1 2 paint bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท...

34
1 หลังจากที่สร้างโมเดลต่าง ขึ้นมาแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ การแต่งเติมโมเดลด้วยวัสดุและ สีสัน โดยการจัดการพื้นผิววัตถุ การใส่ข้อความ การเรียกใช้โมเดลจาก Components การเพิ่ม แสงเงา และหมอกเสมือนจริง เพื่อให้เกิดความสวยงามและน่าสนใจ เครื่องมือ Position Texture มีไว้สาหรับปรับตาแหน่ง ลวดลาย หรือภาพที่ใส่ในพื้นผิวให้กับ วัตถุ เพื่อให้ได้ตาแหน่งที่ต้องการ ดังนีการใช้ Fixed Pin Mode สร้างรูปที่ต้องการใส่ลายพื้นผิว 1 เลือกเครื่องมือ Paint Bucket เพื่อกาหนดลวดลาย 2

Upload: others

Post on 04-Jan-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

1

หลังจากท่ีสร้างโมเดลต่าง ๆ ขึ้นมาแล้ว ขัน้ตอนต่อไปคือ การแต่งเติมโมเดลด้วยวัสดุและสีสัน โดยการจัดการพ้ืนผิววัตถุ การใส่ข้อความ การเรียกใช้โมเดลจาก Components การเพ่ิม แสงเงา และหมอกเสมือนจริง เพ่ือให้เกิดความสวยงามและน่าสนใจ

เครื่องมือ Position Texture มีไว้ส าหรับปรับต าแหน่ง ลวดลาย หรือภาพท่ีใส่ในพ้ืนผิวให้กับ

วัตถุ เพ่ือให้ได้ต าแหน่งที่ต้องการ ดังนี้ การใช้ Fixed Pin Mode

สร้างรูปที่ต้องการใส่ลายพ้ืนผิว 1 เลือกเครื่องมือ Paint Bucket

เพ่ือก าหนดลวดลาย

2

Page 2: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

2

ในหน้าต่าง Materials เลือกลวดลาย ที่ต้องการ และคลิกเทลวดลาย

3 คลิกขวาเพ่ือเลือกเมนูบนพื้นผิวนั้น เลือกค าสั่ง Texture และเลือก Position เป็นการจัดต าแหน่งลวดลายพ้ืนผิว

4

จะมีหมุดปัก 4 มุม 4 สี หมุดเหล่านี้ใช้เพื่อปรับแต่งต าแหน่งของลวดลาย 4

1) Move : หมุดสีแดง ใช้เลื่อนต าแหน่งของ ลวดลาย 2) Scale/Rotate : หมุดสีเขียวใช้ปรับขนาด และหมุนต าแหน่งของลวดลาย 3) Scale/Shear : หมุดสีน าเงิน ใช้ปรับขนาด

และบิดรูปทรงของลวดลาย 4) Distort : หมุดสีเหลือง ใช้บิดรูปทรงของ

ลวดลาย แบบสี่เหลี่ยมคางหมู

Page 3: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

3

หมุดสีแดง สามารถเลื่อนจัดต าแหน่ง ของลวดลายให้ตรงกับรูปทรงได้

5 หมุดสีเขียว สามารถหมุนลวดลาย เพ่ือปรับทิศทางของลวดลายใหม่ได้

6

หมุดสีน้ าเงิน สามารถบิดลวดลายใน ลักษณะสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนได้

7 หมุดสีเหลือง สามารถบิดลวดลายใน ลักษณะสี่เหลี่ยมคางหมูได้

8

เมื่อปรับต าแหน่งลวดลายเสร็จแล้ว คลิกขวาบนพ้ืนผิว และเลือก Done

9 ผลของการปรับต าแหน่งลวดลาย 10

Page 4: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

4

การใช้ Free Pin Mode การปรับแต่งลวดลายโดยใช้ Free Pin Mode เป็นการปรับแต่งลวดลายแบบอิสระ ดังนี้

