2550 - parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให...

45

Upload: others

Post on 11-Feb-2020

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว
Page 2: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

คํานํา

วารสารวิชาการ เปนสื่อความรูประเภทหนึ่งที่มีความสําคัญตอการศึกษาคนควา อางอิง ที่ทันตอเหตุการณ ทําใหทราบถึงความกาวหนา และผลงานใหมๆ ในแขนงวิชาตางๆ กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ ไดคัดเลือกบทความที่นาสนใจจากวารสารที่มีใหบริการในหองสมุด มาจัดทําสาระสังเขปรายเดือนเพื่อชวยอํานวยความสะดวกใหกับสมาชิกรัฐสภาและผูใช ไดเขาถึงวารสารและเปนคูมือในการติดตามเลือกอานบทความที่สนใจจากวารสารที่ตองการไดอยางรวดเร็วและมากที่สุด สาระสังเขปบทความวารสาร ฉบับนี้ไดดําเนินมาเปนปที่ 4 หากผูใชทานใดมีความประสงคจะอานบทความ หรือวารสารฉบับใด โปรดติดตอที่เคานเตอรบริการสารสนเทศ หองสมุดรัฐสภา สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร อาคารรัฐสภา 3 ช้ัน 1 ถนนอูทองใน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 หมายเลขโทรศัพท 0 2244 1287, 0 2244 1375 หรือ e-mail : [email protected], และ [email protected]

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

พฤษภาคม 2550

Page 3: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

คําช้ีแจง

สาระสังเขปบทความวารสารเลมนี้ เปนการสรุปยอเนื้อหาของบทความจากวารสารตางๆ ทั้งวารสารภาษาไทยและวารสารภาษาอังกฤษ โดยจดัเรียงตามลําดบัชื่อวารสาร ภายใตช่ือวารสารจัดเรียงตามลําดับอักษรชื่อบทความ ตั้งแต ก-ฮ หรือ A-Z รายละเอียดประกอบดวย

ช่ือวารสาร

กฎหมายใหม

1. “กฎหมายการประกอบธุรกิจของคนตางดาวกับนักกฎหมายตางดาว”. / โดย อธิก อัศวานันท. ว.กฎหมายใหม. ปที่ 5 ฉบับที่ 82 (เมษายน 2550) : 40-43.

บทความเรื่องนี้ กลาวถึงพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ. 2542 ใน

สวนที่เกี่ยวกับนักกฎหมายตางดาว โดยอธิบายถึงเหตุผลที่กฎหมายหามคนตางดาวประกอบธุรกิจกฎหมายเพราะธุรกิจกฎหมายเปนธุรกิจที่คนไทยยังไมมีความพรอมที่จะแขงขันในการประกอบกิจการกับคนตางดาว แตผูเขียนกลับเห็นวาควรปรับปรุงกฎหมายดังกลาวโดยจัดระเบียบใหนักกฎหมายตางดาวเขามาประกอบอาชีพในประเทศไทยใหถูกตองตามแบบอยางอารยประเทศแตตองอยูภายใตเงื่อนไขบางประการ เชน ถาทํางานกฎหมายไทยก็ตองสอบผานปริญญาตรีกฎหมายไทย เปนตนเพื่อจะไดรับประโยชนทั้งนักกฎหมายไทยและนักกฎหมายตางดาว แนวคิดนี้จึงเปนประเด็นที่นาสนใจและนาพิจารณาแกไขในพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ. 2542 แตตองศึกษาผลดีผลเสียอยางละเอียดเพื่อใหเกิดประโยชนตอประเทศไทยมากที่สุด

Page 4: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

สารบญั

หนา คํานํา.............................................................................................................................................................ก

คําชี้แจงวิธีใช............................................................................................................................................... ข

สารบัญ ......................................................................................................................................................ค-ง

กฎหมายใหม ................................................................................................................................................ 1

การเงินธนาคาร ............................................................................................................................................ 3

คณะตุลาการรฐัธรรมนูญ ............................................................................................................................. 4

เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม........................................................................................................................... 6

นิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ........................................................................................................... 9

ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกจิ ..................................................................................................................... 12

ผูจัดการ ...................................................................................................................................................... 13

ผูสงออก ..................................................................................................................................................... 16

รัฐศาสตรสาร ............................................................................................................................................. 18

Page 5: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

หนา

สารบญั

ศิลปวัฒนธรรม........................................................................................................................................... 19

สงเสริมการลงทุน ...................................................................................................................................... 21

สารคดี ........................................................................................................................................................ 25

อีคอนนิวส.................................................................................................................................................. 27

เอกสารภาษีอากร........................................................................................................................................ 28

THE JOURNAL OF POLITICS................................................................................................................ 31

ภาคผนวก

เร่ือง “ประมวลศัพททางการบริหารเกี่ยวกับการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (CEO) หมวด S

Page 6: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 1

กฎหมายใหม 1. “กฎหมายการประกอบธุรกิจของคนตางดาวกับนักกฎหมายตางดาว”. / โดย อธิก อัศวานันท. ว.กฎหมายใหม. ปที่ 5 ฉบับที่ 82 (เมษายน 2550) : 40-43.

บทความเรื่องนี้ กลาวถึงพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ. 2542 ใน สวนที่เกี่ยวกับนักกฎหมายตางดาว โดยอธิบายถึงเหตุผลที่กฎหมายหามคนตางดาวประกอบธุรกิจกฎหมายเพราะธุรกิจกฎหมายเปนธุรกิจที่คนไทยยังไมมีความพรอมที่จะแขงขันในการประกอบกิจการกับคนตางดาว แตผูเขียนกลับเห็นวาควรปรับปรุงกฎหมายดังกลาวโดยจัดระเบียบใหนักกฎหมายตางดาวเขามาประกอบอาชีพในประเทศไทยใหถูกตองตามแบบอยางอารยประเทศแตตองอยูภายใตเงื่อนไขบางประการ เชน ถาทํางานกฎหมายไทยก็ตองสอบผานปริญญาตรีกฎหมายไทย เปนตนเพื่อจะไดรับประโยชนทั้งนักกฎหมายไทยและนักกฎหมายตางดาว แนวคิดนี้จึงเปนประเด็นที่นาสนใจและนาพิจารณาแกไขในพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ. 2542 แตตองศึกษาผลดีผลเสียอยางละเอียดเพื่อใหเกิดประโยชนตอประเทศไทยมากที่สุด 2. “คตส. กําลังเดินทางผิด กรณีตรวจสอบภาษีการซื้อขายหุนชินคอรป”. / โดย ปยะ ตราชูธรรม. ว.กฎหมายใหม. ปที่ 5 ฉบับที่ 82 (เมษายน 2550) : 38-39.

บทความเรื่องนี้ กลาวถึงการตรวจสอบภาษีการซื้อขายหุนชินคอรปของคณะกรรมการ ตรวจสอบการกระทําที่กอใหเกิดความเสียหายแกรัฐ (คตส.) โดยผูเขียนเห็นวาการโอนหุนระหวางบริษัท Ample Rich Investment จํากัด กับ นายพานทองแทและนางสาวพิณทองทาเปนนิติกรรม อําพรางเพื่อมิใหบริษัทตองเสียภาษีเงินไดจากกําไรที่ไดรับจากการขายหุน แตคณะกรรมการตรวจสอบการกระทําที่กอใหเกิดความเสียหายแกรัฐ (คตส.) เห็นวาไมใชนิติกรรมอําพรางแตควรเสียภาษีเงินไดจากการซื้อหุนจากบริษัท Ample Rich Investment จํากัด ตํ่ากวาราคาตลาดเทานั้น ซึ่งในกรณีนี้จะทําใหบุคคลทั้งสองสามารถยกเหตุผลในการหักลางความผิดไดวาอยูในประเทศไทยไมถึง 180 วัน ในปที่ซื้อขายหุนกันตามมาตรา 41 วรรค 2 และวรรคสามตามประมวลรัษฎากรหรืออางไดวาการซื้อขายหุนเกิดขึ้นที่สิงคโปรอันถือเปนแหลงเงินไดนอกประเทศ ดังนั้นแนวทางการตรวจสอบของ คตส. อาจทําใหเก็บภาษีไมไดและไมถูกดําเนินคดีในขอหาหลีกเลี่ยงภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรมาตรา 37 อีกดวย

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 7: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 2

3. “ผูใหเชาขอใหการไฟฟาตัดไฟผูเชาบานเพื่อหวังขับไลผูเชาบานไดหรือไม?”. / โดย สมพงษ ตันติรจนาวงศ. ว.กฎหมายใหม. ปที่ 5 ฉบับที่ 82 (เมษายน 2550) : 50-51.

บทความเรื่องนี้ อธิบายคําสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 205/2548 ในประเด็นเกี่ยวกับการที่ผูเชา บานถูกการไฟฟางดจายกระแสไฟฟาตามคําขอของผูใหเชา ผูเชาบานจึงฟองการไฟฟาฐานเจาหนาที่ของรัฐหรือหนวยงานทางปกครองละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดกอใหเกิดความเสียหายแกผูฟองคดี ซึ่งผลจากคําวินิจฉัยของศาลปกครองในกรณีนี้ทําใหเจาของบานเชาหรือผูใหเชาบานไมอาจดําเนินการนอกกรอบของกฎหมายในบังคับใหผูเชาออกจากบานเชาไดโดยไมดําเนินการตามขั้นตอนของกฎหมาย ดวยการของดใชบริการไฟฟาและประปาตอการไฟฟาหรือการประปา เพ่ือบังคับใหผูอยูบานเชาไมสามารถใชประโยชนจากการเชาบานอยางปกติสุขได การที่ศาลมีคําสั่งศาลเชนนี้เปนการสรางความเปนธรรมในสังคม

4. “รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2550”. / โดย สมชาย ปรีชาศิลปกุล. ว.กฎหมายใหม. ปที่ 5 ฉบับที่ 82 (เมษายน 2550) : 54-55.

บทความเรื่องนี้ เปนการวิเคราะหรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2550 โดยผูเขียนเห็นวารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 2550 จะมีอายุการใชงานไมนานดวยเหตุผล 3 ประการ คือ 1) รัฐธรรมนูญฉบับนี้มีเปาหมายที่แคบ 2) การจัดทํารัฐธรรมนูญภายใตบรรยากาศที่ไมมีความเปนเสรีประชาธิปไตย และ 3) ความชอบธรรมของการจัดทํารัฐธรรมนูญ เพราะฉะนั้นจากการพิจารณาถึงปจจัยท่ีมีอยูในปจจุบัน รัฐธรรมนูญฉบับนี้จึงจะมีสถานะเปนเพียงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) อีกหนึ่งฉบับเทานั้น 5. “ลิขสิทธ์ิในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล”. / โดย จักรกฤษณ ควรพจน. ว.กฎหมายใหม. ปที่ 5 ฉบับที่ 82 (เมษายน 2550) : 4-18.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง กฎหมายลิขสิทธิ์ในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งจากการที่ประเทศไทย เจรจาความตกลงเอฟทีเอระหวางไทยกับสหรัฐอเมริกาทําใหตองมีการพัฒนากฎหมายลิขสิทธิ์ใหสอดคลองกับมาตรฐานของนานาประเทศ ผูเขียนจึงไดอธิบายหลักกฎหมายลิขสิทธิ์โดยแบงเนื้อหาออกเปน 4 สวน คือ 1) หลักทั่วไปของกฎหมายลิขสิทธิ์ 2) บทบาทของลิขสิทธิ์กับการพัฒนาประเทศ 3) ลิขสิทธิ์กับเทคโนโลยีดิจิทัล และ 4) ลิขสิทธิ์กับปญหาการผูกขาดทางการคา : กรณีโปรแกรมคอมพิวเตอร นอกจากนี้ยังไดอธิบายผลดีผลเสียของหลักกฎหมายลิขสิทธิ์ตามอนุสัญญาระหวางประเทศ เพ่ือใหประเทศไทยไดศึกษาและพิจารณาการนํามาตรการดังกลาวมาใช

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 8: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 3

การเงินธนาคาร 1. “ทําอยางไร?... เมื่อมีขอพิพาทกับหนวยงานรัฐ”. / โดย พิชิตพล เอี่ยมมงคลชัย. ว.การเงิน ธนาคาร. ฉบับที่ 300 (เมษายน 2550) : 177.

ในชวงเวลา 1-2 ปที่ผานมา หนวยงานของรัฐมีขอพิพาททางกฎหมายกับภาคเอกชนมากขึ้น และคดีขอพิพาทสวนใหญเปนคดีสําคัญๆ ที่มีวงเงินขอพิพาทเปนจํานวนเงินที่สูง และมีผลกระทบในวงกวางตอประชาชนและสาธารณะประโยชนดวย ซึ่งจะมีผลกระทบตอบรรยากาศการลงทุนและการตัดสินใจของนักลงทุน โดยเฉพาะบริษัทเอกชนที่จะตองไดรับใบอนุญาต สัมปทาน หรือมีการทําสัญญากับหนวยงานของรัฐ ซึ่งบทความนี้ไดอธิบายถึงความจําเปนที่ภาคเอกชนตองเตรียมความพรอมใหดี เพื่อรับมือกับสถานการณตางๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ไมวาจะเปนการตรวจสอบเอกสารสัญญา การจัดหาที่ปรึกษาทางกฎหมาย การศึกษาในเรื่องของขอกฎหมายตางๆ และการเจรจากับหนวยงานของรัฐ

2. “รัฐบาลเหยียบคันเรงดันเศรษฐกิจพนขอบเหว”. ว.การเงินธนาคาร. ฉบับที่ 300 (เมษายน 2550) : 62.

รัฐบาลภายใตการนําของพลเอกสุรยุทธ จุลานนท ไดต้ังคณะกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สวนรวมขึ้น หลังจากที่บริหารประเทศมาไดประมาณ 6 เดือน ทั้งนี้เพื่อใหมีการวิเคราะหและระดมความคิดเกี่ยวกับนโยบายเศรษฐกิจในลักษณะที่กวางขวางขึ้นจากตัวแทนบุคคลใน 4 กลุม คือ รัฐบาล กลุมนักปฏิบัติ กลุมเทคโนแคร็ต และกลุมนักวิชาการหรือนักเศรษฐศาสตร เมื่อไดแนวคิดแลวและผานความเห็นชอบจากรัฐบาลจะนําสงแนวคิดใหหนวยงานที่เกี่ยวของนําไปจัดทําแผนปฏิบัติการตอไป โดยคณะกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจสวนรวมจะติดตามดูแลสถานการณเศรษฐกิจอยางใกลชิด เพ่ือวิเคราะหสถานการณและแกไขปญหาไดตรงจุดยิ่งขึ้น

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 9: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 4

3. “สรางฐานขอมูลเศรษฐกิจรายจังหวัดจุดเริ่มความหวัง ... พัฒนารากแกวไปอีกข้ัน”. ว.การเงิน ธนาคาร. ฉบับที่ 300 (เมษายน 2550) : 74.

