 บานแกงกบ - ตาลสุม ตาลสุม อุบลราชธานี Burial Jar กําไลสําริด 45 ดอนปูตา - กุดลาด เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ใบเสมาหินทราย 46 หนองผํา 1 กระโสบ เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี เศษภาชนะดินเผา 47 โนนสาวเอ - กุดลาด เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ภาชนะดินเผา เศษสําริด ลูกปด 48 บานโพธิ์ศิลา 4 โนนโพธิ์ เมืองอํานาจเจริญ อํานาจเจริญ ใบเสมาหินทราย 49 บานโพนเมือง 11 ไมกลอน พนา อํานาจเจริญ ลูกปด แกว ทองเหลือง เสมา 50 บานโพนเมืองนอย 1 โพนเมืองนอย หัวตะพาน อํานาจเจริญ เสมา และฐานโบราณสถาน 51 ดอนยาง 1 ดอนเมย เมืองอํานาจเจริญ อํานาจเจริญ เศษภาชนะดินเผา 52 ภูดิน 1 นาหมอมา เมืองอํานาจเจริญ อํานาจเจริญ พระพุทธรูปหินทรายทวารวดี 53 บานหนองแสง - รัตนวารี หัวตะพาน อํานาจเจริญ ภาชนะดินเผา หินดุ ขี้แร 54 บานคอ 9 ไผ ทรายมูล ยโสธร ใบเสมาหินทราย 55 ดอนปูตา - กูจาน คําเขื่อนแกว ยโสธร ใบเสมาหินทรายสีแดง 56 หนองสระพัง - กูจาน คําเขื่อนแกว ยโสธร ภาชนะดินเผา

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-508

ตารางที่ 4.6-5 แหลงศิลปกรรมประเภทแหลงโบราณคดีในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

สิ่งสําคัญ หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

57 บานสรางแปน 6 สงยาง มหาชนะชัย ยโสธร เสาศิลาแลงแปดเหลี่ยม 58 บานคูสองชั้น 13 หัวเมือง มหาชนะชัย ยโสธร เทวรูปสตรี หินลับ ภาชนะเคลือบ 59 บานหัวชาง 9 สําโรงพลัน ไพรบึง ศรีสะเกษ ไหเทาชาง หวงตะกั่ว 60 บานดาน 4 สรางป ราษีไศล ศรีสะเกษ ใบเสมาหินทราย

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

ตารางที่ 4.6-6 แหลงที่มีศักยภาพในการเปนแหลงโบราณคดีในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การสํารวจ หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

1 โรงเรียนบานคอกุดลาด - กุดลาด เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 2 ดอนปูตา - ยางโยภาพ มวงสามสิบ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 3 บานหนองขอน 1 หนองขอน เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 4 บานสําราญ 7 หัวเรือ เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 5 บานหัวเรือ 11 หัวเรือ เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 6 บานกระโสบ - กระโสบ เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 7 บานกุดกวย - หนามแทง ศรีเมืองใหม อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 8 บานทาโพธิ์ศรี 2 ทาโพธิ์ศรี เดชอุดม อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 9 บานนากระแซง 13 นากระแซง เดชอุดม อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 10 บานโคกเทียม - โนนสมบูรณ นาจะหลวย อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 11 บานขามเบี้ย 1 ขามเบี้ย ตระการพืชผล อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-509

ตารางที่ 4.6-6 แหลงที่มีศักยภาพในการเปนแหลงโบราณคดีในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การสํารวจ หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

12 บานแคน 13 หนองเหลา มวงสามสิบ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 13 บานถอน 2 ทาลาด วารินชําราบ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 14 บานทาลาด 6,8 ทาลาด วารินชําราบ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 15 บานหนองศาลา 3 ทาลาด วารินชําราบ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 16 บานน้ําเที่ยง 4 หวยขะยูง วารินชําราบ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 17 บานน้ําคํา 8 หวยขะยูง วารินชําราบ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 18 บานทุงบอน - บุงหวาย วารินชําราบ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 19 บานปากโดม - โพธิ์ไทร พิบูลมังสาหาร อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 20 บานเบ็ญ - หนองอัม ทุงศรีอุดม อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 21 บานโนนรัง - หนองอัม ทุงศรีอุดม อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 22 บานสวาง 2 สวาง สวางวีระวงศ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 23 โนนยาง - แกงโดม สวางวีระวงศ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 24 บานสําโรง - สวาง สวางวีระวงศ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 25 บานสําโรงใหญ - สวาง สวางวีระวงศ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 26 โนนปูเจา - บุงมะแลง สวางวีระวงศ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 27 บานบุงมะแลง - บุงมะแลง สวางวีระวงศ อุบลราชธานี ยังไมมีการสํารวจ 28 ดงบานเกา 7 น้ําปลีก เมืองอํานาจเจริญ อํานาจเจริญ ยังไมมีการสํารวจ 29 หนองหลุบ - หัวตะพาน หัวตะพาน อํานาจเจริญ ยังไมมีการสํารวจ 30 บานเสียว 2 รัตนวารี หัวตะพาน อํานาจเจริญ ยังไมมีการสํารวจ

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-510

ตารางที่ 4.6-6 แหลงที่มีศักยภาพในการเปนแหลงโบราณคดีในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การสํารวจ หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

31 บานอาฮาม - โพธิไทร ปาติ้ว ยโสธร ยังไมมีการสํารวจ 32 บานเดิด เดิด เมืองยโสธร ยโสธร ยังไมมีการสํารวจ 33 เมืองยาง - เมืองแคน ราษีไศล ศรีสะเกษ ยังไมมีการสํารวจ 34 บานหวาน - หวานคํา ราษีไศล ศรีสะเกษ ยังไมมีการสํารวจ 35 บานเวาะ 7 เหลากวาง โนนคูณ ศรีสะเกษ ยังไมมีการสํารวจ 36 บานหนองเตากล 6 หนองงูเหลือม เบญจลักษ ศรีสะเกษ ยังไมมีการสํารวจ 37 บานมวงหนองยาว 13 กู ปรางคกู ศรีสะเกษ ยังไมมีการสํารวจ