สร้างรูปทรงและก าหนดลวดลายด้วย เครื่องมือ Paint Bucket

1 คลิกขวาเลือกเมนู Texture และเลือก Position

2

จะมีหมุดปัก 4 มุม 4 สี ให้คลิกขวา ที่หมุดใดหมุดหนึ่ง เลือก Fixed Pins ให้ติ๊กเครื่องหมายถูกออก

3 หมุดทั้ง 4 จะไม่มีสี แต่เป็นหมุด ส าหรับปัก 4 มุมแทน

4

คลิกหมุดใดก็ได้ เพ่ือปรับต าแหน่ง ซึ่งจะท าให้การเลื่อน หมุน บิด อย่างอิสระ

5

Page 5: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

5

โดยการน าไฟล์ภาพเข้ามาใช้เพ่ือเป็นลวดลายให้กับวัตถุ ซึ่งจะก าหนดให้ลวดลายต่อเนื่องกัน

ในทุก ๆ ด้าน โดยสิ่งที่ต้องเตรียม คือ ไฟล์ภาพ และ รูปทรงสี่เหลี่ยม ดังนี้

เมื่อปรับต าแหน่งลวดลายเสร็จแล้ว คลิกขวาบนพ้ืนผิว และเลือก Done

6 ผลของการปรับลวดลายด้วยการใช้ Free Pin Mode

7

ก่อนปรับ หลังปรับ

น าภาพที่ต้องการใช้ เลือกเมนู File --> Import..

1

Page 6: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

6

เลือกไฟล์ที่ต้องการใช้ และคลิก Open เพ่ือน าเข้าชิ้นงาน 2

คลิกวางภาพบนต าแหน่งใดก็ได้ 3 คลิกขวาที่ภาพและเลือกค าสั่ง

Use As Material จากนั้นลบภาพ ในชิ้นงานออก

4

2. เลือกรูปภาพ

1. ช่อง File of type เลือกนามสกุลเป็นไฟล์ .Jpg

3. เลือก Use image ก าหนดคุณสมบัติ เป็นรูปภาพ

4. คลิกปุ่ม Open

Page 7: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

7

เมื่อคลิกหน้าต่าง Materials โดยเลือก เครื่องมือ Paint Bucket จะพบว่า ภาพของเราเป็นรายการหนึ่งที่อยู่ใน หมวด In model

5 เลือกภาพ Material และเทบน พ้ืนผิวของวัตถุ จะเป็นการก าหนด ลวดลายพ้ืนผิวเฉพาะด้านที่เท

6

คลิกขวาบนพ้ืนผิว และเลือก Texture และเลือก Position

7 เมื่อเข้ามาในโหมด Position แล้ว ให้คลิกขวาและเลือกค าสั่ง Done

8

Page 8: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

8

เครื่องมือ 3D Text เป็นเครื่องมือที่ใช้สร้างข้อความ 3 มิติ ซึ่งข้อความที่ได้นั้นจะมีลักษณะเป็นวัตถุ ซึ่งสามารถปรับแต่งรูปทรงได้เหมือนวัตถุประเภทอ่ืน ๆ เช่น การย้าย ปรับขนาด หมุน ใส่สีและลวดลายได้ ดังนี้

ขณะที่เครื่องมือเป็น Paint Bucket อยู่นั้น กดปุ่ม Alt และ คลิกบนผิววัตถุด้านที่มีภาพอยู่ เป็นการเลือกลวดลายด้วย Sample Paint

9 ใช้ Paint Bucket เทสีลงไปบน พ้ืนผิวด้านต่อไปจะพบว่า ลวดลาย ที่เป็นภาพจะต่อกับด้านแรกแล้ว

10

คลิกเลือกเครื่องมือ 3D Text 1

Page 9: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

9

ก าหนดค่าต่าง ๆ จากหน้าต่าง Place 3D Text ดังนี้ 2

1) ส่วนที่พิมพ์ข้อความ

2) ก าหนดรูปแบบอักษร

3) ก าหนดการจัดเรียงและความสูงของข้อความ

4) ตัวเลือกให้ข้อความมีพ้ืนที่และความสูง

5) ปุ่ม Place เพ่ือสร้าง ปุ่ม Cancel เพ่ือยกเลิก

คลิก Place เพ่ือวางข้อความ 3 มิติ ในพ้ืนที่ท างาน

3 คลิกขวาที่ข้อความ และเลือก Explode เพ่ือปรับแต่งข้อความ

4

ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ได้ เหมือนกับวัตถุรูปทรงอื่น ๆ 5