กลาวถึงการจัดทํารายงานและคาดการณแนวโนมเศรษฐกิจภูมิภาค ซึ่งคาดวาในระยะยาว จะเปนฐานขอมูลที่จังหวัดสามารถนําไปใชประโยชนไดอยางกวางขวางยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการกําหนดทิศทางการบริหารภายในจังหวัด หรือเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจในการลงทุนของนักธุรกิจ ซึ่งการสรางฐานขอมูลดังกลาวจะทําใหประชาชนในพื้นที่ไดมีแหลงขอมูลท่ีแทจริง และสามารถกําหนดทิศทางการประกอบอาชีพ และการใชจายของตนเองได รวมถึงเปนเครื่องมือชวยขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศจากระดับลางใหเขมแข็งมากขึ้น 4. “STEM CELL … สวนตัว พื้นหัวใจขาดเลือด”. ว.การเงินธนาคาร. ฉบับที่ 300 (เมษายน 2550) : 168.

นําเสนอวิวัฒนาการทางการแพทย โดยเฉพาะการนํานวัตกรรมเซลลตนกําเนิด (cell Therapy มาใชในการรักษาผูปวยโรคมะเร็งและโรคหัวใจ ซึ่งการรักษาดวยวิธีนี้จะทําใหความเสี่ยงตางๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนถายอวัยวะหมดไปเพราะเซลลที่ผูปวยไดรับเปนเซลลของตนเอง ดังนั้นในมุมมองทางการแพทยการรักษาวิธีดังกลาวจึงมีความปลอดภัยสูง

คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ

1. “ขอเสนอทิศทางการกระจายอํานาจสูทองถิ่น และทิศทางในอนาคตขององคกรปกครองทองถิ่น

ตามรัฐธรรมนูญใหม”. / โดย เชาวนะ ไตรมาศ. ว.คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ. ปที่ 8 ฉบับที่ 24 (1) (กันยายน-ธันวาคม 2549) : 151-162.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง ทิศทางการกระจายอํานาจสูทองถิ่นตามรัฐธรรมนูญใหม โดยแบง เนื้อหาเปน 9 สวน คือ 1) ขอเสนอดานบทบาทของรัฐธรรมนูญกับการปกครองสวนทองถิ่น 2) ขอเสนอดานวิสัยทัศนใหมของการพัฒนาองคกรปกครองทองถิ่น 3) ขอเสนอดานยุทธศาสตรการสรางชาติกับการสรางทองถิ่น 4) ขอเสนอดานลําดับขั้นตอนของการพัฒนาภาวะผูนําใหมขององคกร

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 10: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 5

ปกครองทองถิ่น 5) ขอเสนอดานเปาหมายของการปฏิรูปองคกรปกครองทองถิ่น 6) ขอเสนอดานหลักการของการปฏิรูปองคกรปกครองทองถิ่น 7) ขอเสนอดานวิธีการของการปฏิรูปองคกรปกครองทองถิ่น 8) ขอเสนอดานเนื้อหาการปฏิรูปองคกรปกครองทองถิ่น และ 9) ขอเสนอดานยุทธศาสตรการปฏิรูปองคกรปกครองทองถิ่นตามรัฐธรรมนูญใหม

2. “รัฐธรรมนูญใหมของไทยกับขอเสนอในการสรางความสามารถทางการเมือง-การปกครองของ

ประเทศ”. / โดย เชาวนะ ไตรมาศ. ว.คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ. ปที่ 8 ฉบับที่ 24(1) (กันยายน-ธันวาคม 2549) : 114-150.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง ขอเสนอในการสรางความสามารถทางการเมืองการปกครองของ ประเทศ โดยแบงเนื้อหาสําคัญออกเปน 7 สวน คือ 1) ปญหาขอโตแยงสําคัญเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ 2) รัฐธรรมนูญกับการเมืองการปกครอง 3) บทบาทพื้นฐานของรัฐธรรมนูญ 4) บทบาทการสรางดุลยภาพทางการเมืองการปกครองของรัฐธรรมนูญ 5) การจัดวางลําดับความสําคัญเรงดวนเชิงนโยบายของรัฐธรรมนูญไทย 6) ขอพิจารณาปญหาพื้นฐานและความจําเปนของรัฐธรรมนูญในการสรางความสามารถทางการเมืองการปกครองของประเทศ และ 7) รัฐธรรมนูญใหมกับขอเสนอในการสรางความสามารถทางการเมืองการปกครองของประเทศ นอกจากนี้ยังมีตารางประกอบในสวนของเรื่องรัฐธรรมนูญกับขอเสนอในการสรางความสามารถทางการเมืองการปกครองของประเทศเพื่องายตอการทําความเขาใจอีกดวย

3. “อํานาจหนาที่ และวิธีพิจารณาคดีของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ”. / โดย บุญเสริม นาคสาร. ว.คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ. ปที่ 8 ฉบับที่ 24(1) (กันยายน-ธันวาคม 2549) : 86-113.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง พัฒนาการขององคกรที่ทําหนาที่ในการวินิจฉัยความชอบดวย รัฐธรรมนูญของกฎหมายในประเทศไทยและอํานาจหนาที่การพิจารณาคดีของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ โดยแบงเปน 4 สวน คือ 1) องคประกอบของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญและคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ แยกตามรัฐธรรมนูญแตละฉบับ เชน 2489, 2492, 2495, 2511, 2517, 2521, 2534, 2540 และ 2540 (ชั่วคราว) 2) อํานาจหนาที่ของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญและศาลรัฐธรรมนูญในอดีต 3) อํานาจหนาที่ของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 และ 4) วิธีพิจารณาคดีของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 11: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 6

เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม

1. “การเล้ียงแพะนมในโรงเรือน หนึ่งอาชีพสูชีวิตเกษตรกรไทยปรับพื้นฐานเลี้ยงโค สูการเล้ียงแพะที่

ยั่งยืน”. / โดย ศรีวิจิตรา มีนางัว. ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม. ปที่ 7 ฉบับที่ 81 (พฤษภาคม 2550) : 36.

การเลี้ยงแพะนมเปนอาชีพใหมที่นาสนใจสําหรับเกษตรกรไทยและสามารถสรางรายได ใหกับเกษตรกรสูง ซึ่งบทความนี้ไดนําเสนอความรูเบื้องตนในการเลี้ยงแพะนม โดยมีหัวขอท่ีนาสนใจ ไดแก การเลือกพันธุแพะ ลักษณะเดนของแพะในสายพันธุตางๆ การเลี้ยงและดูแลแพะ การใหอาหาร คุณประโยชนของน้ํานมแพะ และตลาดน้ํานมแพะ 2. “เข่ือนแควนอยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ปองกันปญหาอุทกภัย แกไขปญหาภัยแลง”. ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม. ปที่ 7 ฉบับที่ 81 (พฤษภาคม 2550) : 14.

นําเสนอรายละเอียดโครงการเขื่อนแควนอยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เปนโครงการพัฒนา แหลงน้ําขนาดใหญ ซึ่งกรมชลประทานไดดําเนินการตามแนวพระราชดําริดวยการกอสรางอางเก็บน้ําขนาดใหญ ประกอบดวย 3 เขื่อน ไดแก เขื่อนแควนอย เขื่อนสันตะเคียน และเขื่อนปดชองเขาต่ํา โดยมีเปาหมายหลักเพื่อแกปญหาอุทกภัย โดยเฉพาะในเขตจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดใกลเคียง รวมถึงยังเปนแหลงน้ําสนับสนุนใหกับพื้นที่ชลประทานฝงซายและฝงขวาแมน้ําแควนอย และเปนแหลงน้ําสําหรับการเกษตรและการอุปโภคบริโภคของประชาชนในพื้นที่

3. “งา เม็ดเล็กๆ อุดมดวยคุณคาทางอาหาร (1)”. / โดย วิชาญ อาทากูล. ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม. ปที่7 ฉบับที่ 80 (เมษายน 2550) : 89.

นําเสนอความสําคัญของงา ซึ่งมีคุณคาทางอาหารที่มีประโยชนตอรางกายมากมาย ใน ปจจุบันเปนพืชท่ีใหน้ํามันที่สําคัญอีกชนิดหนึ่งของประเทศไทย และมีแนวโนมจะเพิ่มความสําคัญทางเศรษฐกิจของประเทศมากขึ้น เนื่องจากเปนพืชที่มีศักยภาพดานการผลิตและการตลาดสูง สามารถปลูกขึ้นไดงาย อายุสั้น การลงทุนนอย ทนตอสภาพความแหงแลงไดดี ดวยคุณสมบัติที่เอื้อประโยชน

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 12: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 7

หลายดานผูเขียนชี้ใหเห็นวาหากเกษตรกรไทยหันมาปลูกงาเพื่อสงออกใหมากขึ้นนอกจากจะเปนการเสริมรายไดแลว ยังเปนการพัฒนาทรัพยากรดินใหยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงไดอีกทางหนึ่ง

4. “ทิศทางการผลิต การตลาดกาแฟไทย ป 2550”. ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม. ปที่ 7 ฉบับที่ 81 (พฤษภาคม 2550) : 92.

กาแฟเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของไทย สามารถสรางงานและรายไดใหแกเกษตรกรผูปลูก ไดอยางตอเนื่อง อยางไรก็ดีผลผลิตกาแฟของไทยยังตองมีการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพอีกมาก เพ่ือใหกาแฟไทยมีประสิทธิภาพและสามารถแขงขันกับตลาดโลกได ปญหาที่สําคัญที่ผูผลิตกาแฟประสบอยูคือ การขาดเทคโนโลยีการผลิตกาแฟที่เหมาะสม ทําใหตนทุนการผลิตสูงและผลผลิตตอไรตํ่า รวมถึงยังขาดการพัฒนาในดานการรวมกลุมแปรรูปผลิตภัณฑ ซึ่งหากมีการเปดตลาดการคากาแฟกับกลุมประเทศอาเซียนจะทําใหเกษตรกรไดรับผลกระทบ เนื่องจากประเทศผูผลิตกาแฟอยางอินโดนีเซีย และเวียดนามมีตนทุนการผลิตต่ํากวาไทย ดังนั้นไทยตองเรงพัฒนาทั้งในดานการลดตนทุนการผลิต การปรับปรุงคุณภาพผลผลิต และการสรางจุดเดนใหกับสินคาใหสอดคลองกับความตองการของตลาด

5. “ไบโอดีเซลไทยทําอยางไรใหถึงจุดเปาหมาย”. ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม. ปที่ 7 ฉบับที่ 80 (เมษายน 2550) : 80.

กลาวถึงทิศทางไบโอดีเซลในประเทศไทย ซึ่งมีความเหมาะสมทั้งสภาพพื้นที่ สภาพของ ดิน ภูมิอากาศและเกษตรกร และนโยบายของรัฐที่ใหการสนับสนุน วัตถุดิบที่สําคัญในการทําไบโอดีเซลของไทยคือปาลมน้ํามัน ซึ่งเชื่อวาเปนพืชที่มีศักยภาพมากที่สุด และมีผลผลิตเพื่อคิดเปนน้ํามันตอพ้ืนที่แลวมีจํานวนมากกวาพืชชนิดอื่นๆ แนวคิดในการปลูกปาลมน้ํามันของประเทศไทยสวนใหญเพ่ือนําน้ํามันไปใชในครัวมากกวาเพื่อการทําอุตสาหกรรม ดังนั้นการปลูกปาลมเพื่อทําไบโอดีเซลในอนาคตตองมีการปรับเปลี่ยนทิศทาง วิธีการดําเนินการและนโยบายภาครัฐที่ชัดเจน 6. “สกัดบาทแข็งคา : หวังผลตลาดทุนแตเศรษฐกิจฐานลางพัง”. / โดย พิบูลย เจียมอนุกุลกิจ. ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม. ปที่ 7 ฉบับที่ 80 (เมษายน 2550) : 86.

บทความเรื่องนี้แสดงขอคิดเห็นและตอบขอสงสัยในประเด็นเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน ของธนาคารแหงประเทศไทย ซึ่งไมไดมีผลกระทบตอความผันผวนของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเพียงดานเดียว แตมีผลกระทบโยงไปสูเศรษฐกิจฐานรากดวย ซึ่งมีขอสงสัยวาแนวโนมการแข็ง

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 13: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 8

คาเงินบาทเกิดจากสาเหตุใด และมาตรการสกัดเงินบาทแข็งคาสามารถแกไขปญหาคาเงินบาทไดอยางถาวรหรือไม และมีผลพวงอะไรบางที่กระทบตอเศรษฐกิจของประเทศ

7. “สถานการณการเล้ียงผึ้ง”. / โดย ชลาลัย. ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม. ปที่ 7 ฉบับที่ 80 (เมษายน 2550) : 114.

การเลี้ยงผึ้งในประเทศไทยเริ่มมีผูทดลองดําเนินการในป พ.ศ. 2483 แตไมประสบความ สําเร็จ จนกระทั่งในป พ.ศ. 2520 มีการเลี้ยงผึ้งในระดับอุตสาหกรรมขึ้นเนื่องจากน้ําผึ้งเริ่มหายาก และปจจุบันมีเกษตรกรและผูสนใจหันมาเลี้ยงผึ้งกันอยางจริงจังและแพรหลายมากขึ้น ซึ่งบทความนี้ไดนําเสนอสาระสําคัญของการเลี้ยงผึ้งเชิงการคาในประเทศไทย ตลอดจนวิธีการเลี้ยงผึ้งและการบริหารงานเลี้ยงผึ้ง เพ่ือพัฒนาไปสูการเลี้ยงผึ้งเชิงอุตสาหกรรมตอไป

8. “สุกรลนตลาด : ใครรับผิดชอบ”. / โดย พิบูลย เจียมอนุกูลกิจ. ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม. ปที่ 7 ฉบับที่ 81 (พฤษภาคม 2550) : 30.

นําเสนอสถานการณสุกรลนตลาด เมื่อตลาดผูบริโภคตองหันมาบริโภคเนื้อสุกรแทนการ บริโภคเนื้อไก สงผลใหมีการขยายการเลี้ยงสุกรเพิ่มขึ้น และมีปริมาณมากเกินความตองการภายในประเทศ รวมถึงการสงออกเนื้อสุกรของไทยมีปริมาณนอยมาก จึงทําใหผูเลี้ยงสุกรประสบปญหาการขาดทุน และไดรับความเดือดรอนจนมีการเรียกรองขอความชวยเหลือจากรัฐบาลใหชวยแกไขปญหาความเดือดรอนจากสุกรลนตลาด และราคาตกต่ํา ทั้งนี้ผูเขียนไดวิเคราะหถึงประเด็นที่เปนขอคิดถึงปญหาสุกรลนตลาด เพื่อเปนแนวทางในการแกไขปญหาและเพื่อเปนแนวทางในการบริหารจัดการตลาดสุกรใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

9. “สูตรการทําสวนปาลมเพื่อเขาสู Biodiesel ไทย”. / โดย พรชัย เหลืองอาภาพงศ. ว.เทคโนโลยี เกษตรแนวใหม. ปที่ 7 ฉบับที่ 81 (พฤษภาคม 2550) : 75.