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-511

(3) โบราณสถาน ท่ีข้ึนทะเบียนเปนโบราณสถานแหงชาติแลวในพ้ืนท่ีกลุมจังหวัดในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง มีจํานวนมากถึง 148 แหง โดยจังหวัดอุบลราชธานี มีโบราณสถานท่ีข้ึนทะเบียนแลวเปนจํานวนมากท่ีสุด รองลงมาคือจังหวัดศรีสะเกษ ยโสธร และอํานาจเจริญ ตามลําดับ ซ่ึงเปนไปในทิศทางเดียวกันกับโบราณสถานท่ียังมิไดข้ึนทะเบียน และจํานวนโบราณสถานรวมในแตละจังหวัดดังตารางท่ี 4.6-7

ตารางท่ี 4.6-7 จํานวนโบราณสถานจําแนกตามรายจังหวัดในกลุมอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง

ลําดับท่ี จังหวัด ประกาศขึ้นทะเบียน

โบราณสถานแลว (แหง) อยูในบัญชีโบราณสถานที่ยังมิไดขึ้นทะเบียน (แหง)

ไมขึ้นทะเบียน และไมอยูในบัญชีฯ (แหง)

รวม (แหง)

1 อุบลราชธานี 33 24 5 62 2 อํานาจเจริญ 6 15 0 21 3 ยโสธร 14 8 8 30 4 ศรีสะเกษ 22 10 3 35

รวม 75 57 16 148

อยางไรก็ตามแมวาโบราณสถานจํานวนหน่ึงจะไดรับการข้ึนทะเบียนแลว และผูบุกรุกจะมีความผิด ตองระวางโทษตามพระราชบัญญัติฯ แตโบราณสถานท่ีข้ึนทะเบียนแลวหลายแหงก็ยังคงปรากฏผูบุกรุก นอกจากนี้โบราณสถานท่ีข้ึนทะเบียนแลวหลายแหง ยังเกิดการเส่ือมสภาพท้ังโดยภัยธรรมชาติ ภาวะมลพิษ และสภาพแวดลอม ดังนั้นโบราณสถานเหลานี้จึงตองมีการบูรณะอยางตอเนื่อง รวมทั้งบริเวณโดยรอบโบราณสถานซ่ึงควรมีลักษณะท่ีสอดคลองและกลมกลืนกับโบราณสถานหลายแหงก็อยูในสภาพท่ีไมเหมาะสมจนเกิดเปนภาวะมลทัศนข้ึน สําหรับโบราณสถานท่ีอยูในบัญชีโบราณสถานท่ียังมิไดข้ึนทะเบียนทางกรมศิลปากรควรเรงรัด การข้ึนทะเบียน พรอมท้ังเรงสํารวจโบราณสถานท่ีไมไดข้ึนทะเบียน และไมอยูในบัญชีโบราณสถานท่ียังมิได ข้ึนทะเบียน เพื่อดําเนินการข้ึนทะเบียนในแหลงท่ีมีคุณคาสูงตอไป

รูปท่ี 4.6-5 หอไตรหนองขุหลุ ตําบลขุหลุ อําเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี

สรางเม่ือในป พ.ศ.2459 และปจจุบันเปนโบราณสถานท่ีข้ึนทะเบียนแลว แตกย็ังมีการประดับไฟบนอาคารจนทําใหหางหงสดานหนาขวาชํารุด

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-512

รูปท่ี 4.6-6 สิมเกาวดัพระโรจน เปนโบราณสถานท่ียังไมไดข้ึนทะเบียนและไมอยูในบัญชี

โบราณสถานท่ียังมิไดข้ึนทะเบียนของกรมศิลปากร

สําหรับโบราณสถานสําคัญในแตละจังหวัดนั้น โดยขอเท็จจริงแลวโบราณสถานท่ีไดรับการข้ึนทะเบียนแลว จัดไดวาเปนโบราณสถานท่ีมีความสําคัญในระดับชาติ แตหากพิจารณาโบราณสถานท่ีมีความเดนในอนุภาคนี้แลวสามารถสรุปไดดังนี้

- จังหวัดอุบลราชธานี ไดแก กลุมของวัดในเขตอําเภอเมือง อาทิ สิมวัดบานตําแย วัดบูรพาราม วัดมหาวนาราม วัดสุปฎนารามวรวิหาร และวัดทุงศรีเมือง เปนตน

- จังหวัดอํานาจเจริญ ไมปรากฏโบราณสถานท่ีมีความโดดเดนมาก - จังหวัดยโสธร ไดแก กลุมของวัดในเขตอํา เภอเมือง อาทิ วัดสิงหทา วัดศรีธาตุ และ

วัดโพธ์ิศรีมงคล เปนตน - จังหวัดศรีสะเกษ ไดแก กลุมของปราสาทหินในอารยะธรรมขอมท่ีกระจายตัวอยูท่ัวท้ัง

จังหวัดโดยเฉพาะโบราณสถานท่ีเกี่ยวเนื่องกับปราสาทพระวิหาร อําเภอกันทรลักษณ ปราสาทตาเล็ง อําเภอ ขุขันธ และปราสาทสระกําแพงใหญ อําเภออุทุมพรพิสัย เปนตน

อยางไรก็ตามในกลุมของโบราณสถานท่ีไดกลาวถึงแลวนี้ มีหลายแหงซ่ึงจัดไดวาเปน สถาปตยกรรมพื้นถ่ิน (Vernacular Architecture) ซ่ึง ICOMOS ใน Charter on the built Vernacular Heritage ไดกลาวถึงสถาปตยกรรมพื้นถ่ิน วาเปนความสอดประสานของประเพณีท่ีกอใหเกิดแกนแทของความเปนอยูของมนุษย ซ่ึงปจจุบันประเพณีเหลานี้กําลังถูกคุกคามใหสูญหายไปจากท่ัวโลก (Vernacular building is the traditional harmonies which constitute the core of man’s own existence, and the survival of this tradition is threatened world wide.) (Naomi Okawa, 2540) เชนเดียวกับในประเทศไทยท่ีรูปแบบสถาปตยกรรมพ้ืนถ่ินของไทยคอยๆ เส่ือมความนิยมลงจนกลายเปนส่ิงท่ีหาดูไดยาก

ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวาสถาปตยกรรมพ้ืนถ่ินเปนส่ิงปลูกสรางท่ีทําข้ึนดวยฝมือของชางพ้ืนถ่ินตามลักษณะท่ีสืบทอดกันมาในแตละวัฒนธรรม ในพื้นท่ีกลุมอนุจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง มีเรือนไทยภาคอีสานเปนสถาปตยกรรมพื้นถ่ินสําคัญ แตในปจจุบันความนิยมในการปลูกเรือนประเภทนี้คอยๆ ลดลง ประกอบ

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-513

กับการดูแลรักษาเรือนไทยเหลานี้ตองใชงบประมาณสูงมาก สถาปตยกรรมพื้นถ่ินประเภทเรือนไทยจึงคอยๆลดจํานวนลงตามไปดวย จึงควรมีการจัดทําทะเบียนของแหลงศิลปกรรมประเภทน้ีเพื่อวางแนวทางในการอนุรักษตอไป

รูปท่ี 4.6-7 สถาปตยกรรมพืน้ถ่ินบริเวณยานเกา อําเภอเขมราฐ จังหวดัอุบลราชธานี

รูปท่ี 4.6-8 สถาปตยกรรมพืน้ถ่ินบริเวณยานเกาบานสิงหทา อําเภอเมือง จังหวดัยโสธร

สําหรับกลุมจังหวัดในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางนั้นมีแหลงศิลปกรรมประเภทสถาปตยกรรมพื้นถ่ินท่ีสําคัญใน 2 บริเวณ คือ ยานเกาอําเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี และยานเกาบริเวณ บานสิงหทา จังหวัดยโสธร

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-514

นอกจากสถาปตยกรรมพื้นถ่ินแลว ในยานเกาของเมืองมักมีอาคารซ่ึงอาจมีอายุไมมากนัก แตมีความสําคัญในฐานะท่ีเปนสถาปตยกรรมอันทรงคุณคาซ่ึงเปนตัวแทนของเหตุการณทางประวัติศาสตร ท่ีทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงของมนุษยชาติ ท้ังท่ีเปนงานท่ียิ่งใหญ (great) และงานท่ีถอมตน (modest) ซ่ึงอาคารดังกลาวก็คืออาคารที่กอสรางในรูปแบบสถาปตยกรรมโมเดิรนนั่นเอง ท้ังนี้มีอาคารท่ีกอสรางโดยใชรูปแบบของสถาปตยกรรมโมเดิรนหลายหลังท่ีไดรับการยกยองวามีคุณคา และไดรับการข้ึนทะเบียนเปนมรดกโลก อาทิ อาคาร Villa Tugendhat ในเมือง Brno ประเทศสาธารณรัฐเชค ท่ีสรางข้ึนในราวป ค.ศ.1930-1933 และไดรับการข้ึนทะเบียนเปนมรดกโลกทางวัฒนธรรมเม่ือป ค.ศ.2001 เปนตน

สําหรับประเทศไทย หลังจากสถาปตยกรรมโมเดิรนไดเกิดข้ึนในยุโรปหลังยุคกลางในราวป พ.ศ.2043 ลักษณะทางสถาปตยกรรมประเภทดังกลาวไดเร่ิมแพรเขามาในประเทศไทยในสมัยรัชกาลท่ี 7 จึงทําใหหากมองเฉพาะเพียงอายุของอาคารจะพบวาไมเกามากนัก แตก็มีคุณคาในฐานะท่ีเปนอาคารสถาปตยกรรมโมเดิรน

อยางไรก็ตามในปจจุบันอาคารเหลานี้กําลังถูกร้ือทําลายไปเปนจํานวนมาก เนื่องจากประชาชนโดยท่ัวไปมักประเมินคุณคาของอาคารโดยดูจากอายุเทานั้น ผูครอบครองอาคารเหลานี้หลายทานจึง ไมเห็นคุณคาของอาคาร ดังนั้นสําหรับอาคารสถาปตยกรรมโมเดิรน จึงควรท่ีจะมีการจัดทําบัญชีท่ีชัดเจน และ แจงใหเจาของอาคารทราบ รวมท้ังอาจมีการใชมาตรการทางกฎหมายในเชิงจูงใจ รวมท้ังมาตรการทางเศรษฐศาสตรเพื่อชวยในการอนุรักษอาคารสถาปตยกรรมโมเดิรนไวตอไป

สําหรับขอมูลแหลงศิลปกรรมประเภทโบราณสถานในกลุมจังหวัดอนุภาคอีสานตอนลางปรากฏอยูในตารางท่ี 4.6-12 ถึง 4.6-14 และ แผนท่ี 4.6-3 แลว

ในสวนของแหลงศิลปกรรมประเภทโบราณสถานจะเห็นไดวามีการกระจายตัวอยูท่ัวไป โดยมีความหนาแนนสูงบริเวณตอนกลางพื้นท่ีกลุมจังหวัดอนุภาคอีสานลางโดยเฉพาะบริเวณอําเภอเมืองอุบลราชธานี อยางไรก็ตามแมวาจํานวนของโบราณสถานท่ีข้ึนทะเบียนแลวจะมากกวาโบราณสถานท่ียังมิได ข้ึนทะเบียน แตก็เปนจํานวนท่ีตางกันไมมากอีกท้ังยังมีโบราณสถานอีกจํานวนหนึ่งท่ียังมิไดอยูในบัญชีโบราณสถานท้ัง ท่ี ข้ึนทะเบียนแลว และท่ียัง มิได ข้ึนทะเบียนของกรมศิลปากรดวย จึงเปนเร่ืองเรงดวน สําหรับการข้ึนทะเบียนโบราณสถาน และเรงสํารวจแหลงโบราณสถานเพ่ิมเติมดวย

นอกจากนี้ จะเห็นได ว าตอนล างของจั งหวัดศ รีสะ เกษ ซ่ึง ติดตอกับประ เทศกัมพูชา ยังมีโบราณสถานกลุมท่ีอยูใกลบริเวณชายแดนซ่ึงหากการปกปนเขตแดนยังไมไดขอยุติก็อาจสงผลใหเกิดปญหาในเร่ืองของกรรมสิทธ์ิในโบราณสถานกลุมนี้ได ซ่ึงแตกตางกับกลุมโบราณสถานบริเวณจังหวัดอุบลราชธานี ท่ีแมวาจะมีเขตติดตอกับชายแดนประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวแตบริเวณดังกลาวถูกแบงแยกดวยแมน้ําโขงทําใหสภาพของเขตแดนมีความชัดเจน

