1ทรงกลมท้องฟ้า (celestial sphere)...

47
1 ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) คือทรงกลมสมมุติ ทีÉหุ้มห่อโลกอยู่ มี รัศมียาวถึงอนันต์ นับออกจากจุด ศูนย์กลางของโลก วัตถุท้องฟ้ า ทัÊงหมดติดอยู่กับ ทรงกลมท้องฟ้ านีÊ

Upload: panupan-kongsai

Post on 29-Jul-2015

239 views

Category:

Documents


7 download

TRANSCRIPT

Page 1: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

1

ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere)

คือทรงกลมสมมุติ

ทีหุ ้มห่อโลกอยู่ มี

ร ัศมียาวถึงอนันต์

นับออกจากจุด

ศูนย์กลางของโลก

วัตถุท้องฟ้า

ทั งหมดติดอยู่กับ

ทรงกลมท้องฟ้านี

Page 2: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

2

การหมุนรอบตัวเองของโลก

โลกหมุนรอบตัวเอง

จากทิศตะวันตกไป

ยังทิศตะวันออก ได้

๑ รอบในช่วงเวลา

๒๔ ชั วโมง

Page 3: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

3

ทําให้เห็นวัตถุท้องฟ้าเคลือนทีไปบนทรงกลมท้องฟ้า

โดยขึนจากขอบฟ้าทางทิศตะวันออก และลับขอบฟ้าทางทิศตะวันตก

Page 4: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

4

ระบบพิกัดบนทรงกลมท้องฟ้า(Coordinate Systems)

ตําแหน่งของวัตถุท้องฟ้า ณ เวลาใด ๆ บนทรงกลมท้องฟ้า กําหนด

ได้ด้วยค่าพิกัดใน ๒ ระบบคือ

๑. ระบบพิกัดศูนย์สูตรฟ้า (Celestial Equator System of Coordinate)

๒. ระบบพิกัดขอบฟ้า (Horizontal System of Coordinate)

Page 5: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

5

ระบบพิกัด

(Coordinate System)

คือระบบทีใช้สําหรับกําหนดจุดหรือตําแหน่งเฉพาะใด ๆ ด้วย

ค่าพิกัดตัวเลข ทีได้จากการวัดค่าจําเพาะ ระบบพิกัดทีรู้จ ัก

และใช้กันแพร่หลาย เช่น

๑. ระบบพิกัดคาร์ธีเซียน (Cartesian Coordinate System)

๒. ระบบพิกัดขั ว (Polar Coordinate System)

Page 6: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

6

ระบบพิกัดคาร์ธีเซียน

(Cartesian Coordinate System)

คือระบบพิกัดฉาก

เลขคู่อันดับแสดง

พิกัดของจุด

จุดศูนย์กําเนิด

Page 7: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

7

ระบบพิกัดขั ว

(Polar Coordinate System)

รัศมี

มุม

เลขคู่อันดับ

จุดกําเนิด

Page 8: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

8

ระบบพิกัดศูนย์สูตรฟ้า

(Celestial Equator System of Coordinate)

คือระบบพิกัดทีบอกตําแหน่งของวัตถุท้องฟ้าบนทรง

กลมท้องฟ้าด้วยค่า ๒ ค่าคือ

๑. ดิคลิเนชั น (Declination - d)

๒. มุมเวลากรีนิช (Greenwich Hour angle – GHA)

เป็นระบบพิกัดทีใช้เส้นศูนย์สูตรฟ้าเป็นหลักอ้างอิง

Page 9: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

9

นิยามศัพท์ทีเกียวข้อง

แกนท้องฟ้า (Celestial Axis)

เส้นสมมุติทียืดจากแกนโลก

ออกไป จนถึงทรงกลมท้องฟ้า

ซึงทรงกลมท้องฟ้าจะหมุนรอบ

แกนนี

แกนท้องฟ้า

Page 10: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

10

ขั วท้องฟ้า (Celestial Poles)

คือจุดปลายสุดทั งสองข้าง

ของแกนท้องฟ้า

ขั วท้องฟ้าเหนือ (North Celestial Pole)

ขั วท้องฟ้าใต้ (South Celestial Pole)

