· 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ......

26

Upload: others

Post on 16-Feb-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

1

Page 2:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง
Page 3:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

3

Page 4:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

4

การวางแผนการเงินด้วยศาสตร์ของพระราชา

การวางแผนการเงินด้วยศาสตร์ของพระราชาโครงการทาความดีเพื่อพ่อ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๐

กองบรรณาธิการอานวยการ ปิยาภรณ์ครองจันทร์ปรีชากิจโมกข์

และฐิติเมธโภคชัย

อานวยการผลิต ฝ่ายพัฒนาความรู้ผู้ลงทุน

ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ตลาดทุน

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

๙๓ถนนรัชดาภิเษกเขตดินแดงกรุงเทพฯ๑๐๔๐๐

ออกแบบ กมลปั้นแพทย์

พิมพ์ครั้งที่ 1 มีนาคม๒๕๖๑จานวน๖,๐๐๐เล่ม

ราคา ๑๖๐บาท

พิมพ์ที่ บริษัทพริ้นซิตี้จากัดโทร.๐๒๒๑๕๙๙๘๘

จัดจาหน่ายโดย บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่นจากัด(มหาชน)

เลขที่๑๘๕๘/๘๗-๙๐ถนนบางนา–ตราดแขวงบางนา

เขตบางนากรุงเทพฯ๑๐๒๖๐

โทร.๐๒๘๒๖๘๐๐๐โทรสาร๐๒๘๒๖๘๓๓๗

สิทธิในการจัดพิมพ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ทัศนะและข้อคิดเห็นต่างๆที่ปรากฏในหนังสือเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน

ซึ่งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยไม่จาเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสานักหอสมุดแห่งชาติ การวางแผนการเงินด้วยศาสตร์ของพระราชา.--กรุงเทพ:ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย,๒๕๖๑.๑๙๖หน้า.๑.การเงินส่วนบุคคล.๒.เศรษฐกิจพอเพียง.I.ชื่อเรื่อง.๓๓๒.๐๒๔ISBN๙๗๘-๖๑๖-๔๑๕-๐๓๙-๔

Page 5:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

5

เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนั้น หมายความว่า

อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตนเอง ความพอเพียงนี้ไม่ได้หมายความว่า

ทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัวเอง จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป

แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอ�าเภอ จะต้องมีความพอเพียงพอสมควร

Page 6:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

6

การวางแผนการเงินด้วยศาสตร์ของพระราชา

ค�ำน�ำ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นศาสตร์ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร

ภูมิพลอดุลยเดชในหลวงรัชกาลที่๙ทรงพระราชดาริขึ้นนับว่าเป็นศาสตร์ที่

ยิ่งใหญ่ของมวลมนุษยชาติเป็นศาสตร์ที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ในทุกเรื่อง

โดยอาศัยหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ประกอบด้วยองค์ความรู้

ที่เรียกว่า๓ห่วงคือความพอประมาณความมีเหตุผลภูมิคุ้มกันที่ดีในตนและ

๒เงื่อนไขคือเงื่อนไขความรู้ควบคู่กับคุณธรรมมาใช้ประกอบในการวางแผน

ในการกระทาสิ่งใดๆก็ตามหากนาองค์ความรู้ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ย่อมส่งเสริม

ให้แผนงานต่างๆที่ดาเนินการไว้นั้นสาเร็จและบรรลุผลตามเป้าหมายที่กาหนด

ได้อย่างมีประสิทธิผลอย่างยิ่ง

ดังนั้นหนังสือเล่มนี้จึงมีวัตถุประสงค์ที่จะน้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการวางแผนการเงินส่วนบุคคลเพื่อเป็นตัวอย่างของ

การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้กับเรื่องการเงินส่วน

บุคคลซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมทั้งเรื่องการวางแผนการอุปโภคบริโภคการวางแผน

การลงทุนการวางแผนประกันภัยการวางแผนภาษีและการวางแผนเพื่อการ

เกษียณโดยกระบวนการในการวางแผนการเงินดังกล่าวได้น้อมนาองค์ความรู้

ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประกอบในการวางแผนทั้งสิ้นซึ่งจะทาให้ผู้อ่าน

มีความรู้และความเข้าใจในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมากยิ่งขึ้น

ทั้งนี้หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการทาความดีเพื่อพ่อของ

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยความริเริ่มของดร.สันติกีระนันทน์

รองผู้จัดการหัวหน้าสายงานการตลาดผู้ออกหลักทรัพย์อย่างไรก็ตามหนังสือ

เล่มนี้จะไม่สาเร็จขึ้นได้หากไม่ได้รับความร่วมมือจากดร.กฤษฎา เสกตระกูล

รองผู้จัดการหัวหน้าสายงานพัฒนาความรู้ตลาดทุนและสายงานพัฒนาธุรกิจ

อย่างยั่งยืนคุณยุภาวรรณศิริชัยนฤมิตรผู้ช่วยผู้จัดการสมาชิกโครงการ

Page 7:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

7

ทาความดีเพื่อพ่อของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอาทิคุณเจียรไน

ตันติเวสสคุณลดาวัลย์กันทวงศ์คุณภาวิณีศุนาลัยคุณจรรยาณัฐพบประเสริฐ

เป็นต้นที่มีส่วนร่วมผลักดันให้มีการพัฒนาหนังสือเล่มนี้ขึ้นมา

นอกจากนี้ขอขอบคุณคณะผู้เขียนได้แก่ดร.สันติกีระนันทน์รองผู้จัดการ

หัวหน้าสายงานการตลาดผู้ออกหลักทรัพย์ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

คุณยุภาวรรณศิริชัยนฤมิตรผู้ช่วยผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

คุณผาณิตเกิดโชคชัยที่ปรึกษาศูนย์สถานศึกษาพอเพียงมูลนิธิยุวสถิรคุณและ

อดีตผู้อานวยการฝ่ายศูนย์การเรียนรู้ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

คุณมนต์ชัยเปี่ยมพงษ์สุขผู้จัดการสมาคมนักวางแผนการเงินไทยคุณณัฐพงษ์

อุณางกูรกรรมการสมาคมนักวางแผนการเงินไทยคุณชัชนีจันทจรูญพงษ์

ผู้อานวยการฝ่ายบริหารเงินลงทุนตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยคุณปรีชา

กิจโมกข์รองผู้อานวยการฝ่ายพัฒนาความรู้ผู้ประกอบวิชาชีพตลาดหลักทรัพย์

แห่งประเทศไทยซึ่งได้กรุณาพัฒนาเนื้อหาหนังสือเล่มนี้ เพื่อให้ผู้ที่สนใจจะ

ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้ใช้เป็นแหล่ง

ประกอบการค้นคว้าอีกแหล่งหนึ่งอันจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้สนใจนาไป

ประยุกต์ใช้ในการวางแผนการเงินส่วนบุคคลรวมทั้งยังเป็นการช่วยสืบทอด

องค์ความรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันเป็นศาสตร์ที่มีความสาคัญ

อย่างยิ่งต่อการดาเนินชีวิตของมนุษยชาติให้ยังคงอยู่คู่กับประเทศไทยอย่าง

ยั่งยืนสืบต่อไป

โครงการทาความดีเพื่อพ่อ

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ตุลาคม ๒๕๖๐

Page 8:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

8

การวางแผนการเงินด้วยศาสตร์ของพระราชา

สำรบัญพระรำชด�ำริ และพระรำชด�ำรัสว่ำด้วยเศรษฐกิจพอเพียง

๐๑ ศำสตร์ของพระรำชำว่ำด้วยปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง

๐๒ หลักกำรวำงแผนกำรเงินด้วยปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง

๐๓ กำรวำงแผนอุปโภคบริโภคจุดเริ่มต้นของควำมพอเพียง

๐๔ กำรบริหำรเงินออมเพื่อสร้ำงภูมิคุ้มกันรำยได้ที่ดีในอนำคต

๘๑๖๓๒๕๐๗๒

Page 9:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

9

๑๐๐๑๓๔๑๕๘๑๙๔๑๙๖

๐๕ กำรวำงแผนประกันภัย หลักกำรสร้ำงภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับตนเอง

๐๖ กำรวำงแผนภำษีแบบพอเพียง : หลักคิดพอเพียง ๒-๓-๔ และนิติธรรมสู่สังคมผำสุข

๐๗ กำรวำงแผนเพื่อกำรเกษียณด้วยหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง

บทสรุปส่งท้ำย

บรรณำนุกรม

Page 10:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

8

การวางแผนการเงินด้วยศาสตร์ของพระราชา

พระรำชด�ำริว่ำด้วยเศรษฐกิจพอเพียง

“...การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้นต้องสร้างพื้นฐานคือ

ความพอมีพอกินพอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อนโดยใช้วิธีการและ

อุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการเมื่อได้พื้นฐานความมั่นคงพร้อม

พอสมควรและปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะ

ทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป...”

(๑๘กรกฎาคม๒๕๑๗)

“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จ

พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙ที่พระราชทานมานานกว่า๓๐ปีเป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่

บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาที่ตั้งบนพื้นฐานของ

ทางสายกลางและความไม่ประมาทคานึงถึงความพอประมาณความมีเหตุผล

การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเองตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานใน

การดารงชีวิตที่สาคัญจะต้องมี“สติ ปัญญา และความเพียร”ซึ่งจะนาไปสู่

“ความสุข”ในการดาเนินชีวิตอย่างแท้จริง

“...คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขาจะว่าเมืองไทยล้าสมัยว่าเมืองไทยเชย

ว่าเมืองไทยไม่มีสิ่งที่สมัยใหม่แต่เราอยู่พอมีพอกินและขอให้ทุกคนมีความ

ปรารถนาที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกินมีความสงบและทางานตั้งจิตอธิษฐาน

ตั้งปณิธาน ในทางนี้ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกินไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรือง

อย่างยอดแต่ว่ามีความพออยู่พอกินมีความสงบเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ

ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้เราก็จะยอดยิ่งยวดได้...”

