การทบทวนวรรณกรรม - yala.ac.th¸šทที่ 2.pdf ·...

48
8 บทที2 การทบทวนวรรณกรรม ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดรวบรวมแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยทีเกี่ยวของเพื่อความสะดวกในการศึกษาคนควา ผูศึกษาไดกําหนดประเด็นออกเปน 5 สวน คือ 2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความเครียด 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติ 2.3 สถานการณความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต 2.4 โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ 2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความเครียด 2.1.1 ความหมายของความเครียด ไดมีผูใหคําจํากัดความของ ความเครียดไวมากมายดังนีชูทิตย ปานปรีชา ( 2519: 482) จิตแพทยแหงวงการสุขภาพจิตไทยไดให ความหมายของความเครียดไววา เปนภาวะทางจิตใจที่กําลังจะเผชิญกับปญหาตางๆ ไมวาเปน ปญหาในตัวคนหรือนอกตัวคน เปนปญหาที่เกิดขึ้นหรือคาดวาจะเกิดขึ้น เปนปญหาความ ผิดปกติของรางกายหรือความผิดปกติทางใจ ความเครียดเปนความรูสึกที่ไมสบายใจไมพอใจ เหมือนจิตใจถูกบังคับใหเผชิญกับสิ่งเรา ความรูสึกดังกลาวทําใหเกิดความแปรปรวนทั้ง รางกายและจิตใจ เปนตน ละเอียด ชูประยูร (2524:70) ไดกลาววา ความเครียด เปนปฏิกิริยาตอบโตของ รางกายตอสิ่งเราภายในหรือภายนอก ขณะที่มีความเครียดจะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางภาวะ ของรางกาย เชน กลามเนื้อสวนตางๆ หดเกร็ง หัวใจและชีพจรเตนแรง เร็ว แรงดันเลือดสูง เหงื่อแตกงาย กระแสไฟฟาจะมาที่ผิวหนังมากและความตานทานที่ผิวหนังต่ํา ในทางตรงกัน

Upload: votuyen

Post on 07-Apr-2018

264 views

Category:

Documents


2 download

TRANSCRIPT

8

บทท่ี 2

การทบทวนวรรณกรรม

ในการศึกษาคร้ังนี้ ผูศึกษาไดรวบรวมแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของเพื่อความสะดวกในการศึกษาคนควา ผูศึกษาไดกําหนดประเด็นออกเปน 5 สวน คือ 2.1 แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับความเครียด 2.2 แนวคิดเก่ียวกับทัศนคติ 2.3 สถานการณความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต 2.4 โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ 2.5 งานวิจัยที่เก่ียวของ 2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความเครียด 2.1.1 ความหมายของความเครียด ไดมีผูใหคําจํากัดความของ “ความเครียด” ไวมากมายดังนี ้ ชูทิตย ปานปรีชา (2519: 482) จิตแพทยแหงวงการสุขภาพจิตไทยไดใหความหมายของความเครียดไววา เปนภาวะทางจิตใจที่กําลังจะเผชิญกับปญหาตางๆ ไมวาเปนปญหาในตัวคนหรือนอกตัวคน เปนปญหาที่เกิดข้ึนหรือคาดวาจะเกิดข้ึน เปนปญหาความผิดปกติของรางกายหรือความผิดปกติทางใจ ความเครียดเปนความรูสึกที่ไมสบายใจไมพอใจเหมือนจิตใจถูกบังคับใหเผชิญกับสิ่งเรา ความรูสึกดังกลาวทําใหเกิดความแปรปรวนทั้งรางกายและจิตใจ เปนตน ละเอียด ชูประยูร (2524:70) ไดกลาววา ความเครียด เปนปฏิกิริยาตอบโตของรางกายตอส่ิงเราภายในหรือภายนอก ขณะที่มีความเครียดจะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางภาวะของรางกาย เชน กลามเนื้อสวนตางๆ หดเกร็ง หัวใจและชีพจรเตนแรง เร็ว แรงดันเลือดสูง เหง่ือแตกงาย กระแสไฟฟาจะมาที่ผิวหนังมากและความตานทานที่ผิวหนังตํ่า ในทางตรงกัน

9

ขาม เมื่อเราอยูในภาวะที่ผอนคลายหรือไมเครียด (Relaxed) กลามเนื้อจะไมเกร็ง หัวใจและ ชีพจรมีอัตราการเตนชาลงและมีความสม่ําเสมอ ความตานทานที่ผิวหนังสูงข้ึน สุจริต สุวรรณชีพ (2532: 4) ความเครียดเปนภาวะทางจิตใจที่ต่ืนตัว เตรียมพรอมที่จะเผชิญกับสถานการณหรือความกดดันอยางใดอยางหนึ่งอันไมพึงประสงค ซ่ึงบุคคลคาดคิดวาสถานการณหรือความกดดันนั้นๆ หนักหนาเกินกวากําลังความสามารถในยามปกติของบุคคลที่จะแกไขหรือขจัดปญหาใหหมดส้ินหรือบรรเทาลงได วีระ ไชยศรีสุข (2533: 177-178) กลาววาความเครียดคือสถานการณที่คับแคนที่มีผลทําใหเกิดความกดดันทางอารมณ ความเครียดจะเก่ียวพันกับความวิตกกังวลและบางคร้ังความเครียดอาจจะเกิดข้ึนกับรางกาย เมื่อมีการใชพลังงานมากจะมีการเปลี่ยนแปลงตอขบวนการทางสรีระวิทยาของรางกาย เชน การอยูในสถานที่ที่มีอุณหภูมิสูงมากๆ หรืออาการเจ็บปวยที่เกิดข้ึนนานๆ ซ่ึงจะเปนตัวเรงความเครียดใหเกิดข้ึน อัจฉรา บัวเลิศ (2536 อางถึงใน อนุรักษ บัณฑิตยชาติ, 2539: 6) ความเครียดทางจิตใจและอารมณ หมายถึง การรับรูที่เกิดจากการประเมินโดยใชสติปญญา ของบุคคลที่ไมแนนอน เนื่องจากบางเวลาสามารถควบคุมได บางเวลาก็ไมสามารถควบคุมได กอใหเกิดความขัดแยงภายในจิตใจ เปนเหตุใหการตอบสนองดวยความรูสึกและอารมณที่แตกตางกันออกไป เชน โกรธ ซึมเศรา หวาดกลัว รูสึกผิดหรือมีความรูสึกทาทายหรือมีความรูสึกหลายๆ อยางรวมกัน เปนตน ปาหนัน บุญหลง (2539 อางถึงใน กรมสุขภาพจิต, 2546: 6) ใหความหมายของความเครียดวา ความเครียดเปนความรูสึกกดดัน ไมสบายใจ หรือเปนภาวะของความวุนวายทางจิตใจ ซ่ึงทําใหบุคคลตองเปลี่ยนพฤติกรรมหรือกระทําการอยางใดอยางหนึ่ง เพื่อใหความรูสึกดังกลาวคลายลง สบายข้ึนและรักษาสมดุลไวใหได อนุรักษ บัณฑิตยชาติ (2539: 7) ความเครียดเปนภาวะที่บุคคลถูกกดดันไมสบายใจ วุนวายใจ กลัว วิตกกังวล ตลอดจนถูกบีบค้ัน เกิดจากการที่บุคคลรับรูหรือประเมินส่ิงที่เขามาในประสบการณของตนวาเปนส่ิงที่คุกคามจิตใจหรือกอใหเกิดอันตรายแกรางกาย อันเปนผลใหสภาวะสมดุลของรางกายและจิตใจเสียไป ซ่ึงทําใหบุคคลมีปฏิกิริยาตอบสนองหลายอยาง เปนตนวา การใชกลไกปองกันตนเอง การเปลี่ยนแปลงดานสรีระ ดานพฤติกรรม ดานความนึกคิดและดานอารมณความรูสึก เพื่อทําใหความรูสึกกดดันหรือความเครียดเหลานั้นคลายลงและเขาสูภาวะสมดุลอีกคร้ังหนึ่ง

10

กัญญา ธัญมันตา (2541: 147-148) ไดกลาววา ความเครียด คือ ประสบการณทางอารมณทั้งทางบวกและทางลบซ่ึงจะตามมาดวยการเปลี่ยนแปลงของสารเคมี ซ่ึงมีผลใหการทํางานของรางกาย การใชเหตุผลและพฤติกรรมเปลี่ยนไป ประสบการณอารมณ คือ เหตุการณใดๆ ก็ตามที่มากระทบและมีผลตอการดําเนินชีวิตตามปกติธรรมชาติของมนุษย ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542: 525) หมายถึง อาการที่สมองไมไดผอนคลายเพราะวาครํ่าเครงอยูกับงานมากเกินไปเปนลักษณะอาการที่จิตใจมีอารมณบางอยางมากดดันความรูสึกอยางรุนแรง วรรณา ลีลาอัมพรสิน (2541 อางถึงใน สุนันท ฤทธิ์มนตรี, 2543: 9) ใหความหมายของความเครียดวา ภาวะการขาดความสมดุลของรางกายและจิตใจอันเปนผลมาจากปจจัยตางๆ ทั้งภายในและภายนอกรางกาย เปนปฏิกิริยาที่ตอบสนองของบุคคลตอส่ิงที่เขามาคุกคามทั้งรางกายและจิตใจ ทําใหบุคคลตองมีการปรับตัวเพื่อใหรักษาความสมดุลของรางกายได เมื่อบุคคลมีความเครียดจะปรากฏอาการทางรางกาย ไดแก ปวดศีรษะ นอนไมหลับ มือส่ัน และอาการทางจิตใจ ไดแก ความวิตกกังวล ซึมเศรา หงุดหงิด ฉุนเฉียว เปนตน กรมสุขภาพจิต (2546: 6) ใหความหมายวา ความเครียดเปนปฏิกิริยาตอบสนองของรางกาย จิตใจ ความคิด และพฤติกรรมของบุคคลที่มีตอส่ิงเราภายในและภายนอก ซ่ึงอาจเปนบุคคล ความรูสึกนึกคิด สถานการณหรือส่ิงแวดลอม โดยบุคคลจะรับรูวาเปนภาวะที่กดดัน คุกคาม บีบค้ัน ถาบุคคลนั้นสามารถปรับตัวและมีความพึงพอใจจะทําใหเกิดการต่ืนตัว เกิดพลังในการจัดการกับส่ิงตางๆ อักทั้งเปนการเสริมความแข็งแรงทางรางกายและจิตใจ แตถาไมมีความพึงพอใจและไมสามารถปรับตัวไดจะทําใหบุคคลนั้นเกิดความเครียด ซ่ึงสงผลใหเกิดความใหเกิดความเสียสมดุลในการดําเนินชีวิตในสังคมได Roger (1951 อางถึงใน วันเพ็ญ วองไวกิตติสิน, 2540: 6) กลาวไววา ความเครียด หมายถึง ภาวะของจิตที่บุคคลรูสึกวาตนถูกคุกคาม ทําใหเกิดความรูสึกวิตกกังวล ระสํ่าระสาย สับสนและไมแนใจในทิศทางพฤติกรรมของตนอันเปนผลมาจากที่บุคคลมีความไมสอดคลองระหวางโครงสราง “ตน” ซ่ึงหมายถึง การรับรูวาตนเปนอยางไร กับประสบการณที่เกิดข้ึนตามที่เปนจริง ทําใหเกิดกระบวนการรับรูที่ไมยืดหยุนนั้นผิดพลาด เกิดความวิตกกังวล ไมยอมรับในพฤติกรรมบางสวนของตนซ่ึงจะเปนผลใหรูสึกถูกคุกคามมากข้ึน