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-515

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-516

ตารางที่ 4.6-8 แหลงศิลปกรรมประเภทโบราณสถานในจังหวัดอุบลราชธานี

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

1 อาคารโรงเรียนเบ็ญจมะมหาราช - ในเมือง เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 2 วัดแจง - ในเมือง เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 3 วัดบานนาควาย - ในเมือง เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 4 โบสถ (สิม) วัดบานตําแย - ไรนอย เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 5 วัดใตเทิง - ในเมือง เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 6 วัดบูรพาราม - ในเมือง เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 7 วัดมหาวนาราม (วัดปาใหญ) - ในเมือง เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 8 วัดสุปฎนารามวรวิหาร - ในเมือง เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 9 วัดทุงศรีเมือง - ในเมือง เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 10 วัดบานหมากมี่ 1 กระโสม เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 11 วัดปาพระพิฆเณศวร (ดอนคูกลาง) - กุดลาด เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 12 อาคารพิพิธภัณฑสถานแหงชาติอุบลราชธานี - ในเมือง เมืองอุบลฯ อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 13 ถ้ําแตม (ถ้ําดงนา) 5 หนามแทง ศรีเมืองใหม อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 14 ศิลาจารึกปากแมน้ํามูล (คันเทวดา) - โขงเจียม โขงเจียม อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 15 กลุมภาพเขียนสีกอนประวัติศาสตร ผาขาม ผาแตมฯ - หวยไผ โขงเจียม อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 16 วัดทุงศรีวิไล - ชีทวน เขื่องใน อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 17 ศาลาธรรมาสนสิงห วัดศรีนวลสวางอารมณ - ชีทวน เขื่องใน อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 18 วัดโพธิ์ศรีทุงใหญ (วัดบานขะโหมย) - บานไทย เขื่องใน อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-517

ตารางที่ 4.6-8 แหลงศิลปกรรมประเภทโบราณสถานในจังหวัดอุบลราชธานี (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

19 วัดนาซาว - โนนรัง เขื่องใน อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 20 เจดียวัดปาบึงเขาหลวง - กลางใหญ เขื่องใน อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 21 วัดปาดอนธาตุ - กลางใหญ เขื่องใน อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 22 วัดธาตุสวนตาล - ชีทวน เขื่องใน อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 23 วัดปาศิลาเลข - เขื่องใน เขื่องใน อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 24 วัดเจริญชัย - สรางถอ เขื่องใน อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 25 วัดคงคาวาส 1 ธาตุนอย เขื่องใน อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 26 วัดศรีธาตุ - กลางใหญ เขื่องใน อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 27 วัดศรีมังคลาราม (วัดเหนือ) - เขมราฐ เขมราฐ อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 28 ปราสาทหนองบอน - นาเจริญ เดชอุดม อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 29 ปราสาทหนองทองหลาง (ปราสาททองหลาง) - ทาโพธิ์ศรี เดชอุดม อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 30 ถ้ําหมี (ถ้ําโยนี) ภูอาง - โดมประดิษฐ น้ํายืน อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 31 ภาพสลักนารานยณบรรทมสินธุ - โดมประดิษฐ น้ํายืน อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 32 ภูปราสาท - สีวิเชียร น้ํายืน อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 33 ภูโคกใหญ - สีวิเชียร น้ํายืน อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-518

ตารางที่ 4.6-8 แหลงศิลปกรรมประเภทโบราณสถานในจังหวัดอุบลราชธานี (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

34 ธาตุนางพญา (คูหวยธาตุ) - หนองสะโน บุณฑริก อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 35 วัดศรีตัสสาราม 4 ตากแดด ตระการพืชผล อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 36 วัดปจฉิมมณีวัน 2 นาสะไม ตระการพืชผล อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 37 หอไตรหนองขุหลุ 5 ขุหลุ ตระการพืชผล อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 38 วัดราษฎรประดิษฐ 1 กระเดียน ตระการพืชผล อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 39 วัดเวฬุวัน 10 ไผใหญ มวงสามสิบ อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 40 ดอนเจาปู (ดอนปูตาหรือดงปูตา) 10 มวงสามสิบ มวงสามสิบ อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 41 โนนบานเกา 4 ยางโยภาพ มวงสามสิบ อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 42 วัดบานยางเทิง - ยางสักกระโพหลุม มวงสามสิบ อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 43 บานไผใหญหรือโนนปูตา - ไผใหญ มวงสามสิบ อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 44 โนนหนองสิม - หนองเมือง มวงสามสิบ อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 45 อูบมุง 1 คูเมือง วารินชําราบ อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 46 โนนแก 7 คูเมือง วารินชําราบ อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 47 ศาลเจาปู (ดอนหอหรือดอนเจาปู - โพธิ์ศรี พิบูลมังสาหาร อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 48 วัดสระแกว - พิบูล พิบูลมังสาหาร อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 49 โบราณสถานดอนขุมเงิน - โพธิ์ศรี พิบูลมังสาหาร อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 50 วัดอูบมุงเจริญ (อูบมุง) 2 โคกสวาง สําโรง อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 51 วัดคําไฮใหญ - คําไฮใหญ ดอนมดแดง อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน 52 วัดหนองหิน - คําไฮใหญ ดอนมดแดง อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-519

ตารางที่ 4.6-8 แหลงศิลปกรรมประเภทโบราณสถานในจังหวัดอุบลราชธานี (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

53 วัดแกงตอย - ทาเมือง ดอนมดแดง อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 54 ศิลาจารึกปากลําโดมนอย - คําเขื่อนแกว สิรินธร อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 55 ถ้ําภูหมาไน (ถ้ําปราสาท) หรือถ้ําพระ - คําเขื่อนแกว สิรินธร อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 56 ปราสาทบานเบ็ญ (ปราสาทหนองทองหลาง) - หนองอัม ทุงศรีอุดม อุบลราชธานี ขึ้นทะเบียน 57 ถ้ําชางสี (ถ้ําตาลาว) 4 กองโพน นาตาล อุบลราชธานี ไมขึ้นทะเบียน