Page 11: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

11

เมริเดียนท้องฟ้า (Celestial

Meridian) คือวงใหญ่บนทรง

กลมท้องฟ้า ซึงเกิดจากการ

ยืดเส้นเมริเดียนของโลก

ออกไปตัดทรงกลมท้องฟ้า

เส้นเมริเดียนท้องฟ้านีถ้าใช้

เป็นหลักในการวัดเวลา

เรียกอีกชือหนึงว่า วงเวลา

(Hour Circle)เมริเดียนท้องฟ้า

Page 12: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

12

เส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า

(Celestial Equator)

คือวงใหญ่บนทรง

กลมท้องฟ้า ซึงเกิด

จากการยืดเส้นศูนย์

สูตรโลกไปตัดทรง

กลมท้องฟ้า

เส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า

เส้นศูนย์สูตรของโลก

Page 13: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

13

วงขนานดิคลิเนชั น

(Parallels of Declination)

คือวงเล็กบนทรงกลมท้องฟ้า

ทีเกิดจากการยืดวงขาน

ละติจูดของโลกไปตัดทรง

กลมท้องฟ้า

วงขนานดิคลิเนชั น

ทรงกลมท้องฟ้า

Page 14: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

14

ดิคลิเนชั น (Declination) คือมุมทีจุดศูนย์กลางทรงกลมท้องฟ้า

นับจากเส้นศูนย์สูตรฟ้า วัดตามแนวเมริเดียนท้องฟ้าไปทางเหนือหรือใต้จนถึงวัตถุท้องฟ้า

เริมจากศูนย์ทีเส้นศูนย์สูตรฟ้า ไป

สุดที ๙๐ องศาทีขั วท้องฟ้าทั งสอง

วัดไปทางเหนือกํากับด้วยอักษร E

วัดไปทางใต้กํากับด้วยอักษร W

Page 15: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

15

มุมเวลา (Hour Angle) คือระยะ

มุมทีขั วท้องฟ้า หรือขอบเส้นศูนย์

สูตรทีอยู่ระหว่างเมริเดียนท้องฟ้า

๒ เส้น

มุมเวลา

มุมเวลา

Page 16: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

16

มุมเวลาตําบลที

(Local Hour Angle – LHA)

คือระยะมุมระหว่างเม

ริเดียนท้องฟ้าทีผ่านผู ้ตรวจ

กับเมริเดียนท้องฟ้าทีผ่าน

วัตถุท้องฟ้า โดยวัดไปทาง

ทิศตะวันตกทางเดียว มีค่า

ตั งแต่ ๐ องศา ถึง ๓๖๐

องศา

Page 17: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

17

มุมเวลากรีนิช

(Greenwich Hour Angle – GHA)

ระยะมุมทีวัดจากเมริเดียน

ท้องฟ้ากรีนิชไปทาง

ตะวันตกจนถึงเมริเดียน

ท้องฟ้าทีผ่านวัตถุท้องฟ้า

จาก ๐ องศา ถึง ๓๖๐ องศา

เมริเดียนท้องฟ้ากรีนิช

มุมเวลากรีนิช

GHA ~ LHA = ผู้ตรวจ

Page 18: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

18

มุมเมริเดียน

(Meridian Angle – t)

คือ LHA ซึงเป็นมุมเล็ก นับ

จากวงเวลาซึงผ่านผู้ตรวจ

จาก ๐ องศา ถึง ๑๘๐ องศา

ไปทางตะวันออก หรือ

ตะวันตก จนถึงวงเวลาทีผ่าน

วัตถุท้องฟ้า ใช้อักษร ‘t’

ถ้าวัตถุท้องฟ้าอยู่ทางทิศตะวันออกใช้อักษร E

ถ้าวัตถุท้องฟ้าอยู่ทางทิศตะวันตกใช้อักษร W

Page 19: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

19

ตัวอย่าง ดวงอาทิตย์มีค่า LHA 316 19‘.5 จงหาว่า t มีค่าเท่าใด

Page 20: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

20

จุดราศีเมษ (First point of aries)

คือจุดทีวงอิคลิปติกตัด

กับเส้นศูนย์สูตรฟ้า

ตรงด้านทีดวงอาทิตย์

เคลือนตัวจากใต้ไป

เหนือเรียกได้อีกอย่าง

ว่า Vernal Equinox ใช้

อักษร เป็นสัญญลักษณ์

จุดราศีเมษ

Page 21: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

21

มุมเวลาไซเดอเรียล

(Sidereal Hour Angle – SHA)