11

Selye (1956 อางถึงใน กรมสุขภาพจิต, 2546: 5) ใหความหมายของความเครียดไววา ความเครียด คือ กลุมอาการที่รางกายแสดงปฏิกิริยาตอบสนองส่ิงที่คุกคาม เชน สภาพการณที่เปนพิษหรือส่ิงเราที่เต็มไปดวยอันตราย อันมีผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภายในรางกายเก่ียวกับโครงสรางและสารเคมีเพื่อตอตานการคุกคามนั้น ปฏิกิริยาตอบสนองเหลานี้จะแสดงออกในรูปของการเปลี่ยนแปลงดานสรีระซ่ึงนําไปสูอาการตางๆ เชน ปวดศีรษะ ปวดหลัง ความดันโลหิตสูง เปนตน Lazarus (1971 อางถึงใน กรมสุขภาพจิต, 2546: 5) มองวาความเครียด หมายถึง ภาวะชั่วคราวของความไมสมดุล ซ่ึงเกิดจากกระบวนการรับรูหรือการประเมินของบุคคลตอส่ิงที่เขามาในประสบการณวาส่ิงนั้นเปนส่ิงคุกคาม (Threat) โดยที่การรับรูหรือการประเมินนี้ เปนผลจากการกระทํารวมกันของสภาพแวดลอมภายนอก อันไดแก ส่ิงแวดลอมในสังคม ในการทํางาน ในธรรมชาติและเหตุการณตางๆ ในชีวิต กับปจจัยภายในของตัวบุคคลอันประกอบดวย ทัศนคติ ลักษณะประจําตัว อารมณ ประสบการณในอดีต ตลอดจนความตองการของบุคคลนั้น จะเห็นไดวามีผูใหความหมายของความเครียดไวมากมายแตลวนไปในทิศทาง เดียวกันโดยสรุปไดวา ความเครียด หมายถึง ภาวะที่รูสึกวาตนถูกคุกคาม กอใหเกิดความไมสบายใจ กังวล สับสน วิตกกังวล รางกายและจิตใจ เตรียมตัวรับกับสถานการณอันไมพึงประสงค ที่คิดวาตนไมสามารถแกไขปญหาเหลานั้นได สงผลใหเกิดความรูสึกบั่นทอนสุขภาพทั้งทางรางกายและจิตใจรวมทั้งเกิดการเปลี่ยนแปลงทางรางกายและพฤติกรรมตามไปดวย 2.1.2 สาเหตุที่กอใหเกิดความเครียด ความเครียดเกิดจากสาเหตุหลายประการ ดังนี้ Miller and Keane (1983 อางถึงใน รศ.พญ.อัมพร โอตระกูล, 2540: 26) กลาววา มูลเหตุของความเครียดอาจเกิดจากส่ิงแวดลอมภายนอกรางกายหรือเกิดจากภาวะภายในรางกายก็ได 2.1.2.1 ความเครียดในรางกาย (Internal Stress) ซ่ึงเกิดไดจาก 1) ความเครียดทางชีววิทยา (Biological Stress) เกิดจากความเปลี่ยนแปลงทางรางกายหรือทางชีวภาพหรือส่ิงที่เก่ียวของกับส่ิงจําเปนตอการดํารงชีวิต เชน

12

อาหาร อากาศ น้ํา ซ่ึงถารางกายไดรับไมพอเพียงก็จะมีผลใหเกิดความรูสึกไมสบาย เชน หงุดหงิด ปวดศีรษะ ฉุนเฉียว เกิดเปนความเครียดได 2) ความเครียดทางพัฒนาการ (Developmental Stress) เปนความเครียดที่เกิดในชวงของพัฒนาการแตละวัย โดยเปนความเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนตามความตองการของจิตใจจากเหตุจูงใจทางสังคม ไดแก ความตองการความรัก ความตองการมีชื่อเสียง การไดรับความยกยองนับถือ ความตองการมีเพื่อน เปนตน ซ่ึงความตองการดังกลาวถาไมเปนไปตามความคาดหมายที่ตนตองการก็เกิดเปนความเครียด 2.1.2.2 ความเครียดจากภายนอก (External Stress) หรืออาจเรียกไดวาเปนความเครียดจากส่ิงแวดลอม เกิดไดจาก 1) สภาพแวดลอมภายนอกทั้งที่เปนทางกายภาพ สถานการณหรือเปนวิกฤตการณที่กอใหเกิดอันตรายหรือการเจ็บปวยแกรางกาย ทําใหเกิดความเครียดได เชน ความรอน ฝุนละออง เชื้อโรค ภาวะน้ําทวม ไฟฟา ภาวะสงคราม เปนตน 2) ขอเรียกรองทางสังคมที่เกิดข้ึนจากกฎระเบียบ วัฒนธรรมประเพณ ีซ่ึงถาบุคคลนั้นไมสามารถปฏิบัติตนใหสอดคลองกับความตองการของสังคมไดยอมทําใหเกิดความทุกขใจ เกิดเปนความเครียด กรมสุขภาพจิต (2540: 31-34) ไดศึกษาสาเหตุของความเครียดไวมากมาย ซ่ึงสรุปได 2 สาเหตุหลักใหญๆ คือ 1. สาเหตุจากปจจัยภายในตัวบุคคล 1.1 สาเหตุทางกาย สภาวะทางกายบางประการทําใหเกิดความเครียดไดในลักษณะที่เรียกวา “รางกายเครียด” จากการที่รางกายและจิตใจมีความเก่ียวของกัน แยกกันไมได การเกิดความเครียดทางรางกายยอมสงผลใหจิตใจเครียดตามไปดวย ซ่ึงปจจัยทางรางกายที่กอใหเกิดความเครียดนี้ ไดแก 1.1.1 คุณลักษณะทางพันธุกรรมที่ทําใหบุคคลมีลักษณะพื้นฐานแตกตางกันไมวาจะเปนเร่ือง เพศ สีผิว ความเขมแข็งหรือความออนแอของระบบการทํางานของรางกายตลอดจนความพิการบางประเภท 1.1.2 ความเหนื่อยลาทางรางกาย อันเกิดจากการไดผานการทํางานอยางหนักและติดตอกันเปนเวลานาน ซ่ึงมีความเก่ียวเนื่องมาจากสภาพความสมบูรณแข็งแรงของรางกาย ที่จะทําใหแตละคนมีความพรอมในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวันแตกตางกัน

13

1.1.3 โภชนาการ ไดแก ลักษณะนิสัยการรับประทานอาหารที่มีผลตอความสมบูรณแข็งแรงของรางกาย การรับประทานอาหารไมครบทุกสวน ไมถูกสุขลักษณะหรือการรับประทานอาหารที่ไมเพียงพอตอความตองการของรางกาย การใชหรือบริโภคสารบางประเภท อาทิ สุรา บุหร่ี ชา กาแฟ ตลอดจนสารเสพติดตางๆ เหลานี้ลวนทําใหเกิดความเครียดได 1.1.4 การพักผอนที่ไมเพียงพอทําใหรางกายอยูในภาวะออนเพลียติดตอกันเปนเวลานาน 1.1.5 การเจ็บปวยทางรางกาย ทั้งการเจ็บปวยแบบเฉียบพลัน เชน มีไขสูง อุบัติเหตุหรือการเจ็บปวยเร้ือรังตางๆ เชน โรคเบาหวาน มะเร็ง หัวใจ ความดันโลหิตสูง เปนตน 1.1.6 ลักษณะทาทางที่ปรากฏเก่ียวกับโครงสรางของกลามเนื้อ ผิวหนังและการทรงตัว เชน การเดิน ว่ิง ยืน นอน นั่ง หากอยูในลักษณะที่ไมเหมาะสมยอมกอใหเกิดความเครียดได 1.2 สาเหตุทางจิตใจ คือ สภาวะที่เปนสาเหตุสําคัญและเก่ียวของกับการเกิดความเครียดมากที่สุด 1.2.1 บุคลิกภาพประเภทที่กอใหเกิดความเครียด คือ 1.2.1.1 บุคลิกภาพแบบเอาจริงเอาจังกับชีวิต (Perfectionist) ไดแก คนที่ตองการความสมบูรณแบบทุกส่ิงทุกอยางในชีวิต เจาระเบียบ ขยัน ยึดมั่นในกฎเกณฑขอบังคับ บุคลิกแบบนี้ทําใหบุคคลนั้นตองทํางานหนักและตองทําทุกอยางดวยตัวเอง 1.2.1.2 บุคลิกแบบพึ่งพิงผูอื่น (Dependence) บุคคลที่มีลักษณะขาดความมั่นใจในตนเอง ไมเขมแข็ง รูสึกวาตนเองไมเกง ไมกลาตัดสินใจ บุคลิกภาพแบบนี้จะทําใหเปนคนที่วิตกกังวลงาย จะทําอะไรตองอาศัยผูอื่น มีความวิตกหวาดหว่ันกับอนาคตอยูเสมอ 1.2.1.3 บุคลิกภาพแบบหุนหันพลันแลน (Impulsive) คนที่มีลักษณะบุคลิกภาพแบบนี้จะเปนคนใจรอน ควบคุมอารมณไมได อารมณเปลี่ยนแปลงงายซ่ึงจะมีผลกระทบไปถึงสภาวะความสมดุลของรางกาย 1.2.2 การเผชิญสถานการณตางๆ ในชีวิต (Life Event) หมายถึง ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบตอกิจกรรมตามปกติของบุคคล โดยเหตุการณที่เกิดข้ึนอาจเปนเหตุการณที่กอใหเกิดผลทางบวกหรือทางลบได การเกิดข้ึนของเหตุการณที่เปนการควบคุมหรือกอใหเกิดผลทางลบ กอใหเกิดความยากลําบากในการดําเนินชีวิตจะกอใหเกิดปญหาในการปรับตัวและเกิดความเครียดไดมาก

