2.final1.1 websitelaw.ppt [โหมดความเข้ากันได้] ·...

10
E-Law.ppt กฎหมายพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (Electronic Commerce Law) อาจารยนิธิพร รอดรัตษะ Final (1) _Chapter 8. ปญหาในการประกอบกิจการ การพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ปญหาโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศยังมีไมเพียงพอ ปญหาในดานความปลอดภัย (Security) ปญหาในการคุมครองทรัพยสินทางปญญา (Intellectual Property) ปญหาโครงสรางพื้นฐานทางกฏหมาย กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. กฎหมายแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส ( Electronic Data Interchange Law- EDI ) 2. กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส ( Electronic Signatures Law ) 3. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส ( Electronic Funds Transfer Law) 4. กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล ( Data Protection Law ) 5. กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร ( Computer Crime Law ) กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. กฎหมายแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส ( Electronic Data Interchange Law- EDI) เพื่อรับรองสถานะ ทางกฎหมาย ของขอมูลอิเล็กทรอนิกสใหเสมอดวยกระดาษ อันเปนการรองรับนิติสัมพันธตางๆโดยเฉพาะในวงการคาการ ขนสงระหวาง ประเทศทําใหสามารถทําธุรกิจไดอยางไมมีขอจํากัดทั้งดานเวลา และสถานทีโดย การใชมาตรฐานที่ยอมรับโดยทั่วไปในรูปแบบ(format) และโครงสรางขอมูลที่สง ถึงกัน หมายถึง การแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสระหวางระบบคอมพิวเตอร ระหวางองคกร โดยใชมาตรฐานที่เปนที่ยอมรับโดยทั่วไปในการกําหนดรูปแบบ หรือโครงสรางขอมูลที่สงถึงกันและกัน

Upload: others

Post on 30-Jan-2020

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 2.Final1.1 websiteLaw.ppt [โหมดความเข้ากันได้] · กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอน ิกส์ 1. กฎหมายแลกเปลี่ยนข

E-Law.ppt

กฎหมายพาณิชยอิเลก็ทรอนิกส(Electronic Commerce Law)

อาจารยนิธิพร รอดรัตษะ

Final (1) _Chapter 8.

ปญหาในการประกอบกิจการ การพาณิชยอิเล็กทรอนิกสปญหาโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศยังมีไมเพียงพอปญหาในดานความปลอดภัย (Security)

ปญหาในการคุมครองทรัพยสินทางปญญา (Intellectual Property)

ปญหาโครงสรางพื้นฐานทางกฏหมาย

กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์1. กฎหมายแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส

( Electronic Data Interchange Law- EDI )2. กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส

( Electronic Signatures Law )3. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส

( Electronic Funds Transfer Law) 4. กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล

( Data Protection Law ) 5. กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร

( Computer Crime Law )

กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์1. กฎหมายแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส ( Electronic Data Interchange

Law- EDI)• เพื่อรับรองสถานะ ทางกฎหมาย ของขอมูลอิเล็กทรอนิกสใหเสมอดวยกระดาษ

อันเปนการรองรับนิติสัมพันธตางๆโดยเฉพาะในวงการคาการ ขนสงระหวางประเทศทําใหสามารถทําธุรกิจไดอยางไมมีขอจํากัดทั้งดานเวลา และสถานที่ โดยการใชมาตรฐานที่ยอมรับโดยทั่วไปในรูปแบบ(format) และโครงสรางขอมูลที่สงถึงกัน

• หมายถึง การแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสระหวางระบบคอมพิวเตอรระหวางองคกร โดยใชมาตรฐานที่เปนที่ยอมรับโดยทั่วไปในการกําหนดรูปแบบหรือโครงสรางขอมูลที่สงถึงกันและกัน

Page 2: 2.Final1.1 websiteLaw.ppt [โหมดความเข้ากันได้] · กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอน ิกส์ 1. กฎหมายแลกเปลี่ยนข

1. กฎหมายแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส ( Electronic Data Interchange Law- EDIประโยชนของกฎหมายแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส

ที่ไดรับจากการใช EDI• ประโยชนกําลังคน และ เวลา• ลดความผิดพลาด• เพิ่มประสิทธิภาพในธุรกรรม• ขยายโอกาสทางธุรกิจ• ความสมบูรณของเนื้อหาทางกฎหมาย• ลายเซ็น• ลายลักษณอักษร รวมถึงขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส หรือไม• เอกสารตนฉบับ• พยานหลักฐาน• การเกิดขึ้นของสัญญา ที่ไหน เมื่อไร

1. กฎหมายแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส ( Electronic Data Interchange Law- EDI)สาระสําคัญของกฏหมายตามกฎหมายตนฉบับของคณะกรรมการวาดวยการคาระหวางประเทศแหงสหประชาชาติดังนี้

หมวดที่1 บททั่วไปขอบเขต คํานิยาม การตีความ และการกําหนดโดย ขอตกลง

หมวดที่2 ขอกําหนดทางกฎหมายตอรูปแบบของขอมูลการรับรองรูปแบบขอมูล ลายเซ็น ลายลักษณอักษร ตนฉบับ พยานหลักฐาน การเก็บรักษาขอมูล

หมวดที่ 3 การสงขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสการเกิดและความสมบูรณของสัญญา การรับรองของคูสัญญา การรับขอมูล เวลาสถานในการรับสงขอมูล

1. กฎหมายแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส( Electronic Data Interchange Law- EDI)สาระสําคัญของกฏหมาย

การพาณิชยอิเล็กทรอนิกสเฉพาะดานเกี่ยวของกับหมวดที่ 1 การรับขนสินคามาตรา 16 การกระทําที่เกี่ยวเนื่องกับสัญญารับขนสินคามาตรา 17 เอกสารที่ใชในการขนสง

10

สาระสําคัญของกฎหมาย

หมวดที่ 1 บททั่วไปมาตรา 1 ขอบเขตการใชมาตรา 2 คํานิยามมาตรา 3 การตีความมาตรา 4 การกําหนดโดยขอตกลง

Page 3: 2.Final1.1 websiteLaw.ppt [โหมดความเข้ากันได้] · กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอน ิกส์ 1. กฎหมายแลกเปลี่ยนข

สาระสําคัญของกฎหมาย

หมวดที่ 2 ขอกําหนดทางกฎหมายตอรูปแบบของขอมูลมาตรา 5 การรับรองทางกฎหมายตอรูปแบบของขอมูลมาตรา 6 ลายลักษณอักษรมาตรา 7 ลายมือชื่อมาตรา 8 ตนฉบับมาตรา 9 การยอมรับและคุณภาพของรูปแบบขอมูลเปนพยานหลักฐานมาตรา 10 การเก็บรักษาขอมูลอิเล็กทรอนิกส

หมวดที่ 3 การสงขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสมาตรา 11 การเกิดและความสมบูรณของสัญญามาตรา 12 การรับรองคูสัญญามาตรา 13 Attribution of data messagesมาตรา 14 การรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสมาตรา 15 เวลาและสถานที่ที่ถือวามีการรับและสงขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส

13

กฎหมายที่มีอยูไมสามารถนํามาปรับใชใหครอบคลุมถึงการทํานิติกรรมสัญญาทางอิเล็กทรอนิกสไดเพื่อทําใหเกิดความมั่นคงระหวางคูสัญญาในสภาพการณที่ตองอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศในการนิติกรรมเพื่อเปนโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญในการประกอบการพาณิชยอิเล็กทรอนิกสเพื่อสงเสริมใหมีการใชเทคโนโลยีอันจะสงผลใหเกิดความสะดวกรวดเร็วในการติดตอกันทางธุรกิจและประหยัดตนทุน

1. กฎหมายแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส ( Electronic Data Interchange Law- EDI)เหตุผลและความจําเปน

กระทรวงพาณชิยกระทรวงยุติธรรมกระทรวงคมนาคมกระทรวงการตางประเทศกระทรวงวทิยาศาสตรเทคโนโลยีและสิง่แวดลอม

1. กฎหมายแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส ( Electronic Data Interchange Law- EDI)หนวยงานที่เกี่ยวของ