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

ตารางที่ 4.6-9 แหลงศิลปกรรมประเภทโบราณสถานในจังหวัดอํานาจเจริญ

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

1 วัดพุทธอุทยาน 5 บุง เมืองอํานาจเจริญ อํานาจเจริญ ไมขึ้นทะเบียน 2 วัดดงเฒาเกา 7 นาหมอมา เมืองอํานาจเจริญ อํานาจเจริญ ไมขึ้นทะเบียน 3 วัดโนนสําโรง - น้ําปลีก เมืองอํานาจเจริญ อํานาจเจริญ ไมขึ้นทะเบียน 4 หลักหิน (หนาเทศบาลตําบลน้ําปลีก) 8 น้ําปลีก เมืองอํานาจเจริญ อํานาจเจริญ ไมขึ้นทะเบียน 5 วัดโนนสมโฮง (วัดปายางคํา) 6 น้ําปลีก เมืองอํานาจเจริญ อํานาจเจริญ ไมขึ้นทะเบียน 6 วัดพระเหลาเทพนิมิต - พนา พนา อํานาจเจริญ ขึ้นทะเบียน 7 วัดโพธาราม - เสนางคนิคม เสนางคนิคม อํานาจเจริญ ขึ้นทะเบียน 8 บานโพนเมืองหรือโนนขวาว 1 โพนเมืองนอย หัวตะพาน อํานาจเจริญ ขึ้นทะเบียน 9 วัดไชยคํา 2 คําพระ หัวตะพาน อํานาจเจริญ ไมขึ้นทะเบียน 10 เมืองงิ้ว (วัดโนนบึงศิลาราม) - เค็งใหญ หัวตะพาน อํานาจเจริญ ขึ้นทะเบียน

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-520

ตารางที่ 4.6-9 แหลงศิลปกรรมประเภทโบราณสถานในจังหวดัอํานาจเจริญ (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

11 ดงปาเปา - สรางถอนอย หัวตะพาน อํานาจเจริญ ไมขึ้นทะเบียน 12 วัดโพธิ์ศรี - คําพระ หัวตะพาน อํานาจเจริญ ไมขึ้นทะเบียน 13 วัดบุปผามาลา 2 คําพระ หัวตะพาน อํานาจเจริญ ไมขึ้นทะเบียน 14 วัดโพธิ์ศรีจิกดู - จิกดู หัวตะพาน อํานาจเจริญ ไมขึ้นทะเบียน 15 วัดศรีมงคล - คําพระ หัวตะพาน อํานาจเจริญ ไมขึ้นทะเบียน 16 วัดขุมเหล็ก - โพนเมืองนอย หัวตะพาน อํานาจเจริญ ไมขึ้นทะเบียน 17 วัดพระศรีเจริญ - หัวตะพาน หัวตะพาน อํานาจเจริญ ไมขึ้นทะเบียน 18 วัดปาเรไร 7 เปอย ลืออํานาจ อํานาจเจริญ ไมขึ้นทะเบียน 19 วัดโพธิ์ศิลา 6 เปอย ลืออํานาจ อํานาจเจริญ ขึ้นทะเบียน 20 วัดบานยางชา 3 อํานาจ ลืออํานาจ อํานาจเจริญ ขึ้นทะเบียน 21 โรงเรียนชุมชนเปอยหัวดง 10 เปอย ลืออํานาจ อํานาจเจริญ ไมขึ้นทะเบียน

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-521

ตารางที่ 4.6-10 แหลงศิลปกรรมประเภทโบราณสถานในจังหวัดยโสธร

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

1 วัดอัมพวันเหนือ 1 ตาดทอง เมืองยโสธร ยโสธร ไมขึ้นทะเบียน 2 ธาตุตาดทอง (ธาตุถาดทอง) - ตาดทอง เมืองยโสธร ยโสธร ขึ้นทะเบียน 3 ธาตุบานทุงสะเดา (ธาตุลูกฆาแม หรือกองขาวนอย) - ตาดทอง เมืองยโสธร ยโสธร ขึ้นทะเบียน 4 วัดศรีธรรมาราม - ในเมือง เมืองยโสธร ยโสธร ไมขึ้นทะเบียน 5 วัดมหาธาตุ - ในเมือง เมืองยโสธร ยโสธร ขึ้นทะเบียน 6 วัดศรีธาตุ - สิงห เมืองยโสธร ยโสธร ไมขึ้นทะเบียน 7 วัดโพธิ์ศรีมงคล - ตาดทอง เมืองยโสธร ยโสธร ไมขึ้นทะเบียน 8 เจดียวัดสิงหทา - ในเมือง เมืองยโสธร ยโสธร ขึ้นทะเบียน 9 วัดพระธาตุฝุน 3 ทรายมูล ทรายมูล ยโสธร ไมขึ้นทะเบียน 10 วัดสระไตรนุรักษ 1 นาเวียง ทรายมูล ยโสธร ขึ้นทะเบียน 11 วัดบูรพาโนนเปอย - โนนเปอย กุดชุม ยโสธร ขึ้นทะเบียน 12 วัดธาตุทอง - โพนงาม กุดชุม ยโสธร ขึ้นทะเบียน 13 วัดสุริโย (วัดกําแมด) - กําแมด กุดชุม ยโสธร ขึ้นทะเบียน 14 ดงเมืองเตย 1 สงเปอย คําเขื่อนแกว ยโสธร ขึ้นทะเบียน 15 วัดกูจาน - กูจาน คําเขื่อนแกว ยโสธร ไมขึ้นทะเบียน 16 กูบานงิ้ว - กูจาน คําเขื่อนแกว ยโสธร ขึ้นทะเบียน 17 ดงศิลาแลงใกลบานศรีฐาน 8 ศรีฐาน ปาติ้ว ยโสธร ขึ้นทะเบียน

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-522

ตารางที่ 4.6-10 แหลงศิลปกรรมประเภทโบราณสถานในจังหวัดยโสธร (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

18 วัดศรีฐานใน 4 ศรีฐาน ปาติ้ว ยโสธร ไมขึ้นทะเบียน 19 พระพุทธบาท, พระพุทธรูปนาคปรกและเสาหิน