1

2

3

4

5

Page 10: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

10

Components เป็นความสามารถพิเศษของ Google SketchUp ที่ช่วยให้การท างานมี

ความรวดเร็วขึ้น โดยไม่ต้องเสียเวลาสร้างโมเดลประกอบด้วยตนเอง Components จะถูกจัดเก็บไว้เป็นหมวดหมู่ เรียกใช้ได้ง่าย และสะดวก ดังนี้

คลิกเมนู Window --> Components เพื่อเปิดไดอะล๊อกบอกซ์ Components ขึ้นมา 1

คลิกเลือก Components ที่ต้องการ 2

Components ที่อยู่ในเครื่อง

Components ทีต่้องดาวน์โหลด

Components ทีเ่คยใช้งานไปแล้ว

Page 11: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

11

นอกจากนี้ยังสามารถดาวน์โหลด Components ส าเร็จรูปอ่ืน ๆ มาจากอินเทอร์เน็ต ในหน้าต่าง Components ในช่องที่มีสัญลักษณ์ 3D Warehouse โดยพิมพ์โมเดลที่ต้องการใช้งาน ซึ่งมีผู้ออกแบบได้แชร์ไว้ในเว็บ 3D Warehouse

คลิกโมเดลที่ต้องการ และลากเมาส์มาวางยังพ้ืนที่ท างาน 3

พิมพ์โมเดลที่ต้องการดาวน์โหลด ในช่อง 3D Warehouse

1 ก าลังค้นหา Components

2

Page 12: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

12

คลิก Components ที่ต้องการ 3 คลิกดาวน์โหลดโมเดล

4

โมเดลส าเร็จรูปที่น ามาใช้งาน 5

โมเดลที่มาจาก Components มีข้ันตอนในการแก้ไข และตกแต่งโมเดลเหมือนกับ โมเดลที่สร้างข้ึนเอง

Page 13: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

13

การแสดงแสงเงาของโมเดล เป็นส่วนหนึ่งในการน าเสนองานให้ภาพใกล้เคียงกับความเป็น

จริง ซึ่งใน Google SketchUp สามารถแสดงแสงเงา รวมทั้งหมอกควันบนโมเดลได้จากการก าหนดระยะ ความใกล้ไกลของมุมมองเทียบกับโมเดล และก าหนดสีของหมอกควันได้ตามต้องการ ดังนี้

เปิดแสงเงาเข้าสู่โมเดล แสงที่ส่องมาโดนโมเดลจนมีเงาตกกระทบในโปรแกรม Google SketchUp สามารถก าหนดแสงเงาเองตามความต้องการ หรือก าหนดแสงเงาที่มาจากดวงอาทิตย์จริง ๆ ดังนี้

การเรียกใช้เครื่องมือ Shadows คลิกเมนู View --> Toolbars --> Shadows

Shadows Settings ส าหรับตั้งค่าแสงเงาตามต าแหน่งบนพ้ืนโลก

1

Show/Hide shadows แสดงแสงเงา/ซ่อนแสงเงา

Date วัน เดือน ที่เกิดแสงเงา

Time เวลา ที่เกิดแสงเงา

Page 14: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

14

การแสดงแสงเงาบนโมเดล เมื่อเปิดชุดเครื่องมือ Shadows และให้คลิกปุ่ม Show/Hide shadows โปรแกรมจะใส่แสงเงาให้กับโมเดลทันที (เมื่อคลิกอีกครั้งแสงเงาจะหายไป) โดยปรับแต่งแสงเงาเพ่ิมเติมได้บนแถบ Date และ Time Shadows Settings