คือมุมทีขั วท้องฟ้าหรือขอบ

เส้นศูนย์สูตรฟ้าระหว่างวง

เวลาทีผ่านจุดราศีเมษ (กับวงเวลาทีผ่านวัตถุท้องฟ้า

วัดไปทางตะวันตกทางเดียว

จาก ๐ องศา ถึง ๓๖๐ องศา

มุมเวลาไซเดอเรียล

มุมเวลาไซเดอเรียล

จุดราศีเมษ

Page 22: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

22

ไรน์แอสเซนชั น

(Right Ascension)

คือระยะมุมซึงกลับทางกับ

SHA โดยวัดไปทางทิศ

ตะวันออกทางเดียวไป

จนถึงวงเวลาทีผ่านวัตถุ

ท้องฟ้า นับจาก ๐ ชั วโมง

ถึง ๒๔ ชั วโมง

Page 23: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

23

ระบบพิกัดศูนย์

สูตรท้องฟ้าบอก

พิกัดของวัตถุ

ท้องฟ้าด้วยค่า มุม

เวลากรีนิช (GHA)

และ ดิคลิเนชั น (d)

Page 24: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

24

ภาพรวม

ระบบพิกัดศูนย์สูตร

ท้องฟ้า

Page 25: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

25

GHA= GHA + SHA

Page 26: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

26

มุมชนิดต่าง ๆ บน

ระบบพิกัดศูนย์สูตร

ท้องฟ้า

Page 27: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

27

ระบบพิกัดขอบฟ้า

(Horizontal System of Coordinate)

คือระบบพิกัดทีบอกตําแหน่งของวัตถุท้องฟ้าบนทรง

กลมท้องฟ้าด้วยค่า ๒ ค่าคือ

๑. มุมสูง (Altitude - Ho)

๒. แอซิมัท (Azimuth – Zn)

เป็นระบบพิกัดทีขึนอยู่กับตําบลทีของผู ้ตรวจ โดยใช้

ขอบฟ้าท้องฟ้าของผู ้ตรวจเป็นหลัก

Page 28: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

28

นิยามศัพท์ทีเกียวข้อง

เซนิท (Zenith)

จุดบนทรงกลมท้องฟ้า ที

เกิดจากการยืดเส้นตรง

จากจุดศูนย์กลางโลก

ผ่านผู้ตรวจไปจรดทรง

กลมท้องฟ้า

เซนิท คือตําบลทีของ

ผู้ตรวจบนทรงกลมท้องฟ้า

Page 29: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

29

เนเดอร ์(Nadir)

คือจุดบนทรงกลมท้องฟ้าที

ดิงจากใต้เท้าผู ้ตรวจ ผ่าน

จุดศูนย์กลางโลกไปจรด

ทรงกลมท้องฟ้า ด้านตรง

ข้ามกับเซนิท

Page 30: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

30

ขอบฟ้าท้องฟ้า

(Celestial Horizon)

คือวงใหญ่บนทรงกลมท้องฟ้า ทีมี

พืนผ่านจุดศูนย์กลางโลก และตั ง

ได้ฉากกับเส้นตรงทีต่อระหว่างจุด

เซนิท และ เนเดอร์

ขอบฟ้าท้องฟ้า

Page 31: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

31

ขอบฟ้าท้องฟ้า (Celestial Horizon)

Page 32: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

32

ขอบฟ้าจริง

(True or Sensible Horizon)

คือวงเล็กบนทรงกลมท้องฟ้า ทีมี

พืนผ่านสายตาผู้ตรวจ และขนาน

กับพืนของขอบฟ้าท้องฟ้า

ขอบฟ้าจริง

Page 33: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

33

ขอบฟ้าเห็นหรือขอบฟ้าทะเล

(Visible or Sea Horizon)