(๔ธันวาคม๒๕๑๗)

Page 11:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

9

พระบรมราโชวาทนี้ทรงเห็นว่าแนวทางการพัฒนาที่เน้นการขยายตัว

ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียงอย่างเดียวอาจจะเกิดปัญหาได้

จึงทรงเน้นการมีพอกินพอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่ในเบื้องต้นก่อน เมื่อมี

พื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควรแล้วจึงสร้างความเจริญและฐานะทาง

เศรษฐกิจให้สูงขึ้นซึ่งหมายถึงแทนที่จะเน้นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม

นาการพัฒนาประเทศควรที่จะสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจพื้นฐานก่อน

นั่นคือทาให้ประชาชนในชนบทส่วนใหญ่พอมีพอกินก่อน เป็นแนวทางการ

พัฒนาที่เน้นการกระจายรายได้เพื่อสร้างพื้นฐานและความมั่นคงทางเศรษฐกิจ

โดยรวมของประเทศก่อนเน้นการพัฒนาในระดับสูงขึ้นไปทรงเตือนเรื่องพออยู่

พอกินตั้งแต่ปี๒๕๑๗คือ เมื่อ๓๐กว่าปีที่แล้วแต่ทิศทางการพัฒนามิได้

เปลี่ยนแปลง

“...เมื่อปี๒๕๑๗วันนั้นได้พูดถึงว่า เราควรปฏิบัติให้พอมีพอกินพอมี

พอกินนี้ก็แปลว่า เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเองถ้าแต่ละคนมีพอมีพอกินก็ใช้ได้

ยิ่งถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดีและประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่มจะเป็นไม่พอมี

พอกินบางคนก็มีมากบางคนก็ไม่มีเลย...”

(๔ธันวาคม๒๕๔๑)

Page 12:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

10

การวางแผนการเงินด้วยศาสตร์ของพระราชา

พระรำชด�ำรัสที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง

“...เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาของเศรษฐกิจการที่ต้องใช้รถไถต้องไปซื้อ

เราต้องใช้ต้องหาเงินมาสาหรับซื้อน้ามันสาหรับรถไถเวลารถไถเก่าเราต้องยิ่ง

ซ่อมแซมแต่เวลาใช้นั้นเราก็ต้องป้อนน้ามันให้เป็นอาหารเสร็จแล้วมันคายควัน

ควันเราสูดเข้าไปแล้วก็ปวดหัวส่วนควายเวลาเราใช้เราก็ต้องป้อนอาหารต้อง

ให้หญ้าให้อาหารมันกินแต่ว่ามันคายออกมาที่มันคายออกมาก็เป็นปุ๋ยแล้วก็

ใช้ได้สาหรับให้ที่ดินของเราไม่เสีย...”

(พระราชดารัสเนื่องในพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ

ณศาลาดุสิดาลัยวันที่๙พฤษภาคม๒๕๒๙)

“...เราไม่เป็นประเทศร่ารวยเรามีพอสมควรพออยู่ได้แต่ไม่เป็นประเทศ

ที่ก้าวหน้าอย่างมากเราไม่อยากจะเป็นประเทศก้าวหน้าอย่างมากเพราะถ้าเรา

เป็นประเทศก้าวหน้าอย่างมากก็จะมีแต่ถอยกลับประเทศเหล่านั้นที่เป็นประเทศ

อุตสาหกรรมก้าวหน้าจะมีแต่ถอยหลังและถอยหลังอย่างน่ากลัวแต่ถ้าเรามี

การบริหารแบบเรียกว่าแบบคนจนแบบที่ไม่ติดกับตารามากเกินไปทาอย่างมี

สามัคคีนี่แหละคือเมตตากันจะอยู่ได้ตลอดไป...”

(พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณศาลาดุสิดาลัยวันที่๔ธันวาคม๒๕๓๔)

“...ตามปกติคนเราชอบดูสถานการณ์ในทางดีที่เขาเรียกว่าเล็งผลเลิศ

ก็เห็นว่าประเทศไทยเรานี่ก้าวหน้าดีการเงินการอุตสาหกรรมการค้าดีมีกาไร

อีกทางหนึ่งก็ต้องบอกว่าเรากาลังเสื่อมลงไปส่วนใหญ่ทฤษฎีว่าถ้ามีเงินเท่านั้นๆ

มีการกู้เท่านั้นๆหมายความว่าเศรษฐกิจก้าวหน้าแล้วก็ประเทศก็เจริญมีหวังว่า

Page 13:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

11

จะเป็นมหาอานาจขอโทษเลยต้องเตือนเขาว่าจริงตัวเลขดีแต่ว่าถ้าเราไม่

ระมัดระวังในความต้องการพื้นฐานของประชาชนนั้นไม่มีทาง...”

(พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณศาลาดุสิดาลัยวันที่๔ธันวาคม๒๕๓๖)

“...เดี๋ยวนี้ประเทศไทยก็ยังอยู่ดีพอสมควรใช้คาว่าพอสมควร เพราะ

เดี๋ยวมีคนเห็นว่ามีคนจนคนเดือดร้อนจานวนมากพอสมควรแต่ใช้คาว่าพอ

สมควรนี้หมายความว่าตามอัตภาพ...”

(พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณศาลาดุสิดาลัยวันที่๔ธันวาคม๒๕๓๙)

“...ที่เป็นห่วงนั้นเพราะแม้ในเวลา๒ปีที่เป็นปีกาญจนาภิเษกก็ได้เห็น

สิ่งที่ทาให้เห็นได้ว่าประชาชนยังมีความเดือดร้อนมากและมีสิ่งที่ควรจะแก้ไข

และดาเนินการต่อไปทุกด้านมีภัยจากธรรมชาติกระหน่าภัยธรรมชาตินี้เราคง

สามารถที่จะบรรเทาได้หรือแก้ไขได้เพียงแต่ว่าต้องใช้เวลาพอใช้มีภัยที่มาจาก

จิตใจของคนซึ่งก็แก้ไขได้เหมือนกันแต่ว่ายากกว่าภัยธรรมชาติธรรมชาตินั้น

เป็นสิ่งนอกกายเราแต่นิสัยใจคอของคนเป็นสิ่งที่อยู่ข้างในอันนี้ก็เป็นข้อหนึ่ง

ที่อยากให้จัดการให้มีความเรียบร้อยแต่ก็ไม่หมดหวัง...”

(พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณศาลาดุสิดาลัยวันที่๔ธันวาคม๒๕๓๙)

“...การจะเป็นเสือนั้นไม่สาคัญสาคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน

แบบพอมีพอกินนั้นหมายความว่าอุ้มชูตัวเองได้ให้มีพอเพียงกับตนเองความ

พอเพียงนี้ไม่ได้หมายความว่าทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัวเองจะต้อง

Page 14:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

12

การวางแผนการเงินด้วยศาสตร์ของพระราชา

ทอผ้าใส่เองอย่างนั้นมันเกินไปแต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอาเภอจะต้องมีความ

พอเพียงพอสมควรบางสิ่งบางอย่างผลิตได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้

แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไรไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก...”

(พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณศาลาดุสิดาลัยวันที่๔ธันวาคม๒๕๓๙)

“...เมื่อปี๒๕๑๗วันนั้นได้พูดถึงว่า เราควรปฏิบัติให้พอมีพอกินพอมี

พอกินนี้ก็แปลว่า เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเองถ้าแต่ละคนมีพอมีพอกินก็ใช้ได้

ยิ่งถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดีและประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่มจะเป็นไม่พอมี

พอกินบางคนก็มีมากบางคนก็ไม่มีเลย...”

(พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณศาลาดุสิดาลัยวันที่๔ธันวาคม๒๕๔๑)

“...พอเพียงมีความหมายกว้างขวางยิ่งกว่านี้อีกคือคาว่าพอก็พอ

เพียงนี้ก็พอแค่นั้นเองคนเราถ้าพอในความต้องการก็มีความโลภน้อย เมื่อมี

ความโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอื่นน้อยถ้าประเทศใดมีความคิดอันนี้มีความคิด

ว่าทาอะไรต้องพอเพียงหมายความว่าพอประมาณซื่อตรงไม่โลภอย่างมาก

คนเราก็อยู่เป็นสุขพอเพียงนี้อาจจะมีมากอาจจะมีของหรูหราก็ได้แต่ว่าต้อง

ไม่ไปเบียดเบียนคนอื่น...”

(พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณศาลาดุสิดาลัยวันที่๔ธันวาคม๒๕๔๑)

“...เมื่อไฟดับหากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไม่เต็มที่ถ้าเรามีเครื่องปั่นไฟ

ก็ใช้ปั่นไฟหรือถ้าขั้นโบราณกว่ามืดก็จุดเทียนคือมีทางที่จะแก้ปัญหาเสมอ

ฉะนั้นเศรษฐกิจพอเพียงก็มีเป็นขั้นๆ แต่จะบอกว่าเศรษฐกิจพอเพียงนี้

Page 15:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

13

ให้พอเพียงเฉพาะตัวเองร้อยเปอร์เซ็นต์นี่เป็นสิ่งทาไม่ได้จะต้องมีการแลกเปลี่ยน

ต้องมีการช่วยกันถ้ามีการช่วยกันแลกเปลี่ยนกันก็ไม่ใช่พอเพียงแล้วแต่ว่า

พอเพียงในทฤษฎีในหลวงนี้คือให้สามารถที่จะดาเนินงานได้...”

(พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณศาลาดุสิดาลัยวันที่๒๓ธันวาคม๒๕๔๒)

“...โครงการต่างๆหรือเศรษฐกิจที่ใหญ่ต้องมีความสอดคล้องกันดีที่

ไม่ใช่เหมือนทฤษฎีใหม่ที่ใช้ที่ดินเพียง๑๕ไร่และสามารถที่จะปลูกข้าวพอกิน

กิจการนี้ใหญ่กว่าแต่ก็เป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกันคนไม่เข้าใจว่ากิจการ

ใหญ่ๆ เหมือนสร้างเขื่อนป่าสักก็เป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน เขานึกว่า

เป็นเศรษฐกิจสมัยใหม่เป็นเศรษฐกิจที่ห่างไกลจากเศรษฐกิจพอเพียงแต่ที่จริง

แล้วเป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน...”

(พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณศาลาดุสิดาลัยวันที่๒๓ธันวาคม๒๕๔๒)

“...ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียงความหมายคือทาอะไรให้เหมาะสมกับฐานะ

ของตัวเองคือทาจากรายได้๒๐๐-๓๐๐บาทขึ้นไปเป็นสองหมื่นสามหมื่นบาท

คนชอบเอาคาพูดของฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจ

พอเพียงคือทาเป็นSelf-Sufficiencyมันไม่ใช่ความหมายไม่ใช่แบบที่ฉันคิด

ที่ฉันคิดคือเป็นSelf-SufficiencyofEconomyเช่นถ้าเขาต้องการดูทีวีก็ควร

ให้เขามีดูไม่ใช่ไปจากัดเขาไม่ให้ซื้อทีวีดู เขาต้องการดูเพื่อความสนุกสนาน

ในหมู่บ้านไกลๆที่ฉันไป เขามีทีวีดูแต่ใช้แบตเตอรี่ เขาไม่มีไฟฟ้าแต่ถ้า

Sufficiencyนั้นมีทีวีเขาฟุ่มเฟือย เปรียบเสมือนคนไม่มีสตางค์ไปตัดสูทใส่

และยังใส่เนคไทเวอร์ซาเช่อันนี้ก็เกินไป...”

(พระตาหนักเปี่ยมสุขวังไกลกังวล๑๗มกราคม๒๕๔๔)

Page 16:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

14

การวางแผนการเงินด้วยศาสตร์ของพระราชา

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นศาสตร์ที่พระบาทสมเด็จ

พระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงพระราชด�าริขึ้น

นับว่าเป็นศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ของมวลมนุษยชาติ

เป็นศาสตร์ที่สามารถน�าไปประยุกต์ใช้ได้ในทุกเรื่อง

Page 17:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

15

เศรษฐกิจพอเพียง

กราบพระบาทราชสดุดีภูมีสยาม เรืองพระนามทุกคามเขตวิเศษแสน

ภูมิพลภูมิผลประทานพระผ่านแดน ปราชญ์ผืนแผ่นดินแคว้นนี้ศักดิ์ศรีไทย

ธทรงมอบรอบคอบคิดชีวิตเอื้อ นิกรเพื่อช่วยเหลือตนพ้นหลงใหล

ดารงตัวไม่มัวหม่นจึงพ้นภัย หน้าสดใสใจสดชื่นเริงรื่นดี

เพราะชีวีได้มีหลักประจักษ์จิต เศรษฐกิจคิดพอเพียงเคียงวิถี

พระทรงไทยให้วิชาค่ามากมี ประยุกต์ดีทุกที่ทางวางตารา

พอประมาณท่านวางหลักตระหนักรู้ พิเคราะห์ดูอยู่สาคัญหมั่นศึกษา

ไม่ฟุ้งเฟ้อเผลอปล่อยจิตหลงอวิชชา จะก้าวหน้าพาดารงเดินตรงทาง

มีเหตุผลรู้ค้นคว้าหาประกอบ เกิดรอบคอบชอบธรรมชัดไม่ขัดขวาง

ภูมิคุ้มกันรู้ทันเสี่ยงเลี่ยงอับปาง พร้อมสามอย่างทางพอเพียงเรียบเรียงดล

ใช้ความรู้ปูพื้นฐานงานทุกสิ่ง สาคัญยิ่งอิงคุณธรรมน้อมนาผล

มหากษัตริย์บัญญัติกรองเพื่อผองชน ล้าค่าล้นเพื่อคนไทยให้พอเพียง

สันติกีระนันทน์

๖พฤษภาคม๒๕๖๐

Page 18:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

16

การวางแผนการเงินด้วยศาสตร์ของพระราชา

ศาสตร์ของพระราชาว่าด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๐๑

Page 19:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

17

กรำบแทบพระบำท

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

มหิตลาธิเบศรรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร

สยามินทราธิราชบรมนาถบพิตร

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙แห่งราชวงศ์จักรี

ประเทศไทยเป็นประเทศที่นับได้ว่าโชคดีที่สุดในโลกไม่ใช่เพราะเป็น

ประเทศที่มีความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจสูงสุดของโลกไม่ใช่เพราะเป็นประเทศที่มี

ขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุดในโลก ไม่ใช่เพราะเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุด

ในโลกแต่หากจะนับว่าเป็นประเทศที่มีความสงบสุขก็อาจจะกล่าวได้ว่าเป็น

ประเทศในลาดับต้นๆที่ประชากรของประเทศไทยมีความสงบสุขเป็นอย่างดี

หากจะนับเรื่องความร่ารวยมั่งคั่งที่วัดกันด้วยตัววัดทางเศรษฐกิจที่นิยมมาก

ที่สุดในโลกคือผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศหรือภาษาอังกฤษเรียกว่าGross

DomesticProduct(GDP)ประเทศไทยไม่ได้เป็นประเทศที่มีGDPในระดับ

ที่สูงมากนักแต่ก็ต้องยอมรับว่าประชากรไทยนั้นไม่ได้ลาบากยากเข็ญอดมื้อ

กินมื้อแบบประชากรในหลายประเทศและเราก็มีคาที่ติดปากมาแต่โบราณกาล

ว่า“ในน้ามีปลา ในนามีข้าว”สิ่งเหล่านี้แม้จะนับว่าเป็นโชคดีของประเทศไทย

Page 20:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

18

ศาสตร์ของพระราชาว่าด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง๐๑

ที่ตั้งอยู่ในชัยภูมิที่เอื้ออานวยให้พรั่งพร้อมด้วยทรัพยากรธรรมชาติและอาหาร

การกินที่แม้จะไม่ได้ร่ารวยเงินทองก็แน่ใจได้ว่าประชากรชาวไทยจะไม่อดตาย

เพราะมีอาหารที่อาจจะไม่จาเป็นต้องใช้เงินทองซื้อหาแต่สิ่งที่นับว่าเป็นโชคดี

ที่สุดของคนไทยก็คือ เราเป็นประเทศที่มีพระมหากษัตริย์ที่ดีที่สุดในโลก เป็น

พระมหากษัตริย์ที่ทรงงานหนักเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้พสกนิกรของ

พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระอัจฉริยภาพในทุกๆด้านไม่ว่าจะเป็นศิลปะ

ซึ่งประจักษ์ได้จากผลงานศิลปะหลากหลายแขนงไม่ว่าจะเป็นภาพวาดดนตรี

ซึ่งในเรื่องดนตรีนั้น ได้รับการยอมรับพระอัจฉริยภาพไม่เพียงในระดับ

ประเทศไทยแต่เป็นระดับโลกนอกจากนั้นแล้วก็ยังทรงเป็นพระมหากษัตริย์

นักกีฬาที่มีน้าใจเป็นนักกีฬาและมีความซื่อสัตย์ในเกมที่เป็นตัวอย่างให้กับ

ทุกคนไม่ว่าจะเป็นในยุคก่อนยุคปัจจุบันและยุคต่อไปในอนาคตนอกจาก

ทรงเป็นศิลปิน เป็นนักกีฬาที่มีความสามารถอย่างสูงแล้วสิ่งที่ไม่น่าเชื่อว่า

พระองค์ยังทรงมีพระอัจฉริยภาพในวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์อย่างน่าอัศจรรย์

พระองค์ได้ฝากผลงานไว้ให้ไม่เพียงคนไทยเท่านั้นที่จะใช้ค้นคว้าวิจัยศึกษา

หลักเศรษฐศาสตร์สาคัญที่พระองค์ได้ทรงวางรากฐานเอาไว้แต่ยังเป็นงานที่

นักเศรษฐศาสตร์ทั่วโลกสามารถนาไปวิจัยค้นคว้าศึกษาต่อยอดได้อย่างไม่

รู้จบ และไม่เพียงแต่นักเศรษฐศาสตร์ควรจะอัศจรรย์ใจกับผลงานในด้าน

เศรษฐศาสตร์ของพระองค์เท่านั้นนักวิชาการด้านอื่นๆก็ยังอาจจะประยุกต์เอา

หลักเศรษฐศาสตร์ที่พระองค์ได้ทรงวางรากฐานไว้(นอกเหนือจากเศรษฐศาสตร์

กระแสหลักหรือmainstreameconomicsที่เราคุ้นเคยกันดี)นาไปใช้ในวิชาการ

ด้านอื่นๆได้อีกหลากหลายและไม่เพียงแต่เป็นผลงานวิชาการเท่านั้นที่สาคัญ

ที่สุดคือ เป็นหลักที่สามารถนาไปใช้งานได้จริงซึ่งนับเป็นประโยชน์สาหรับ

นักปฏิบัติ(practitioner)อย่างลึกซึ้งหลักเศรษฐศาสตร์ที่กล่าวถึงนั้นก็คือ

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(sufficiencyeconomy)

Page 21:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

19

เศรษฐกิจพอเพียง

“เศรษฐกิจพอเพียง”เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาล

ที่๙ได้พระราชทานพระราชดาริชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิตแก่พสกนิกร

ชาวไทยมาโดยตลอดยาวนานกว่า๓๐ปีตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทาง

เศรษฐกิจและเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและ

สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความ

เปลี่ยนแปลงต่างๆที่เรียกว่า“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”๑นั้นเพราะแนวคิด

ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙พระราชทานไว้ให้นั้นเป็นความรู้

อันประเสริฐที่มิได้มีนัยเพียงด้านเศรษฐศาสตร์เท่านั้นแต่องค์ประกอบทั้งหมด

ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้นสามารถประยุกต์ได้กับศาสตร์อื่นๆด้วย

ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของ

ประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัวระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐทั้ง

ในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการ

พัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ความพอเพียงหมายถึง

ความพอประมาณความมีเหตุผลรวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกัน

ในตัวที่ดีพอสมควรต่อการกระทบใดๆอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายใน

ภายนอกทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ความรอบคอบและความระมัดระวัง

อย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุก

ขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ

โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐนักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึก

ในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสมดาเนินชีวิต

๑คาว่าปรัชญามีที่มาจากภาษาสันสกฤตหมายถึงความรู้อันประเสริฐโดยมีรากศัพท์มาจากคาว่าปฺร ที่แปลว่าประเสริฐกับชฺญาซึ่งรวมความหมายว่าความรู้อันประเสริฐ

Page 22:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

20

ศาสตร์ของพระราชาว่าด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง๐๑

ด้วยความอดทนความเพียรมีสติปัญญาและความรอบคอบเพื่อให้สมดุลและ

พร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ

สังคมสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

ควำมหมำยของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้วยคุณสมบัติ ดังนี้ • ความพอประมาณ

หมายถึงความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียน

ตนเองและผู้อื่นเช่นการผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ

• ความมีเหตุผล

หมายถึงการตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไป

อย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่

คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นๆอย่างรอบคอบ

• ภูมิคุ้มกัน

หมายถึงการเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้าน

ต่างๆที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆที่คาดว่า

จะเกิดขึ้นในอนาคต

โดยมีเงื่อนไข ของกำรตัดสินใจและด�ำเนินกิจกรรมต่ำงๆให้อยู่ในระดับพอเพียง ๒ ประกำร ดังนี้ • เงื่อนไขความรู้