14

1.2.3 ความขัดแยงในใจ (Conflict) เกิดจากการที่บุคคลตองเผชิญทางเลือกต้ังแตสองทางข้ึนไป แตตองเลือกเอาอยางใดอยางหนึ่งหรือการเลือกกระทําในส่ิงที่ไมตองการหรือไมอยากได ไมอยากทําทั้งสองอยาง แตตองเลือกเอาอยางใดอยางหนึ่ง 1.2.4 ความคับของใจ (Frustration) การที่บุคคลมีอุปสรรคไมสามารถบรรลุเปาหมายที่ตองการได ซ่ึงสาเหตุที่ทําใหเกิดความคับของใจ มี 4 ประการ คือ 1.2.4.1 ความรูสึกบางประเภท ไดแก ความรูสึกสูญเสีย อาจเปนการสูญเสียความรัก เกียรติยศ ชื่อเสียง ความภาคภูมิใจในตน ความรูสึกลมเหลวในชีวิตหรือในการทํากิจกรรมอยางใดอยางหนึ่ง การขาดเปาหมายในชีวิต ความรูสึกเหลานั้นทําใหบุคคลรูสึกหมดหวัง 1.2.4.2 ความลาชาของเหตุการณหรือการไปสูเปาหมายที่ตองการ อันอาจเกิดจากธรรมชาติหรือลักษณะเหตุการณนั้นเองหรือเกิดจากปจจัยแวดลอมของเหตุการณหรือเกิดจากปจจัยในตัวบุคคลนั้นเอง 1.2.4.3 การขาดคุณสมบัติบางประการของบุคคล ซ่ึงเชื่อกันวามีความจําเปนตอสถานะและความรูสึกมีคุณคาของบุคคล เชน การขาดความสามารถ การขาดทักษะในการทํางานที่รับผิดชอบ เปนตน 1.2.4.4 อารมณไมดีทุกชนิด ไดแก ความกลัว ความวิตกกังวล ความโกรธ ความเศรา ความทุกขใจ ไมสบายใจ ความรูสึกเหลานี้ทําใหเกิดความเครียด 2. สาเหตุจากปจจัยส่ิงแวดลอม 2.1 สภาพแวดลอมทางกายภาพ ไดแก สภาพแวดลอมที่อยูรอบตัวเราไมวาจะเปน อุณหภูมิ ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ความหนาแนนของประชากร ภัยธรรมชาติ ฯลฯ เหลานี้ลวนมีผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม ตอวิถีการดําเนินชีวิตของบุคคลและทําใหตองปรับตัวอยูตลอดเวลา ซ่ึงกอใหเกิดความเครียดได 2.2 สภาพแวดลอมทางชีวภาพ ไดแก ส่ิงแวดลอมที่เปนส่ิงมีชีวิตและสามารถทําอันตรายตอบุคคลได เชน เชื้อไวรัส แบคทีเรีย พยาธิ หรือเชื้อโรคอื่นๆ 2.3 สภาพแวดลอมทางสังคมวัฒนธรรม กลาวคือ ปรากฏการณที่เกิดข้ึนในสังคมและส่ิงที่บุคคลกระทําจะมีผลกระทบตอกันตลอดเวลา ซ่ึงกอใหเกิดความเครียดได 2.4 สถานภาพและบทบาทของคนในสังคม ซ่ึงแตละบุคคลจะมีหลายบทบาท หลายสถานภาพ เชน ถาอยูในครอบครัวอาจมีบทบาทเปนพอ แม อยูที่ทํางานเปนลูกนอง ถา

15

อยูกับพอ แม ก็เปนลูก หรือการเปนเพศชาย เพศหญิง เหลานี้ลวนเปนผลใหบุคคลมีการแสดงออกหรือมีการกระทําที่แตกตางกันออกไปในแตละสถานการณหรือบทบาท ซ่ึงอาจทําใหเกิดความลําบากในการปรับตัวและเกิดความเครียดได 2.5 บรรทัดฐานสังคม แนวทางหรือกฎเกณฑในการประพฤติที่คนสวนใหญในสังคมยอมรับสืบทอดปฏิบัติตาม จนกลายเปนธรรมเนียมปฏิบัติ เปนประเพณีของสังคมนั้น แตบางคร้ังเกณฑดังกลาวก็ไมสอดคลองกับความตองการของบุคคลหรือเปนกฎเกณฑที่เครงครัดมากยอมกอใหเกิดความเครียดกับบุคคลได 2.6 ระบบการเมืองการปกครอง ซ่ึงจะมีผลตอวิถีการดําเนินชีวิตของบุคคล หากเปนระบบการเมือง การถูกควบคุมหรือคุกคาม โดยเฉพาะเร่ืองสิทธิเสรีภาพ การปกครองที่เครงครัดมากหรือการเมืองการปกครองที่ทําใหประเทศขาดความมั่นคงยอมกอใหเกิดความเครียดกับประชาชนได สมบัติ ตาปญญา (2526) ไดอธิบายสาเหตุของการเกิดความเครียดไว ดังนี ้ 1. สภาพแวดลอมทั่วไป เชน มลภาวะ ไดแก เสียงดังเกินไป จากเคร่ืองจักรเคร่ืองยนต อากาศเสียจากควันทอไอเสีย น้ําเสีย ฝุนละออง ยาฆาแมลง การอยูกันอยางเบียดเสียดยัดเยียด เปนตน 2. สภาพเศรษฐกิจที่ไมนาพอใจ เชน รายไดนอยกวารายจาย 3. สภาพแวดลอมทางสังคม เชน การสอบแขงขันเขาเรียน เขาทํางาน เลื่อนข้ัน เลื่อนตําแหนง เปนตน นิสัยในการกิน-ด่ืม ที่สงเสริมความเครียด เชน ผูที่ด่ืมกาแฟบอยๆ สูบบุหร่ี ด่ืมเหลา ตลอดจนกินของกินที่มีน้ําตาลมากๆ มีสัมพันธภาพกับคนอื่นๆที่ไมราบร่ืน มักมีขอขัดแยง ทะเลาะเบาะแวงกับคนอื่นเปนปกติวิสัย ความรูสึกวาตนเองตํ่าตอยกวาคนอื่น ตองพยายามตอสูเอาชนะ ตองการมีอํานาจเหนือผูอื่น ชูทิตย ปานปรีชา (2539 อางถึงใน กฤษณา ชลวิยะกุล และคนอื่นๆ, 2539:10) รายงานถึงสาเหตุของความเครียดไวดังนี้ 1. สาเหตุภายใน หมายถึง ความเครียดที่เกิดจากสาเหตุหรือปจจัยตางๆ ที่มาจากตัวบุคคล สามารถแยกไดเปน 2 ประเภท คือ 1.1 ความเมื่อยลาทางรางกาย เปนภาวะบางอยางของรางกายที่ทําใหเกิดความเครียดเนื่องจากรางกายและจิตใจเปนส่ิงที่แยกกันไมได เมื่อสวนใดสวนหนึ่งชํารุดหรือ

16

เจ็บปวยจะทําใหอีกสวนหนึ่งชํารุดหรือเจ็บปวยไปดวย ฉะนั้น เมื่อรางกายเครียดจะทําใหจิตใจเครียดไปดวย ภาวะตางๆ ที่เปนสาเหตุของความเครียดนี้ไดแก 1.1.1 ความเมื่อยลาทางรางกาย เปนสภาพของรางกายที่ไมสมบูรณแข็งแรงหรือไดผานการทํางานอยางหนักและนาน 1.1.2 รางกายไดรับการพักผอนไมเพียงพอ เปนสภาพของรางกายที่ เกิดจากการตรากตรําทํางานติดตอกันนานๆ 1.1.3 รับประทานอาหารไมเพียงพอ ไมถูกสุขลักษณะ ทําใหรางกายหิวโหย น้ําตาลในเลือดตํ่า รางกายขาดวิตามินและเกลือแร 1.1.4 ความเจ็บปวยทางรางกาย เชน มีโรคประจําตัว ไดรับการผาตัดใหม ทําใหไมอยากอาหาร เนื้อเย่ือของอวัยวะที่ถูกทําลายหรือทํางานไดไมดี เสียน้ํา เสียเลือด เปนผลใหรางกายออนเพลีย 1.1.5 ภาวะติดสุราและยาเสพติด สุราและยาเสพติดไปกดประสาท ทําใหรางกายใชพลังงานมาก เปนผลใหรางกายออนเพลีย ออนแอมากข้ึนทุกขณะ 1.2 สาเหตุทางจิตใจ สภาพจิตใจบางอยางกอใหเกิดความเครียดได 1.2.1 อารมณไมดีทุกชนิด ไดแก ความกลัว ความวิตกกังวล ความโกรธ ความเศรา อารมณดังกลาวกอใหเกิดความทุกขใจ ไมสบายใจ โดยเฉพาะความเศรา ทําใหเกิดความรูสึกส้ินหวัง ไมคิดตอสู ความรูสึกทั้งหมดนี้ทําใหเกิดความเครียด 1.2.2 ความคับของใจ เปนภาวะของจิตใจเกิดข้ึน เมื่อความตองการถูกขัดขวาง ทําใหมีปญหาตองเผชิญ เกิดความรูสึกไมพอใจ โกรธ วิตกกังวล จิตใจเหมือนถูกบีบค้ันเกิดความเครียดมากข้ึน 1.3 บุคลิกภาพบางประการ ทําใหเกิดความเครียดได 1.3.1 เปนคนจริงจังกับชีวิต (Perfectionist) ทําอะไรตองทําใหดีสมบูรณแบบ เจาระเบียบ เปนคนตรง มีมาตรฐานในการดําเนินชีวิตสูง มีความสามารถในการทํางานเหนือกวาผูอื่น ทําใหชีวิตตองทํางานหนักและตองทํางานทุกอยางดวยตัวของตัวเอง จึงเกิดความเครียดไดงาย 1.3.2 เปนคนใจรอน รุนแรง กาวราว ควบคุมอารมณไมอยู คนประเภทนี้อารมณเปลี่ยนแปลงไดมาก มีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาดวย

17

1.3.3 เปนคนตองพึ่งพาผูอื่น คนประเภทนี้ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรูสึกวาตนเองไมเกง ไมกลาตัดสินใจ ไมกลาทําอะไรดวยตนเอง 2. สาเหตุภายนอก หมายถึง ปจจัยตางๆ นอกเหนือจากตัวบุคคล ที่เปนสาเหตุใหเกิดความเครียดซ่ึงไดแก 2.1 การสูญเสียส่ิงที่รัก ไดแก การสูญเสียคนรัก ของรัก ทรัพยสิน หนาที่การงาน ถูกลดตําแหนงหรือยายงาน ธุรกิจลมละลาย เปนตน 2.2 การเปลี่ยนแปลงในชีวิต พบวาในระยะหัวเลี้ยวหัวตอในชีวิตทุกคนจะมีจิตใจแปรปรวน (Psychological Imbalance) ทําใหเกิดความเครียดไมมากก็นอย ระยะ หัวเลี้ยวหัวตอของชีวิต ไดแก การเขาโรงเรียนคร้ังแรก ทํางานคร้ังแรก สมรสใหมๆ มีบุตร คนแรก วัยหมดประจําเดือน ปลดเกษียณอายุใหมๆ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงส่ิงแวดลอมทําใหตองปรับตัว ก็เปนสาเหตุของความเครียดชนิดหนึ่ง เปนการเปลี่ยนแปลงอยางกะทันหันโดยไมคาดคิดหรือไมไดเตรียมตัวไวกอน เชน การยายโรงเรียน ยายงาน ยายที่อยูหรืออพยพยายถิ่น เปนตน 2.3 ภัยอันตรายตางๆ ที่คุกคามชีวิตและทรัพยสิน ไมวาจะเปนที่มนุษยสรางข้ึนหรือภัยธรรมชาติ เชน อยูในถิ่นที่ผูรายชุกชุม ถูกขูทํารายรางกาย อยูในสนามรบ น้ําทวมหรือไฟไหม ภาวะดังกลาวทําใหเกิดการบีบค้ันจิตใจอยางรุนแรง เกิดความเครียดอยางรุนแรงได 2.4 การทํางานชนิดที่ทําใหเกิดความเครียด เชน ขาดความปลอดภัยในที่ทํางาน งานเส่ียงอันตราย งานที่ไมพึงพอใจ มองไมเห็นความสําคัญของงานที่ทําอยู 2.5 ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า ยากจน เปนหนี้สิน ทําใหเกิดภาวะเจริญเติบโตไมสมบูรณ ขาดอาหาร เรียนไดไมเต็มที่ อยูในชุมชนที่แออัด ไมมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ทําใหเกิดความวิตกกังวล หวาดกลัว คิดมาก บีบค้ันจิตใจ 2.6 สภาพของสังคมเมือง มีคนหลั่งไหลเขามาอยู หางานทําในเมืองมากข้ึนเร่ือยๆ อยูกันอยางแออัดยัดเยียด ชีวิตตองแขงขัน ชิงดีชิงเดน การเดินทางไปไหนมาไหนไมสะดวกเพราะการจราจรติดขัด ชีวิตครอบครัวไมอบอุน ขาดอากาศบริสุทธิ์หายใจ สภาพดังกลาวทําใหเกิดความเครียดได บัณฑิต ศรไพศาล (2541 อางถึงใน ศิริรัตน หมางสูงเนิน, 2547: 7) กลาวถึง ความเครียดวาเปนสภาวะที่รางกายและจิตใจของคนเรามีการตอบสนอง หรือต่ืนตัวตอส่ิงเราที่จูโจมเขามา หรือตอบสนองตอเหตุการณใดเหตุการณหนึ่ง ซ่ึงทําใหรางกายเกิดการปรับตัวเพื่อ