นําเสนอความรูเกี่ยวกับการปลูกปาลมน้ํามันเพื่อทําไบโอดีเซลในประเทศไทย โดยเฉพาะ ระบบการปลูกปาลมน้ํามันเพื่อสงเขาโรงงานใหไดในปริมาณที่มากพอเพียงสําหรับการผลิตน้ํามัน ทั้งนี้ผูเขียนไดนําเสนอแนวทางการปลูกและผลิตน้ํามันโดยชุมชน ซึ่งเกษตรกรสามารถรวมกลุมกันปลูกและบริหารจัดการผลิตน้ํามันโดยชุมชนเอง แนวทางนี้จะทําใหเกษตรกรมีความรับผิดชอบในเรื่องการเก็บเกี่ยว การบํารุงรักษา และการสงผลผลิตอยางเปนระบบ ผลประโยชนที่ไดรับก็จะตกอยูกับเกษตรกรเอง

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 14: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 9

นิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

1. “ กลไกระงับขอพิพาทขององคการการคาโลกในบริบทของเศรษฐกิจที่ไรพรมแดน”. / โดย บัณฑิต หลิมสกุล. ว.นิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ปที่ 35 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2549) : 341-383.

บทความเรื่องนี้ อธิบายถึงกลไกระงับขอพิพาทขององคการการคาโลกซึ่งเปนเรื่องสําคัญ ตอผูที่เกี่ยวของกับการคาระหวางประเทศในการเตรียมความพรอมที่จะเขาสูการแขงขันทางการคาในโลกปจจุบัน ซึ่งการติดตอสื่อสารเปนไปอยางไรพรมแดน โดยแบงเนื้อหาออกเปน 5 สวน คือ 1) องคการการคาโลกในบริบทของเศรษฐกิจที่ไรพรมแดน 2) ความสําเร็จของ WTO ในบริบทของสงครามการคาและการเปดเสรีที่ไรพรมแดน 3) กลไกในการยุติขอพิพาททางการคาของแกตต 4) กลไกระงับขอพิพาทของ WTO และ 5) มิติเชิงรุกทางการคากับกลไกระงับขอพิพาทของ WTO ประเทศไทยจึงควรศึกษาในเรื่องนี้ เ พ่ือสามารถใชกลไกยุติขอพิพาทไดอยางสะดวกและมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. “การแกปญหาการขัดกันของกฎหมายในคดีอนุญาโตตุลาการระหวางประเทศภายใตขอบังคับ

อนุญาโตตุลาการของหอการคานานาชาติ และกฎหมายอนุญาโตตุลาการของประเทศไทย”. / โดย อนันต จันทรโอภากร. ว.นิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ปที่ 35 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2549) : 205-217.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง ปญหาในการเลือกกฎหมายที่จะนํามาใชบังคับแกขอพิพาทในคดี อนุญาโตตุลาการระหวางประเทศ ซึ่งคณะอนุญาโตตุลาการเปนผูพิจารณาวาจะนํากฎหมายสารบัญญัติใดมาปรับใชในกรณีที่คูพิพาทมิไดตกลงกันไว โดยบทความนี้ไดอธิบายถึงบทบัญญัติในเรื่องดังกลาวที่แตกตางกันแตมีความมุงหมายอยางเดียวกันตามที่ปรากฏในขอบังคับอนุญาโตตุลาการของหอการคานานาชาติ และ พ.ร.บ. อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 พรอมทั้งเสนอขอคิดในการตีความเพื่อใหเหมาะสมแกคดีอนุญาโตตุลาการระหวางประเทศที่มีขึ้นในประเทศไทย

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 15: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 10

3. “การพัฒนากฎหมายประกันภัยทางทะเลในประเทศไทย : ขอพิจารณาบางประการในการราง

กฎหมาย”. / โดย กําชัย จงจักรพันธ. ว.นิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ปที่ 35 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2549) : 219-254.

บทความนี้ อธิบายถึงหลักกฎหมายอังกฤษในเรื่องประกันภัยทางทะเลโดยเปรียบเทียบกับ หลักกฎหมายไทยในเรื่องประกันวินาศภัยตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 861-888 เพ่ือแสดงใหเห็นแนวคิดที่สําคัญอันจะเปนประโยชนในการพิจารณารางกฎหมายประกันภัยทางทะเลของไทย นอกจากนี้ยังชี้ใหเห็นถึงความแตกตางของหลักกฎหมายประกันภัยทางทะเลและหลักกฎหมายประกันวินาศภัยในกฎหมายอังกฤษ ตลอดจนรวบรวมประมวลความคิดเห็นของนักกฎหมายตางๆ รวมทั้งความคิดเห็นของผูเขียนดวย

4. “แนวทางการแกไขปญหากรณีชาวตางชาติรับเด็กไทยเปนบุตรบุญธรรม : ศึกษาปญหาที่เกิดจาก

รูปแบบการรับบุตรบุญธรรมที่แตกตางกันในกฎหมายครอบครัวฝรั่งเศส ญี่ปุน และไทย”. / โดย ไพโรจน กัมพุศิริ. ว.นิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ปที่ 35 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2549) : 189-204.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง ปญหาที่เกิดขึ้นของชาวตางชาติในการรับเด็กไทยเปนบุตรบุญธรรม โดยไดศึกษาวิจัยถึงรูปแบบการรับบุตรบุญธรรมตามกฎหมายของประเทศฝรั่งเศสและญี่ปุนและนํามาเปรียบเทียบกับกฎหมายไทย ในบทความไดอธิบายถึงการรับบุตรบุญธรรมแบบธรรมดาและแบบสมบูรณ รวมท้ังแสดงใหเห็นถึงขอแตกตางในการรับบุตรบุญธรรมเหลานั้น รวมท้ังผลในทางกฎหมายที่ตามมาและไดเสนอแนะแนวทางแกไขปญหาที่ชาวตางชาติประสบในการรับเด็กไทยเปนบุตรบุญธรรมโดยคํานึงถึงการคุมครองประโยชนและสวัสดิการของเด็กเปนสําคัญ

5. “ศาลรัฐธรรมนูญและวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญ : ศึกษาเปรียบเทียบระหวางระบบของไทยกับ

เยอรมัน”. / โดย บุญศรี มีวงศอุโฆษ. ว.นิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ปที่ 35 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2549) : 291-311.

บทความเรื่องนี้ เปนบทความที่เกี่ยวของกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ซึ่งกลาวถึงขอคิดและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการปรับปรุงศาลรัฐธรรมนูญ และวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญของประเทศไทย โดยเปนการศึกษาเปรียบเทียบระบบของไทยและเยอรมัน อาทิเชน สถานะและโครงสรางของศาลรัฐธรรมนูญแหงสหพันธ ตลอดจนคุณสมบัติของตุลาการรัฐธรรมนูญ

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 16: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 11

อํานาจหนาที่ของศาลรัฐธรรมนูญแหงสหพันธ คําวินิจฉัยและผลของคําวินิจฉัยเพื่อเปนประโยชนในการปรับปรุงแกไขตอไป

6. “สัญญาระหวางรัฐกับเอกชน : Which Way to go?”. / โดย ไชยวัฒน บุนนาค. ว.นิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ปที่ 35 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2549) : 255-289.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง สัญญาระหวางรัฐกับเอกชนสองประเภท คือ สัญญาทางแพง และ สัญญาทางปกครอง โดยมุงถึงประเด็นปญหาวาศาลปกครองจะใชกฎหมายใดในการบังคับกับสัญญาทางปกครอง โดยแบงเนื้อหาออกเปน 6 สวน คือ 1) ประเภทของสัญญาระหวางรัฐกับเอกชน 2) อํานาจในการทําสัญญาของคูสัญญาฝายรัฐ 3) อํานาจพิเศษของคูสัญญาฝายรัฐ 4) การทําสัญญาหรือขอตกลงที่ผูกพันดุลพินิจของฝายปกครองในอนาคต 5) กระบวนการระงับขอพิพาท และ 6) สิทธิคุมกันของรัฐจากการถูกฟองรองยึดหรืออายัดทรัพย นอกจากนี้ยังไดยกตัวอยางของสัญญาทางปกครองที่นาสนใจไวดวย 7. “องคการอิสระคุมครองผูบริโภคตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 : มิติใหมของ

การ คุมครองผูบริ โภคภาคประชาชน”. / โดย ไพศาล ลิ้ มสถิตย . ว .นิ ติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ปที่ 35 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2549) : 313-340.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง ความสําคัญขององคการอิสระคุมครองผูบริโภคตามมาตรา 57 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 แนวคิดพ้ืนฐานขององคการอิสระตามกฎหมายฝรั่งเศสและกฎหมายอังกฤษ ปญหาการตีความอํานาจหนาที่ตามรัฐธรรมนูญฯ นอกจากนี้ยังศึกษาถึงองคการอิสระคุมครองผูบริโภคในตางประเทศ เชน ประเทศญี่ปุน ประเทศอังกฤษ ประเทศฝรั่งเศส พรอมทั้งเสนอแนวคิดในการจัดตั้งองคการอิสระคุมครองผูบริโภคอีกดวย

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 17: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 12

ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ

1. “จดทะเบียนขายฝาก (ตอนที่ 2)”. / โดย กองบรรณาธิการ. ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปที่ 5 ฉบับที่ 52 (เมษายน 2550) : 83-90.

บทความเรื่องนี้ อธิบายถึงการเขียนคําขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมการขายฝาก โดย อธิบายเปนลําดับขั้นตอน คือ 1) การเขียนคําขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม 2) การจัดทําหนังสือสัญญา 3) การจดทะเบียนแบงแยกในระหวางขายฝากใหแกพนักงานเจาหนาที่ 4) การลงลายมือชื่อ และ 5) การประกาศพรอมทั้งยกตัวอยางถอยคําในการเขียน ตัวอยางแบบฟอรมของคําขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม แบบฟอรมของหนังสือสัญญาขายฝากที่ดิน และแบบฟอรมสารบัญจดทะเบียน 2. “บริษัทถูกถอนชื่อออกจากทะเบียนจะกลับเขามาเปนบริษัทใหมได ...?”. / โดย ชาย กิตติคุณาภรณ. ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปที่ 5 ฉบับที่ 52 (เมษายน 2550) : 24-27.

บทความเรื่องนี้ เปนการตอบคําถามในประเด็นปญหากฎหมายธุรกิจ 2 ประเด็น คือ 1) ใน กรณีนายทะเบียนบริษัทสามารถคัดชื่อบริษัทที่ขาดการติดตอกับทางราชการ เชน ไมไดยื่นงบการเงินและเสียภาษี ออกจากทะเบียนทําใหไมสามารถดําเนินธุรกิจตอไปไดหรือไม และ 2) หากบริษัทที่ถูกถอนชื่อออกจากทะเบียนอยากกลับมาทําธุรกิจอีกครั้งหนึ่งจะทําอยางไร โดยผูเขียนไดตอบคําถามโดยอาศัยหลักกฎหมายเรื่องการถอนทะเบียนบริษัทรางตามมาตรา 1246 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซึ่งพบวาบริษัทรางสามารถกลับมาทําธุรกิจใหมไดอีกครั้ง แตตองทําคํารองตอศาลตามมาตรา 1246 (6) ดังนั้น ผูเขียนจึงแนะนําใหยื่นคํารองตอศาลเพ่ือเปนการแกปญหาที่ถูกตอง พรอมกันนี้ไดยกตัวอยางการเขียนคํารองเรื่องดังกลาวดวย

3. “ปาฏิหาริย ไอทีวี”. / โดย นองแบม. ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปที่ 5 ฉบับที่ 52 (เมษายน 2550) : 95-101.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง ประเด็นปญหาระหวางสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี (สปน.) กับสถานีวิทยุโทรทัศนไอทีวี โดยผูเขียนไดอธิบายถึงลําดับเหตุการณต้ังแตป 2538 ที่ไอทีวีเสนอเรื่องใหคณะอนุญาโตตุลาการตัดสินชี้ขาดจนกระทั่งคณะรัฐมนตรีมีมติใหไอทีวีหยุดการออกอากาศตั้งแต

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 18: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 13

เที่ยงคืนของวันที่ 7 มีนาคม 2550 และอธิบายในสวนของการฟองคดีตอศาลปกครองใหศาลมีคําสั่งกําหนดมาตรการคุมครองชั่วคราวกอนการพิพากษา โดยใหไอทีวีสามารถดําเนินการออกอากาศตอไปได ซึ่งผูเขียนไดอธิบายเหตุการณพรอมหลักกฎหมายปกครองตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 และทายที่สุดไดอธิบายมาตรการเพื่อบรรเทาทุกขชั่วคราววามีผลทางกฎหมายอยางไร 4. “พระราชบัญญัติกําหนดความผิดเกี่ยวกับหางหุนสวนจดทะเบียน หางหุนสวนจํากัด บริษัทจํากัด

สมาคมและมูลนิธิ พ.ศ. 2499 : กรรมการมูลนิธิไมแจงการเลิกมูลนิธิ”. / โดย พงศธร บุญอารีย. ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปที่ 5 ฉบับที่ 52 (เมษายน 2550) : 28-31.

บทความเรื่องนี้ อธิบายหลักกฎหมายมาตรา 67 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยใน ประเด็นกรรมการมูลนิธิไมแจงการเลิกมูลนิธิ โดยผูเขียนไดเริ่มอธิบายจากเหตุที่เลิกมูลนิธิตามมาตรา 130 และ มาตรา 131 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ขั้นตอนวิธีการแจงการเลิกมูลนิธิตอนายทะเบียนตามมาตรา 132 วรรคหนึ่ง แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และอธิบายถึงบทลงโทษในกรณีกรรมการมูลนิธิไมแจงการเลิกมูลนิธิ นอกจากนี้ยังไดยกตัวอยางแบบฟอรมแจงการเลิกมูลนิธิและเอกสาร หลักฐานที่ตองใชในการแจงการเลิกมูลนิธิ

ผูจัดการ

1. “การคาสิทธ์ิการแพรคารบอน กับการแกปญหาโลกรอน”. / โดย เสาวนีย พิสิฐานุสรณ. ว.ผูจัดการ. ปที่ 24 ฉบับที่ 283 (เมษายน 2550) : 44.