2. กฏหมายเกี่ยวกบัลายมอืชื่ออิเล็กทรอนกิส ( Electronic Signatures Law) เพื่อรับรองการใชลายมือ ชื่ออิเล็กทรอนิกสดวยกระบวนการใดๆ ทางเทคโนโลยีใหเสมอดวยการลงลายมือชื่อธรรมดา อันสงผลตอความ เชื่อมั่น มากขึ้นในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส และกําหนดใหมีการกํากับดูแลการใหบริการ เกี่ยวกับ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสตลอดจนการใหบริการอื่นที่เกี่ยวของกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส

หมายถึง การเปลี่ยนแปลงขอมูลใหอยูในรูปของรหัสอื่นๆ เพื่อปองกันมิใหผูใดเขาใจความหมายดังกลาว รวมทั้งปองกันมิใหขอมูลดังกลาวถูกแกไขเปลี่ยนแปลงหรือถูกลบทิ้ง หรือถูกนําไปใชโดยมิไดรับอนุญาต โดยที่รหัสที่แปลงนั้นสามารถพิสูจนไดวาเปนขอมูลที่ถูกตอง

หรือ ลายเซ็นดิจิตอล ( Digital Signatures) คือ กลุมของตัวเลขที่เกิดจากการเขารหัสทางคณิตศาสตรในขอมูลอิเล็กทรอนิกสโดยคอมพิวเตอร

ทางกฎหมาย คือการทําเครื่องหมายบนขอมูลดิจิตอลโดยการใชรหัส สวนตัวโดยมีบุคคลภายนอกที่ทําหนาที่รับรองวาเปนลายเซ็นของผูเซ็นจริง

ทางเทคนิค คือ คาทางคณิตศาสตร ที่ประทับบนขอมูล โดยใชวิธีทางคณิตศาสตรเชื่อมโยง Private key and Public key

ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส ( Electronic Signatures)

Page 4: 2.Final1.1 websiteLaw.ppt [โหมดความเข้ากันได้] · กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอน ิกส์ 1. กฎหมายแลกเปลี่ยนข

2. กฏหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส ( Electronic Signatures Law) หนาที่ของลายเซ็น1.เปนเครื่องมือในการระบุ วาผูใดเปนเจาของลายเซ็น2.เปนเครื่องมือในการที่จะประกาศเจตนา วาตนยอมผูกพันตามขอความที่ปรากฏ

ในเอกสาร3.เปนเครื่องมือในการพิสูจน วาเอกสารดังกลาวเปนผูลงนามจริง

2. กฏหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส ( Electronic Signatures Law) สาระสําคัญ

ประเภทของเอกสารที่จําเปนตองลงลายชื่อดิจิตอลการรับรองความถูกตอง และการยกเลิกการรับรองความถูกตองของหนวยงานที่รับผิดชอบการลงลายมือชื่อของนิติบุคคล และบุคคลธรรมดาการจดแจงทะเบียนความรับผิดชอบของหนวยงานที่รับรองความถูกตองความสัมพันธระหวางผูใชและหนวยงานที่รับรองความถูกตอง

2. กฏหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส ( Electronic Signatures Law) สรุปขั้นตอนในการใชลายเซ็นดิจิตอล

1. ผูใชสรางหรือไดรับกุญแจสวนตัว ที่เกี่ยวเนื่องทางตรรกกับกุญแจสาธารณะ2. ผูสงตระเตรียมขอมูลที่จะสงทางคอมพิวเตอร3. ผูสงทําการยอยขอมูล โดยใชสูตรคณิตศาสตร4. ผูสงจะทําการเขารหัสขอมูลที่ไดทําการยอยแลวโดยใชกุญแจสวนตัว จะไดรับการ

ผนวกเขากับขอมูลที่ยอยแลวโดยใชสูตรทางคณิตศาสตร 5. ผูสงผนึก หรือ แนบลายเซ็นดิจิตอลเขากับขอความที่จะทําการสง6. ผูสงทําการสงลายเซ็นดิจิตอลพรอมกับขอความ ไปยังผูรับทางอิเล็กทรอนิกส7. ผูรับใชกุญแจหรือรหัสสาธารณะของผูสงเพื่อตรวจสอบความถูกตองในลายเซ็น