ก่อนใส่แสงเงา หลังใส่แสงเงา

เลือกเวลามาตรฐานโลก

เลือกวันเดือน/ปี

ปรับความมืดของเงา ต้องการใช้แสงอาทิตย์เป็นริ้วเงา

ให้เงาตกบนพ้ืนผิว

เลือกช่วงเวลา

ปรับความสว่างของแสง แสดงเงาของเส้นขอบด้วย

ให้เงาตกบนพ้ืนดิน

Page 15: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

15

นอกจากการใส่แสงเงาท่ีสมจริงแล้ว โปรแกรม SketchUp ยังสามารถใส่หมอก (Fog) ลงใน

โมเดลได้อีกด้วย ซึ่งเหมาะกับฤดูหนาว หรือบนภูเขา เป็นต้น และยังสามารถปรับค่าความหนาแน่นของหมอก สามารถท าได้ 2 วิีี ดังนี้

วิธีที่ 1

Page 16: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

16

วิธีที่ 2

Page 17: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

16

การเปลี่ยนสีให้กับหมอก

คลิกเมนู Window -->Styles 1

2. คลิกแถบ Edit 3. คลิกไอคอน Background

4. คลิกช่องสี Background

5. เปลี่ยนเป็นสีขาว

6. คลิกปุ่ม OK

ได้พ้ืนหลังสีขาว

Page 18: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

ใช้เครื่องมือ Rectangle วาดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เพื่อเป็นฐานของบ้าน

17

การสร้างโมเดลบ้าน ขั้นตอนการสร้างบ้าน สามารถท าได้ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เริ่มสร้างตัวบ้าน ขั้นตอนที่ 2 สร้างหลังคาบ้าน ขั้นตอนที่ 3 สร้างประตูและหน้าต่าง ขั้นตอนที่ 4 ตกแต่งเก็บรายละเอียดเพ่ิมเติม ขั นตอนที่ 1 เริ่มสร้างตัวบ้าน ใน Google SketchUp การสร้างโมเดลมักจะเริ่มจาก 2 วิีี คือ เริ่มจากการวาดแปลน 2 มิติ และเริ่มจากการสร้างรูปทรง 3 มิติ ที่เป็นรูปทรงใกล้เคียงกับสิ่งที่เราจะสร้าง ส าหรับการเริ่มวาดจากแปลน 2 มิติ จะท างานคล้าย ๆ กับการเขียนแบบ คือวาดแปลนขึ้นมาและดึงออกมาให้มีความสูงตามต้องการ จากนั้นจึงตกแต่งรายละเอียดส่วนอ่ืน ๆ อีกต่อไป ซึ่งเป็นวิีีที่เหมาะกับงานท่ีมีแปลนอยู่แล้ว และต้องการวาดเป็นภาพ 3 มิติ เพ่ือให้เห็นภาพชัดเจน ส่วนการเริ่มสร้างจากรูปทรง 3 มิติ จะท างานคล้ายกับการสเกตซ์ภาพคือ เริ่มจากรูปทรงที่ใกล้เคียงกับสิ่งที่จะสร้าง แล้วค่อย ๆ ตกแต่งเพ่ิมรายละเอียดไปจนได้ผลลัพี์ที่ต้องการ เป็นวิีีที่เหมาะกับการออกแบบงานใหม่ที่ต้องการเห็นรูปทรงโดยรวม ก่อนจะน าไปปรับปรุงเพ่ือสร้างแปลนและน าเสนอต่อไป ในการสร้างตัวบ้านจะเริ่มสร้างโมเดลบ้านด้วยวิีีที่ 2 คือ เริ่มจากรูปทรงที่ใกล้เคียงกับสิ่งที่จะสร้าง แล้วค่อย ๆ เพิ่มรายละเอียด ตามข้ันตอน ดังนี้

1

Page 19: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

ใช้เครื่องมือ Push/Pull ดึงพ้ืนผิวของรูปสี่เหลี่ยมขึ้นมาเป็นตัวบ้าน

ใช้เครื่องมือ Line คลิกเมาส์ ต าแหน่งตรงกลาง (สังเกตจุดสีฟ้า และ มีค าว่า Midpoint แสดงว่าต าแหน่งอยู่ กึ่งกลางด้านกว้างของสี่เหลี่ยม