18

เตรียมตัวรับกับความกดดันตางๆ รวมทั้งอาจเปนสถานการณืที่ฉุกเฉินหรือเปนอันตรายก็ได (ภาพที่ 2.1) ไดรับการแกไข ไมสามารถ แกไขได

ถาพที่ 2.1 ความสัมพันธระหวางสาเหตุของความเครียดกับผลกระทบของความเครียด ที่มา: คีรีมาส อเต็นตา 2542 อางถึงใน ศิริรัตน หมางสูงเนิน, 2547: 7

Kuper and Davidson (1987 อางถึงใน วชิระบูรย อินสวาง และคนอื่นๆ, 2548: 9) ไดกลาวถึงปจจัยที่เกียวของกับความเครียดไว 6 ประการ ดังนี้ 1. ดานการงาน ไดแก องคประกอบและลักษณะของงานนั้น บทบาทในองคการ ความกาวหนาของงานอาชีพ ความสัมพันธของผูรวมงาน และการสนับสนุนทางสังคมของการทํางาน โครงสรางของการทํางาน และบรรยากาศการทํางาน 2. ดานครอบครัว ไดแก ความสัมพันธของคูสมรสและบุตร ส่ิงแวดลอมของบานและเพื่อนบาน ฐานะครอบครัว การสนับสนุนทางสังกัดจากครอบครัว 3. ดานสังคม ไดแก บรรยากาศ อาหาร การเดินทาง เมืองที่อาศัย งานอดิเรก 4. ดานบุคคล ไดแก คุณลักษณะของบุคคล เชน อายุ การศึกษา ศาสนา

เหตุการณที่เปนส่ิงเราซ่ึงมีทั้งทางบวก และทางลบ

เกิดภาวะความเครียด

มีโอกาสและทําใหผอนคลาย

การตอบสนองทางรางกายและจิตใจ

เกิดเปนปญหา เชน วิตกกังวล ซึมเศรา

19

5. ดานส่ิงแวดลอม ในขณะที่สังคมกําลังเปลี่ยนไปทุก ๆ ดาน ทําใหคนตองการปรับตัวกับส่ิงใหม ส่ิงแวดลอมเปนพิษ ความขัดแยงการเมือง อาชญากรรม ความเปลี่ยนแปลงของคานิยมในชุมชน 6. การเงิน เงินไมไดมีความหมายในเชิงเศรษฐกิจเทานั้น จากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา สาเหตุของความเครียดเกิดจากสถานการณหรือเหตุการณใดๆก็ตาม ที่ผลักดันใหรางกายและจิตใจผิดไปจากเดิม ทําใหไมสบายใจ วิตกกังวล ผุดลุกผุดนั่ง อารมณเสีย ไมมีสมาธิ ไมพอใจ บางคนเมื่อเกิดอารมณเครียด ก็แสดงออกทางกายดวย เชน ปวดหัว นอนไมหลับ กินไมได ออนเพลีย เปนตน โดยปกติความเครียดจะเกิดเพราะสาเหตุ 5 ประการ คือ 1. เกิดจากความกดดัน ทุกวันนี้คนเราถกูกดดันจากสภาพแวดลอม และบุคคลรอบขาง 2. เกิดจากความวิตกกังวล คนที่ชอบคิดมาก กังวลกับอดีต วิตกกังวลอนาคต ยอมไมมีความสุขในชีวิต คนเหลานี้จะนอนไมหลับ อารมณหงุดหงิด รูสึกผิด ซึมเศรา ออนเพลีย 3. เกิดจากความคับของใจ โดยปกติคนเรามักจะมีเปาหมายในชีวิตหรือการทํางาน แตเมื่อถูกขัดขวางจะเกิดอาการเครียดไดงาย 4. เกิดจากการขัดแยง มีบอยคร้ังที่เรามีการขัดแยงในใจ เมื่อจําเปนตองตัดสินใจใหเลือกอยางหนึ่งอยางใดเพียงอยางเดียว บางคนอยากไดเงินมากแตไมชอบทํางานมาก การที่ตองทําอะไรดวยความจําใจก็เปนเหตุใหเกิดความเครียดได 5. เกิดจากความผิดปกติทางดานรางกายของตนเอง เชน ความพิการ ความผิดปกติของอวัยวะสวนหนึ่งสวนใดของรางกาย หรือปวยเปนโรคเร้ือรัง และโรคประจําตัวที่ไมมีทางรักษาใหหายขาดได จึงทําใหเกิดความเครียดข้ึนในตลอดเวลา 2.1.3 ผลของความเครียด

กัญญา ธัญมันตา (2541: 164-165) ไดกลาวถึงผลของความเครียดไววา ผูมีความเครียดสวนใหญจะไมบอกวาตนเองเครียดแบบตรงไปตรงมา แตจะพูดถึงความเจ็บปวยอื่นๆ แทน เชน เจ็บปวยทางรางกาย ไมวาจะเปน เมื่อย ปวดศีรษะ หรือบนถึงอาการทางจิตใจบาง เชน เพลีย เบื่อ เซ็ง เปนตน บางคร้ังมีอาการปวยจนตองรักษาทางยาก็ได สรุปไดวา ผูปวยตกอยูในสภาวะความเครียด มักสงผลกระทบใหสังเกตเห็นไดใน 4 ดาน ตอไปนี ้

20

1. แสดงความทุกขทางจิตใจ ไมสบาย เซ็ง เบื่อ เศรา กลัว กังวล กลุมใจ โกรธงาย รองไห รูสึกไมมีใครชวยได อารมณเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว เสียสมาธิ ลืมงาย อาจมีอาการคิดแลว คิดอีกซํ้าๆ 2. มีอาการทางกาย เชน เหนื่อยงาย ปวดศีรษะ กลามเนื้อหดเกร็ง ปวดเมื่อย หัวใจ เตนผิดจังหวะ รูสึกหายใจไมเต็มอิ่ม อาจมีอาการคลื่นไสหรืออาหารไมยอย ทานขาวไดนอย รูสึกเจ็บแตบอกตําแหนงไมได เชน ขา แขน หนาอก ในผูหญิงประจําเดือนอาจมาไมปกติ 3. มีการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมเชน เคลื่อนไหวนอยลง ไมคอยมีแรง หรืออาจดูมีกิจกรรมมากไมหยุด ใชยาตางๆ เพื่อลดความตึงเครียด มีสมาธิในงานนอย มีปญหาการนอน เชน นอนมากไปหรือนอนไมหลับ ต่ืนบอย ฝนมาก หรือหลับกลางวันทั้ง ๆที่ไมเคยหลับ เปนตน 4. ความสัมพันธกับผูอื่นเปลี่ยนไป เชน ไมสนใจใคร ไมสุงสิงกับใคร ทะเลาะ ขัดแยง พึ่งพาคนอื่นมากไป ตัดสินใจอะไรไมได ตองการคนคอยชวยเหลือดูแล มนตรี นามมงคล และคนอื่น ๆ(2540: 9) ไดเสนอผลของความเครียดไว ดังนี้ 1. ความเครียดในระดับตํ่าๆ จะเพิ่มความสามารถในการทํางานใหสูงย่ิงขึ้น ความสําเร็จที่ไดรับจะสรางความสุขใจใหเกิดข้ึน 2. ความเครียดในระดับปานกลาง อาจมีผลกระทบตอพฤติกรรมในลักษณะที่ทําอะไรซํ้าๆ บอยๆ เชน กินมาก นอนไมหลับ ตลอดจนติดเหลา ติดยาได 3. ความเครียดในระดับรุนแรง ถาบุคคลปรับตัวไมทัน อาจทําใหเกิดพฤติกรรมกาวราวรุนแรง หรือซึมเศรา อาจทําใหเกิดโรคประสาท โรคจิต ไมรับรูความจริง ไมสามารถควบคุมตนเองได 4. ความเครียดในระยะยาว อาจทําใหเกิดโรคทางกายไดหลายโรค เชน โรคกระเพาะ โรคหัวใจ รวมทั้งแกเร็ว อายุส้ันลงได การเกิดความเครียดบอยๆ อาจทําใหการทํางานของจิตแปรปรวน บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง บุคคลจะปรับตัวเขากับสังคมไดยาก ถาความเครียดนอยลงหรือหมดไป ก็จะทําใหบุคคลนั้นกลับสูภาวะปกติได Selye (1950 อางถึงใน วีระ ไชยศรีสุข 2533: 178) นายแพทยชาวออสเตรีย รายงานวา ความเครียดชนิดเดียวกันมีผลตอมนุษยแตละคนไมเหมือนกัน เชน ความเครียดของมนุษยที่อาศัยอยูในเมืองที่มีการจราจรแออัด บางคนรูสึกทอแท หดหู ไมออกจากบานไปไหน แตบางคนรูสึกต่ืนเตน สนุกสนานในการเดินทางทามกลางหมูผูคนมากๆ ในทํานองเดียวกัน