(ศิลาจารึก) วัดพระพุทธบาทยโสธร 3 หัวเมือง มหาชนะชัย ยโสธร ขึ้นทะเบียน

20 เสาหิน (หลักศิลาจารึก) 1 บึงแก มหาชนะชัย ยโสธร ขึ้นทะเบียน 21 วัดฟาหยาด - ฟาหยาด มหาชนะชัย ยโสธร ไมขึ้นทะเบียน 22 วัดธรรมรังษีนิคมเขต 5 บุงคํา เลิงนกทา ยโสธร ขึ้นทะเบียน

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

ตารางที่ 4.6-11 แหลงศิลปกรรมประเภทโบราณสถานในจังหวัดศรีสะเกษ

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

1 สิมเกาวัดบานสิม (วัดสิมเกา) - คูซอด เมืองศรีสะเกษ ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 2 สิมวัดบานเวาะ 5 คูซอด เมืองศรีสะเกษ ศรีสะเกษ ไมขึ้นทะเบียน 3 วัดโพธิ์ชัยศรี 5 ยางชุมนอย ยางชุมนอย ศรีสะเกษ ไมขึ้นทะเบียน 4 บนยอดเขาพระวิหาร ประเทศกัมพูชา - เสาธงชัย กันทรลักษณ ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 5 ชองตาเฒา (ปรางคศิลาบานเขาโดนตอล) - เสาธงชัย กันทรลักษณ ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 6 วัดเขียนบูรพาราม 4 หวยเหนือ ขุขันธ ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 7 ปราสาทกุด (วัดโพธิ์พฤกษ) 7 หวยเหนือ ขุขันธ ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 8 อําเภอขุขันธ - หวยเหนือ ขุขันธ ศรีสะเกษ ไมขึ้นทะเบียน 9 ปราสาทเยอ 1 ปราสาทเยอ ไพรบึง ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-523

ตารางที่ 4.6-11 แหลงศิลปกรรมประเภทโบราณสถานในจังหวัดศรีสะเกษ (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

10 พระธาตุจังเกา (ธาตุจังเกา) 6 โนนปูน ไพรบึง ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 11 วัดปราสาททามจาน (ปราสาทบานสมอ) 12 สมอ ปรางคกู ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 12 ปราสาทบานกู (กูปรางคกู) 1 กู ปรางคกู ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 13 ตึกขุนอําไพพาณิชย - เมืองเหนือ เมืองศรีสะเกษ ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 14 สิมเกาวัดคูซอด - คูซอด เมืองศรีสะเกษ ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 15 ปราสาทตาเล็ง (ปราสาทลุมพุก) 1 ปราสาท ขุขันธ ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 16 วัดโสภณวิหาร 1 กันทรารมย ขุขันธ ศรีสะเกษ ไมขึ้นทะเบียน 17 ศิลาจารึกบานกระมัล 3 โพธิ์วงศ ขุนหาญ ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 18 ปราสาทตําหนักไทร 7 บักดอง ขุนหาญ ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 19 ภูเขาฝาย 1 ภูฝาย ขุนหาญ ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 20 ภาพสลักหินผาเขียน 11 บักดอง ขุนหาญ ศรีสะเกษ ไมขึ้นทะเบียน 21 วัดบานสิ 1 สิ ขุนหาญ ศรีสะเกษ ไมขึ้นทะเบียน 22 ภาพสลักหินผาจันทรแดง 11 บักดอง ขุนหาญ ศรีสะเกษ ไมขึ้นทะเบียน 23 เมืองคงโคก 6 เมืองคง ราษีไศล ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 24 กูบานหวาน - หวานคํา ราษีไศล ศรีสะเกษ ไมขึ้นทะเบียน 25 ปราสาทหินวัดสระกําแพงใหญ 1 สระกําแพงใหญ อุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 26 อุโบสถวัดสะเดา 8 โพธิ์ชัย อุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 27 ปราสาทกําแพงนอย 4 ขะยูง อุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 28 วัดบานสมปอยนอย 2 สําโรง อุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ ไมขึ้นทะเบียน 29 โบสถเกา วัดวิสุทธิโสภณ - บึงบูรพ บึงบูรพ ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

บทที่ 4

4-524

ตารางที่ 4.6-11 แหลงศิลปกรรมประเภทโบราณสถานในจังหวัดศรีสะเกษ (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อแหลงศิลปกรรม สถานที่ตั้ง

การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน หมู ตําบล อําเภอ จังหวัด

30 กูสมบูรณ - เปาะ บึงบูรพ ศรีสะเกษ ไมขึ้นทะเบียน 31 กูบานคอ - เปาะ บึงบูรพ ศรีสะเกษ ไมขึ้นทะเบียน 32 ปราสาทบานปราสาท 1 ปราสาท หวยทับทัน ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน 33 เมืองจันทร (ปราสาทเมืองจันทร) 2 เมืองจันทร เมืองจันทร ศรีสะเกษ ขึ้นทะเบียน

ที่มา: กรมศิลปากร (2554)

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-525

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-526

4.6.3 ศักยภาพ ปญหา และขอจํากัดดานสังคมและวัฒนธรรม ในภาพรวมของกลุมจังหวัดอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง จะเห็นไดวาคุณคาและความสําคัญ

ซ่ึงเปนศักยภาพสําคัญนอกจากจะเปนประวัติศาสตรของแตละจังหวัดท่ีมีความสืบเนื่องยาวนานมาต้ังแต กรุงศรีอยุธยา และวัฒนธรรมประเพณีในแตละจังหวัดดังท่ีไดกลาวถึงแลว ในแตละจังหวัดก็ยังปรากฏแหลงศิลปกรรมท่ีมีคุณคาซ่ึงสามารถสรุปได ดังนี้

1) จังหวัดอุบลราชธานี มีความโดดเดนในดานแหลงโบราณคดีประเภทภาพเขียนสี จารึก และภาพจําหลักหิน ในบริเวณ