นําเสนอสาระสําคัญการนํากลไกตลาดในระบบทุนนิยมมาประยุกตใช เพ่ือลดการแพร

สาระสังเขป

กาซเรือนกระจกซึ่งจะชวยแกไขปญหาภาวะโลกรอน โดยรัฐบาลและผูกําหนดนโยบายทั่วโลกไดขอยุติเกี่ยวกับวิธีแกไขปญหาภาวะโลกรอน คือ “การซื้อขายสิทธิ์การแพรคารบอน” วิธีการดังกลาวกําลังใชกันอยางแพรหลายในสหภาพยุโรป และญี่ปุน รวมถึงไดรับการยอมรับทั้งในออสเตรเลียและจีน พรอมกันนี้ผูเกี่ยวของทั่วโลกพยายามหาทางแกไขจุดบกพรองในระบบการคาสิทธิ์การแพรคารบอนที่ใชอยู เพ่ือใหการแกไขปญหาภาวะโลกรอนประสบความสําเร็จ

บทความวารสาร

Page 19: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 14

2. “เกาะติดการเมืองสหรัฐฯ กอนเลือกต้ัง ’08 (1) : Hillary Clinton .... “Pm in … to win,”. / โดย มานิตา เข็มทอง. ว.ผูจัดการ. ปที่ 24 ฉบับที่ 282 (มีนาคม 2550) : 62.

นําเสนอความเคลื่อนไหวการเลือกตั้งชิงตําแหนงประธานาธิบดีคนที่ 44 ของสหรัฐอเมริกา ที่จะมีขึ้นในเดือนพฤศจิกายน 2008 สําหรับบทความนี้นําเสนอเรื่องราวของ นางฮิลลารี่ คลินตัน ซึ่งดํารงตําแหนงวุฒิสมาชิกแหงพรรคเดโมแครต โดยไดประกาศเจตนารมณวาจะตอสูเพ่ือชัยชนะในตําแหนงประธานาธิบดีคนตอไปของสหรัฐอเมริกา ซึ่งหากสามารถชนะการเลือกตั้งครั้งนี้ไดนางฮิลลาลี่ คลินตันจะเปนประธานาธิบดีหญิงคนแรกของสหรัฐอเมริกา

3. “เกาะติดการเมืองสหรัฐฯ กอนเลือกต้ัง ’08 (2)”. / โดย มานิตตา เข็มทอง. ว.ผูจัดการ. ปที่ 24 ฉบับที่ 284 (พฤษภาคม 2550) : 70.

นําเสนอความเคลื่อนไหวการเลือกตั้งของสหรัฐอเมริกา โดยมุงเนนรายละเอียดในดาน ตางๆ ของนางฮิลลารี่ คลินตัน ต้ังแตประวัติการศึกษา ชีวิตครอบครัว การทํางาน การทําหนาที่ในฐานะสตรีหมายเลข 1 ของสหรัฐฯ ซึ่งเปนสตรีหมายเลข 1 ที่มีบทบาทสูงมากคนหนึ่งและการสมัครเขาชิงตําแหนงวุฒิสมาชิกจากมลรัฐนิวยอรก จนกระทั่งเปนสตรีหมายเลข 1 ของสหรัฐฯ คนแรกที่ไดรับเลือกเขาดํารงตําแหนงสําคัญในสภาคองเกรส และอีกบทบาทหนึ่งที่หลายฝายกําลังเฝามอง คือ การเปนตัวเต็งอันดับหนึ่งของตัวแทนพรรคเดโมแครตเขาลงแขงเลือกตั้งประธานาธิบดีคนตอไปของสหรัฐฯ ในป 2008

4. “เม่ือประชาธิปไตยไมตองมีรฐัธรรมนูญ”. / โดย ชาคริต เทียบเธียรรัตน. ว.ผูจัดการ. ปที่ 24 ฉบับที่ 284 (พฤษภาคม 2550) : 64.

บทความเรื่องนี้ นําเสนอสาระสําคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งใน ความเปนจริงนั้นมีอยู 2 ลักษณะ คือ 1) ประเทศที่ปกครองโดยมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุด เชนเดียวกับประเทศไทย ซึ่งมีแมแบบมาจากสหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศส 2) ประชาธิปไตยไมมีรัฐธรรมนูญ โดยการปกครองจะยึดแมบทกฎหมายหลายๆ ตัวนํามาผูกกันภายใตกฎหมายกํากับการเมือง ในกลุมที่สองนี้ โดยมากเปนประเทศในเครือจักรภพ เชน อังกฤษและนิวซีแลนด ทั้งนี้ผูเขียนไดเปรียบเทียบถึงขอดีและขอเสียของทั้งสองลักษณะ พรอมทั้งลักษณะการออกกฎหมายของประเทศที่ไมมีรัฐธรรมนูญ และขอสังเกตที่ทําใหกฎหมายการเมืองมีความมั่นคงแมวาจะไมมีอยูในกฎหมายรัฐธรรมนูญ

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 20: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 15

5. “วิกฤตโลกรอนหายนภัยและกาวตอไปของมนุษยชาติ”. / โดย พัชรพิมพ เสถบุตร. ว.ผูจัดการ. ปที่ 24 ฉบับที่ 284 (พฤษภาคม 2550) : 110.

นําเสนอภัยธรรมชาติอันเกิดจากวิกฤติโลกรอน ซึ่งทั่วโลกกําลังเผชิญอยูสําหรับประเทศ ไทยตองเผชิญกับภัยน้ําทวมที่รุนแรงอยางไมเคยเปนมากอน โดยมีสาเหตุจากปจจัยหลายประการรวมกัน คือ การตัดไมทําลายปา การใชดินผิดประเภท รวมไปถึงสภาพภูมิอากาศที่ผิดปกติจากภาวะโลกรอน ภัยพิบัตินี้เปนสัญญาณเตือนใหประเทศไทย ตองหันมาเตรียมรับมือกับภัยจากภาวะโลกรอนใหมากขึ้น โดยเฉพาะการวางแผนการพัฒนาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหดีขึ้น พรอมกันนี้ผูเขียนไดนําเสนอรายงานเกี่ยวกับภาวะโลกรอน ซึ่งกลุมผูเชี่ยวชาญขององคการสหประชาชาติไดทําการศึกษาไว โดยเฉพาะประเด็นที่วาจะเกิดอะไรขึ้นหากไมดําเนินการใด ๆ เพ่ือรับมือภัยท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ยังไดกลาวถึงบริเวณที่จะไดรับผลกระทบตอภาวะโลกรอนมากที่สุดและความสําคัญของภาวะโลกรอนตอรัฐบาลและผูบริหารประเทศตางๆ

6. “โลกรอนที่สวีเดน : But the sun here is cold”. / โดย ชมพูนุท ชวงโชติ. ว.ผูจัดการ. ปที่ 24 ฉบับที่ 284 (พฤษภาคม 2550) : 116.

นําเสนอทิศทางของภาวะโลกรอนที่ทุกประเทศทั่วโลกตางใหความสนใจ และมีหลายฝาย เรียกรองหาหลักฐานทางวิทยาศาสตรเพื่อมายืนยันขอเท็จจริง รายงานจาก IPCC (Intergovernmental Panel on Climeate Change) ของประเทศสวีเดน ไดรวบรวมขอมูลและองคความรูตางๆ ภายใตเงื่อนไขสถานการณจําลองที่แตกตางกันมากกวา 30 แบบ เพื่อประเมินภาวะโลกรอนในอนาคต ทุกรายงานตางชี้ไปในทิศทางเดียวกัน คือ ภายในป 2100 โลกจะมีอุณหภูมิสูงขึ้น 1.4 – 5.8 องศา ระดับน้ําทะเลสูงขึ้นประมาณ 0.09 – 0.88 เมตร ทั้งนี้ยังมีปจจัยสําคัญ คือ หากกอนน้ําแข็งขั้วโลกหรือเกาะกรีนแลนดละลายจะทําใหระดับน้ําทะเลสูงขึ้น 20 ฟุต ทั้งนี้หนวยงานดานสิ่งแวดลอมของสวีเดนไดทําโครงการรณรงคเรื่องภาวะโลกรอนตั้งแตป 2004 เพื่อใหทุกคนตระหนักถึงปญหาที่เกิดขึ้นและเกี่ยวของกับความอยูรอดของทุกคน พรอมทั้งขอเสนอแนะและทางออกที่ทุกคนสามารถลงมือทําได เพ่ือใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีในอนาคต

7. “Heart Genetics : พยากรณโรครายดวยยีน”. / โดย สุภัทชา สุขชู. ว.ผูจัดการ. ปที่ 24 ฉบับที่ 283 (เมษายน 2550) : 108.

นําเสนอวิวัฒนาการทางการแพทย การตรวจยีนเพื่อหาความผิดปกติของยีน ซึ่งจะทําให

สาระสังเขป

สามารถพยากรณความเสี่ยงในการเกิดโรคตางๆ ไดอยางตรงจุดไมวาจะเปนภาวะคอเลสเตอรอลสูง โรคหลอดเลือด โรคหัวใจ รวมถึงมะเร็ง ปอด ลําไส และเตานม การวิเคราะหโรคโดยการตรวจยีนทํา

บทความวารสาร

Page 21: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 16

ใหสามารถทราบไดวาผูปวยเปนอะไรตั้งแตยังไมแสดงอาการทําใหสามารถวางแผนสุขภาพ เพ่ือชะลอหรือทุเลาการแสดงของโรคได และบางโรคก็สามารถรักษาใหหายไดโดยเสียคาใชจายต่ําลงกวาการรักษาในลักษณะปกติทั่วไป

ผูสงออก

1. “เคล็ดลับในการสงออกไปยังตลาดสวีเดน”. ว.ผูสงออก. ปที่ 20 ฉบับที่ 473 (ปกษหลัง เมษายน 2550) : 57.

นําเสนอเคล็ดลับในการสงออกสินคาไปยังตลาดสวีเดน ซึ่งเปนประเทศที่ใหความสาํคัญ กับกฎระเบียบทางการคาของสหภาพยุโรปอยางมาก ทั้งนี้ผู เขียนไดอธิบายใหเห็นลักษณะทางการตลาดที่สําคัญของสวีเดน ซึ่งจะเปนแนวทางสําหรับนักลงทุนไทย โดยมีหลักการที่สําคัญ ไดแก 1) โครงสรางที่แบน คือ การหาผูที่รับผิดชอบและดูแลสินคานั้นโดยตรงเพื่อความสะดวกในการติดตอธุรกิจ 2) ฉันทามติ 3) การเจรจาธุรกิจควรเจรจาใหตรงประเด็นใหมากที่สุด 4) การตรงตอเวลา และ 5) การใหความสําคัญกับตนทุนของสินคา

2. “ทิศทางการสงออกอาหารไทยป 2550”. ว.ผูสงออก. ปที่ 20 ฉบับที่ 473 (ปกษหลัง เมษายน 2550) : 23.

กลาวถึงแนวโนมและทิศทางการสงออกสินคาประเภทอาหารของไทย โดยมีรายละเอียด ประกอบดวยสถานการณการคาอาหารของไทย ปจจัยท่ีสงผลตอเศรษฐกิจในประเทศ ปจจัยดานความเสี่ยง ปจจัยที่มีผลตออุตสาหกรรมการคาอาหาร อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจโลก แนวโนมของอุตสาหกรรมอาหารที่จะเติบโตและทิศทางการปรับตัวของผูประกอบการ พฤติกรรมผูบริโภคของประเทศตางๆ ที่เนนไปทางดานความสะดวกสบายมากขึ้น รวมถึงปญหาและอุปสรรคที่สงผลตอการสงออกสินคาอาหารของไทย

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 22: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 17

3. “ทีวีดาวเทียม”. ว.ผูสงออก. ปที่ 20 ฉบับที่ 472 (ปกษแรก เมษายน 2550) : 27. การพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม ทําใหธุรกิจแพรภาพโทรทัศนมีการเปลี่ยนแปลงมากมาย

โดยเฉพาะการเติบโตของธุรกิจที่มีตนทุนไมสูง ซึ่งในปจจุบันมีธุรกิจโทรทัศนผานดาวเทียมออกอากาศทั่วโลกจํานวนมากในหลายประเทศ โดยเฉพาะในยุโรปและสหรัฐฯ สําหรับประเทศไทยมีผูประกอบการหลายรายใหความสนใจที่จะเปดใหบริการโทรทัศนดาวเทียม แตยังติดขัดปญหาทางดานระเบียบในการออกอากาศ เนื่องจากยังไมมีหนวยงานที่จะเขามาจัดสรรคลื่นความถี่และออกใบอนุญาตประกอบกิจการใหมใหกับผูประกอบการ แมวาในชวงที่มีการสรรหาคณะกรรมการ กสช. จะมีหนวยงานดูแลแตก็ไมสามารถออกใบอนุญาตใหมใหกับผูใหบริการรายใดเพิ่มเติม อยางไรก็ตามที่ผานมามีการเปดใหบริการโทรทัศนดาวเทียมสําหรับออกอากาศในประเทศไทยหลายราย โดยเลี่ยงไปออกอากาศโดยใชคลื่นความถี่ของประเทศอื่นที่อยูใกลเคียงโดยการสงเนื้อหารายการผานเครือขายอินเตอรเน็ตและออกอากาศโดยผานสัญญาณดาวเทียมจากตางประเทศเขามาในประเทศโดยมีเปาหมายสําหรับผูชมในประเทศไทย 4. “พาณิชยกําหนดยุทธศาสตรเนนเศรษฐกิจขยายตัวไดอยางยั่งยืน”. ว.ผูสงออก. ปที่ 20 ฉบับที่ 473 (ปกษหลัง เมษายน 2550) : 79.

นําเสนอยุทธศาสตรการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันเพื่อใหเศรษฐกิจขยายตัวได อยางมีประสิทธิภาพและอยางยั่งยืน ไดแก การปรับโครงสรางภาคเกษตร การปรับโครงสรางภาคอุตสาหกรรม การผลักดันความรวมมือทางเศรษฐกิจและสังคมกับประเทศเพื่อนบานทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี นอกจากนี้ยังไดปรับการทํางานของกระทรวงโดยเนนการบูรณาการ การกําหนดยุทธศาสตรแผนงานและการทํางานรวมกัน โดยเนนเกี่ยวกับ Regional Hub การดูแลตลาดและราคาสินคาเกษตร การพัฒนา SMEs การพัฒนาระบบโลจิสติกสทางการคา เปนตน

5. “Radio – frequency identification : ระบบโลจิสติกสที่ทันสมัยที่สุดในโลก”. ว.ผูสงออก. ปที่ 20 ฉบบัที่ 473 (ปกษหลัง เมษายน 2550) : 33.