ใช้เครื่องมือ Move คลิกเส้น และดึงเส้นขึ้นไปตามแกนสีน้ าเงิน

19

ขั นตอนที่ 2 สร้างหลังคาบ้าน เมื่อได้รูปทรง หรือ Form ของโมเดลมาแล้ว ขั้นตอนต่อไปเราจะมาเพ่ิมรายละเอียด ให้กับงาน โดยเริ่มจากส่วนหลังคา มีวิีีการท า ดังนี้

2

1 2

Page 20: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

ใช้เครื่องมือ Line อีกครั้ง เพ่ือสร้างเส้นรอบตัวบ้าน ท าเป็นขอบ หลังคา

ใช้เครื่องมือ Push/Pull ดึงด้านหน้าของหลังคาออกมาให้คลุม หน้าบ้าน

ใช้เครื่องมือ Line ในการสร้าง ประตู และหน้าต่าง

ใช้เครื่องมือ Offset เพ่ือสร้าง ขอบประตูหน้าต่าง

20

ขั นตอนที่ 3 สร้างประตูและหน้าต่าง

เมื่อได้รูปทรงบ้านและหลังคาเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปเราจะมาสร้างประตูและหน้าต่าง ดังนี้

3 4

1 2

Page 21: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

ตกแต่งสีสันด้วยเครื่องมือ Paint Bucket ให้ดูสวยงาม

21

ขั นตอนที่ 4 ตกแต่งเก็บรายละเอียดเพิ่มเติม เมือ่องค์ประกอบของบ้านครบถ้วนแล้ว ขั้นตอนต่อไปเราจะมาตกแต่งบ้านให้ดูสวยงาม ด้วยเครื่องมือ Paint Bucket ดังนี้

ก่อนตกแต่งสีสัน หลังตกแต่งสีสัน

1

Page 22: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

ใช้เครื่องมือ Rectangle วาดรูป สี่เหลี่ยมจตุรัส

ใช้เครื่องมือ Line วาดเส้นตรง วางตรงก่ึงกลางสี่เหลี่ยม

จากนั้นวาดเส้นแบ่งซอยย่อยให้แต่ละเส้น สร้างจุดกึ่งกลางเสมอ เพ่ือสร้างมุมเก้าอ้ี

สร้างเส้นโค้งเป็นมุมให้กับเก้าอ้ี ทั้งสองด้าน

22

ขั้นตอนการสร้างเก้าอ้ี สามารถท าได้ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 สร้างฐานที่นั่งของเก้าอ้ี ขั้นตอนที่ 2 สร้างพนักพิง ขั้นตอนที่ 3 สร้างขาเก้าอ้ี ขั้นตอนที่ 4 ตกแต่งเก็บรายละเอียดเพ่ิมเติม ขั นตอนที่ 1 การสร้างฐานที่นั่งของเก้าอี การสร้างฐานจากรูปสี่เหลี่ยม จากนั้นปรับแต่งเก้าอ้ีด้วยเส้นโค้ง ก็จะเป็นการข้ึนฐานที่นั่งแบบง่าย แต่ได้รูปทรงที่สวยงามอย่างรวดเร็ว

1 2

3 4

Page 23: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

ใช้เครื่องมือ Eraser ลบส่วนที่ ไม่ใช้ออกไป

ใช้เครื่องมือ Push/Pull ดึงพ้ืน เก้าอ้ีให้เกิดความหนาขึ้นมา

ใช้เครื่องมือ Offset สร้างเส้น ลอกแบบจากฐานเก้าอ้ีเข้ามา โดยใช้ ส่วนนี้เป็นพนักพิง

ใช้เครื่องมือ Line สร้างเส้น แบ่งมุม

23

(เส้นส่วนที่เป็นมุมและ ส่วนประกอบด้านใน)

ตอนที่ 2 สร้างพนักพิง การสร้างพนักพิงจะใช้ประโยชน์จากส่วนฐานเก้าอ้ีที่เราสร้าง แล้วใช้วิีีการ Offset เส้นขอบให้เกิดพ้ืนที่ใหม่

