3 kid book

13
การออกแบบหนังสือเด็ก หนังสือสําหรับเด็ก หนังสือสําหรับเด็กเปนสื่อเพื่อการเรียนรูที่จะชวยโนมนาวใหเด็กๆ เกิดความสนใจ ในเนื้อหา เกิดความเพลิดเพลินในการเรียนรูโดยไมรูตัว การออกแบบจัดหนารูปเลมและ ภาพประกอบ จึงมีความสําคัญอยางมากที่นักออกแบบจะตองสรางสรรคใหสอดคลองกับ ความสนใจ ความชอบและพฤติกรรมการรับรูของเด็กแตละวัยที่มีความแตกตางกันไป การออกแบบใหมีความเรียบงาย มีความชัดเจนทั้งสาระและภาพประกอบ มีความ สวยงามทั้งการจัดโครงสีและการตกแตงองคประกอบอื่น จุดมุงหมายของการจัดหนา . เพื่อกระตุนความพึงพอใจใหเกิดการสนองตอบ และมีความสนใจใน เนื้อหาที่ตองการนําเสนอ ดวยการใชลักษณะภาพที่ดีและมีขนาดใหญ . การใชสีสันที่เหมือนจริงในการนําเสนอจะทําใหเด็กๆ เกิดความเขาใจ ในเนื้อหาไดดียิ่งขึ้น ขนาดและสีสันของตัวอักษรที่พอเหมาะ ทําใหมีความ ชัดเจนและนาสนใจ สามารถ อานหนังสือไดนานไมเบื่องาย . เพื่อตองการใหเกิดความรักหนังสือ และเกิดความรูสึกที่ดีตอหนังสือซึ่ง เปนแหลงขอมูลเบื้องตนทางการศึกษาหาความรูตางๆ . การออกแบบภาพ การจัดวางหนาอยางพิถีพิถัน สวยงาม จะชวย สงเสริมความรูสึกนึกคิดในทางสุนทรียภาพ และสนับสนุนใหเกิดจินตนาการ ในการสรางสรรคไดเปนอยางดี วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