RFID (Radio – frequency identification) คือ ระบบโลจิสติกสแบบใหมที่ทันสมัยท่ีสุด และกําลังเปนที่กลาวถึงมากที่สุดในปจจุบัน ระบบดังกลาวถูกนํามาใชเปนครั้งแรกในชวงสงครามอาวเปอรเซีย เพ่ือใชในภารกิจทางการทหารของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ซึ่งทําใหสามารถติดตามและระบุพิกัดและตําแหนงของวัตถุตางๆ ไดทั่วโลกผานแผนชิปอีเล็กทรอนิค “passive tag” ที่ติดกับวัตถุนั้นๆ ปจจุบันระบบโลจิสติกสระบบ RFID ถูกนํามาพัฒนาและขยายขอบขายการบริการดานการคา

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 23: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 18

และครอบคลุมเครือขายโลจิสติกสทั้งสิ้นกวา 45 ประเทศ ทั้งการขนสงวัตถุใหแกกระทรวงกลาโหมของสหรัฐฯ และบริการดานธุรกิจ

รัฐศาสตรสาร 1. “นโยบายพัฒนาภาคตะวันตกของจีนและนัยตอไทย (China’s Great Western Development

Strategy and its Implications for Thailand)”. / โดย อักษรศรี พานิชสาสน. ว.รัฐศาสตรสาร. ปที่ 27 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2549) : 154-179.

จีนไดนํานโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจและเปดประเทศมาใชต้ังแตป 1979 สงผลใหเศรษฐกิจ จีนเติบโตอยางรวดเร็วภายในชวงเวลาไมถึงสองทศวรรษ อยางไรก็ดี เนื่องดวยอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็วของพื้นที่ทางดานชายฝงตะวันออก จนเกิดความเหลื่อมล้ํากับพื้นที่ในสวนอื่นๆ ของประเทศทําใหทางการจีนจําเปนตองปรับทิศทางและนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคขึ้นใหมเพื่อใหสอดคลองกับความเปนจริงของจีนในยุคปจจุบัน ดังนั้น รัฐบาลจีนไดหันมาใหความสําคัญกับภูมิภาคตะวันตกซึ่งอยูตอนในของประเทศมากขึ้น ภายใต “นโยบายพัฒนาภาคตะวันตก” (Xibu Da Kaifa ในภาษาจีนกลาง) หรือ Great Western Development Strategy บทความเรื่องนี้จึงมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาที่มาที่ไปและสาระสําคัญของนโยบายดังกลาว และเพื่อวิเคราะหนัยสําคัญและทิศทางของนโยบายดังกลาวที่จะมีตอประเทศไทยตอไป ดังนั้นรายงานในสวนแรกจะเปนการวิเคราะห ภูมิหลังของ “นโยบายและกลยุทธการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจในระดับภูมิภาค” ของรัฐบาลจีน สวนที่สอง ศึกษาความจําเปน ที่มา และสาระสําคัญของนโยบายพัฒนาภาคตะวันตกของจีน สวนที่สาม ศึกษาศักยภาพทางเศรษฐกิจของมณฑลสําคัญในภูมิภาคจีนตะวันตก โดยเนน 4 มณฑลใกลไทย ไดแก มณฑลซื่อชวน (เสฉวน) มหานครฉงชิ่ง (จุงกิง) มณฑลหยุนหนาน (ยูนนาน) และเขตปกครองตนเองชนชาติจวง กวางชี (กวางสี) สําหรับ สวนสุดทาย เปนบทสรุปและวิเคราะหนัยสําคัญของนโยบายพัฒนาภาคตะวันตกของจีนที่จะมีตอไทย โดยเฉพาะโอกาสจากการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจกับมณฑลสําคัญทั้ง 4 ที่กลาวมาขางตน เพื่อขยายและเพิ่มพูนความสัมพันธระหวางกันใหมากยิ่งขึ้น

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 24: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 19

2. “บทบาทของเศรษฐกิจโลกในวิวัฒนาการนโยบายการศึกษา”. / โดย วงออน พัวพันสวัสดิ์. ว.รัฐศาสตรสาร. ปที่ 27 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2549) : 183-206.

ผูเขียนบทความเรื่องนี้ ไดทําการสํารวจกระบวนการกอตัวและการแพรขยายของความเชื่อ ในอรรถประโยชนทางเศรษฐกิจของการศึกษา ในระดับระหวางประเทศ สิ่งที่งานชิ้นนี้ตองการนําเสนอก็คือ เศรษฐกิจโลก ภายใตชื่อ “การพัฒนา” ไดชักนําใหเกิดความสอดคลองกันไปทั่วโลกของนโยบายการศึกษาที่มีทิศทางไปสูความพยายามรวมคนเขามาสูระบบการศึกษาใหมากที่สุด เพื่อตอบสนองตอตลาด ในบริบทโลกหลังสงครามโลกครั้งที่สอง มุมมองการพัฒนาไดครอบงํามุมมองอื่นๆ และไดทําใหการเติบโตทางเศรษฐกิจที่วัดจาก GDP กลายมาเปนเปาหมายแหงชาติหลักในบริบทเชนนี้ ประเทศมหาอํานาจทางเศรษฐกิจ และองคการที่มีอิทธิพลเหนือประเทศ “กําลังพัฒนา” อันไดแกธนาคารโลก (WB) และกองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) คือผูมีบทบาทสําคัญในการสถาปนาความคิด และกําหนดแนวทางปฏิบัติในเรื่องการศึกษาใหแกประเทศ “กําลังพัฒนา” สวนแรกของงานจะสํารวจการกอตัวและการพัฒนาของความคิดที่เปนฐานของการขยายการศึกษาในระดับระหวางประเทศ ที่เกิดขึ้นภายใตมุมมองการพัฒนา สวนที่สองจะสํารวจการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในเศรษฐกิจโลก ซึ่งไดกระทบความคิดและแนวปฏิบัติของนโยบายการศึกษาของประเทศมหาอํานาจและองคการระหวางประเทศ อันนํามาสูกระแสการปฏิรูปการศึกษาทั่วโลก ซึ่งประเทศไทย ในฐานะประเทศ “กําลังพัฒนา” ที่ไดดําเนินนโยบายเพื่อ “การพัฒนา” ดวยการเปดรับตอเศรษฐกิจโลกมาโดยตอเนื่อง ก็ตกอยูภายใตกระแสนี้เชนเดียวกับประเทศอื่นๆ

ศิลปวัฒนธรรม

1. “กรณีลอบสังหาร” เซอรจอหน เบาริ่ง คดีอึกทึกที่ตองปดเงียบไว”. / โดย ไกรฤกษ นานา. ว.ศิลปวัฒนธรรม. ปที่ 28 ฉบับที่ 6 (เมษายน 2550) : 113.

นําเสนอเรื่องราวของเซอรจอหน เบาริ่ง ซึ่งเปนเรื่องที่คนไทยสวนใหญไมรู โดยเฉพาะ ความเกลียดชังของชาวจีนขณะที่ดํารงตําแหนงเจาเมืองฮองกงและผูแทนรัฐบาลอังกฤษในเมืองจีน นํามาซึ่งการถูกลอบสังหารดวยความอาฆาตมาดราย แตเหตุการณทั้งหมดจําตองปดบังไวในสังคม

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 25: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 20

ภายนอกประเทศจีน ดวยเหตุผลดานความมั่นคงของรัฐบาลอังกฤษเอง เซอรจอหน เบาริ่งจึงตองมีชีวิตอยูเพ่ือรักษาภาพพจนที่ดีของราชทูตจากอังกฤษ

2. “กําเนิด “วันจักรี” หรือมี “วันชาติ” ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชยหรือไม?”. / โดย สมศักด เจียมธีรสกุล. ว.ศิลปวัฒนธรรม. ปที่ 28 ฉบับที่ 6 (เมษายน 2550) : 95.

บทความเรื่องนี้ อธิบายถึงกํา เนิดวันจักรี และขอสันนิษฐานวามี วันชาติในสมัย สมบูรณาญาสิทธิราชย โดยศึกษาจากเอกสารตางๆ ที่มีการกําหนดวันสําคัญ ซึ่งผูเขียนไดอธิบายภายใตหัวขอตางๆ ประกอบดวย มีวันชาติกอน 2475 หรือไม : หลักฐานที่เผยแพรแลว ขอสังเกตเบื้องตน วันจักรีกลายเปน “วันสําหรับชาติ” เพราะการตีความของกรมพระยาเทวะวงศฯ กอนจะเปนวันจักรี กําเนิดวันจักรี และการกําหนดวันหยุดราชการของรัชกาลที่ 7 : ไมมีใครพูดถึงวันชาติ

3. “ชําแหละแผนยึดกรุงธนบุรี”. / โดย ปรามินทร เครือทอง. ว.ศิลปวัฒนธรรม. ปที่ 28 ฉบับที่ 6 (เมษายน 2550) : 81.

บทความเรื่องนี้ นําเสนอเหตุการณทางประวัติศาสตรอันเปนชวงสําคัญที่ทําใหเจาพระยา จักรีขึ้นครองแผนดินตอจากพระเจาตากไดสําเร็จ เรื่องราวที่เปนเสมือนแผนยึดกรุงธนบุรีคอนขางลึกลับซับซอนและมีเหตุการณตางๆ เกิดขึ้นหลายเหตุการณ คือ รัฐประหารในกัมพูชา 1 ปกอนยึดกรุงธนบุรี เจาพระยาจักรีบุกกัมพูชา คลื่นใตน้ําสายลับรายงานขาวกรองแกเจาพระยาจักรี 24 ชั่วโมงสุดทายของกรุงธนบุรี ทัพพระยาสุริยอภัยเขาเคลียรกรุงธนบุรี และ 24 ชั่วโมงแรกของกรุงรัตนโกสินทร 4. “ประวัตกิารกอตั้งพรรคคอมมิวนิสตสยาม”. / โดย สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. ว.ศิลปวัฒนธรรม. ปที่ 28 ฉบับที่ 6 (เมษายน 2550) : 143

พรรคคอมมิวนิสตสยามหรือเรียกในเอกสารวา “คณะใหญคอมมิวนิสตในสยาม” ถือเปน พรรคลัทธิมารกซที่พยายามจะกอการปฏิวัติชนชั้นกรรมาชีพในประเทศไทย บทความนี้มุงที่จะสํารวจเบื้องตนถึงความเปนมาของการกอต้ังพรรคคอมมิวนิสตสยาม และเพื่อเปนฐานในการศึกษาประวัติศาสตรของขบวนการฝายสังคมนิยมในประเทศไทย ทั้งนี้ไดอธิบายรายละเอียดภายใตหัวขอตางๆ คือ การเคลื่อนไหวของสังคมนิยมกอนคอมมิวนิสตสยาม คอมมิวนิสตจีนในสยาม การเคลื่อนไหวของชาวเวียดนามในสยาม และการจัดตั้งพรรคมิวนิสตสยาม

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 26: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 21

สงเสรมิการลงทุน

1. “การพัฒนาอุตสาหกรรมอากาศยานในจีน”. / โดย ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์. ว.สงเสริมการลงทุน. ปที่ 18 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2550) : 54.

ประเทศจีนไดพัฒนาเทคโนโลยีอยางรวดเร็วภายหลังเปดประเทศ ทั้งนี้มีจุดมุงหมายสําคัญ ที่จะเปนประเทศที่มีเทคโนโลยีกาวหนาเปนอันดับ 1 ของโลก โดยมีอุตสาหกรรมเปาหมายหนึ่ง คือ อุตสาหกรรมอากาศยาน โดยสงเสริมทั้งดานการวิจัยและพัฒนา การปรับโครงสรางอุตสาหกรรมอากาศยานเพื่อพ่ึงพาตนเองใหมากขึ้น โดยมีเปาหมายในอนาคตคือ การผลิตเครื่องบินโดยสารขนาดกลางเพื่อลดการสูญเสียเงินตราตางประเทศจากการนําเขาเครื่องบินดังกลาว นอกจากนี้รัฐบาลจีนไดพยายามใหกองทัพอากาศจีนผลิตเครื่องบินรบดวยตนเอง ซึ่งจีนไดวิจัยและพัฒนาขึ้นโดยรวมมือกับปากีสถาน

2. “ความตองการแรงงานฝมือในอุตสาหกรรมหลักของไทย”. / โดย ณรงคชัย สามภักดี. ว.สงเสริม การลงทุน. ปที่ 18 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2550) : 43.

นําเสนอบทสรุปเกี่ยวกับทิศทางและประมาณการความตองการแรงงานฝมือของ อุตสาหกรรมหลักในภาพรวมของประเทศ (ป 2547 – 2552) ซึ่งจัดทําโดยกรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน เพ่ือเปนกรอบและแนวทางการปฏิบัติงานพัฒนาฝมือแรงงานของหนวยงานในสังกัดของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน และยังเปนแนวทางใหผูประกอบการไดพัฒนาศักยภาพของบุคลากรเพื่อใหสามารถแขงขันไดในอนาคต

3. “จับตาธุรกิจสายการบินในจีน”. / โดย ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์. ว.สงเสริมการลงทุน. ปที่ 18 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2550) : 62.

ธุรกิจสายการบินของจีนมีการเติบโตอยางรวดเร็ว โดยปจจุบันมีสายการบินขนาดใหญ

สาระสังเขป

ระดับประเทศ 3 แหง และมีการแขงขันกันอยางรุนแรงกับสายการบินตางประเทศและสายการบินตนทุนต่ําที่เริ่มเขามาแยงตลาด ปจจุบันจีนไดเปดเสรีธุรกิจการบินใหเอกชนเขามาลงทุนได แตรัฐบาลจีนยังควบคุมการกําหนดคาโดยสารอยางเขมงวด ทําใหการแขงขันในสายการบินตนทุนตํ่ายังไมรุนแรงนัก และจากการที่ธุรกิจสายการบินของจีนเติบโตอยางรวดเร็ว ทําใหมีความตองการบุคลากร

บทความวารสาร

Page 27: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 22

ดานนี้เปนจํานวนมาก รัฐบาลจีนไดแกปญหาดังกลาวดวยการตั้งมหาวิทยาลัยการบินพลเรือนขึ้น ซึ่งนับเปนสถานศึกษาที่ผลิตนักบินใหญที่สุดในโลก โดยมีวิทยาเขต 4 แหง มีสนามบิน 5 แหง และมีเครื่องบินสําหรับฝกหัดมากกวา 100 เครื่อง โดยในปการศึกษา 2549 มีผูสําเร็จการศึกษาจํานวนมากถึง 800 คน

4. “จากยะโฮรถึงปูซานบนเสนทางสูศูนยโลจิสติกสเอเชีย”. / โดย ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์. ว.สงเสริม การลงทุน. ปที่ 18 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2550) : 46.