21

กับทหารในสนามรบ บางคนมีความกระตือรือรน มีขวัญและกําลังใจ มีความภาคภูมิใจที่จะออกรบเพื่อรับใชชาติแตบางคนกลับคิดถึงบาน ครอบครัว รูสึกผิดหวังและสํานึกผิดวาเปนบาปในการจับอาวุธมาฆาผูอื่นโดยมิไดรูจักกันและไมมีความผิดพองหมองใจกัน เมื่อมีตัวเรงความเครียดเกิดข้ึน ก็จะเกิดปฏิกิริยาทางรางกายเพื่อปรับตัว ดังนี้ 1. อาการบอกเหตุ (Alarm Reaction Stage) จะเกิดข้ึนเฉพาะแหง ซ่ึงเนื่องมาจากตัวเรงใหเกิดความเครียด ปฏิกิริยาที่เกิดข้ึนจะเกิดโดยผานระบบประสาทและตอมไรทอ เชน ตอมพิทูอิทารี (Pituitary) จะหลั่งฮอรโมนออกมา ทําใหรางกายสามารถตอตานตัวเรงความเครียด และปรับรางกายใหอยูในภาวะสมดุล 2. อาการตอตาน (Resistance Stage) ในระหวางชวงนี้ การเปลี่ยนแปลงทางชีววิทยาจะเกิดข้ึนเพื่อรักษาสภาพตอตานของส่ิงมีชีวิตตอตัวเรงความเครียด ในบางสถานการณ ทําใหเกิดระดับความสมดุลทางสรีระวิทยาเกิดข้ึน 3. ข้ันหยุดทํางาน (Exhaustion Stage) ถามนุษยอยูภายใตเหตุการณที่มีความเครียดนานๆ ความตานทานไมสามารถจะทําใหรางกายยังคงรักษาสภาพคงที่ไวไดและความเครียดยังคงมีอยูตอไป อาจทําใหเสียชีวิตได เพราะอวัยวะหยุดทํางาน วีระ ไชยศรีสุข (2533: 182) กลาววา รางกายและจิตใจมีการทํางานประสานกัน ไมสามารถแยกออกจากกันไดอยางอิสระ ดังนั้นเร่ืองของความเครียดที่เกิดข้ึนจึงมีผลตอการปรับตัวทั้งทางรางกายและจิตใจ ซ่ึงมีผลตอสุขภาพจิตโดยทั่วไปดวย กระบวนการเกิดความเครียดและผลที่ตามมามี ดังนี้ 1. ตัวเรงใหเกิดความเครียดมีผลตอรางกาย เชน มีการเคลื่อนไหวและการใชพลังงานเพื่อรักษาสมดุล ตัวเรงนี้อาจจะเกิดกับรางกาย เปนตนวา อุณหภูมิของอากาศ มีเชื้อโรคเขาสูรางกาย หรืออาจเกิดทางดานอารมณ เชน ความกลัว ความโกรธ ความเกลียด ความผิดหวัง ฯลฯ เวลาที่เกิดอาจเกิดทันทีทันใด หรือคอยเปนคอยไปทีละนอย 2. ความเครียดที่เกิดข้ึนอาจจะเปนปฏิกิริยาตอบโตตอตัวเรงเฉพาะที่หรือกระจายทั่วไป ตัวเรงทางกายภาพ เชน อุณหภูมิรอน-เย็น อาจจะมีผลตอสรีระวิทยา อากาศที่รอนมากๆ ทําใหมนุษยรูสึกหงุดหงิด เกิดโทสจริต โมโหงาย เชนเดียวกัน ตัวเรงความเครียดทางอารมณก็จะมีผลทางสรีระวิทยาดวย 3. การปรับตัวจะเกิดข้ึนทางสรีระวิทยา หรือทางจิตใจ หรืออาจจะเกิดข้ึนพรอมกันทั้งสองอยาง

22

4. ความผิดปกติในทางรางกายแตเพียงเล็กนอย อาจจะนําไปสูความผิดปกติของอวัยวะภายในที่สําคัญได ถามีความเครียดเกิดข้ึนมาดวย 5. เมื่อเกิดความผิดปกติของอวัยวะแลว อาจจะทําใหรางกายไมสามารถจะปรับตัวใหกลับคืนสภาพปกติได ก็อาจจะทําใหตายได เพราะอวัยวะนั้นหยุดทํางาน สมบัติ ตาปญญา (2526) ผลกระทบจากความเครียดที่มีตอรางกายเปน 2 สวน คือ 1. ผลตอสุขภาพทางกาย ไดแก อาการไมสบายทางกายตางๆเชน ปวดหัว ปวดเมื่อยตามสวนตางๆของรางกาย ความผิดปกติของหัวใจ ความดันโลหิตสูง โรคกระเพาะ อาการทองผูกทองเสียบอยๆ นอนไมหลับ หอบหืด เส่ือมสมรรถภาพทางเพศ ฯลฯ 2. ผลตอสุขภาพจิต นําไปสู ความวิตกกังวล ซึมเศรา กลวัอยางไรเหตุผล อารมณไมมั่นคง เปลี่ยนแปลงงาย หรือโรคประสาทบางอยาง นอกจากนี ้ ความเครียดสงผลตอรางกายและจิตใจ ยอมสงผลไปถึง ประสิทธิภาพในการทํางาน สัมพันธภาพตอครอบครัวและบุคคลแวดลอม และเมื่อประสิทธิภาพในงานตกตํ่า สัมพันธภาพเส่ือมทรามลง จิตใจยอมไดรับผลตึงเครียดมากข้ึนซํ้าซอน นับวาความเครียดเปนภัยตอชีวิตอยางย่ิง สุภาส เครือเนตร (2541 อางถึงใน วชิระบูลย อินสวาง และคนอื่นๆ, 2548: 13) ไดกลาววา ความเครียดมีผลกับชีวิต ซ่ึงหมายถึงเมื่อความเครียดมีการกอตัวข้ึนและสะสมมากๆข้ึน กอกใหเกิดความเครียดเร้ือรัง ซ่ึงเส่ียงตอการปวยเปนโรคและที่สําคัญ คือ เกิดการปวยทางจิตใจซ่ึงปจจุบันมีจํานวนมากกวาอาการปวยทางกาย นอกจากนี้ถาจิตใจมีความเครียดแอบแฝง พลังอารมณนี้จะทําใหมีการเปลี่ยนแปลงภายในรางกายได Farmer and other (1984: อางถึงใน ศิริรัตน หมางสูงเนิน, 2547: 23) กลาววาผลของความเครียดมักจะเก่ียวของกับอารามณ ความรูสึก เชน ความซึมเศรา ความวิตกกังวล ความหงุดหงิด ฉุนเฉียว รวมทั้งมีผลทางสรีระ เชน การปวดหัว คลื่นไส ซ่ึงเปนปฏิกิริยาที่เปนของรางกายที่มีตอเหตุการณของความเครียดในสถานการณนั้น และเมื่อมีความเครียดเกิดข้ึนจะมีการเปลี่ยนทางสรีระวิทยาในระบบอื่นๆ เนื่องจากระบบประสาทสวน Sympathetic จะกระตุนตอมหมวกไต Adrenal หลังฮอรโมน Adrenaline มากกวาปกติ (แผนภูมิที่ 2.2)

23

ความเครียด Strees

แผนภูมิที่ 2.2 การเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาซ่ึงเปนผลมาจากความเครียด ที่มา : ชัยวัฒน เพชรกูล 2539 อางถึงใน ศิริรัตน หมางสูงเนิน, 2547: 23

แรงกระตุนตอ Sympathetic Nerves

Adrenal สวน Medulla

ตา มานตาขยาย

Adrenal ในเลือด

เลือด แข็งตัวเร็วข้ึน เลือดจากสวนตางๆ ไหลไปยังกลามเนื้อมาก

ทางเดินอาหาร มีการเคลื่อนไหว

ตับ อาหารสะสมถุกปลอย

ออกมา น้ําตาลในเลือดสูง

ปอด หลอดลมขยาย หายใจเร็ว เพิ่มออกซิเจนมาก

ข้ึน

เม็ดเลือดแดง ถูกปลอยเพิ่มข้ึน

ใหออกซิเจนไปสูสวนตางๆ

ของรางกาย

หัวใจ เตนแรง สูบฉีด

โลหิตไปยังกลามเนื้อมาก

กระตุน Hypothalamus

24

2.1.4 ระดับของความเครียด กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข (2533 อางถึงใน เย็นตา กรวิจิตกุล, 2543: 12) กลาววา ระดับความเครียดที่ตางกันยอมสงผลกระทบตอรางกายและจิตใจที่แตกตางกันไปดวย คือ 1. ความเครียดในระดับตํ่า จะเปนตัวผลักดันใหคนทํางานไดดีข้ึน กระตือรือรน ไมเกียจครานนิ่งดูดาย 2. ความเครียดระดับปานกลาง อาจมีผลตองาน นอนไมหลับ กินมากจนเกินกวาปกติ ติดสุราหรือสารเสพติด เปนตน 3. ความเครียดในระดับรุนแรง อาจสงผลใหเกิดการกระทําที่กาวราว บาดีเดือดหรือซึมเศรา หรืออาจถึงข้ันวิกลจริตไมสามารถควบคุมตัวเองได Janis (1982 อางถึงใน เย็นตา กรวิจิตรกุล, 2543: 11) แบงระดับความเครียดออกเปน 3 ระดับดวยกัน คือ 1. ความเครียดระดับตํ่า (Mild Stress) เปนความเครียดที่เกิดข้ึนและส้ินสุดลงในระยะเวลาอันส้ัน อาจเพียงวินาทีหรือชั่วโมงเทานั้น ซ่ึงเก่ียวของกับสาเหตุหรือเหตุการณในชีวิตประจําวันเพียงเล็กนอยเทานั้น เชน การจราจรติดขัดขณะเดินทางไปทํางานหรือการพลาดเวลานัดหมาย เปนตน 2. ความเครียดระดับกลาง (Moderate Stress) ความเครียดระดับนี้รุนแรงกวาระดับแรก อาจอยูหลายชั่วโมงหรือเปนวัน เชน การเจ็บปวยที่ไมรุนแรง การทํางานมากเกินไปหรือความขัดแยงกับเพื่อนรวมงาน เปนตน 3. ความเครียดระดับสูง (Severe Stress) ความเครียดระดับนี้รุนแรงมาก มีการแสดงอาการอยูนานเปนสัปดาห หรืออาจเปนเดือน เปนป สาเหตุของความเครียดรุนแรงหรืออาจมีหลายสาเหตุ เชน การสูญเสียส่ิงของหรือบุคคลอันเปนที่รัก ความเจ็บปวยรุนแรงหรือพลัดพราก การสูญเสียอวัยวะรางกายที่สําคัญตอการดํารงชีวิต ชูทิตย ปานปรีชา (2539: 90) ไดแบงระดับของความเครียดไวเปน 3 ระดับ คือ 1. ระดับแรก เปนภาวะจิตใจที่มีความเครียดอยูเล็กนอย ยังถือเปนภาวะปกติ พบไดในชีวิตประจําวันของทุกๆ คน ขณะกําลังเผชิญกับปญหาตางๆ หรือกําลังตอสูกับความรูสึกที่ไมดีของตนเอง ความเครียดเล็กนอยนี้อาจไมรูสึกเพราะความเคยชิน หรือรูสึกเพียงเล็กนอยพอทนได ไมมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาของรางกาย ความนึกคิด อารมณและพฤติกรรมใหเห็นไดชัด ไมเกิดผลเสียในการดํารงชีวิต