5 6

1 2

Page 24: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

ใช้เครื่องมือ Push/Pull ดึงพ้ืนที่ด้านหลังให้เป็นพนักพิง

ใช้เครื่องมือ Offset สร้างเส้น ลอกแบบจากส่วนบนเก้าอ้ีให้ ออกเป็นแผ่นวัตถุ

ใช้เครื่องมือ Push/Pull ดึงพ้ืนที่ท่ีสร้างลงมาเล็กน้อยให้เป็นส่วนด้านบน เก้าอ้ี

24

3 4

5

Page 25: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

ใช้เครื่องมือ Circle สร้างเป็น ขาเก้าอ้ีในมุมมอง Top

ใช้เครื่องมือ Push/Pull ดึงพ้ืนที่วงกลมลงมา

เลือกส่วนด้านล่างของขาเก้าอ้ี ใช้เครื่องมือ Scale ย่อพ้ืนที่ ด้านล่างไปทางเดียว

เลือกขาเก้าอ้ีทั้งหมด และคลิกขวาเลือก Make Group เพ่ือคัดลอกเป็นขา ทั้งสี่ด้านได้ง่าย

25

ขั นตอนที่ 3 การสร้างขาเก้าอี ส่วนของขาเก้าอ้ีเราจะสร้างแยกออกจากตัวเก้าอ้ี และน ามาประกอบภายหลัง ดังนี้

3

1 2

4

Page 26: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

ใช้เครื่องมือ Move เลือ่น ขาเก้าอ้ีมายังต าแหน่งที่ต้องการ

กด <Ctrl> ค้างไว้และใช้เครื่องมือ Move คัดลอกขาใหม่ขึ้นมาอีก ท าจนครบทั้งสี่ขา

ตกแต่งสีสันด้วยเครื่องมือ Paint Bucket ให้ดูสวยงาม

26

ขั นตอนที่ 4 ตกแต่งเก็บรายละเอียดเพิ่มเติม เมือ่องค์ประกอบของเก้าอ้ีครบถ้วนแล้ว ขั้นตอนต่อไปเราจะมาตกแต่งเก้าอ้ีให้ดูสวยงาม ด้วยเครื่องมือ Paint Bucket ดังนี้

5 6

1

Page 27: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

27

การจะได้ผลงานที่สมบูรณ์เกี่ยวข้องกับการน าเข้าไฟล์ที่เหมาะสมมาใช้งาน และเมื่อเสร็จสิ้นงาน ต้องส่งออกชิ้นงาน เพ่ือน าเสนอหรือประกอบกับโปรแกรมอ่ืน ๆ ซึ่ง Google SketchUp สามารถส่งออกไฟล์ออกไปได้ในรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ หรือแม้กระทั่งภาพเคลื่อนไหวด้วย การน าเข้าไฟล์ประเภทต่าง ๆ (Import) การน าเข้าไฟล์มาใช้ใน Google SketchUp มีหลายวัตถุประสงค์ เช่น การน าภาพเข้ามาเป็นพ้ืนหลัง หรือเป็นแบบในการวาดโมเดล หรือน าเข้าวัตถุจากโปรแกรมอ่ืนมาท างานต่อยอดใน Google SketchUp อย่างไรก็ตามในเวอร์ชั่นฟรีและเวอร์ชั่น Pro ก็สนับสนุนประเภทไฟล์ที่น าเข้าได้ไม่เท่ากัน

การน าเข้าไฟล์จะใช้ค าสั่ง Import มีข้ันตอน ดังนี้

เลือกเมนู File และเลือกค าสั่ง Import

1 ในหน้าต่าง Open ให้เลือก โฟลเดอร์ที่เก็บไฟล์ที่ต้องการใช้ หากเป็นประเภทไฟล์ที่รองรับ จะปรากฏไฟล์ให้เห็นทันที

2

Page 28: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

28

เลือกชื่อไฟล์แล้วคลิกท่ี Open เพ่ือน าไฟล์เข้ามาใช้ในพื้นที่ท างาน

4

ประเภทไฟล์ที่ Google SketchUp รองรับในการ Import เข้ามาใช้ในชิ นงาน skp: ไฟล์ชิ้นงานของ SketchUp เอง