ปจจุบันประเทศในภูมิภาคเอเชียตางแขงขันกันเปนศูนยกลางโลจิสติกส หลายประเทศ ไมไดมีแตแผนการในการกาวขึ้นเปนศูนยกลางโลจิสติกสเทานั้น แตไดลงมือดําเนินการแลวอยางเปนรูปธรรม ซึ่งบทความนี้ไดนําเสนอการดําเนินการโลจิสติกสของประเทศตางๆ ในเอเชีย ไดแก มาเลเซีย ซึ่งรัฐบาลไดใหความสําคัญโดยการพัฒนารัฐยะโฮรใหเปนศูนยโลจิสติกสแหงสําคัญในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ญี่ปุน กับความพยายามสงเสริมการใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยในธุรกิจ โลจิสติกส เกาหลีใต มีมาตรการสงเสริมและพัฒนาโลจิสติกสหลายดานทั้งการใหคลังสินคาใชเทคโนโลยีการจัดเก็บและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาดานขนสงทางอากาศ จีน กับการสงเสริมในการนําเทคโนโลยีทันสมัยมาใชในดานโลจิสติกส การกอสรางทาเรือ ทาอากาศยาน ทางรถไฟ ถนน ฯลฯ โดยจีนมีเปาหมายเพื่อกาวไปสูการเปนศูนยกลางโลจิสติกสของโลก

5. “จันกับการพัฒนาและสงเสริมการลงทุนจากตางประเทศ”. / โดย กาญจนา นพพันธ และ สุนันทา อักขระกิจ. ว.สงเสริมการลงทุน. ปที่ 18 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2550) : 8.

ปจจุบันจีนเปนที่ยอมรับวามีระบบการบริหารจัดการดานเศรษฐกิจภายในประเทศอยูใน ระดับดีมาก มีการวางแนวทางในการพัฒนาไวอยางเปนขั้นเปนตอน เพ่ือใหการพัฒนาประเทศเปนไปในแนวทางเดียวกัน ซึ่งบทความนี้ไดนําเสนอรายละเอียดการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงในประเทศจีนแบงออกเปน 3 ชวงโดยแตละชวงมีระยะเวลาประมาณ 10 ป คือ ชวงแรกเริ่มต้ังแตป 2522 - 2532 ชวงที่ 2 ระหวางป 2535 - 2543 และชวงที่ 3 ต้ังแตป 2544 จนถึงปจจุบัน ทั้งนี้ในแตละชวงเวลาจีนยังมีกลยุทธในการสงเสริมการลงทุนที่แตกตางกัน และสามารถนําประโยชนจากการลงทุนของตางประเทศมาชวยพัฒนาเศรษฐกิจของตนไดอยางเหมาะสม นอกจากนี้ไดกลาวถึงแนวโนมและทิศทางการสงเสริมการลงทุนในอนาคตของจีน ซึ่งมีแนวทางการสงเสริมการลงทุนในลักษณะคูขนาน คือ สงเสริมใหนักลงทุนตางประเทศเขามาลงทุนในประเทศ และสงเสริมใหนักลงทุนจีนออกไปลงทุนยังตางประเทศ

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 28: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 23

6. “จีนกับการเรงปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดลอม”. / โดย ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์. ว.สงเสริมการลงทุน. ปที่ 18 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2550) : 37.

นําเสนอการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมของจีน ซึ่งปจจุบันจีนกําลังประสบปญหาสิ่งแวดลอม หลายดาน โดยเฉพาะปญหาอากาศเปนพิษจากกาซคารบอนมอนนอกไซด กาซซัลเฟอรไดออกไซด และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ทําใหคุณภาพของอากาศภายในเมืองต่ํากวาเกณฑมาตรฐานที่กําหนดไว สําหรับมาตรการแกไขปญหาที่รัฐบาลนํามาใชมีหลายประการ เชน การออกกฎหมายดานสิ่งแวดลอมกําหนดการลดการใชพลังงานใหนอยลง กอสรางระบบบําบัดน้ําเสีย เก็บภาษีตามปริมาณกาซซัลเฟอรไดออกไซดที่ปลอยออกมาจากโรงไฟฟาหรือโรงงาน และสั่งปดโรงงานที่มีมาตรการปองกันผลกระทบตอสิ่งแวดลอมไมไดมาตรฐาน เปนตน

7. “ทิศทางการลงทุนตางประเทศของจีน”. / โดย ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์. ว.สงเสริมการลงทุน. ปที่ 18 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2550) : 21.

นําเสนอรายละเอียดทิศทางการลงทุนตางประเทศของจีน โดยรัฐบาลจีนไดเริ่มมีนโยบาย สงเสริมบริษัทจีนไปลงทุนยังตางประเทศตั้งแตในชวงทศวรรษที่ 1990 และถือวาเปนสวนหนึ่งของนโยบายเปดประเทศ เพ่ือมีการเปลี่ยนแปลงผูนําประเทศ โดยนายหูจินเทาประธานาธิบดีและเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสตจีน ยังคงสานตอนโยบายสงเสริมการลงทุนตางประเทศอยางตอเนื่อง พรอมทั้งกําหนดมาตรการกระตุนการไปลงทุนตางประเทศใหมากขึ้น โดยมีเปาหมายที่ชัดเจนไมวาจะเปนการลงทุนในกิจการดานเทคโนโลยี บริการโทรคมนาคม การผลิตอุปกรณโทรคมนาคม ธุรกิจโทรทัศน อุตสาหกรรมเหล็ก และการลงทุนเพื่อพัฒนาแหลงปโตรเลียม 8. “ทิศทางธุรกิจบริษัทการคาระหวางประเทศของจีน”. / โดย ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์. ว.สงเสริมการ ลงทุน. ปที่ 18 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2550) : 32.

กลาวถึงการคาระหวางประเทศของจีน ซึ่งเริ่มตนอยางจริงจังในสมัยชาติตะวันตกขยาย อาณานิคม โดยการกอต้ังบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษและมีลักษณะผูกขาดการคา เมื่อมีการยกเลิกการผูกขาดการคาและเปดโอกาสใหกับริษัทอื่นๆ เขามาดําเนินการได แตในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 การคาระหวางประเทศก็ยังคงดําเนินการโดยชาวตางชาติ ภายหลังรัฐบาลจีนไดมีการกอต้ังรัฐวิสาหกิจในดานการคาระหวางประเทศเปนจํานวนมาก โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือคุมครองอุตสาหกรรมหรือเกษตรกรภายในประเทศ เพื่อรักษาเสถียรภาพในดานราคา และเพื่อการสงออก นอกจากนี้ไดมีการสงเสริมการจัดต้ังบริษัทการคาระหวางประเทศทั่วไปมากขึ้น เพ่ือใหครอบคลุม

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 29: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 24

สินคาหลายประเภท พรอมทั้งปรับเปลี่ยนทิศทางของธุรกิจการคาในอนาคตเพื่อขยายฐานการคาในตางประเทศเพิ่มมากขึ้น

9. “ทิศทางใหมของนโยบายสงเสริมการลงทุนในจีน”. / โดย ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์. ว.สงเสริมการ ลงทุน. ปที่ 18 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2550) : 17.

กลาวถึงการปรับกลยุทธการสงเสริมการลงทุนของจีน โดยเฉพาะนโยบายของภาครัฐ ซึ่ง มีทิศทางสงเสริมการลงทุนในพื้นที่ซึ่งกําหนดไวเพ่ือใหกระจุกตัวเปนคลัสเตอร ขณะเดียวกันก็มุงเนนใหสิทธิและประโยชนเฉพาะแกบริษัทตางชาติเปนพิเศษเพื่อจูงใจนักลงทุนจากตางประเทศ นอกจากนี้ไดมีการนําเสนอกฎหมายเพื่อปฏิรูประบบสงเสริมการลงทุนตอสภาประชาชน เพ่ือใหเปนระบบเดียวกันทั้งบริษัทจีนและบริษัทตางชาติ

10. “เทคโนโลยีชีวภาพและอุตสาหกรรมยาของอินเดีย”. / โดย พิชิต เดชนีรนาท. ว.สงเสริมการ ลงทุน. ปที่ 18 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2550) : 65.

นําเสนอลูทางการลงทุนในดานอุตสาหกรรมยา และเทคโนโลยีชีวภาพ โดยเฉพาะการ ประสานความรวมมือระหวางอินเดียและไทย ทั้งนี้อินเดียจัดวาเปนประเทศที่มีความพรอมและความกาวหนาในดานอุตสาหกรรมยาและเทคโนโลยีชีวภาพในระดับโลก เพราะมีการผลิตของทั้งสองอุตสาหกรรมแบบครบวงจร ต้ังแตตนน้ําหรือการผลิตวัตถุดิบไปจนถึงการผลิตยาสําเร็จรูป และยังมีการวิจัยพัฒนาอยางตอเนื่องอันเปนจุดแข็งของอินเดีย ขณะที่ไทยมีความสามารถในการจัดการและการตลาด สําหรับปญหาและอุปสรรคสําคัญของอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพในอินเดีย คือ มีการกําหนดกฎระเบียบและมีหนวยงานที่เกี่ยวของมากเกินไปทําใหเปนอุปสรรคตอการดําเนินธุรกิจ

11. “ไทยกับการเปนโลจิสติกสฮับ ทําไดแตยังไมไดทํา”. / โดย ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์. ว.สงเสริมการ ลงทุน. ปที่ 18 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2550) : 50.

ปจจุบันประเทศตางๆ ในทวีปเอเชียตางมีนโยบายพัฒนาระบบโลจิสติกสเพ่ือสรางรายได และเพิ่มความสามารถในการแขงขันของประเทศ โดยมีความจําเปนที่จะตองปรับปรุงดานฮารดแวร ซึ่งเปนโครงสรางพื้นฐานทางกายภาพและปรับปรุงในดานซอฟแวร คือ กฎระเบียบและประสิทธิภาพของระบบราชการ เพ่ือใหเอื้ออํานวยตอการดําเนินธุรกิจ สําหรับประเทศไทยมีนโยบายจะพัฒนาตนเองใหเปนศูนยกลางโลจิสติกสในภูมิภาค ซึ่งมีปจจัยแหงความสําเร็จคือ จะตองปรับปรุงใหประเทศไทยเอื้อตอการดําเนินธุรกิจโลจิสติกส โดยเฉพาะการเลือกทําเลที่ต้ังของศูนยกลางโลจิสติกส

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 30: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 25

จะตองมั่นใจวาเปนสถานที่ซึ่งดําเนินธุรกิจไปอยางรวดเร็ว รวมถึงการปรับปรุงพิธีการศุลกากรใหงายขึ้น การปรับปรุงประสิทธิภาพและสรางความโปรงใสในระบบราชการ ฯลฯ

12. “อินเดียในมุมมองของนักลงทุนชาวซามูไร”. ว.สงเสริมการลงทุน. ปที่ 18 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2550) : 66.

อินเดียเปนประเทศหนึ่งที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญโดยอยู ในอันดับ 4 ของโลก มีมูลคา ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) มูลคา 800 ลานเหรียญสหรัฐฯ เปนรองจากสหรัฐฯ ญี่ปุน และจีน อยางไรก็ดีนักธุรกิจญี่ปุนหลายบริษัทที่ไปลงทุนในอินเดียเห็นวาระบบสาธารณูปโภคของอินเดียยังไมพอเพียง โดยพบวาปญหาที่ใหญที่สุดเกี่ยวกับการลงทุนในอินเดีย คือ ปญหาระบบบริการโครงสรางพื้นฐานไมมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ไดนําเสนอการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออนในมุมมองของนักลงทุนในประเทศอินเดีย ซึ่งการลงทุนในอินเดียยังมีโอกาสที่ดีสําหรับนักลงทุนไทย

สารคดี 1. “แกงคอย : ผูคน สายน้ํา ขุนเขาใตเงาหมอกควัน”. / โดย สุเจน กรรพฤทธิ์. ว.สารคดี. ปที่ 23 ฉบับที่ 266 (เมษายน 2550) : 132.

นําเสนอปญหาดานตางๆ ของอําเภอแกงคอย ซึ่งหลายปที่ผานมาอําเภอแกงคอยเปนที่รูจัก กันดีในฐานะแหลงอุตสาหกรรมหนักและแหลงผลิตปูนซีเมนตที่ใหญที่สุดในประเทศ ปจจุบันแกงคอยกําลังไปดวยปญหามากมายทั้งปญหาความเสื่อมโทรมของอากาศ น้ํา และดิน อันเกิดจากการระเบิดภูเขาหินปูน น้ําและดินปนเปอนสารพิษจากบอฝงกลบสารเคมี และมลพิษซึ่งถูกปลอยออกมาจากปลองควันและทอระบายน้ําทิ้งของโรงงาน นอกจากนี้ยังมีปญหาความขัดแยงในชุมชนที่เกิดขึ้นหลังการสรางโรงไฟฟาขนาดใหญ และความพยายามของชุมชนและหนวยงานที่เกี่ยวของในการหาขอยุติปญหามลพิษที่เกิดจากแหลงอุตสาหกรรมทั้งหลายในอําเภอ ซึ่งตองอาศัยความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของ รวมถึงนโยบายการพัฒนาที่ชัดเจนวาจะพัฒนาเศรษฐกิจหรือคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 31: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 26

2. “ตามรอยปริศนาอียิปตโบราณ”. / โดย วันชัย ตันติวิทยา. ว.สารคดี. ปที่ 23 ฉบับที่ 266 (เมษายน 2550) : 40.

นําเสนออารยธรรมอียิปตโบราณซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อประมาณ 5,000 ปกอน และถือวาเปนแหลง ฐานความรูสําคัญของอารยธรรมกรีก-โรมัน โดยเฉพาะสิ่งกอสรางอันเปนโบราณสถานของชาวอียิปตโบราณที่ยังคงมีมาจนถึงปจจุบัน ไมวาจะเปนมหาพีระมิด วิหารขนาดใหญจํานวนมาก สุสานกษัตริย รวมไปถึงการคนพบเครื่องมือทางการแพทยอีกจํานวนมากซึ่งนําไปสูการคนพบความรูทางการแพทยที่ทันสมัยของชาวอียิปตโบราณ ไมวาจะเปนวิธีการทํามัมมี่ วิธีการผาตัด เปนตน นอกจากนี้ยังมีการคนพบเครื่องประดับตาง ๆ มากมายในสุสานของฟาโรห ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความรูดานการออกแบบและฝมืออันปราณีตที่ชาวอียิปตโบราณไดถายทอดเอาไว สิ่งเหลานี้ยังคงเปนปริศนาลึกลับมาจนถึงปจจุบันวาคนสมัยนั้นสรางสิ่งเหลานั้นมาไดอยางไร แมวาจะมีการคนพบหลักฐานสําคัญหลายอยางที่ทําใหชาวโลกไดเขาใจถึงความรูและสติปญญาของชาวอียิปตเมื่อ 3,000 กวาป แตยังมีศาสตร ความรู และความลี้ลับอีกมากมายที่คนปจจุบันยังไมสามารถไขปญหาความลับนั้นได 3. “น้ําตาลเทียม ... ความหวานลวง”. / โดย ภัสนวจี ศรีสุวรรณ. ว.สารคดี. ปที่ 23 ฉบบัที่ 266 (เมษายน 2550) : 88.