25

2. ระดับสอง เปนภาวะของจิตใจที่มีความเครียดปานกลาง เปนระยะที่รางกายและจิตใจตอสูกับความเครียดที่มี แสดงใหเห็นโดยมีการเปลี่ยนแปลงสรีระวิทยาของรางกาย ความคิด อารมณ พฤติกรรมและการดําเนินชีวิต ความเครียดระดับนี้เปนสัญญาณเตือนภัยวามีความเครียดมากกวาปกติ ตองรีบจัดการสาเหตุที่ทําใหเกิดความเครียดหรือผอนคลายความเครียดลงเสีย ถาปลอยใหความเครียดเพิ่มข้ึน จะทําใหเกิดพยาธิสภาพของรางกายและจิตใจเกิดเปนโรคตางๆ การดําเนินชีวิตประจําวันเสียไป ทําใหรางกายทํางานเลวลงหรือผิดพลาด 3. ระดับสาม เปนภาวะจิตใจที่มีความเครียดรุนแรงหรือเครียดมาก รางกายและจิตใจพายแพตอความเครียด มีการเปลี่ยนแปลงของรางกายและจิตใจใหเห็นชัดเจน มพียาธิสภาพหรือปวยเปนโรคข้ึน ทําใหการดําเนินชีวิตเสียไป การตัดสินใจผิดพลาด ระยะนี้ตองการการดูแลและรักษาตัว แมสาเหตุที่ทําใหเกิดความเครียดหมดไปหรือรูจักผอนคลายดวยตนเองก็ยังไมสามารถจะทําใหความเครียดหมดไปไดโดยงาย การชวยเหลือตัวเองไมเพียงพอ ตองมีผูอื่นเขามาชวยดวย จากที่กลาวมาสรุปไดวา ความเครียดสามารถแบงออกไดเปน 4 ระดับ คือ 1. ความเครียดระดับปกติ เปนระดับที่กระตุนตัวของเราใหดําเนินชีวิตตามระบบของสังคมที่ เหมาะสม เชน การที่ ต่ืนนอนแตเชา การที่ตองพูดหนาชั้น ฯลฯ เปนระดับความเครียดที่เปนประโยชน 2. ความเครียดระดับตํ่า อาจเกิดข้ึนในบางชวงของชีวิต หรือมีเหตุการณบางอยางเปนคร้ังคราว เชน การเตรียมตัวสอบปลายเทอม การเรงสงงานบางอยาง 3. ความเครียดระดับปานกลาง เปนส่ิงที่เปนปญหาเร้ือรังและยาวนาน เชน ตกงานมาหลายเดือน มีหนี้สินมาก เจ็บปวยมานาน 4. ความเครียดระดับสูงสุด คือ เครียดมากอาจเกิดจากเร่ืองสุดวิสัย เหตุการณรุนแรงไมคาดฝน เชน เกิดอุบัติเหตุ ภัยธรรมชาติ คนในครอบครัวเสียชีวิต 2.1.5 การแกปญหาความเครียด สมบัติ ตาปญญา (2526) ไดเสนอวิธีลดความเครียดไว 2 ทางดวยกัน คือ 1. วิธีแกไขที่ปลายเหตุ ไดแก การใชยา เชน ยาหมอง ยาดม ยาแกปวด ยาลดกรดในกระเพาะ ยากลอมประสาท แตวิธีการดังกลาวไมไดแกไขความเครียดที่ตนเหตุ

26

อาจทําใหความเครียดนั้นเกิดข้ึนไดอีก 2. วิธีแกไขที่ตนเหตุ ไดแก แกไขเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตที่เอื้ออํานวยใหเกิดความเครียด เชน งานอดิเรกที่ชอบ ฝกออกกําลังกาย บริหารรางกายแบบงายๆ เปนตน เปลี่ยนแปลงนิสัยและทัศนคติตอการดําเนินชีวิต เชน ลดการแขงขัน ผอนปรน ลดความเขมงวด ในเร่ืองตางๆ หาความรูความเขาใจเก่ียวกับโภชนาการ เชน รูวาอาหาร เคร่ืองด่ืมบางประเภทชวยสงเสริมความเครียด สํารวจและเปลี่ยนแปลงทัศนคติตอตัวเองและผูอื่น เชน มองตัวเองในแงดี มองผูอื่นในแงดี สํารวจและปรับปรุงสัมพันธภาพตอคนในครอบครัวและสังคมภายนอก ฝกผอนคลายโดยตรง เชน การฝกหายใจใหถูกวิธี การฝกสมาธิ การออกกําลังกายแบบงายๆ การฝกผอนคลายกลามเนื้อ การนวด การสํารวจทานั่ง นอน ยืน เดิน การใชจินตนาการ นึกภาพที่ร่ืนรมย เมื่อคุณเกิดความเครียดข้ึนมา ลองพยายามนึกทบทวนดูวา เกิดจากสาเหตุอะไร และเลือกใชวิธีลดความเครียดดังที่กลาวมา วิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีรวมกัน อาจทําใหความเครียดผอนคลายหรือไมเครียดเลยก็ได กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (2533: 5-7) ไดเสนอแนะวิธีการแกไขและผอนคลายความเครียดไว ดังนี้ 1. รักษาสุขภาพสม่ําเสมอ เมื่อสุขภาพดี อาหารดี มีการออกกําลังและพักผอนเพียงพอก็พรอมที่จะเผชิญกับความเครียด 2. งานอดิเรกที่มีประโยชนทําในยามวาง เปนการดึงความสนใจจากงานและปญหาที่มีอยู เชน ปลูกตนไม เย็บปกถักรอย คุยสังสรรคกับเพื่อน 3. พยายามทําเร่ืองสนุกสนานทิ้งปญหาตางๆ ไปชั่วคราวเมื่อมีอารมณดีข้ึนแลวคอยสูใหม 4. อยาลืมวาทุกคนมีปญหาเมื่อมีปญหาและรูสึกเครียดก็ปลอบใจวา “แลวมนัก็ผานไปเอง” 5. ฝกทําใจใหปกติรับส่ิงที่มันเกิดข้ึนทั้งดีและรายดวยใจสงบ คือ ทําตนที่จะรับตอเหตุการณตางๆ 6. ฝกผอนคลายกลามเนื้อซ่ึงเปนวิธีไดผลดีมาก 7. หัดมองแตส่ิงที่ดีในตัวคนอื่นอยาสนใจโตแยงในส่ิงที่ไมจบส้ิน 8. มุงหนารับฟงปญหาเพียงดานเดียวอยาใหมีปญหาหลายปญหาหลายดานเขามาอยูในอารมณ เชน การทํางานก็ใหเลือกงานที่คิดวาที่สําคัญที่สุด

27

9. รูจักแพ รูจักชนะ การแขงขันใดๆ ตองคิดวาชัยชนะไมจําเปนตองไดรับทุกคร้ังไปยอมมีแพบาง 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติ

2.2.1 ความหมายของทัศนคต ิ เจตคติ หรือทัศนคติ หมายถึง ความเห็น ความรูสึก ความพรอมที่จะแสดงออกของบุคคลที่มีตอส่ิงรอบๆ ตัวเขา (มานี ชูไทย, 2523: 13) เจตคติ หรือทัศนคติ หมายถึง ความรูสึกและปฏิกิริยาความพรอมที่จะกระทําใน เชิงบวก หรือเชิงลบ ทีม่ีตอเปาหมาย (บุคคล ส่ิงของ เร่ืองราว หรือสถานการณ) (โยธิน ศันสนยุทธ และจุมพล ภัทรชีวิน, 2524 อางถึงในประสิทธ ทองอุน, 2542: 29 ) เจตคติ หรือทัศนคติ คือ สภาพความคิด ความเขาใจ และความรูสึกเชิงประเมินที่บุคคลมีตอส่ิงตางๆ (วัตถุ สถานการณ ความคิด ผูคน ฯลฯ) ซ่ึงจะทําใหบุคคลมีแนวโนมที่จะแสดงพฤติกรรมตอส่ิงนั้นๆ หรือผูคนนั้นๆ ในลักษณะเฉาะตัว ตามทิศทางของเจตคติ หรือ ทัศนคติที่มีอยู (สงวนศรี วิรัชชัย, 2527: 61) ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2530: 3) ไดใหความหมายไววา ทัศนคติเปนความคิดเห็นซ่ึงมีอารมณเปนสวนประกอบ และพรอมที่จะมีปฏิกิริยาเฉพาะตอสถานการณภายนอกทัศนคติของบุคคลเปนส่ิงที่มีผลทําใหเกิดการปฏิบัติของบุคคล หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวาเปนสวนประกอบทางดานปฏิบัติหรือทางพฤติกรรม สมทรง รักษเผา สรงกฎณ ดวงคําสวัสด์ิ (2540: 31) ทัศนคติ หรือเจตคติ หมายถึง แนวโนมของจิตใจความรูสึกที่คงที่ที่มีตอส่ิงหนึ่งส่ิงใด บุคคลหนึ่งบุคคลใด หรือสถานการณหนึ่งสถานการณใด เปนผลมาจากประสบการณและความเชื่อที่สะสมกันมาและผานการประเมินคุณคาในลักษณะของดีหรือไมดีโดยบุคคลนั้นๆ แลว ทัศนคติทางสุขภาพสวนใหญอยูในลักษณะของความรูสึกนึกคิดที่มีตอเร่ืองตางๆที่เก่ียวกับสุขภาพ โดยมีการประเมินคุณคาในเร่ืองนั้นๆ ดวย ถาทัศนคติของบุคคลที่มีตอส่ิงหนึ่งส่ิงใดเปนไปในทิศทางใด พฤติกรรมหรือการกระทําก็จะเปนไปทิศทางนั้น

ราชบัณฑิตยสถาน (2542: 521) ไดใหความหมายไววา “ทัศนคติ” หมายถึง แนวความคิดเห็นที่บุคคลไดรับหรือเรียนรูมาและเปนแบบอยางในการแสดงปฏิกิริยา