Upload: janjira-natee

Post on 29-Jul-2016

241 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

Kid book

TRANSCRIPT

Page 1: 3 kid book

การออกแบบหนังสือเด็ก

หนังสือสําหรับเด็ก

หนังสือสําหรับเด็กเปนส่ือเพื่อการเรียนรูที่จะชวยโนมนาวใหเด็กๆ เกิดความสนใจ

ในเนื้อหา เกิดความเพลิดเพลินในการเรียนรูโดยไมรูตัว การออกแบบจัดหนารูปเลมและ

ภาพประกอบ จึงมีความสําคัญอยางมากที่นักออกแบบจะตองสรางสรรคใหสอดคลองกับ

ความสนใจ ความชอบและพฤติกรรมการรับรูของเด็กแตละวัยท่ีมีความแตกตางกันไป

การออกแบบใหมีความเรียบงาย มีความชัดเจนท้ังสาระและภาพประกอบ มีความ

สวยงามท้ังการจัดโครงสีและการตกแตงองคประกอบอื่น

จุดมุงหมายของการจัดหนา

ก. เพ่ือกระตุนความพึงพอใจใหเกิดการสนองตอบ และมีความสนใจใน

เน้ือหาที่ตองการนําเสนอ ดวยการใชลักษณะภาพที่ดีและมีขนาดใหญ

ข. การใชสีสันที่เหมือนจริงในการนําเสนอจะทําใหเด็กๆ เกิดความเขาใจ

ในเนื้อหาไดดีย่ิงขึ้น ขนาดและสีสันของตัวอักษรที่พอเหมาะ ทําใหมีความ

ชัดเจนและนาสนใจ สามารถ อานหนังสือไดนานไมเบ่ืองาย

ค. เพ่ือตองการใหเกิดความรักหนังสือ และเกิดความรูสึกที่ดีตอหนังสือซึ่ง

เปนแหลงขอมูลเบื้องตนทางการศึกษาหาความรูตางๆ

ง. การออกแบบภาพ การจัดวางหนาอยางพิถีพิถัน สวยงาม จะชวย

สงเสริมความรูสึกนึกคิดในทางสุนทรียภาพ และสนับสนุนใหเกิดจินตนาการ

ในการสรางสรรคไดเปนอยางดี

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

Page 2: 3 kid book

การออกแบบหนังสือเด็ก 2

แนวคิดของการจัดหนา

การออกแบบจัดหนาหนังสือสําหรับเด็ก จะมีลักษณะและวิธีการที่แตกตางกันไป

จากงานลักษณะอื่นๆ หนังสือประเภทน้ีจะมุงเนนการนําเสนอเน้ือหาดวยภาพประกอบเปน

หลักและมีขอความเปนสวนประกอบ การมองภาพ การรับรู การเห็นและความชอบของ

เด็กยอมแตกตางไปจากผูใหญ ผูออกแบบจึงควรไดศึกษาถึงหลักการทางจิตวิทยา การ

รับรูและการดูภาพของเด็กดวย

นอกจากการออกแบบจัดหนาใหเกิดความสวยงาม และนาสนใจในแตละหนา

แลว ผูออกแบบยังตองคํานึงถึงความสัมพันธตอเนื่องของการจัดหนา เพื่อใหเกิดความ

สอดคลองกันและสงเสริมจินตนาการของเด็กใหคลองตามเนื้อหา เกิดจินตภาพในการ

สรางสรรคไดอยางเพลิดเพลินอีกดวย

หลักเกณฑในการออกแบบหนังสือเด็กควรคํานึงถึงส่ิงตางๆ ตอไปนี้

1. ตําแหนงตางๆ ในเลม เชน ปก รองปก เน้ือใน เปนตน

2. รูปรางของเลม

3. ขนาดของเลม

4. สี

5. ภาพ

6. ตัวอักษร

7. การวางหนา (Lay-out)

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

Page 3: 3 kid book

การออกแบบหนังสือเด็ก

3

ปก ส่ิงที่สะดุดตาส่ิงแรกเก่ียวกับหนังสือสําหรับเด็ก ก็คือ ปกหนังสือ เด็กจะหยิบ

หนังสือที่เด็กใหความสนใจ ปกและภาพประกอบมีอิทธิพลตอการเลือกอานของเด็กมาก

สวนเนื้อเร่ืองน้ันมีผลตอการเลือกอานของเด็กเพียงปานกลาง

ภาพหนาปก การใชสี การเลือกตัวอักษร และการจัดวางที่ดึงดูดสายตา จะ

สรางความนาสนใจและสะดุดตาแกปกหนังสือ

รูปแบบของปกก็สามารถสรางความนาสนใจได แทนที่จะออกแบบปกหนังสือเปน

รูปส่ีเหล่ียม อาจออกแบบเปนรูปทรงเรขาคณิตอื่นๆ เชน วงกลม หกเหล่ียม หรือรูปที่

สอดคลองกับเนื้อหาของหนังสือ เชน รูปสัตว ผลไม รองเทา รถไฟ เปนตน ซึ่งเร่ืองน้ี

อาจเปนอุปสรรคตอการพิมพและการลงทุนอยูบาง

เน้ือใน หมายความรวมถึงหนาหนังสือที่บรรจุภาพและตัวอักษร ที่เปนเร่ืองราวมีทั้งหนา

ซายมือและขวามือ โดยทั่วไปการออกแบบหนาหนังสือเด็กแบงไดดังนี้

1. ภาพและตัวหนังสืออยูในหนาเดียวกัน อาจเปนแบบแยกภาพและตัวหนังสือไวคนละสวนกัน หรือพิมพตัวหนังสือทับลงไปบนภาพ

สวนเรื่องที่วาภาพจะอยูตรงไหน ตัวหนังสืออยูตรงไหน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับผูออกแบบ โดย

คํานึงถึงจุดสนใจของสายตา จุดนี้จะอยูตรงก่ึงกลางคร่ึงบนของหนังสือ หนังสือจึงมัก

ออกแบบโดยวางภาพไวต้ังแตก่ึงกลางหนาคร่ึงบนลงมา แลววางตัวหนังสือไวดานลางของ

ภาพ จัดวาเปนการออกแบบตามแบบแผน ซึ่งบางคร้ังทําใหผูอานจําเจไมนาสนใจ

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

Page 4: 3 kid book

การออกแบบหนังสือเด็ก 4

การเปล่ียนแปลงเพื่อความนาสนใจ เชน วางภาพลงเต็มหนาหนังสือ และวางตัวหนังสือ

ทับลงไปตรงบริเวณท่ีเห็นวาเหมาะสม โดยคํานึงถึงเร่ืองหลักความสมดุล นอกจากนี้ส่ิงที่