อําเภอโขงเจียม และอําเภอโพธ์ิไทร ซ่ึงไมปรากฏในจังหวัดอ่ืนในกลุมอนุภาคเดียวกันเลย ท้ังนี้ในการพัฒนาแหลงดังกลาวเพ่ือรองรับการทองเท่ียวสามารถทําไดในรูปแบบของการทองเท่ียวเชิงนิเวศ ประเภทการทองเท่ียวเชิงผจญภัย เนื่องจากที่ตั้งของแหลงโดยสวนใหญอยูในบริเวณท่ีเปนภูผาซ่ึงตองเดินเทาผานผืนปาเขาไป ยกเวนแหลงภาพเขียนสีผาแตม และผาหมอนซ่ึงมีระยะในการเดินเทาไมไกลมากนัก

นอกจากนี้ในสวนของโบราณสถานในเมืองท่ีสวนใหญตั้งอยูภายในวัด อาทิ สิม และหอไตร ดังปรากฏในรูปท่ี 4.6-9 เปนส่ิงท่ีมีความโดดเดน และสามารถพัฒนาเพื่อรองรับการทองเท่ียว รวมท้ังเปนแหลงเรียนรูสําหรับเยาวชนได เชนเดียวกับยานเกา และสถาปตยกรรมพื้นถ่ิน อาทิ ยานเกาของอําเภอเขมราฐดังท่ี ไดกลาวถึงแลว ซ่ึงหากมีการพัฒนาในเชิงอนุรักษ โดยการบูรณะฟนฟูอาคารในรูปแบบดั้งเดิม และเปดใหเปนพื้นท่ีทองเท่ียวพักผอนริมแมน้ําโขงได ยานเกาแหงนี้จะมีความนาสนใจไมนอยไปกวาเมืองทองเท่ียวสําคัญ เชน อําเภอเชียงคาน หรืออําเภอปาย เปนตน

ก. สิมเกาวดับูรพารามท่ีมีการสรางอาคารใหมคลุมไว ข. หอไตรวัดทุงศรีเมือง

รูปท่ี 4.6-9 แหลงศิลปกรรมประเภทโบราณสถานในวัดสําคัญของอําเภอเมืองอุบลราชธานี

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-527

2) จังหวัดอํานาจเจริญ แหลงศิลปกรรมสําคัญไดแก โบราณสถานท่ีอยูทางตอนลางในบริเวณอําเภอเมืองอํานาจเจริญ

อําเภอหัวตะพาน และอําเภอลืออํานาจ ซ่ึงโดยสวนใหญเปนโบราณสถานท่ีมีลักษณะศิลปกรรมในสกุล ชางลานชาง ท่ีจะตองเรงดําเนินการสํารวจข้ึนทะเบียนโบราณสถาน เพื่ออนุรักษไวใหเปนแหลงเรียนรูตอไป

3) จังหวัดยโสธร ความโดดเดนของแหลงศิลปกรรมในจังหวัดยโสธร คือ รองรอยคูเมือง-กําแพงเมือง หรือชุมชน

โบราณท่ีมีการพบโบราณวัตถุรวมดวย ซ่ึงรองรอยคูเมือง-กําแพงเมืองของจังหวัดอ่ืนในกลุมอนุภาคเดียวกัน มักไมพบโบราณวัตถุรวมดวย ดังนั้นหากมีการพัฒนาในลักษณะของการเปนเมืองโบราณท่ีสมบูรณท่ีแสดงใหเห็นถึงรองรอยคูเมือง - กําแพงเมือง มีพิพิธภัณฑท่ีรวบรวมโบราณวัตถุตางๆ ท่ีคนพบ มีเรือนแรมที่แสดงเอกลักษณและวิถีชีวิตของคนในรุนปจจุบันในลักษณะของเมืองโบราณท่ีมีชีวิต (Living Environment) มากกวาลักษณะของเมืองโบราณท่ีตายแลว (Dead Monument) ก็จะทําใหสามารถพัฒนาในดานการทองเท่ียวไดเปนอยางดี รวมท้ังสามารถอนุรักษใหเปนแหลงเรียนรูสําหรับเยาวชน และประชาชนท่ีสนใจตอไปได นอกจากนี้จังหวัดยโสธรยังมีแหลงศิลปกรรมประเภทโบราณสถานท่ีมีลักษณะคลายคลึงกับจังหวัดอํานาจเจริญ กลาวคือ มีความโดดเดนของโบราณสถานในสกุลชางลานชางท่ีกระจายอยูโดยท่ัวไปในจังหวัดโดยเฉพาะวัดท่ีอยูในเขตอําเภอเมือง

4) จังหวัดศรีสะเกษ แหลงศิลปกรรมสําคัญของจังหวัดศรีสะเกษ คือ แหลงศิลปกรรมในอารยะธรรมขอมบริเวณ

ชายแดนเขตติดตอประเทศกัมพูชา ซ่ึงในอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางนี้จะพบเฉพาะในจังหวัดศรีสะเกษเทานั้น โดยเฉพาะกลุมปราสาทตาเมือน และปราสาทพระวิหารอําเภอกันทรลักษณ จังหวัดศรีสะเกษ ซ่ึงควรมีการเรงกระบวนการในการปกปนเขตแดน เพื่อใหสามารถดําเนินการอนุรักษ และพัฒนาแหลงศิลปกรรมเหลานั้น ใหสามารถใชประโยชนไดในอนาคตตอไป

สวนสภาพปญหาท่ีเกิดข้ึนกับแหลงศิลปกรรมท่ัวประเทศในภาพรวมนั้น โรจน คุณเอนก (2548) ไดรวบรวมไว ซ่ึงปญหาเหลานี้เกิดข้ึนกับแหลงศิลปกรรมในพื้นท่ีกลุมจังหวัดอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางเชนเดียวกัน ดังนี้