28

สนับสนุนหรือเปนปฏิปกษตอบางส่ิงบางอยาง หรือตอบุคคลบางคน ทัศนคติสามารถเห็นไดจากพฤติกรรมการแสดงออกมา ทัศนคติ (Attitude) หมายถึง การประเมินหรือตัดสินเก่ียวกับความชอบหรือไมชอบในวัตถุ คน เหตุการณซ่ึงจะสะทอนใหเห็นถึงความรูสึกของคนๆหนึ่ง เก่ียวกับบางส่ิงบางอยาง ทัศนคติ ไมใชส่ิงเดียวกับคานิยม เพราะคานิยมเปนส่ิงที่ เราเห็นคุณคา แตทัศนคติเปนความรูสึกดานอารมณ (พอใจหรือไมพอใจ) แตทั้งสองอยางมีความสัมพันธเก่ียวของกัน หรือหมายถึง ความรูสึก ความเชื่อของบุคคลที่มีตอสภาพแวดลอม ความมุงมั่นที่จะปฏิบัติตามภาวะผูกพันธที่มีตอองคกร และเชื่อวาความรูสึกนี้จะมีผลตอการแสดงพฤติกรรมของบุคคล ทัศนคติคือพลังอยางหนึ่งที่มองไมเห็น เชนเดียวกับสัญชาตญาณ หรือแรงจูงใจ แตพลังซ่ึงสามารถผลักดันการกระทําบางอยางที่สอดคลองกับความรูสึกของทัศนคติ อาจกลาวไดวา ทัศนคติคือ ทาทีแนวโนมของบุคคลที่แสดงตอส่ิงใดส่ิงหนึ่ง โดยอาจเปนบุคคล หรือกลุมคน (ศิริวรรณ เสรีรัตน และคนอื่นๆ, 2542: 94 ) จึงกลาวไดวาลักษณะทั่วไปของทัศนคติเปนส่ิงที่เกิดจากการเรียนรู หรือไดรับจากประสบการณมิใชเปนส่ิงที่ติดตัวมาต้ังแตกําเนิด ซ่ึงเปนส่ิงที่ชี้แนวทางในการแสดงพฤติกรรมคือ ถามีทัศนคติที่ดีก็มีแนวโนมเอียงที่จะเขามาหรือแสดงพฤติกรรมนั้น สามารถถายทอดจากบุคคลหนึ่งไปสูอีกบุคคลหนึ่งได และเปนส่ิงที่สามารถเปลี่ยนแปลงได กลาวโดยสรุป ทัศนคติ หมายถึง ทาทีหรือความรูสึกตอส่ิงใดส่ิงหนึ่ง ภายหลังจากที่บุคคลไดรับประสบการณในส่ิงนั้นอาจเปนไปในทางบวก คือ เห็นชอบดวยหรือสนับสนุนพอใจ หรือเปนไปในทางลบ คือ ไมชอบ ไมสนับสนุน ไมพอใจหรือคัดคาน 2.2.2 องคประกอบของทัศนคต ิ ทัศนคติประกอบดวยองคประกอบที่มีความสําคัญ 3 ประการ คือ 2.2.2.1 Cognition Component เปนองคประกอบที่เก่ียวกับความเชื่อความรูสึก ของบุคคลตอส่ิงใดส่ิงหนึ่ง หากบุคคลมีความรูหรือเชื่อวาส่ิงใดดี ก็มักจะมีทัศนคติที่ดีตอส่ิงนั้น ในทางตรงขาม หากมีความรูมากอนวา ส่ิงใดไมดี ก็จะมีทัศนคติที่ไมดีตอส่ิงนั้น 2.2.2.2 Feeling Component เปนองคประกอบทางดานความรูสึกของบุคคลซ่ึงมีอารมณเก่ียวของอยูดวย นั้นคือ หากบุคคลมีความรูสึกรัก หรือชอบคอในบุคคลใด หรือส่ิง

29

ใด ก็จะชวยใหเกิดทัศนคติที่ดีตอบุคคลนั้นไปดวย แตถาหากมีความรูสึกโกรธ หรือเกลียดบุคคลใด ส่ิงใด ก็จะทําใหมีทัศนคติที่ไมดีตอบุคคลหรือส่ิงนั้น 2.2.2.3 Action Tendency Component เปนองคประกอบที่เก่ียวกับพฤติกรรมบุคคล คือ ความโนมเอียงที่บุคคลจะแสดงพฤติกรรมตอบโตอยางใดอยางหนึ่งออกมา พฤติกรรมที่แสดงออกมานั้น เกิดจากความรูและความรูสึกที่เขามีอยูเก่ียวกับวัตถุ เหตุการณ หรือบุคคลนั้นๆ (สุชา จันทรเอม, 2541: 242-243) สรุปองคประกอบของทัศนคติประกอบดวย 3 ประการคือ 1. เปนสวนของความรู ความเชื่อ 2. เปนสวนของความรูสึก ที่มีอารมณมาเก่ียวของ 3. เปนสวนของพฤติกรรมที่เกิดจากความรู หรือประสบการณ 2.2.3 ลักษณะของทัศนคต ิ ทัศนคติโดยทั่วไป จะมีลักษณะที่สําคัญ ดังนี้ 2.2.3.1 ทัศนคติที่มีหมาย หรือที่หมายของทัศนคติ (Object of Attitude หรือ Target of Attitude) ไดแก วัตถุ ส่ิงของ บุคคล กลุมคน สถานที่ เหตุการณ และสถานการณตางๆ ที่บุคคลไดรับรู มีประสบการณ และเกิดความคิดความเขาใจ ความรูสึก หรือทัศนคติตอส่ิงนั้น 2.2.3.2 ทัศนคติเกิดจากประสบการณ หรือเกิดจากการเรียนรู เวลาที่คนเรามีประสบการณ หรือไดเรียนรูบางส่ิงบางอยาง จะประเมินและทําความเขาใจประสบการณ หรือส่ิงที่ไดเรียนรูนั้น ความคิด ความรูสึกที่เกิดจากการประเมินผูคน เหตุการณ สถานการณที่เก่ียวของกับประสบการณนั้นๆ คือ ทัศนคติ แตถาเราไมมีประสบการณเก่ียวกับบุคคล หรือส่ิงใด เราก็จะไมเกิดทัศนคติตอส่ิงนั้น 2.2.3.3 ทัศนคติที่มีทิศทางการประเมิน (Direct of Evaluation) ทิศทางของการประเมินคือ ลักษณะความรูสึกหรืออารมณที่เกิด ถาเปนความรูสึก หรือประเมินคาวา ชอบพอใจ เรียกไดวา ทัศนคติในทางบวก หรือทัศนคตินิมาน (Positive Attitude) และถาความรูสึกประเมินวาไมเห็นดวย ไมชอบ เรียกไดวา มีทิศทางในทางลบ หรือทัศนคตินิเสธ (Negative Attitude)

30

2.2.3.4 ทัศนคติมีความเขม (Intensity) คือ มีปริมาณมากนอย เชน ถาชอบมากหรือไมเห็นดวยอยางมาก ก็แสดงวามีความเขมสูง ถาชอบนอย หรือไมเห็นดวยนอย ก็จัดวาเปนทัศนคติที่มีความเขมตํ่า 2.2.3.5 ทัศนคติมีความคงทน เมื่อทัศนคติเกิดข้ึนแลว ก็จะเปลี่ยนแปลงไดยาก โดยเฉพาะทัศนคติที่เกิดจากการสรางสมประสบการณมาต้ังแตเด็ก 2.2.3.6 ทัศนคติบงบอกถึงความสัมพันธ ระหวางบุคคลผูเปนเจาของทัศนคติ กับส่ิงของ ผูคน เหตุการณ หรือสถานการณตางๆ ที่ เปนที่หมายของทัศนคติ ลักษณะความสัมพันธนั้น จะเปนไปตามทิศทางของความรูสึกและอารมณ หรือความผูกพัน (สงวนศรี วิรัชชัย, 2527: 62) 2.2.4 การเกิดและการเปล่ียนแปลงทัศนคต ิ 2.2.4.1 การเกิดทัศนคติ ทัศนคติอาจเกิดได จากสาเหตุ 3 ประการ 1) ประสบการณตรง (Direct Experience) เชน ประชาชนต้ังใจจะมารับบริการดานการรักษาพยาบาล หรือขอคําแนะนําจากเจาหนาที่สาธารณสุข แตไปพบเจาหนาที่ที่กําลังดุวาผูอื่น และทําใหผูนั้นไดรับความอับอาย ทําใหประชาชนมีทัศนคติที่ไมดีตอเจา หนาที่สาธารณสุข เปนตน 2) ประสบการณรุนแรง (Trauma Experience) เชน คนที่เคยรับประทานอาหารชนิดหนึ่ง แลวเกิดอาการแพอาหารอยางรุนแรง ทําใหมีทัศนคติไมดีตออาหารชนิดนั้น และไมกินอีกตอไป 3) จากการเลี้ยงดูทางบาน (Nurture) เชน พอแมมีทัศนคติไมดีตอส่ิงใด ลูกก็จะมีทัศนคติเชนนั้นตาม ทั้งนี้อาจเปนเพราะพอแมไดถายทอดทัศนคติสูลูกโดยการเลี้ยงดู หรือพยายามทําตัวใหคลายพอแม เปนตน (มานี ชูไทย, 2523: 13) 2.2.4.2 การเปลี่ยนแปลงทัศนคติของคน ทัศนคติบางอยางก็พอที่จะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได ถาเห็นวาเปนไปในทางที่จะทําใหบุคลิกภาพเส่ือมเสีย วิธีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ 3 ประการ ดังนี ้ 1) การชักชวน (Persuasion) มีบุคคลเปนจํานวนมาก ที่สามารถปรับปรุงทัศนคติ หรือเปลี่ยนทัศนคติของตนเสียใหม หลังจากไดรับคําแนะนํา บอกเลา หรือไดรับ

31

ความรูเพิ่มพูนข้ึน เชน เด็กที่เคยกลัวความมืด หากไดรับคําแนะนําหรือคําอธิบายใหทราบความจริง อาจเลิกกลัวก็ได 2) การเปลี่ยนกลุม (Group Change) กลุมมีอิทธิพลตอการสรางทัศนคติของบุคคลมาก หากเปลี่ยนทัศนคติของบุคคล อาจลองเปลี่ยนกลุมสมาชิกดูจะชวยได 3) การโฆษณาชวนเชื่อ (Propaganda) เปนการชักชวน ใหบุคคลหันมาสนใจ หรือรับรูโดยการแลกเปลี่ยนส่ิงใหมๆ เพื่อใหเปนที่สนใจ และเขามาหา การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ จะไดผลอยางไรข้ึนอยูกับ 3 องคประกอบ คือ 1. การเลือกรับรู (Selective Perception) คนเราจะรับรูในส่ิงที่เห็นวา เหมาะสมกับตนเทานั้น หากส่ิงใดที่ไมเหมาะสมกับตน จะตัดออกไป คือ ไมรับรูนั้นเอง 2. การหลีกเลี่ยง (Avoidance) คือ คนเราจะรับเอาแตส่ิงที่ใหความสุข หรือใหในส่ิงที่ตนตองการเทานั้น สวนส่ิงที่จะบังเกิดความทุกขแกตน บุคคลจะไมยอมรับ คนชนิดนี้ก็เปลี่ยนทัศนคติไดยากเชนกัน 3. การสนับสนุนของกลุม (Group Support) บุคคลที่ประสบความสําเร็จขณะอยูในกลุมใดกลุมหนึ่ง ก็ไมอยากจะเปลี่ยนกลุมใหม เพราะมีความสุข และประสบความสําเร็จแลวพวกนี้จะเปลี่ยนแปลงทัศนคติยาก (สุชา จันทรเอม, 2541: 245-246) 2.2.5 การวัดทัศนคต ิ ไพศาล หวังพานิช (2526: 16) การวัดทัศนคตินั้นมีความยุงยากพอควร เพราะเปนการวัดคุณลักษณะของบุคคล เก่ียวของกับอารมณและความรูสึกหรือความเปนลักษณะดังกลาวมีการแปรเปลี่ยนไดงาย ไมแนนอน ถึงอยางไรก็ตาม ทัศนคติของบุคคลที่มีตอส่ิงหนึ่งส่ิงใดก็ยังสามารถวัดได ซ่ึงตองอาศัยหลักการสําคัญตอไปนี ้ 2.2.5.1 ยอมรับขอตกลงเบื้องตน (Basic Assumption) เก่ียวกับการวัดทัศน คติ คือ ความคิดเห็น ความรูสึกหรือทัศนคติของบุคคลนั้นจะมีลักษณะคงที่หรือคงเสนคงวาอยูชวงเวลานั้นคือ ความรูสึกนึกคิดของคนเราไมไดเปลี่ยนแปลงหรือผันแปรตลอดเวลาอยางนอย จะตองมีชวงเวลาใดเวลาหนึ่งที่ความรูสึกของคนเรามีความคงที่ ซ่ึงทําใหคนเราสามารถวัดได การวัดจะเปนการวัดทางออม โดยวัดจากแนวโนมที่บุคคลจะแสดงออกหรือประพฤติปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ ในการวัดทัศนคตินอกจากจะทําใหทราบลักษณะหรือทิศทาง แลวยังสามารถบอกระดับความมากนอยหรือความเขมขนของทัศนคติไดดวย