นาสนใจอีกประการหนึ่งคือ ภาพไมจําเปนตองอยูในกรอบรูปส่ีเหล่ียม อาจเปนกรอบ

วงกลม วงรี หรือไมมีลักษณะกรอบที่แนนอน การเลือกใชที่เหมาะสมทําใหเกิดสะดุดตา

ได 2. ภาพและตัวหนังสืออยูคนละหนา โดยทั่วไปการมองของคนเรา สายตาจะตกที่หนาขวามือกอน การขึ้นเร่ือง ภาพ การ

ประดิษฐตัวหนังสือจะอยูหนาขวามือทั้งส้ิน หนาซายปลอยไปแบบอัตโนมัติ แตสําหรับ

หนังสือเด็ก หากนําภาพมาไวหนาขวามือหมด เด็กจะสนใจแตภาพในหนาขวามือและ

ละเลยตัวหนังสือในหนาซายมือ ดังนั้น ควรสลับเอาภาพไวหนาดานซายมือบาง

3. การใชสองหนาควบเปนเสมือนหนาเดียวกัน เปนอีกวิธีหนึ่งที่เรียกความสนใจของเด็ก

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

Page 5: 3 kid book

การออกแบบหนังสือเด็ก

5

4. การออกแบบโดยคํานึงถึงหลัก “มิติ” เปนวิธีการออกแบบที่เรียกความสนใจจากเด็กได เพราะเด็กชอบดูจากของจริงมากกวาภาพ

หนังสือที่มีการพิมพโดยตัด พับ และคล่ีกางออกใหเห็นเปนภาพสามมิตินั้น ทําใหเด็กรูสึก

ถึงความลึกของภาพไดดีขึ้น การออกแบบหนาหนังสือประเภทน้ีมีอุปสรรคอยูบาง ที่ระบบ

การพิมพและตนทุนที่สูงขึ้น นอกจากนี้ความแข็งแรงของปกและเนื้อในเปนส่ิงสําคัญที่ตอง

คํานึงถึง เพราะเด็กจับถือหนังสือแรงและยังไมรูจักการถนอมหนังสือ

รูปรางของเลม หนังสือเด็กท่ีมีวางขายทั่วไปในทองตลาดน้ันมีรูปเลมเปนแบบแนวต้ัง (Upright)

และแบบแนวนอน (Oblong) หลักในการออกแบบรูปเลมทั้งสองแบบนี้ เปนเพราะความ

สะดวกในการพิมพและความสะดวกของเด็กท่ีจะหยิบถือเปนหลักสําคัญ

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

Page 6: 3 kid book

การออกแบบหนังสือเด็ก 6

สวนหลักท่ีจะทําใหรูปเลมหนังสือนาสนใจ คือ การทํารูปเลมที่แปลก เชน รูป

วงกลม รูปหลายเหล่ียม รูปวงรี รูปสัตว รูปผลไม ที่มีความสัมพันธกับเนื้อหาภายใน

สําหรับความหนาหนังสือเด็กท่ัวไปมีความหนาไมมากนัก

ขนาดของหนังสือ ไมมีหลักแนนอนวาหนังสือขนาดใดจะเหมาะสมกับเด็ก ทั้งนี้ขึ้นกับความสะดวก

ของการพิมพ ความเหมาะสมกับขนาดของกระดาษพิมพ และเครื่องมือที่ใชพิมพ ขนาด

ที่เหมาะสมโดยทั่วไปนาจะเปนขนาดที่เด็กถือและเปดอานไดสะดวก

ตัวอักษร ตัวอักษรหรือตัวหนังสือ เปนสวนประกอบที่สําคัญสําหรับหนังสือเด็กในแงมีผล

ตอสัมผัสทางสายตา และการเกิดความพอใจ ผลที่ไดรับเกิดจากรูปแบบ ขนาด และสี

ของตัวหนังสือ 1. รูปแบบ ตัวอักษรเทาที่มีจะเปนไปในแบบเดียวกันหมด คือ ตัวบรรจงแบบราชการ ดังนั้นส่ิงที่จะ

เปล่ียนแปลงไปสําหรับตัวหนังสือก็คือ ขนาดและสี 2. ขนาด โดยหลักการทางจิตวิทยาพัฒนาการของเด็ก การรับรูทางสายตาของเด็กจะรับรูส่ิงตางๆ