ดิจิตอลของผูสง การตรวจสอบความถูกตองโดยใชกุญแจสาธารณะ ของผูสงจะพิสูจนวาขอมูลหรือขอความดังกลาวมาจากผูสงจริง

8. ผูรับสามารถ ยอยขอมูลที่สงมา โดยใชสูตรคณิตศาสตร สูตรเดียวกับผูสง

2. กฏหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส ( Electronic Signatures Law)สรุปขั้นตอนในการใชลายเซ็นดิจิตอล (ตอ)

9. ผูรับทําการเปรียบเทียบขอมูลที่ไดรับการยอยทั้งสอง หากเหมือนกันก็หมายความวาขอมูลดังกลาวไมไดถูกแกไขหลังจากการลงนาม ถาหากขอความที่สงมาถูกแกไขเพียงหนึ่งบิทขอมุลที่ทดลองยอยดูจะแตกตางจากขอมูลที่ผูสงสงมาอยางเห็นไดชัด

10. ผูรับจะไดรับใบรับรอง จากหนวยงานที่ทําหนาที่รับรองความถูกตอง ซึ่งจะยืนยันวา ลายเซน็ดังกลาวมาจากที่ผูสงขอความ นั้นจริง

Page 5: 2.Final1.1 websiteLaw.ppt [โหมดความเข้ากันได้] · กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอน ิกส์ 1. กฎหมายแลกเปลี่ยนข

20

1. กฎหมายที่มีอยูไมสามารถนํามาใชใหครอบคลุมถุงเรื่องลายเซ็นอิเล็กทรอนิกสได2. เพื่อสรางความมั่นคงใหกับประชาชน3. เพื่อจัดใหมีโครงสรางพื้นฐานสําหรับการประกอบการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส4. เพื่อสงเสริมใหมีการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมอันจะสงผลใหมีความสะดวก

รวดเร็วและประหยัดตนทุน

2. กฏหมายเกี่ยวกับลายมอืชื่ออิเล็กทรอนิกส( Electronic Signatures Law)เหตุผลและความจําเปน

แคนาดาเดนมารกฝรั่งเศสเยอรมันอิตาลีญี่ปุนมาเลเชียสหราชอาณาจักร

2. กฏหมายเกี่ยวกบัลายมอืชื่ออิเล็กทรอนกิส ( Electronic Signatures Law)ประเทศที่มีกฎหมายลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส

กระทรวงพาณิชยกระทรวงการคลังกระทรวงมหาดไทยกระทรวงยุติธรรมสํานักงายอัยการสูงสุดกระทรวงการตางประเทศกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม

2. กฏหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส ( Electronic Signatures Law)หนวยงานราชการที่เกี่ยวของ

3. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส (Electronic Funds Transfer Law) เพื่อกําหนด กลไกสําคัญทางกฎหมายในการรองรับระบบการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส ทั้งที่เปนการโอนเงิน ระหวาง สถาบันการเงินและระบบการชําระเงินรูปแบบใหมในรูปของเงินอิเล็กทรอนิกสกอใหเกิดความเชื่อมั่นตอระบบ การทําธุรกรรมทางการเงินและการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสมากยิ่งขึ้น

พัฒนาการของ เงินการแลกเปลี่ยนสินคา (Trade by Barter)เงินตรา (Chattel money) --> เหรียญ ธนบัตรเงินพลาสติก (Plastic Money) เงินอิเล็กทรอนิกส (Digital Money)

Page 6: 2.Final1.1 websiteLaw.ppt [โหมดความเข้ากันได้] · กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอน ิกส์ 1. กฎหมายแลกเปลี่ยนข

3. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส (Electronic Funds Transfer Law) ปญหา

เงื่อนไขสัญญา สวนมาก มักเปนสัญญาสําเร็จรูป หรือเปนสัญญาจํายอม ผูบริโภคขาดอํานาจการตอรองการโอนเงิน ยังไมมีกฏหมายเฉพาะในเรื่องพยานหลักฐานทางอิเล็กทรอนิกสในการบอกยกเลิกการชําระเงินวัน เวลา สถานที่ในการทําธุรกรรมการระเมิดสิทธิสวนบุคคลเครื่องคอมพิวเตอร เกิดบกพรอง

3. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส (Electronic Funds Transfer Law) สาระสําคัญ

รูปแบบและเจตนา และการพิสูจนในการชําระเงินสิทธิของ เจาหนี้ และลูกหนี้ ที่ไมสามารถชําระเงินไดคําสั่งให ชําระ ยกเลิกการชําระเงินความรับผิดชอบในความเสียหายจากการโอนเงินการใชการโอนเงินโดยมิชอบขอกําหนดการโอนเงินระหวางประเทศ

เหตุผลและความจําเปน1. ประเทศไทยยังไมมีกฎหมายที่ครอบคลุมโดยตรงและเปนระบบในเรื่องของการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส

2. เพื่อกอใหเกิดความั่นคงตอผูดําเนินการทางธุรกรรมทางการเงินในสภาวะที่ตองพึ่งพาเทคโนโลยี3. เพื่อจัดทําโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศในสวนที่เกี่ยวกับการประการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส4. เพื่อศึกษาและปองกันผลกระทบทางการเงินการคลังของประเทศในยุคเทคโนโลยีสารสนเศ

3. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส (Electronic Funds Transfer Law หนวยงานราชการที่เกี่ยวของ

กระทรวงพาณิชยกระทรวงการคลังกระทรวงคมนาคมธนาคารแหงประเทศไทยกระทรวงการตางประเทศกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม

ประเทศทีม่ีกฎหมายการโอนเงินอิเล็กทรอนิกสสหรัฐอเมริกาออสเตรเลีย

เยอรมันสหราชอาณาจักร

4. กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล(Data Protection Law) เพื่อกอใหเกิด การรับรอง สิทธิและใหความคุมครองขอมูลสวนบุคคล ซึ่งอาจถูกประมวลผล เปดเผย หรือเผยแพรถึงบุคคลจํานวนมากได ในระยะ เวลาอันรวดเร็วโดยอาศัยพัฒนาการทางเทคโนโลยี จนอาจกอใหเกิดการนําขอมูลนั้นไปใช ในทาง มิชอบอันเปนการละเมิดตอเจาของขอมูล ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงกภรรักษาดุลยภาพระหวาง สิทธิขั้นพื้นฐานใน ความเปนสวนตัว เสรีภาพในการติดตอสื่อสาร และความมั่นคงของรัฐ

5. กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร(Computer Crime Law) เพื่อกําหนดมาตรการ ทางอาญาในการลงโทษผูกระทําผิดตอระบบการทํางานของคอมพิวเตอร ระบบขอมูล และระบบเครือขาย ซึ่งในปจจุบันยังไมมีบทบัญญัติของกฎหมายฉบับใดกําหนดวาเปนความผิด ทั้งนี้ เพื่อเปนหลักประกัน สิทธิเสรีภาพและการคุมครองการอยูรวมกันของสังคม

Page 7: 2.Final1.1 websiteLaw.ppt [โหมดความเข้ากันได้] · กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอน ิกส์ 1. กฎหมายแลกเปลี่ยนข

ต่อด้วย >>ข้อกฎหมายที่ควรรู้เกี่ยวกับการทําธุรกิจเว็บไซต์

ขอกฎหมายที่ควรรูเกี่ยวกับการทําธุรกิจเว็บไซต

ขอกฎหมายเบื้องตนที่เกี่ยวกับการทําธุรกิจเว็บไซตขอกําหนดศาลทรัพยสินทางปญญาและทางการคาระหวางประเทศขอกําหนดศาลลมละลายพ.ร.บ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสพ.ร.บ.ทรัพยสินทางปญญาเทคโนโลยี WAP กับธุรกิจ M-Commerce และปญหากฎหมาย

29

ขอกฎหมายเบื้องตนที่เกี่ยวกับการทําธุรกิจเว็บไซตบัญญัติ 5 ประการ สําหรับเจาของเว็บไซต

1. ชื่อเว็บไซต หรือโดเมนเนม (Domain Name)