ประกอบด้วยความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆที่เกี่ยวข้องรอบด้าน

ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกันเพื่อประกอบ

การวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ

• เงื่อนไขคุณธรรม

ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรมมีความ

ซื่อสัตย์สุจริตมีความอดทนมีความเพียรและใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต

Page 23:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

21

รูปที่ ๑องค์ประกอบหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียงกับเกษตรทฤษฎีใหม่เมื่อกล่าวถึงเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นพระอัจฉริยภาพของพระบาท

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙ก็จะนึกถึงเรื่องเกษตรทฤษฎีใหม่ขึ้นมาพร้อมๆ

กันและหลายครั้งที่คิดว่าทั้งสองเรื่องนี้เป็นเรื่องเดียวกันซึ่งแท้ที่จริงแล้ว

เศรษฐกิจพอเพียงนั้นเป็นหลักปรัชญาที่มีพื้นฐานมาจากการวิเคราะห์หาหนทาง

แก้ไขปัญหาใดๆก็ได้ไม่จากัดเพียงเรื่องการทาการเกษตรเท่านั้น(ยกตัวอย่าง

คือในการลงทุนภาคธุรกิจจริงหรือการลงทุนในสินทรัพย์ทางการเงินหากเข้าใจ

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแล้วก็จะสามารถประยุกต์หลักปรัชญาดังกล่าว

มาปรับใช้เพื่อการตัดสินใจในการลงทุนนั้นได้ด้วย)เพียงแต่แนวคิดเรื่องเกษตร

ทฤษฎีใหม่นั้น เป็น “งานประยุกต์”หรือapplicationที่นาเอาหลักปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียงที่ประกอบไปด้วย๓ห่วง๒เงื่อนไขมาประยุกต์ในการทา

การเกษตรเพื่อเลี้ยงชีวิตอย่างพอเพียงและสมดุลเช่นเกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นต้น

แนะนาว่าแบ่งพื้นที่ออกเป็น๔ส่วนโดยมีอัตราส่วน๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ซึ่งก็คือ

พอประมาณความรู�

คุณธรรมมีเหตุผล มีภูมิคุ�มกัน

Page 24:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

22

ศาสตร์ของพระราชาว่าด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง๐๑

การแบ่งที่ดินเพื่อการขุดสระเก็บกักน้าฝนในฤดูฝนไว้ใช้ทาการเกษตรนับเป็น

ส่วนที่หนึ่งสาหรับที่ดินส่วนที่สองก็ใช้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็นอาหารประจาวัน

สาหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอดปีที่ดินส่วนที่สามใช้ปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น

พืชผักพืชไร่พืชสมุนไพรและพืชอื่นๆ เพื่อใช้เป็นอาหารและยารักษาโรค

และหากเหลือจากการบริโภคก็นาไปจาหน่ายหารายได้และที่ดินส่วนที่สี่

ส่วนสุดท้ายใช้เป็นที่อยู่อาศัยเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนอื่นๆที่จาเป็น

นอกจากเกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นที่หนึ่งที่ได้ยกตัวอย่างไปแล้วนั้นก็จะมี

เกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นที่สองซึ่งเป็นการรวมพลังของเกษตรกร โดยอาจจะจัด

เป็นกลุ่มสหกรณ์ในการดาเนินการเกษตรและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องต่างๆได้แก่

การผลิตการตลาดการเป็นอยู่สวัสดิการการศึกษาสังคมและศาสนาซึ่งจะ

เห็นได้ว่า เกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นที่สองนี้ เป็นการประยุกต์แนวคิดหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีความซับซ้อนมากขึ้นกว่าเกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นที่หนึ่ง

ขั้นที่สามของเกษตรทฤษฎีใหม่ก็จะมีความซับซ้อนมากขึ้นคือมีแนวคิด

ประยุกต์การดาเนินธุรกิจเข้ามาประกอบต่อยอดการดาเนินงานเกษตรขั้น

พื้นฐาน(ขั้นที่๑และขั้นที่๒)โดยในขั้นที่สามนี้ก็เป็นการพึ่งพิงแหล่งเงินทุน

แหล่งต่างๆเพื่อขยายการดาเนินงานการเกษตรที่มีความก้าวหน้าเติบโตขึ้นตาม

ลาดับและนามาสู่ความอยู่ดีกินดีตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ต้องไม่ลืมว่าเกษตรทฤษฎีใหม่ทั้ง๓ขั้นนั้นอยู่บนพื้นฐานหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียงที่ประกอบไปด้วย๓ห่วง๒ เงื่อนไขก็จะทาให้เกิด

ความปลอดภัยลดความเสี่ยงในการดาเนินงานในทุกระดับของงานประยุกต์

เกษตรทฤษฎีใหม่ทั้งสิ้น

Page 25:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

23

รูปที่ ๒กำรแบ่งพื้นที่ท�ำกินตำมหลักเกษตรทฤษฎีใหม่

ควำมพอประมำณเมื่อเริ่มต้นพูดถึงเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ก็ต้องทาความรู้จักกับ