คือแนวเส้นทีนํากับฟ้าเห็น

บรรจบกัน ปรากฏเป็นวงกลมรอบตัว

ผู้ตรวจ เป็นวงเล็กทีมีพืนขนานกับขอบ

ฟ้าท้องฟ้า และเปลียนแปลงไปตาม

ความสูงของผู้ตรวจ และสภาพ

บรรยากาศ

การวัดความสูงวัตถุท้องฟ้า ใช้

ขอบฟ้าเห็นเป็นเส้นอ้างอิงขอบฟ้าเห็น

Page 34: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

34

ขอบฟ้าจริง

ขอบฟ้าทะเล

Dip

คือค่าแก้เพือให้ค่า

ความสูงทีวัดจากขอบ

ฟ้าทะเล (hs) เป็น

ความสูงทีวัดได้จาก

ขอบฟ้าจริง (ha)

Page 35: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

35

ขอบฟ้าจีออยด ์

(Geoidal Horizon)

คือพืนขอบฟ้าทีมีพืนขนานกับ

ขอบฟ้าจริง แต่อยู่ในระดับเดียวกันกับ

ผิวหน้านําทะเล

ขอบฟ้าจีออยด์

Page 36: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

36

ขอบฟ้าเรขาคณิต

(Geometrical Horizon)

คือแนวเส้นตรงทีสัมผัสกับขอบ

โค้งผิวโลก เป็นวงเล็กทีมีพืนขนานกับ

ขอบฟ้าท้องฟ้า และแตกต่างกับขอบฟ้า

ทะเลเนืองจากการหักเหของแสง

ขอบฟ้าเรขาคณิต

Page 37: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

37

Parallax

ผู้ตรวจ

จุดศูนย์กลางโลก

Page 38: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

38

วงสูง (Vertical Circle)

คือวงใหญ่บนทรงกลม

ท้องฟ้าทีผ่านจุดเซนิท

และเนเดอร์

สูงวัตถุท้องฟ้า (Altitude)

คือมุมสูงทีวัดด้วยเครืองวัด

แดด จากขอบฟ้าทะเลไปตาม

วงสูงจนถึงวัตถุท้องฟ้า

Page 39: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

39

Prime Vertical คือวงสูงทีมีระนาบตังฉากกับเมริเดียนผู้ตรวจ

Prime Vertical

Page 40: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

40

แอซิมัท (Azimuth)

มุมทีเซนิท ทีวัดจากเมริเดียน

ท้องฟ้าผู้ตรวจไปจนถึงวงสูงที

ผ่านวัตถุท้องฟ้า

มุมแอซิมัท (Azimuth Angle – Az)

แอซิมัททีนับจากเหนือหรือใต้ ไปทาง

ตะวันออกหรือตะวันตก

แอซิมัทจริง (TrueAzimuth – Zn)

แอซิมัททีนับจากทิศเหนือไปทาง

ตะวันออกทางเดียวจนถึงวงสูงทีผ่าน

วัตถุท้องฟ้า

Page 41: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

41

แอมปลิจูด (Amplitude)

คือมุมทีเซนิทระหว่าง

Prime Vertical กับวง

สูงทีผ่านวัตถุท้งฟ้า

ขณะขึนหรือตกจาก

ขอบฟ้า

แอมปลิจูดค่าแอมปลิจูดนําหน้าด้วย

อักษร W หรือ E และปิดท้าย

ด้วยอักษร N หรือ S เช่น

E7N เป็นต้น

Page 42: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

42

ตัวอย่าง วัดแอมปลิจูดของดวงอาทิตย์ในตอนเย็นได้ W16 19‘.5 N จงหาว่า Zn มีค่าเท่าใด

Page 43: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

43

ตัวอย่าง วัดแอมปลิจูดของดวงอาทิตย์ในตอนเช้าได้ E 7S

จงหาว่า Zn มีค่าเท่าใด

Page 44: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

44

ระบบพิกัดขอบฟ้าระบุ

ตําแหน่งของวัตถุ

ท้องฟ้าด้วยค่า มุมสูง

(Ho) และแอซิมัท(Zn)

ของวัตถุท้องฟ้าZn

Ho

Page 45: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

45

รูปบนพืนระบบ

พิกัดขอบฟ้า

Page 46: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

46

รวมเส้นโครงพิกัด

๒ ระบบเข้าด้วยกัน

Page 47: 1ทรงกลมท้องฟ้า (Celestial Sphere) [โหมดความเข้ากันได้]

47

เกิดสามเหลียมดารา

ศาสตร์บนทรงกลม

ท้องฟ้า