ในรูปแบบอยางหยาบๆ หรือแบบรวมๆ ไมสนใจรายละเอียดมากนัก เร่ืองของตัวหนังสือ

ที่เหมาะสมก็คือ ใชตัวหนังสือขนาดโตสําหรับเด็กเล็กๆ และขนาดของตัวหนังสือจะคอยๆ

ลดลงตามวัยท่ีเติบโตขึ้นของเด็ก ขนาดตัวอักษร ระดับช้ัน อายุ 30-36 พอยท อนุบาล 3-6 ป

24-30 พอยท ประถมตน 7-9 ป

20-24 พอยท ประถมปลาย 10-12 ป

18-20 พอยท มัธยมตน 13-15 ป

16-18 พอยท มัธยมปลาย 16-18 ป

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

Page 7: 3 kid book

การออกแบบหนังสือเด็ก

7

14-16 พอยท อุดมศึกษา 18 ปขึ้นไป

ที่มา : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช

3. สีของตัวอักษร สวนใหญมักพิมพตัวอักษรสีเขมลงบนกระดาษพื้นสีขาว เพราะตนทุนถูกกวาการพิมพลง

บนกระดาษสี ที่นิยมกันในวงการพิมพหนังสือสําหรับเด็กก็คือ สีดํา การพิมพตัวหนังสือ

สีขาวลงบนพื้นสีตางๆ นั้น ทําใหการตัดกันของพื้นและตัวหนังสือเปล่ียนไป หากพื้นเปนสี

เขมมากก็อานไดสะดวกย่ิงขึ้น

จากการวิจัย (วรรณี แยมปทุม, 2519) พบวา ความสามารถในการรับรู

ตัวหนังสือสีตางๆ ที่พิมพบนพื้นสีขาว ในกลุมเด็กชายสามารถรับรูตัวหนังสือสีเขียวและสี

น้ําเงินไดเทากัน และรับรูตัวหนังสือสีเขียวและสีน้ําเงินไดดีกวาสีดํา

แตถานําตัวหนังสือทั้งสามสีดังกลาวมาไวในหนาเดียวกัน กลับมีแนวโนมวา

ตัวหนังสือสีดําจะทําใหเด็กสามารถรับรูไดดีกวาอีกสองสี แตโดยทั่วไปไมนิยมพิมพ

ตัวหนังสือหลายสีไวในหนาเดียวกัน

การวางหนา (Lay-out) การวางหนาหนังสือสําหรับเด็กน้ี ถือวาเปนงานหนักและตองใชหลักเกณฑทาง

ศิลปะมากเปนพิเศษ แมวาเราจะนําผลการวิจัยเก่ียวกับภาพ ทั้งลักษณะภาพท่ีเด็กชอบ

แบบ สี และขนาดของภาพ การวิจัยเก่ียวกับตัวหนังสือ จนไดขอมูลที่นาพอใจแลว

ขั้นตอนนี้เราตองนําเอาส่ิงเหลานั้นมา “จัดวางหนา” หลักเกณฑทางศิลปะเกี่ยวกับการวางหนามีหลักสําคัญที่ตองคํานึงถึง คือ 1. หลักสมดุล 2. ความเปนเอกภาพ 3. เนนจุดสนใจ 4. เวนชองวาง 5. การนําสายตา

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

Page 8: 3 kid book

การออกแบบหนังสือเด็ก 8

จากนั้นก็ขึ้นกับความคิดริเร่ิมและสรางสรรคของนักออกแบบวา จะนําหลักเกณฑ

ดังกลาวมาใชอยางไร เชน ในเรื่องหลักสมดุลไมจําเปนตองใหหนาเดียวกันมีจํานวนภาพ

และตัวหนังสือเทากันทั้งสองขาง แตอาจใชน้ําหนักของภาพและจํานวนตัวหนังสือที่

แตกตางกัน แตจัดวางใหมีการถวงใหเกิดความสมดุล

เม่ือทราบถึงหลักเกณฑหาประการแลว ควรพิจารณาการวางหนาในแตละแบบ

พรอมๆ กันไป คือ

ภาพและตัวหนังสืออยูในหนาเดียวกัน โดยอยูแยกจากกัน ทําไดโดย 1.