นําเสนอรายละเอียดของน้ําตาลเทียม หรือสารใหความหวานซึ่งมีความหวานมากกวา น้ําตาลจากธรรมชาติประมาณ 180-200 เทา และไมมีแคลอรี ปจจุบันถูกนํามาใชเปนสวนประกอบสําคัญในเครื่องดื่มประเภทไดเอตและของขบเคี้ยว รวมท้ังในน้ําตาลเทียม ในทางการแพทยพิษของน้ําตาลเทียมหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา “แอสปาเตม” (aspartame) ทําใหเกิดความผิดปกติตอระบบประสาทสวนกลางและระบบภูมิคุมกัน และผลกระทบนี้เปนที่ทราบกันดีของบริษัทผูเปนเจาของแอสปาเตม แตไดรับการอนุมัติจากองคการอาหารและยาสหรัฐฯ ใหเปนวัตถุปรุงรสในอาหารไดเนื่องจากเหตุผลทางการเมือง ปจจุบันมีแอสปาเตมวางขายกวา 100 ประเทศ เปนสวนประกอบในผลิตภัณฑมากกวา 5,000 ชนิด ซึ่งผูบริโภคตองพิจารณาถึงผลเสียตอสุขภาพกอนบริโภค 4. “ศาสตรและศิลปของเครื่องจับเท็จ”. / โดย ชัยวัฒน คุประตกุล. ว.สารคดี. ปที่ 23 ฉบับที่ 266 (เมษายน 2550) : 118.

นําเสนอรายละเอียดของเครื่องจับเท็จ ประกอบดวย ประวัติความเปนมา หลักการทํางาน

สาระสังเขป

การใชงาน และเครื่องจับเท็จแบบใหมที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใหเครื่องจับเท็จมีความเที่ยงตรงที่สุด ซึ่งระบบที่กําลังไดรับความสนใจมากเปนพิเศษ คือ เครื่องถายภาพสมองเอฟเอ็มอารไอ เครื่องตรวจจับคลื่นสมองอีอีจี และเครื่องจับเท็จรังสีอินฟราเรด

บทความวารสาร

Page 32: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 27

อีคอนนิวส

1. “จาก ITV สู TITV เสนทางเสรีที่ยังหางไกล”. ว.อีคอนนิวส. ปที่ 17 ฉบับที่ 479 (มีนาคม 2550) : 14.

กลาวถึงที่มาที่ไปของการสัมปทานสื่อสารมวลชนกรณีของทีวีเสรี โดยไดต้ังขอสังเกต ระบุสาเหตุที่ทีวีเสรีมีความผิดพลาดทั้งกรณีที่ขาดและสวนที่เกิน โดยสรุปไว 7 ประการดวยกัน พรอมกันนี้ไดนําเสนอรายชื่อคณะกรรมการบริหารทีไอทีวี และรูปแบบการบริหารทีไอทีวีที่อยูในกํากับของกรมประชาสัมพันธ

2. “ตางชาติกับที่ดินไทย : ไมตองใหซื้อ”. / โดย โสภณ พรโชคชัย. ว.อีคอนนิวส. ปที่ 17 ฉบับที่ 479 (มีนาคม 2550) : 23.

นําเสนอมุมมองเกี่ยวกับการลงทุนดานอสังหาริมทรัพยของนักลงทุนตางชาติ โดยเฉพาะ การลงทุนซื้อที่ดินนั้นควรเปนสิ่งที่ใหตางชาติมาลงทุนหรือไม ซึ่งบทความนี้ไดนําเสนอเพื่อใหเห็นภาพรวมของการลงทุนที่สามารถทําไดหลายแนวทาง และใหรูจริงเพื่อนําความรูมาสรรคสรางแนวทางที่ดีในการดําเนินการที่เหมาะสม โดยมีเนื้อหาประกอบดวย ประมวลภาพรวมในตางประเทศ สงเสริมตางชาติใหถูกทาง ที่ดินไมจําเปนตองขายใคร ปญหานอมินี หนทางการแกปญหา และมาตรการที่ชัดเจนในการดําเนินการ

3. “ทําไม? คตส. สั่งฟน ‘โอค – เอม’ คดีขายหุนชินคอรป ไมเสียภาษี”. ว.อีคอนนิวส. ปที่ 17 ฉบับที่ 479 (มีนาคม 2550) : 18.

นําเสนอกรณีครอบครัวชินวัตรขายหุน บริษัทชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ใหแกกลุม ทุนเทมาเส็ก ทําใหครอบครัวชินวัตรมีรายไดกวา 73,000 ลานบาท โดยไมตองเสียภาษี ซึ่งถือเปนสาเหตุสําคัญทําใหเกาอี้นายกรัฐมนตรีของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร สั่นคลอนอยางรุนแรง ทั้งนี้ไดนําเสนอรายละเอียดตามลําดับเหตุการณ ประกอบดวย ภาพรวมของคดีหุนชินคอรป พฤติการณขายโดยออม ทําไมตองขายโดยออม พฤติการณพยายามเลี่ยงภาษี และขอวินิจฉัยในการประเมินภาษี

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 33: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 28

4. “มาตรการ SPS ของสหภาพยุโรป กับการเจรจา FTA”. / โดย สํานักงานที่ปรึกษาเกษตร ตางประเทศประจําสหภาพยุโรปและคณะผูแทนไทยประจําประชาคมยุโรป. ว.อีคอนนิวส. ปที่ 17 ฉบับที่ 479 (มีนาคม 2550) : 37.

มาตรฐานดานสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phytosanitary Standard : SPS) มีความสําคัญในการดําเนินความสัมพันธการคาระหวางประเทศ โดยเฉพาะการเจรจาเขตการคาเสรีที่กําลังจะมีขึ้นระหวางสหภาพยุโรปและกลุมประเทศอาเซียน ซึ่งจะมีตัวบทที่เกี่ยวกับความรวมมือดาน SPS รวมอยูดวย ซึ่งบทความนี้ไดกลาวถึงมาตรการ SPS ของสหภาพยุโรปไวโดยละเอียดเพ่ือเปนแนวทางศึกษา โดยเฉพาะการศึกษามาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชที่มีความเกี่ยวของกับการสงออกสินคาอาหารและเกษตรของไทยมายังสหภาพยุโรป และการศึกษาทาทีและแนวทางหลักของสหภาพยุโรปที่อาจใชในการประสานความรวมมือดาน SPS ในการเจรจา FTA EU-ASEAN

เอกสารภาษีอากร 1. “เก็บภาษีนักเลนหุน (ตอนที่ 1)”. / โดย สุวรรณ วลัยเสถียร. ว.เอกสารภาษีอากร. ปที่ 26 ฉบับที่ 307 (เมษายน 2550) : 82-85.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง แนวคิดในการเก็บภาษีนักเลนหุน ซึ่งโดยปกติผูเลนหุนในตลาด หุนของไทย เมื่อไดกําไรจากการซื้อขายหุนไมตองเสียภาษี ผูเขียนจึงไดเสนอแนวคิดวิเคราะหวาประเทศไทยควรพิจารณาเก็บภาษีนักเลนหุนหรือไม โดยศึกษาตัวอยางกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งกฎหมายภาษีอากรของประเทศสหรัฐอเมริกาแยกกําไรและขาดทุนจากการเลนหุนเปน 2 ประเภท คือ 1) กําไรและขาดทุนระยะยาว (Long Term Gain and Long Term Loss) และ 2) กําไรและขาดทุนระยะสั้น (Short Term Gain and Short Term Loss) สรุปแลวถารัฐบาลจะเก็บภาษีนักเลนหุนจากกําไรก็ตองยอมใหหักภาษีผลขาดทุนจากการเลนหุนไดเชนกัน

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 34: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 29

2. “นองสาวใหหุนพี่ชายตองเสียภาษีหรือไม (ตอนจบ)”. / โดย ดุลยลักษณ ตราชูธรรม. ว.เอกสาร ภาษีอากร. ปที่ 26 ฉบับที่ 307 (เมษายน 2550) : 99-101.

บทความนี้กลาวถึง กรณีที่คุณหญิงพจมาน ชินวัตร ใหหุนบริษัทชินคอรปเรชั่นจํากัด (มหาชน) แกนายบรรณพจน ดามาพงษ พ่ีชายโดยอางวาเพื่อเปนของขวัญในวันแตงงานและวันเกิดของบุตร ผูรับซึ่งถือเปนการใหเนื่องในพิธีหรือตามโอกาสแหงขนบธรรมเนียมประเพณีซึ่งผูรับจะไดรับยกเวนภาษีเงินไดตามประมวลรัษฎากร มาตรา 42 (10) จึงตองมาพิจารณากันวาในกรณีนี้จะไดรับยกเวนภาษีหรือไม? โดยไดมีการยกตัวอยางคําพิพากษาฎีกาที่ 1793/2518 และ 6667/2541 ประกอบการพิจารณาดวย 3. “ปญหาการกรอกแบบ ภ.ง.ด. 50 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2550”. / โดย กองบรรณาธิการ.

ว.เอกสารภาษีอากร. ปที่ 26 ฉบับที่ 307 (เมษายน 2550) : 31-56. บทความเรื่องนี้ กลาวถึงปญหาการกรอกแบบ ภ.ง.ด. 50 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2550

โดยไดอธิบายการกรอกเอกสาร ภ.ง.ด. 50 ทีละหนาจํานวนทั้งหมด 8 หนา ซึ่งในการอธิบายนั้นไดอธิบายตามหัวขอตางๆ ในเอกสาร พรอมทั้งยกตัวอยางปญหาที่เกิดขึ้นในการกรอกเอกสารของแตละหัวขอ และวิธีการแกไขเพื่อไมใหเกิดความผิดพลาดในการกรอกเอกสาร ภ.ง.ด. 50 นอกจากนี้ผูเขียนยังไดอธิบายขั้นตอนในการกรอกเอกสาร ภ.ง.ด. 50 อยางละเอียด เพื่อใหผูยื่นเสียภาษีสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนไดอยางถูกตอง อันจะทําใหเกิดประโยชนทั้งตอตัวผูยื่นเสียภาษีเองและกรมสรรพากร

4. “ภาษีซื้อตองหาม”. / โดย ชัยสิทธิ์ และ ดุลยลักษณ ตราชูธรรม. ว.เอกสารภาษีอากร. ปที่ 26 ฉบับที่ 307 (เมษายน 2550) : 112-122.

บทความเรื่องนี้อธิบายถึง ความแตกตางระหวางการวางแผนภาษีอากรกับการหลบหลีก ภาษีอากร และมาตรการตอตานการหลบหลีกภาษีอากรที่ไมบริสุทธิ์ของประเทศไทย เชน มาตรา 64 ทวิ (4), (7) และมาตรา 65 ตรี (15) ตามประมวลรัษฎากร นอกจากนี้ยังมีการยกตัวอยางเรื่องภาษีซื้อตองหาม โดยศึกษาจากคําพิพากษาฎีกาที่ 4679/2549 ระหวาง บริษัท เค เอ็ม ซี มารีนา บิซิเนส จํากัด กับกรมสรรพากร ในประเด็นภาษีซื้อท่ีโจทกขอคืนจากรายจายในการกอสรางประตูน้ํา ทาจอดเรือ คาออกแบบระบบไฟฟาสโมสร คาจางเหมางานสาธารณูปโภค และคาจางเหมากอสรางอาหารสําหรับลากเรือ ซึ่งเปนตัวอยางที่เปนประโยชนในการวางแผนภาษีอากร

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 35: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 30

5. “สรรพากรบังคับ ‘บุคคลธรรมดา’ จัดทําบัญชีเพื่อเสียภาษีเงินได”. / โดย เพ่ิมบุญ แกวเขียว. ว.เอกสารภาษีอากร. ปที่ 26 ฉบับที่ 307 (เมษายน 2550) : 94-98.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง เรื่องบุคคลธรรมดาตองจัดทําบัญชีเพ่ือเสียภาษีเงินได ซึ่งโดยปกติ แลวการจัดทําบัญชีตามกฎหมายบัญชี (พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543) ไดกําหนดใหบุคคล 5 ประเภท มีหนาที่ตองทําบัญชี คือ หางหุนสวนจดทะเบียน บริษัทจํากัด บริษัทมหาชนจํากัด นิติบุคคลที่ต้ังขึ้นตามกฎหมายของตางประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทยและกิจการรวมคาตามประมวลรัษฎากร แตอยางไรก็ดีในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ไดมีประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได (ฉบับที่ 161) เรื่องกําหนดใหผูมีหนาที่เสียภาษีบุคคลธรรมดาและมิไดเปนผูประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่มจัดทําบัญชีหรือรายงานแสดงรายไดและรายจายดวย จึงถือวาบุคคลธรรมดาก็ตองจัดทําบัญชีเพ่ือเสียภาษีเงินได

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 36: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 31

1. “Crisis, charisma, and consequences : evidence from the 2004 U.S. presidential

THE JOURNAL OF POLITICS

election”. / by Jennifer L. Merolla, et al. The Journal of Politics. Vol.69 No.1 (February 2007) : 30-42.

This article investigates how conditions of crisis affect perceptions of charisma and how these, in turn, affect blame attribution and self-sacrificial behavior. These data are from a 2004 experimental study that preceded the U.S. presidential election, in which the authors manipulated concerns of a terrorist attack. The results show that those in the Crisis condition rated Bush higher on perceptions of charisma compared to those in the Good Times condition. The Crisis condition also directly and indirectly, via perceptions of charisma, affected whether Bush was blamed for failures in Iraq and our subjects’ willingness to sacrifice their personal resources for his candidacy. 2. “Polarization and publicity : rethinking the benefits of deliberative democracy”. / by

David Stasavage. The Journal of Politics. Vol.69 No.1 (February 2007) : 59-72. Though openness in government has obvious benefits, recent scholarship has

devoted less attention to the possibility that it might also have costs. The author use a formal framework to investigate the effect of public versus private decision making on opinion polarization. Existing work emphasizes that public debate helps to reduce polarization and promote consensus, but the author argue that when debate takes place between representatives the opposite may be true. When representatives make decisions in public, they face incentives to use their actions as a signal of loyalty to their constituents, potentially ignoring private information about the true desirability of different policies. Anticipating this, constituents will not alter their prior policy beliefs following a debate of this type. When representatives instead make policy decisions in private, they are more likely to allow private information to influence

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 37: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 32

their actions. An important consequence is that even if constituents do not observe actions or statements of individual representatives, they can still use the final policy choice to revise their initial beliefs. The author suggest that these conclusions have significant implications for both the literature on deliberative democracy and for discussions of polarization in American politics. 3. “The decline of third-party voting in the United States”. / by Shigeo Hirano and James M. Snyder, Jr. The Journal of Politics. Vol.69 No.1 (February 2007) : 1-16.