3ds: วัตถ ุ3 มิติที่เปิดได้กับโปรแกรม 3 มิต ิเช่น 3ds max

dae: เป็นมาตรฐานไฟล์ชื่อว่า COLLADA ซึ่งเป็นไฟล์ชิ้นงาน 3 มิติชนิดควบคุมได้

dem: เป็นไฟล์ชิ้นงาน 3 มิติประเภทภูมิประเทศต่าง ๆ

kmz: ไฟล์โมเดลของ Google Earth

jpg: ไฟล์ภาพที่นิยมใช้มากท่ีสุด

png: ไฟล์ภาพที่มีคุณสมบัติพ้ืนหลังโปร่งใส

psd: ไฟล์ Photoshop ที่มีคุณสมบัติการใช้ชั้นเลเยอร์

tif: หรือ Tagged image file format เป็นไฟล์ภาพประเภท raster ที่นิยมใช้ในการตัดต่อภาพ

tga: เป็นไฟล์ภาพอีกชนิดหนึ่งที่มีการใช้งานกันมานาน เรียกอีกอย่างว่า Targa

bmp: ไฟล์ภาพคุณภาพสูงของระบบ Windows

เราสามารถเลือกประเภทไฟล์ อย่าง เจาะจงได้ที่ช่องไฟล์ Files of type ซึ่งจะแสดงประเภทไฟล์ที่รองรับของ SketchUp

3

Page 29: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

29

การส่งออกชิ้นงาน คือการประมวลผลงานวาดของเราออกไปใช้ต่อกับโปรแกรมอ่ืน ๆ

ซ่ึง Google SketchUp สามารถส่งออกไฟล์ออกไปได้รูปแบบ 2 มิต ิและ 3 มิต ิหรือแม้กระทั่งภาพเคลื่อนไหวด้วย การส่งออกชิ นงานด้วยค าส่ัง Export เมื่อสร้างชิ้นงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว มีขั้นตอนการส่งออกชิ้นงาน ดังนี้

เลือกเมนู File และเลือกเมนูย่อย Export

1

เลือก Export มีตัวเลือกย่อย ดังนี้ 2

3D Model หมายถึง ส่งออกเป็นวัตถุ 3 มิติ 2D Graphic หมายถึง ส่งออกเป็นภาพ 2 มิติ Section Slice หมายถึง ส่งออกภาพของส่วนตัดภาพ ซึ่งใช้ได้เฉพาะเวอร์ชั่น Pro เท่านั้น Animation หมายถึง ส่งออกภาพเคลื่อนไหว ได้แก่ แอนิเมชั่นที่เกิดจากการสร้าง Scenes

Page 30: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

30

การ Export เป็น 3D Model เมื่อสร้างชิ้นงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว มีขั้นตอนการส่งออกชิ้นงาน ดังนี้

ตั้งชื่อไฟล์ และเลือกโฟลเดอร์ ที่จะใช้เก็บไฟล์

1

เลือกประเภทของไฟล์ที่สามารถ ส่งออกงานได้ และคลิก Export

2

Page 31: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

31

การ Export เป็น 2D Graphic เมื่อเลือก Export เป็น 2D Graphic แล้ว ขั้นตอนการบันทึกไฟล์ ดังนี้

ประเภทไฟล์ 3D Model ที่รองรับในการส่งออกชิ นงาน 3ds: ไฟล์ส าหรับโปรแกรม 3ds max

dwg: ไฟล์งานเขียนแบบ 2 มิติ และ 3 มิติของโปรแกรมประเภท CAD เช่น AutoCAD

dxf: เป็นไฟล์ที่ Autodesk พัฒนาเพื่อใช้ส่งข้อมูลระหว่างงานวาด AutoCAD กับโปรแกรมอ่ืน