องค์ประกอบแรกของหลักปรัชญานี้ ได้แก่ความพอประมาณอย่างไรก็ดี

ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนี้ถึงแม้ว่าจะมีองค์ประกอบ๓อย่างที่

สาคัญและประกอบไปด้วย๒ เงื่อนไขการใช้งานในแต่ละครั้งก็ต้องใช้งาน

แบบ“องค์รวม”กล่าวคือไม่สามารถจะแยกองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่ง

ออกมาใช้งานเดี่ยวๆ ได้ต้องมีการวิเคราะห์วางแผนเพื่อใช้งานโดยยึดถือ

องค์ประกอบทั้ง๓และเงื่อนไขทั้ง๒ไปในคราวเดียวกันจึงจะเกิดผลสมบูรณ์

ถึงแม้ว่าการทาความเข้าใจองค์ประกอบทั้ง๓และเงื่อนไขทั้ง๒จะสามารถ

ทาความเข้าใจแยกส่วนทีละเรื่องได้ก็ตาม

เรื่องความพอประมาณนั้นหมายถึงความพอดีไม่มากเกินไปไม่น้อย

เกินไปและประเด็นสาคัญที่เป็นความหมายเฉพาะของความพอประมาณนี้ก็คือ

เฉลี่ยพ�้นที่ถือครอง ๑๕ ไร�๓๐ : ๓๐ : ๓๐ : ๑๐

แหล�งน้ำ ๓๐% = ๔.๕ ไร�พ�ชสวนพ�ชไร� ๓๐% = ๔.๕ ไร�

ที่อยู�อาศัย ๑๐% = ๑.๕ ไร�นาข�าว ๓๐% = ๔.๕ ไร�

ที่มา : มูลนิธิชัยพัฒนา

๓๐%

๓๐% ๑๐%

๓๐%

Page 26:  · 2018-04-23 · ให้แผนงานต่างๆที่ด า ... ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง

24

ศาสตร์ของพระราชาว่าด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง๐๑

ไม่เบียดเบียนตนเองและไม่เบียดเบียนผู้อื่นซึ่งที่กล่าวกันว่าการไม่เบียดเบียน

เป็นประเด็นสาคัญก็เพราะว่าในชีวิตของผู้คนทั่วไปนั้นอาจจะทาอะไรก็ตาม

ไม่ว่าจะเป็นการทามาหาเลี้ยงชีพหรือเป็นการดารงชีวิตทั่วๆไปนั้นอาจจะมี

ความ“เกินไป”หรือ“เกินพอดี”ซึ่งเมื่อมีความ“เกิน”ก็หมายถึงความไม่พอ

ประมาณและจะเป็นเหตุของการเบียดเบียนตนเองหรือเบียดเบียนคนอื่น

อย่างน้อยที่สุดก็ทาให้ความสุขที่อาจจะมีนั้นขาดหายไป

ในเรื่องนี้อาจจะนึกถึงคาสอนในพระพุทธศาสนาที่สอนเรื่องทางสายกลาง

หรือที่เรียกว่ามัชฌิมาปฏิปทาซึ่งเป็นทางแห่งความหลุดพ้นหรือความสาเร็จ

ดังนั้นการยึดหลักเรื่องความพอประมาณก็จะนาไปสู่การไม่เบียดเบียนใคร

(แม้แต่ตนเอง)และเป็นหนทางนาไปสู่ความสาเร็จ เพราะเมื่อไรก็ตามที่เกิด

การเบียดเบียนตนเองหรือผู้อื่นแล้วก็อาจจะทาให้เป็นอุปสรรคของการทางาน

อย่างต่อเนื่องที่จะนาไปสู่ความสาเร็จ

ตัวอย่างเช่นนักวิ่งระยะไกลหรือนักวิ่งมาราธอนนั้นก็จะต้องรู้เรี่ยวแรง

ของตนเองและคานวณระยะเวลาที่จะวิ่งให้ถึงเส้นชัยให้เหมาะกับเรี่ยวแรง

ของตนเองก็จะเกิดประโยชน์จากการวิ่งนั้นเต็มที่ในแง่ของการออกกาลังกาย

แต่ถ้าหากนักวิ่งต้องการที่จะทาความเร็วมากเกินกว่าความแข็งแกร่ง

ความทนทานของร่างกายของตนเองแทนที่จะเกิดประโยชน์จากการวิ่งก็จะเกิด

โทษเพราะอาจจะทาให้ร่างกายของตนเองนั้นบาดเจ็บหรืออย่างน้อยที่สุดก็จะ

ทรุดโทรมซึ่งก็อาจจะเป็นตัวอย่างของ “ความพอประมาณ”ที่จะไม่เบียดเบียน

ตนเองหรือเบียดเบียนผู้อื่น

ควำมมีเหตุผลเรื่องความพอประมาณนั้นเป็นแนวคิดสอดคล้องกับเรื่องทางสายกลาง

และเรื่องทางสายกลางนี้สาหรับแต่ละบุคคลก็อาจจะมี“ทางสายกลาง”หรือ

“ความพอประมาณ”ที่มีรายละเอียดปลีกย่อยที่แตกต่างกัน เนื่องจากแต่ละ

บุคคลนั้นมีเหตุและปัจจัยแตกต่างหลากหลายความพอประมาณของแต่ละ