This paper documents and investigates a prominent but little discussed pattern in U.S. politics, which is the decline of third-party electoral support over the past century. It shows evidence consistent with the claim that electoral support for third parties-mainly left-wing third parties-declined because the Democratic Party co-opted the left-wing policy position beginning with the passage of the New Deal agenda. The authors note first that most of the third-party voting in the pre-New-Deal era was for left-wing third parties and that this declined sharply during the 1930s and 1940s. The result shows that after the New Deal the Democratic party’s electoral support was higher in areas that had traditionally supported left-wing third parties. Contrary to some claims in the literature, the authors find little support for the hypothesis that the decline of third-party voting was immediately due to electoral reforms such as the introduction of direct primaries and the Australian ballot, except possibly in the south. 4. “The variance matters : how party systems represent the preferences of voters”. / by Lawrence Ezrow. The Journal of Politics. Vol.69 No.1 (February 2007) : 182-192.

Cross-national analyses are presented that suggest that changes in the variance of voters’ policy preferences-in 12 Western European democracies from 1976 to 1998-are associated with corresponding changes in the variance of policy choices on offer in these party systems. This finding is labeled the Voter Distribution Effects Result. There is also evidence to support a second major finding, the Electoral Laws Result, which states that voter

สาระสังเขป บทความวารสาร

Page 38: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 33

distribution effects, i.e., the effects associated with changes in the variance of voters’ policy preferences, are stronger in political systems that feature less proportional electoral rules (e.g., plurality voting systems). These findings have implications for party strategies and for our general understanding of political representation. 5. “What attracts foreign investors? An examination of human rights and foreign direct

investment”. / by Shannon Lindsey Blanton and Robert G. Blanton. The Journal of Politics. Vol.69 No.1 (February 2007) : 143-155.

Though the prospective relationship between foreign direct investment (FDI) and human rights has long been a prominent issue within the global political economy, the linkage is empirically underdeveloped. Rather, the conventional wisdom that FDI and respect for human rights are inherently contradictory has persisted. Instead, the authors posit that respect for human rights may encourage FDI. To examine this issue, they assess the direct effects of human rights upon FDI as well as the extent to which human rights indirectly affects FDI through its impact upon human capital. Using a system of simultaneous equations, the authors find respect for human rights to have a positive impact upon FDI. 6. “When duty calls, do citizens answer?”. / by Cindy D. Kam. The Journal of Politics.

Vol.69 No.1 (February 2007) : 17-29. This article proposes that campaigns can serve a social function by drawing citizens

into thinking about politics. Through an analysis of experimental data, the article reports that when subtle reminders of citizen duty appear in campaign discourse, citizens respond. Individuals who are reminded of citizen duty are more likely to learn where the candidates stand on issues, to think more about the candidates, and to search for information in an open-minded way. The results suggest that how citizens think about politics is flexible, rather than fixed, and can be shaped in consequential ways by the nature of elite appeals during election campaigns.

สาระสังเขป

บทความวารสาร

Page 39: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

ภาคผนวก

ประมวลศัพททางการบริหารเกี่ยวกับ การบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (CEO)

หมวด S

Page 40: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

ประมวลศัพททางการบริหารเก่ียวกับ การบริหารงานจงัหวัดแบบบูรณาการ (CEO)

รวบรวมเรียบเรียงโดย กัลยญาณี ฉุนฉลาด

Shared Value (คานิยมรวม)

หมายถึง ความเชื่อและความยึดมั่นในวิธีการใชชีวิตในที่ทํางาน วิธีการวางตัว วิธีพูด วิธีคิดที่สมาชิก ขององคการยึดมั่นรวมกันวาควรมี ควรปฏิบัติ คานิยมรวมที่ดีควรสะทอนภาพลักษณขององคการ สะทอนใหเห็นถึงอุดมคติ กระตุนใหเกิดความมุงมั่นเพื่อความสําเร็จขององคการ

Sin Tax (ภาษีบาป, ภาษีเกี่ยวกับอบายมุข)

ภาษีสินคาและบริการที่เปนอันตรายตอสุขภาพและสังคมหรือภาษีบาป (Sin tax) เชน บุหรี่ เหลา เปนตน

Smart Card

บัตรประจําตัวประชาชนแบบ Smart Card คือบัตรประจําตัวที่ประชาชนสามารถใชเพียงใบเดียวแทนบัตรประเภทตางๆ ที่รัฐออกใหทั้งหมด เพื่อใหเกิดความสะดวกตอประชาชนในการพกพาบัตรและเปนการประหยัดงบประมาณของรัฐในการออกบัตรประเภทตางๆ ตลอดจนใหเกิดความเปนมาตรฐานเดียวกัน (One Standard) ในสังคมไทย ระยะที่ 1 จัดทําระบบใหบริการประชาชนดานการทะเบียนราษฎรดวยระบบเชื่อมโยง (Online) ใหครอบคลุมทุกพื้นที่อีก 572 สํานักทะเบียนทั่วประเทศ ระยะที่ 2 จัดทําระบบบริการออกบัตรประจําตัวประชาชนแบบเชื่อมโยง (Online) ใหครอบคลุมทุกพ้ืนที่อีก 866 สํานักทะเบียนทั่วประเทศ เพ่ือปองกันการทุจริตสวมตัวทําบัตรเนื่องจากสามารถตรวจสอบรายการประวัติทําบัตรไดทั่วประเทศ ระยะที่ 3 ปรับเปลี่ยนวัสดุที่ใชในการผลิตบัตรจากตัวบัตรเปลาที่คาดดวยแถบแมเหล็ก (Magnetic Card) มาเปนแบบตัวบัตรเปลาที่ฝงไมโครโปรเซสเซอรซิป (Chip Card) เพ่ือเพิ่มขีด

1

Page 41: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

ความสามารถในการจัดเก็บขอมูลตลอดจนการรักษาความปลอดภัยของขอมูล บัตร Smart Card เบื้องตนสามารถใชไดหลายกิจกรรม เชน การพิสูจนและยืนยันตัวบุคคลซึ่งตองไดรับความยินยอมจากเจาของบัตรหรือเจาของขอมูล การมีบัตร Smart Card หัวใจ คือ การมีดัชนีบุคคล คือ เลขประจําตัวประชาชน 13 หลัก เปนแกนในการเชื่อมโยงฐานขอมูลรวมกัน

SME (Small and medium scale enterprise)

ธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก หมายถึง ธุรกิจสนับสนุนที่จะปอนวัตถุดิบหรือสินคาชั้นกลาง ใหอุตสาหกรรมขนาดใหญ เปนแหลงผลิตสินคาทดแทนการนําเขา และสินคาเพื่อการบริโภค รวมทั้งเปนแหลงพัฒนาทักษะฝมือแรงงานดวย

SML (Small-medium-large) โครงการพัฒนาศักยภาพของหมูบาน/ชุมชน

ในการที่จะฟนฟูหมูบาน/ชุมชน ใหมีพลังในการขับเคลื่อนไปสูการแกปญหาความยากจน และสรางโอกาสใหประชาชนอยางยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยจะใหมีการจัดสรรงบประมาณโดยตรงแกหมูบาน/ชุมชนเพื่อนําไปแกปญหาสวนรวม หรือพัฒนาเพื่อการประกอบอาชีพท่ีมั่นคงยั่งยืน โดยประชาชนในทองถิ่นเปนผูบริหารจัดการเอง (รวมคิด-รวมทํา) ถือเปนขั้นตอนหนึ่งของการพัฒนาประชาธิปไตย หลักเกณฑในการจัดสรรงบประมาณ 1. หมูบาน/ชุมชน ขนาดเล็ก (Small) หมายถึง หมูบาน/ชุมชนที่มีจํานวนประชากรอาศัยอยูไมเกิน 500 คน ไดรับการจัดสรรงบประมาณ 200,000 บาท 2. หมูบาน/ชุมชน ขนาดกลาง (Medium) หมายถึง หมูบาน/ชุมชนที่มีจํานวนประชากรอาศัยอยูต้ังแต 500 คน แตไมเกิน 1,000 คน ไดรับจัดสรรงบประมาณ 250,000 บาท 3. หมูบาน/ชุมชน ขนาดใหญ (Large) หมายถึง หมูบาน/ชุมชนที่มีจํานวนประชากรที่อาศัยอยูต้ังแต 1,000 คนขึ้นไป ไดรับการจัดสรรงบประมาณ 300,000 บาท

2

Page 42: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

Social Capital (ทุนทางสังคม)

หมายถึง ความสัมพันธหรือโครงสรางทางสังคมที่เราสามารถนํามาสรางผลประโยชนทางเศรษฐกิจไดตัวอยางทุนทางสังคมที่มักถูกกลาวถึงคือความเชื่อถือไววางใจกัน (Trust) เครือขาย (Network) สถาบัน (Institution) ซึ่งทายที่สุดสามารถใหผลประโยชนของเศรษฐกิจได ทุนทางสังคมแบงได 2 ประเภท คือ 1. ทุนทางสังคมภายใน (Cognitive social capital) มีลักษณะที่มองเห็นและประเมินยาก จะเกี่ยวกับเรื่องทางความรูสึกนึกคิด จิตใจ ความเชื่อ ทัศนคติ 2. ทุนทางสังคมภายนอก (Structural Capital) มีลักษณะมองเห็นและประเมินไดงายกวามักจะเกี่ยวกันกับบทบาท พฤติกรรม การกระทําหรือความสัมพันธที่เราสรางขึ้น เชน กลุมออมทรัพย ชมรม สถาบัน ทุนทางสังคมโดยตัวของมันเองมิไดเปนปจจัยการผลิตโดยตรง แตเปนตัวกลางในการเขาถึงปจจัยการผลิตหรือทุนอื่น เชน ขาวสารขอมูล ทุนมนุษย (Human Capital) ทุนกายภาพ (Physical Capital) ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource) เปนตน

Strategy (กลยุทธ)

หมายถึง วิธีการดําเนินงานใหบรรลุจุดมุงหมายของยุทธศาสตร กลยุทธที่ดีควรจะมาจากการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกและภายในองคการ มุงเนนความคิดสรางสรรคเหนือความคาดหมาย ยกระดับความสํา เร็จ การเจริญเติบโตและความกาวหนาขององคการแบบกาวกระโดด (Dramatic Improvement) โดยเนนการใชนวัตกรรม (Innovation) สิ่งประดิษฐหรือความคิดใหมๆ ดังนั้น กลยุทธจึงมักจะตองอาศัยวิธีการที่พยายามไมใหเหมือนใคร ไมใหใครเหมือน แปลกแหวกแนวไมมีใครคาดคิด การกําหนดกลยุทธที่ดีตองพยายามใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับการเปลี่ยนกระบวนทัศน (Paradigm Shift) หรือเกิดนวัตกรรม (Innovation) หรือสิ่งประดิษฐคิดคนใหม คําวา “กลยุทธ” ในแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการนี้มีความหมายเชนเดียวกับ คําวา “กิจกรรมเชิงกลยุทธ” (Strategic Activities) และแผนงาน (Programs) กลยุทธสามารถมองไดทั้ง 2 ดาน กลาวคือ (1) ดานแนวดิ่ง (Vertical Perspective) ไดแกกลยุทธระดับบุคคล ระดับแผนก ระดับกอง ระดับสํานัก ระดับกรม (2) ดานแนวนอน (Horizontal Perspective) เชน กลยุทธของกลุมจังหวัด เปนตน

3

Page 43: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

Strategic Goals (วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ)

หมายถึง จุดมุงหมายในระดับรองลงมาจากพันธกิจ (Mission) เปนการนําพันธกิจแตละดานมากําหนดเปาหมายใหชัดเจน เพื่อเปนตัวชี้นําทิศทางของการดําเนินงาน วัตถุประสงคเชิงกลยุทธจึงมีความชัดเจนมากกวาขอความในพันธกิจ เปนขอความที่กําหนดไวเพ่ือเปนทิศทางของการใชกลยุทธ หรือกิจกรรมกลยุทธ (Strategies or Strategic Activities) และสามารถแปลงใหเปนกิจกรรมที่งายตอการมอบหมายและกระจายงานเชิงบูรณาการ เปนเปาหมายที่อยูในระดับเดียวกับกลุมตัวชี้วัดความสําเร็จแบบสมดุล (Balanced Scorecard-BSC) และกลุมผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas-KRAs)

Sustainable Development (การพัฒนาที่ย่ังยืน)

หมายถึง การตอบสนองความตองการของคนรุนปจจุบัน โดยไมมีผลกระทบในทางลบตอความตองการของคนรุนตอไปในอนาคต ปรัชญาและอุดมการณในการพัฒนาจะตองอยูในพื้นฐานหลักการที่เรียกวา “ความยุติธรรมระหวางคน 2 ยุค”

SWOT analysis

หมายถึง การประเมินสถานการณภายในและภายนอกองคการ โดยการวิเคราะหจุดแข็ง (Strength) จุดออน (Weakness) ขององคการของเรา และขององคการที่เปนคูแขงของเรา นอกจากนั้นยังวิเคราะหสภาพแวดลอมดานตางๆ ดวยวา ในสภาพแวดลอมที่เปนอยูนั้นมีโอกาส (Opportunity) หรือมีอุปสรรค (Threat) ตอองคการของเราอยางไรบาง เพื่อหาตําแหนง (Position) และวิธีการที่จะทําใหองคการของเราสามารถเปลี่ยนวิกฤตเปนโอกาส หรือใชโอกาสที่มีอยูใหเราประสบความสําเร็จสูงยิ่งขึ้นไปได

4

Page 44: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว

บรรณานุกรม

พสุ เดชะรินท. BSC (Balanced Scorecard) รูลึกในการปฏิบัติ (Implementing Balanced Scorecard). กรุงเทพฯ : คณะพาณิชยศาสตร และการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2546. สมพร สังขนิ่ม. “ประมวลศัพททางการบริหารที่เกี่ยวกับการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (CEO) 1,”

ว.กรมบัญชีกลาง. 47 (1) : 47-53. มกราคม-กุมภาพันธ 2549. สมพร สังขนิ่ม. “ประมวลศัพททางการบริหารที่เกี่ยวกับการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (CEO),”

ว.กรมบัญชีกลาง. 47 (2) : 71-85. มีนาคม-เมษายน 2549. “Accountability.” วารสารดํารงราชานุภาพ. ปที่ 3 ฉบับที่ 7 (ธันวาคม 2545-มีนาคม 2546) : 30

5

Page 45: 2550 - Parliamentตรวจสอบการกระทําที่ก อให เกิดความเส ียหายแก รัฐ (คตส.) เห็นว