2. ขอมูลที่ใช (Content)

3. การทํา Hyperlink

4. Banner

5. Terms & Conditions30

1. ชื่อเว็บไซต หรือโดเมนเนม (Domain Name)พร.บ. เครื่องหมายการคา พ.ศ. 2534 มีรายละเอียดดังนี้

มาตรา 108บุคคลใดปลอมเครื่องหมายการคา เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายรับรอง หรือเครื่องหมายรวมของบุคคลอื่นที่ไดจดทะเบียนแลว ในราชอาณาจักรตองระวางโทษจําคุกไมเกินสี่ป หรือปรับไมเกินสี่แสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 109 บุคคลใดเลียนเครื่องหมายการคา เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายรับรอง หรือเครื่องหมายรวมของบุคคลอื่นที่ไดจดทะเบียนแลวในราชอาณาจักรเพื่อใหประชาชนหลงเชื่อวาเปนเครื่องหมายการคา เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายรับรอง หรือเครื่องหมายรวมของบุคคลอื่นนั้น ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองปหรือปรับไมเกินสองแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

Domain Name System (DNS)31

Page 8: 2.Final1.1 websiteLaw.ppt [โหมดความเข้ากันได้] · กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอน ิกส์ 1. กฎหมายแลกเปลี่ยนข

2. ขอมูลที่ใช (Content)เว็บไซตสวนใหญที่นิยมทํากันสามารถแบงไดเปน 2 ประเภท คือ

เว็บไซตประเภทขายสินคา และบริการ เว็บไซตประเภทใหบริการขอมูล

32

3. การทํา Hyperlink

พร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มีรายละเอียดดังนี้ มาตรา 4 มาตรา 27

33

4. Banner

พร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มีรายละเอียดดังนี้ มาตรา 39 การถายภาพหรือการถายภาพยนตรหรือการแพรภาพซึ่งงานใด ๆ อันมีศิลปกรรม

5. Terms & Conditions

34

ขอกําหนดศาลทรัพยสินทางปญญาและทางการคาระหวางประเทศทรัพยสินทางปญญาเครื่องหมายการคาการคาระหวางประเทศ

เครื่องหมายที่ไดรับความคุมครองในประเทศไทย มี 4 ประเภท คือ1. เครื่องหมายการคา2. เครื่องหมายบรกิาร3. เครื่องหมายรับรอง4. เครื่องหมายรวม

35

Page 9: 2.Final1.1 websiteLaw.ppt [โหมดความเข้ากันได้] · กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอน ิกส์ 1. กฎหมายแลกเปลี่ยนข

ขอกําหนดศาลลมละลาย ขอ 18 “ศาลอาจรับฟงขอมูลที่บันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร” ขอ 19 “คูความที่ประสงคเสนอขอมูลที่บันทึกโดยเครื่อง

คอมพิวเตอร” ขอ 20 “คูความฝายที่ถูกอีกฝายหนึ่งอางอิงขอมูลที่บันทึกโดย

คอมพิวเตอร”

36

เทคโนโลยี WAP กับธุรกิจ M-Commerce และปญหากฎหมาย

ปญหาเรื่องผลการแสดงเจตนาและแบบของนิติกรรม ปญหาเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล

37

ประโยชนของทรัพยสินทางปญญาที่มีตอสินคา OTOP1. การจดทะเบียนคุมครองสิทธิในการประดิษฐ2. การจดทะเบียนคุมครองสิทธิในชื่อยี่หอ โลโก3. การสรางสรรคงานที่เขาขายลิขสิทธิ์

39

พร.บ.ลิขสิทธิ์พ.ศ. 2537 รวมถึงพรบ. ความลับทางการคา พ.ศ. 2545พร.บ.สิทธิบัตร พ.ศ. 2522 (แกไข 2542)พร.บ.เครื่องหมายการคา พ.ศ. 2534 (แกไข 2543)พรบ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2544

กฎหมายทรัพยสินทางปญญา

40

Page 10: 2.Final1.1 websiteLaw.ppt [โหมดความเข้ากันได้] · กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอน ิกส์ 1. กฎหมายแลกเปลี่ยนข

The End

41