dae: เป็นมาตรฐานไฟล์ชื่อว่า COLLADA ซึ่งเป็นไฟล์ชิ้นงาน 3 มิติชนิดควบคุมได้

fbx: ย่อมาจาก Filmbox ซึ่งใช้กับโปรแกรมมัลติมีเดียหลายโปรแกรม

ifc: เป็นไฟล์ที่ใช้เก็บข้อมูลงานประเภทก่อสร้างต่าง ๆ

kmz: ไฟล์โมเดลของ Google Earth

obj: เป็นไฟล์วัตถุ 3 มิติ ซึ่งเปิดใช้ได้กับหลายโปรแกรม

wrl: หรือ Virtual Reality Modeling Language (VRML) เป็นไฟล์ 3 มิติ ชนิดโต้ตอบได้

xsi: เป็นไฟล์สาหรับโปรแกรม Softimage ซึ่งเป็นโปรแกรมสร้างงาน 3 มิติ ระดับสูงตัวหนึ่ง

ตั้งชื่อไฟล์ และเลือกโฟลเดอร์ ที่จะใช้เก็บไฟล์

1

Page 32: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

32

2

ประเภทไฟล์ 2D Graphic ที่รองรับในการส่งออกชิ นงาน avi: ไฟล์วิดีโอคุณภาพสูงที่ไม่บีบอัดข้อมูล webm: ไฟล์วีดีโอขนาดเล็กสามารถดูทางอินเตอร์เน็ตได้อย่างราบรื่น ogv: เป็นวิดีโอที่บีบอัดด้วยโค้ดของ Theora ซึ่งเป็น Opensource ผลลัพี์ใกล้เคียง mp4 mp4: เป็นวีดีโอที่บีบอัดแต่ภาพยังคมชัด นิยมมากในการใช้เผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต ประเภทไฟล์ภาพต่อเนื่องที่สามารถบันทึกได้ Jpg: ไฟล์ภาพที่นิยมใช้มากที่สุด Png: ไฟล์ภาพที่มีคุณสมบัติพ้ืนหลังโปร่งใส Tif: หรือ Tagged image file format เป็นไฟล์ภาพประเภท raster ที่นิยมใช้ในการตัดต่อภาพ Bmp: ไฟล์ภาพคุณภาพสูงในระบบ Windows

ไฟล์งานใน Google SketchUp ที่บันทึกด้วยเวอร์ชั่นที่สูงกว่าจะใช้เปิดด้วย Google SketchUp ต่ ากว่าไม่ได้

เลือกประเภทของไฟล์ที่สามารถ ส่งออกงานได้ และคลิก Export

2

Page 33: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

33

การพิมพ์งานวาดออกมาเป็นแผ่นกระดาษก็ยังมีความจ าเป็นไม่น้อย แม้ในปัจจุบันจะนิยมน าเสนองาน ด้วยไฟล์และสื่อออนไลน์ต่าง ๆ ก็ตาม การพิมพ์เอกสาร ขั้นตอนการพิมพ์ชิ้นงานและการตั้งค่าต่าง ๆ มีดังนี้

คลิกเมนู File และ Print หรือกด Ctrl + P

1

Page 34: 1 2 Paint Bucket เพื่อก าหนดลวดลาย · ท าการปรับแต่งวัตถุด้วยเครื่องมือต่าง

34

หน้าต่าง Print

Printer เลือกและก าหนดค่าเครื่องพิมพ์ ที่จะใช้

Tabbed Scene Print Range

เลือก Scene ที่จะพิมพ์

Copies ก าหนดจ านวนส าเนา Print Size ขนาดของงานพิมพ์ Fit to page ก าหนดให้พอดีหน้ากระดาษ Use model extents

ก าหนดให้ครอบคลุมวัตถุทั้งหมด

Tiled Sheet Range

ก าหนดลักษณะการเรียงหน้า กรณีมีหลายหน้า

Print Quality ก าหนดคุณภาพการพิมพ์ Use high accuracy HLR

ก าหนดให้พิมพ์แบบคุณภาพสูง

ในหน้าต่าง Print มีส่วนของการตั้งค่าหลัก ๆ ดังนี้

2

คลิก OK เพื่อพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ ์ 3