1.1) ภาพอยูดานบน ตัวหนังสืออยูดานลาง สําหรับรูปเลมแนวต้ัง

1.2) ภาพอยูดานซายหรือขวา ตัวหนังสืออยูดานขวาหรือซาย สําหรับรูปเลม

แนวนอน

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

Page 9: 3 kid book

การออกแบบหนังสือเด็ก

9

1.3) ตัวหนังสือแทรกอยูตามชองวางระหวางภาพ สําหรับรูปเลมแบบใดก็ได

2. ภาพและตัวหนังสือพิมพอยูหนาเดียวกันโดยตัวหนังสือทับอยูบนภาพ ก็ควร

คํานึงถึงหลักท้ัง 5 ประการ ในการเลือกวางตัวหนังสือลงบนภาพ

3. ภาพและตัวหนังสืออยูคนละหนา การจัดหนาแบบนี้มักไมคอยมีปญหา เพราะแต

ละหนาตองวางภาพและตัวหนังสือใหเหมาะสมในหนานั้นๆ ที่สําคัญคือ เม่ือดูทั้งสองหนา

พรอมๆ กันแลวตองมีความสัมพันธกัน

4. ภาพและตัวหนังสือที่ใชเนื้อที่ทั้งสองหนาและทําใหดูเหมือนเปนหนาเดียวกัน การจัดวางหนาแบบนี้ ยังคงตองคํานึงถึงหลักเกณฑทางสมดุล เอกภาพ จุดสนใจและ

อื่นๆ อันเปนหลักเกณฑพื้นฐานในการจัดวางหนาแบบนี้ ที่ควรพิจารณาเปนพิเศษ ไดแก

การเวนชองวางรอบๆ ภาพ ภาพที่มีกรอบภาพชัดเจนและการไมเนนกรอบภาพ กรอบ

ภาพที่ยืดหยุนไดทําใหสอดแทรกตัวหนังสือในสวนท่ีเปนชองวางได ในดานการพิมพตอง

ระมัดระวังควบคุมสีของหนาที่ตอเนื่องกัน และรอยตอในการเขาเลมหนังสือ

ภาพ เร่ืองของภาพในหนังสือเด็ก จัดวาเปนเร่ืองสําคัญมาก มีการวิจัยในเร่ืองนี้กันอยาง

กวางขวางท้ังในและตางประเทศ หัวขอที่ไดรับการวิจัยมาก ไดแก 1. ลักษณะของภาพที่เด็กชอบ 2. แบบของภาพ 3. สีของภาพ 4. ขนาดของภาพ 5. อารมณของภาพ

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

Page 10: 3 kid book

การออกแบบหนังสือเด็ก 10

ซึ่งผลของการวิจัย มีดังนี้

1. ลักษณะของภาพที่เด็กชอบและสนใจ

1.1) เด็กชอบภาพที่มีลักษณะงายๆ ไมซับซอน (เฟรนซ K-G 5-1952) (วิล

เปล, อายุ 8-11 ขวบ 1953) , (สปอลติง , 1960) และเม่ืออายุสูงขึ้นเด็กก็จะชอบภาพที่

ซับซอนขึ้นเปนลําดับ

1.2) เด็กชอบภาพที่แสดงการกระทําและการผจญภัย , (วิปเปล , 1953)

1.3) เด็กชอบภาพสีมากกวาภาพขาวดํา (วิปเปล, 1953) , (บลูมเมอร, 1960) ,

(อัมสเดน, 1960 , อนุบาล 3-5 ขวบ) , (สุนันท จูฑะศร 2509) , (วุฒิ แตรสังข , 2514)

1.4) เด็กอายุ 8 ขวบ สนใจการตูนประกอบวรรณคดีหรือนิทานมากที่สุด อายุ 9 และ 10 ขวบ ชอบการตูนตลกขําขันมากท่ีสุด (สุวนิช ศรีสงา , 2516)

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

Page 11: 3 kid book

การออกแบบหนังสือเด็ก

11

1.5) เด็กชอบหนังสือที่มีภาพประกอบมาก ชอบภาพใหญมากกวาภาพเล็ก

ชอบภาพที่ตรงกับขอความมากกวาภาพท่ีไมตรงกับขอความ (วิปเปล , 1953)

1.6) ภาพสีน้ําชวยใหเกิดจินตนาการไดมากกวาภาพลักษณะอ่ืน (บลูม

เมอร , 1960)