ในปจจุบันแหลงศิลปกรรมโดยสวนใหญท่ีเปนท่ีรูจัก และเขาถึงไดอยางสะดวก มักถูกพัฒนาเพ่ือใชประโยชน อาทิ การพัฒนาเปนแหลงทองเท่ียว ซ่ึงการใชประโยชนโดยปราศจากมาตรการในการอนุรักษยอมนํามาซ่ึงความเส่ือมโทรมแกแหลงศิลปกรรมเหลานั้น สวนแหลงศิลปกรรมท่ีไมเปนท่ีรูจักมากนัก ก็มักถูกลักลอบขุดคน ทําลาย หรือถูกทําลายโดยกระบวนการพัฒนาตางๆ ดังนั้นปญหาสําคัญท่ีสุดสําหรับแหลงศิลปกรรม ก็คือ การขาดแนวคิดในการอนุรักษ นอกจากนี้ในการดําเนินงานตามมาตรการในการอนุรักษก็ยังขาดแนวรวมในการดําเนินงานอีกดวย ซ่ึงสาเหตุสําคัญของปญหาดังกลาวประการหนึ่งก็คือ การท่ีประชาชนโดยท่ัวไปขาดแนวคิดและจิตสํานึกในการอนุรักษส่ิงแวดลอมเหลานั้น ท้ังนี้ประชาชนบางสวนมีแนวคิดท่ีสวนทางกับแนวคิดในการอนุรักษ และบางสวนมีแนวคิดในการอนุรักษแตก็เพิกเฉยหรือไมใหความรวมมือในการจัดการ

โครงการจัดทําฐานขอมูล และวิเคราะหเพื่อการวางผังอนุภาค กลุมจังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ บทที่ 4

4-528

เพื่อการอนุรักษ เนื่องจากมีผลประโยชนบางอยางแอบแฝง หรือแมกระท่ังในบางกรณีเม่ือมีประเด็นปญหาเกิดข้ึนกับการจัดการแหลงศิลปกรรมในทองถ่ินของตนเอง แมวาประชาชนโดยสวนใหญจะมีแนวคิดในการอนุรักษและตองการที่จะใชแนวคิดดังกลาวมาแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึนก็ตาม แตก็มักขาดความเขมแข็งในการท่ีจะแสดงพลังในการผลักดันใหมีการแกไขปญหาตามแนวทางท่ีตนเองคิด

นอกจากนี้การขาดระบบฐานขอมูลของแหลงศิลปกรรมก็ยังทําใหลักษณะการดําเนินการอนุรักษในปจจุบันเปนไปในลักษณะของการดําเนินงานในเชิงรับ กลาวคือ เม่ือมีกิจกรรมใดๆ ท่ีจะกอใหเกิด ความเสียหายแกแหลงศิลปกรรม ก็จะมีการดําเนินการเพื่อแกไขในกรณีนั้นๆ ซ่ึงโดยสวนใหญกิจกรรมท่ีเกิดข้ึนมักเปนกิจกรรมพัฒนาตางๆ จึงทําใหเกิดภาพของความขัดแยงระหวางการพัฒนาและการอนุรักษอยูเสมอๆ ดังนั้นการจัดทําระบบฐานขอมูล และข้ึนทะเบียนแหลงศิลปกรรมในระดับชาติไวกอนยอมทําใหปญหาความขัดแยงลดลง ซ่ึงแมวาจะมีการคนพบแหลงศิลปกรรมเพ่ิมเติมข้ึนอีกในภายหลังก็งายตอการปรับขอมูลใหมีความทันสมัย และทําใหโอกาสที่จะเกิดความขัดแยงระหวางการอนุรักษและการพัฒนาลดลงดวย

อยางไรก็ตามเม่ือหันมาหาองคกรปกครองสวนทองถ่ินในฐานะท่ีเปนผูดูแลแหลงศิลปกรรมท่ีอยูในทองถ่ินของตนเพ่ือใหปรับใชขอบังคับของทองถ่ินใหเกิดประโยชนในการดูแล และอนุรักษแหลงศิลปกรรมก็จะพบวา องคกรปกครองสวนทองถ่ินบางสวนใหการตอบรับในเร่ืองดังกลาวเปนอยางดี ในขณะท่ียังมีอีกจํานวนมากท่ีไมไดดําเนินการในเร่ืองดังกลาวอยางจริงจัง อาจเนื่องมาจากภารกิจท่ีถูกกระจายอํานาจมาใหรับผิดชอบมีมาก หรืออาจใหความสําคัญกับการอนุรักษส่ิงแวดลอมศิลปกรรมอยูในลําดับทาย การใชขอบังคับของทองถ่ินมาจัดการในเร่ืองดังกลาวจึงคอนขางเปนไปไดยากอีกเชนกัน

ดังนั้นในระยะท่ีผานมาการจัดการส่ิงแวดลอมศิลปกรรมจึงเปนไปเพื่อการพัฒนาและ ใชประโยชนจากแหลงมากกวาการอนุรักษ ประกอบกับการขาดระบบฐานขอมูลท่ีสมบูรณจึงทําใหการอนุรักษ แหลงศิลปกรรมเปนไปแบบตั้งรับมากกวาท่ีจะเปนการดําเนินงานในเชิงรุก

ในดานศักยภาพและขอจํากัดของแหลงศิลปกรรมจะพบวา ในพื้นท่ีกลุมจังหวัดอนุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางมีแหลงศิลปกรรมท่ีมีความหลากหลาย และหลายแหงมีคุณคาสูง เพียงแตหลายแหงยังไมไดรับการจัดท่ีดีพอ ประกอบกับการไมมีระบบฐานขอมูลของแหลงศิลปกรรมท่ีชัดเจน จึงทําใหแหลงศิลปกรรมหลายแหงถูกทําลาย หรืออยูในสภาพท่ีทรุดโทรม ดังน้ันหากพิจารณาในเร่ืองของศักยภาพในการพัฒนาแหลงศิลปกรรมเหลานี้ในเชิงอนุรักษ เพื่อเปนแหลงเรียนรู จะพบวาพื้นท่ีกลุมจังหวัดอนุภาคกลางมีศักยภาพสูง ในการพัฒนาแหลงศิลปกรรมใหเปนแหลงเรียนรูได ท้ังในลักษณะของพิพิธภัณฑทางนิเวศวิทยา (Eco-museum) ซ่ึงเปนแหลงเรียนรูในทองถ่ิน และหลายแหงหากมีการจัดการท่ีดีพอ

ท้ังนี้ในการศึกษาจะไดมีการประเมินคุณคา และระดับความวิกฤตของแหลงโดยผูเช่ียวชาญ เพื่อประเมินศักยภาพและขอจํากัดของแหลงศิลปกรรมแตละแหงกอนท่ีจะมีการวางมาตรการในการอนุรักษ พัฒนา หรือใชประโยชนในดานอ่ืนๆ ตอไป