1.7) เด็กชายและเด็กหญิงทั้งที่อานหนังสือเกงหรือไมเกง ชอบภาพ

ลักษณะเดียวกัน (อัมสเดน , 1960)

1.8) เด็กสนใจภาพที่อยูขางขวามากกวาภาพขางซาย (อัมสเดน , 1960)

ผลจากการวิจัยเหลานี้ นักออกแบบสามารถนํามาพิจารณาในการออกแบบ

หนังสือ เชน ควรมีรายละเอียดของภาพมากหรือนอย ควรเปนภาพธรรมดาหรือภาพ

แสดงอิริยาบถของตัวละคร ควรใชสีหรือไม ควรจะใชการตูนกับเร่ืองอยางไร ภาพควรวาง

ไวหนาไหน เปนตน

2. แบบของภาพ แบบในที่นี้ คือภาพที่ใชเปนภาพที่ทําขึ้นมาโดยวิธีใด เชน ภาพถาย ภาพ

ลายเสน ภาพวาดแรเงา เปนตน ผลของการวิจัยมีวา

เด็กนิยมภาพการตูน (ฉลอง ทับศรี, 2517) , (สุนันท จูฑะศร , 2509) 2.1)

2.2) เด็กชอบภาพถายเปนอันดับแรก ภาพแรเงา (ภาพวาดเหมือนหรือภาพเขียน

หยาบ) เปนอันดับสอง และชอบภาพลายเสนเปนอันดับสุดทาย (สุนันท , 2509) ,

(ฉลอง , 2517) , (ประสงค , 2517) , (วุฒิ , 2514)

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

Page 12: 3 kid book

การออกแบบหนังสือเด็ก 12

2.3) สําหรับภาพที่มีสีเขามาเก่ียวของน้ัน เด็กชอบภาพถายหลายสี (สีธรรมชาติ) เปน

อันดับแรก ภาพถายขาวดําเปนอันดับที่สอง และภาพถายสีเดียวเปนอันดับหลังสุด (วุฒิ

แตรสังข , 2514)

จากผลการวิจัยน้ี ถาไมคํานึงถึงเร่ืองการลงทุนและเทคนิคการพิมพที่ซับซอนแลว

ภาพถายสีธรรมชาติควรเปนแบบที่ถูกเลือกใชนอกเหนือไปจากภาพการตูน

3. สีของภาพ

ผลการวิจัยโดยท่ัวไปพบวา เด็กชอบภาพที่มีสีหลายๆสี การวิจัยของบลูมเมอร

(1960) พบวา เด็กเกรด 4 , 5 และ 6 ชอบภาพสีน้ํามากกวาภาพลายเสนและภาพแรเงา

และยังกลาวอีกวาภาพสีน้ําชวยใหเด็กเกิดจินตนาการกวางไกลกวาภาพลักษณะอื่น

4. ขนาดของภาพ

มีการวิจัยพบวา ภาพขนาดใหญไดรับความสนใจจากเด็ก มากกวาภาพขนาดเล็ก

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

Page 13: 3 kid book

การออกแบบหนังสือเด็ก

13

5. อารมณของภาพ

สวนหนึ่งของการที่เด็กจะชอบภาพท่ีประกอบอยูในหนังสือหรือไมนั้น อารมณที่

เด็กไดรับจากการดูภาพมีสวนกําหนดความชอบของเด็กดวย

อารมณที่ไดจากการดูภาพแบงเปน 3 อยางคือ อิฏฐารมณ (อารมณที่นา

พอใจ) , อนิฏฐารมณ (อารมณที่ไมนาพอใจ) และอารมณที่เปนกลางๆ

จากการวิจัยของ เปร่ือง กุมิท (2512) และ พงษสวัสด์ิ (2516) พบวา เด็กมี

การเรียนรูหรือรับรูภาพที่เปนอิฏฐารมณไดเร็วกวาภาพท่ีเปน อนิฏฐารมณ เร่ืองน้ีมีสวน

สัมพันธกับขอความที่ใชคูกับภาพดวย ถาขอความเปนไปในทางนาพอใจเชนเดียวกับภาพ

แลว เด็กจะรับรูไดเร็วขึ้น หากขอความเปนไปในทางไมนาพอใจ แตภาพยังใหความรูสึก

ที่นาพอใจ จะพบวาการรับรูยังเปนไปในระดับดีพอๆ กัน

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2