32

2.2.5.2 การวัดทัศนคติ ดวยวิธีใดก็ตาม จะตองมีส่ิงประกอบ 2 อยาง คือ ตัวของบุคคลที่จะถูกวัดและส่ิงเรา เชน การกระทํา เร่ืองราวที่บุคคลจะแสดงทัศนคติตอบสนองและสุดทายตองมีการตอบสนอง ซ่ึงจะออกมาเปนระดับสูงตํ่ามากนอย ดังนั้นในการวัด ทัศนคติเก่ียวกับส่ิงใดของบุคคลก็สามารถวัดได โดยการนําส่ิงเรา ซ่ึงสวนใหญจะเปนขอความเก่ียวกับรายละเอียดของส่ิงนั้น ไปเราใหบุคคลแสดงทาทีความรูสึกตางๆ ที่มีตอส่ิงนั้นใหออกมาเปนระดับหรือความเขมของความรูสึกคลอยตามหรือคัดคาน 2.2.5.3 ส่ิงเราที่จะนําไปใชเรา หรือทําใหบุคคลไดแสดงทัศนคติ ที่มีตอส่ิงใดส่ิงหนึ่งออกมา ที่นิยมใชคือ ขอความวัดทัศนคติ (Attitude statements) ซ่ึงเปนส่ิงเราทางภาษาที่ใชอธิบายถึงคุณคา คุณลักษณะของส่ิงนั้น เพื่อใหบุคคลตอบสนองออกมาเปนระดับความรูสึก (Scale) เชน มาก ปานกลาง นอย เปนตน 2.2.5.4 การวัดทัศนคติเพื่อทราบทิศทาง และระดับความรูสึกของบุคคลนั้น เปนการตอบสนองของบุคคลจากรายละเอียดหรือแงมุมตางๆ ดังนั้นการวัดทัศนคติของบุคคลเก่ียวกับเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง จะตองพยายามถามคุณคา และลักษณะในแตละดานของเร่ืองออกมา แลวนําผลซ่ึงเปนสวนประกอบหรือรายละเอียดปลีกยอยมาผสมผสาน สรุปรวมเปนทัศนคติของบุคคลนั้น 2.2.5.5 การวัดทัศนคติ จะตองมีการคํานึงถึงความเที่ยงตรง (Validity) ขอ งผลการวัดเปนพิเศษ กลาวคือ ตองพยายามใหผลการวัดที่ไดตรงกับสภาพความเปนจริงของบุคคลทั้งในแงทิศทางและระดับหรือชวงของทัศนคติ จะเห็นไดวา ในการวัดทัศนคติตองยึดหลักที่วาความรูสึกของคนเรายอมมีความคงที่ในชวงเวลาหนึ่งที่คงที่ ใหสามารถวัดไดโดยสามารถวัดได จากแนวโนมที่บุคคลแสดงออก ในการวัดนั้นจะตองนําส่ิงเราไปเราใหบุคคลแสดงความรูสึกตางๆ เพื่อใหบุคคลตอบสนองออกมาเปนระดับความรูสึก 2.2.6 องคประกอบที่มีผลตอการเปล่ียนแปลงทัศนคต ิ นักจิตวิทยาไดรวบรวมแหลงที่มีอิทธิพล ในการเสริมสรางทัศนคติของคนไว ดังนี้ 2.2.6.1 องคประกอบทางบาน บานเปนแหลงที่มีอิทธิพลตอความนึกคิด หรือทัศนคติของคนมาก เร่ิมต้ังแตลักษณะ หรือสภาพบาน การดําเนินชีวิตของบุคคลผูมีอํานาจและบุคคลอื่นๆในบาน เชน พอ แม ปู ยา ตา ยาย มีอิทธิพลตอบุคคลในครอบครัวมาก

33

2.2.6.2 องคประกอบทางโรงเรียน ในวัยเด็กหรือวัยศึกษา บุคคลมีโอกาสอยูที่โรงเรียนวันละหลายๆชั่วโมง ครูและเพื่อนดวยกันมีสวนสําคัญในการเสริมสรางและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 2.2.6.3 องคประกอบจากส่ิงแวดลอมอื่นๆ เชน หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน ภาพยนตร สภาพการเมืองการปกครอง สภาพเศรษฐกิจ สภาพภูมิศาสตร ๆลๆ ก็มีอิทธิพลตอทัศนคติของบุคคลเชนเดียวกัน (มานี ชูไทย, 2523: 13)

สรุปไดวาทัศนคติเปนจิตลักษณะประเภทหนึ่งของบุคคล ในรูปของความรูเชิงประมาณคา ความรูสึกพอใจไมพอใจในส่ิงใดส่ิงหนึ่ง และเปนความพรอมที่จะกระทําหรือมีพฤติกรรม จึงอาจกลาวไดวา นักเรียนที่มีทัศนคติดีตอยาเสพติด จะมีพฤติกรรมการเสพยาเสพติดมากวา นักเรียนที่มีมีทัศนคติไมดีตอยาเสพติด จะมีพฤติกรรมการปองกันยาเสพติดอีกดวย 2.3 สถานการณความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต สถานการณความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต เปนการดําเนินการขบวนการแบงแยกดินแดน ดําเนินการกอการราย โดยการบอนทําลายและการตอสูดวยอาวุธเพื่อแบงแยก 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ประกอบดวย จังหวัดปตตานี ยะลา นราธิวาส และบางอําเภอในจังหวัดสงขลา เพื่อตังรัฐปตตานดีารุสลาม โดยใชเง่ือนไขเร่ืองเชื้อชาติ ศาสนา และมาตุภูมิ เปนเง่ือนไขสงคราม และเปนเง่ือนไขหลักในการปลุกระดมมวลชนสําหรับเง่ือนไขอื่นๆ เชน ความไมเปนธรรมในสังคม ความยากจนนั้นลวนเปนเง่ือนไขกลาวอางในการตอสู กลาวอางเพื่อใหไดวลีที่สุดหรู คือ ความคับแคนทางจิตใจ ความยากไรทางวัตถุเทานั้น (พลเอกกิตติ รัตนฉายา, 2548: บทนํา) 2.3.1 เหตุการณ 3 จังหวัดชายแดนใตเมื่อครึ่งศตวรรษกอน

กบฏแบงแยกดินแดน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต ขอเท็จจริงวาเมื่อประมาณป พ.ศ. 2489-2490 นายหะยีสุหรง อับดุลกาเดร กับพวกไดสมคบคิดกันกระทําการเพื่อแบงแยกดินแดน 4 จังหวัดภาคใต อันประกอบดวย จังหวัดยะลา ปตตานี นราธิวาส และสตูล ออกจากการปกครองของรัฐบาลไทย โดยดําเนินการปลุกปนยุยงราษฎรในจังหวัดดังกลาวให

34

กระดางกระเด่ือง และเกลียดชังรัฐบาลและขาราชการไทย จนกระทั่งในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2490 รัฐบาลไทยไดจัดสงคณะกรรมการชุดหนึ่งไปยังจังหวัดปตตาน ี เพื่อสอบสวนขอเท็จจริงและรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ในโอกาสนี้นายหะยีสุหรงไดย่ืนขอเรียกรองสิทธิตางๆ 7 ประการ คือ 2.3.1.1 ขอใหทางรัฐบาลไทยจัดใหมีเจาหนาที่ชั้นสูง และมีอํานาจเต็มปกครอง 4 จังหวัดภาคใต คือ ยะลา ปตตานี นราธิวาส และสตูล แตงต้ังจากชาวอิสลามซ่ึงเกิดในดินแดน 4 จังหวัดนี ้ โดยการเลือกของประชาชน ผูที่ไดรับการแตงต้ังใหอยูในตําแหนงตลอดกาลไมสับเปลี่ยนโยกยาย 2.3.1.2 ภาษีอากรที่เก็บไดใน 4 จังหวัดนี้ ใหใชจายภายใน 4 จังหวัดนี้เทานั้น 2.3.1.3 ขอใหทางราชการเปดสอนภาษามลายูในโรงเรียนประชาบาลใน 4 จังหวัดนี้ จนถึงประถมปที่ 4 2.3.1.4 ขาราชการใน 4 จังหวัดนี้ รอยละ 80 ใหเปนชาวอิสลามที่เกิดใน 4 จังหวัดนี ้ 2.3.1.5 ใหทางราชการอนุญาตใหคณะกรรมการอิสลามออกกฎหมายอันเก่ียวกับขนบธรรมเนยีมประเพณีของศาสนาอิสลามเอง โดยความเห็นชอบของผูมีอํานาจเต็ม 2.3.1.6 ใหทางราชการใชภาษามลายูและภาษาไทยควบคูกันไป 2.3.1.7 ขอใหทางราชการแยกศาลพิจารณาคดีแพงเก่ียวกับศาสนาอิสลามออกตางหาก และมีอิสระในการพิจารณาดําเนินคดี เนื่องจากความเคลื่อนไหวดังกลาวเห็นไดชัดเจนวา เปนการเตรียมการแบงแยกดินแดน ซ่ึงเปนการทําลายอธิปไตยและบูรณภาพแหงราชอาณาจักรทางเจาหนาที่จึงไดทําการจับกุม นายหะยีสุหรง อับดุลการเดร กับพวกดําเนินคดีโดยสงฟองยังศาลจังหวัดปตตานี แตตอมาไดโอนคดีไปพิจารณาที่ศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช เพราะเกรงวาหากพิจารณาคดีที่ศาลจังหวัดปตตานีแลว จะเปนเหตุการณกระทบกระเทือนความรูสึกของประชาชนชาวไทยมุสลิม และอาจกอใหเกิดความไมสงบข้ึนได หลังจากที่ไดมีการตอสูคดีจนถึงศาลฎีกา ศาลก็ไดพิพากษาจําคุกนายหะยีสุหรง มีกําหนด 7 ป ลดโทษฐานปรานี 1 ใน 3 คงจําคุกไวมกํีาหนด 4 ป 8 เดือน พรรคพวกอีก 3 คน ถูกจําคุกคนละ 3 ป นอกจากนั้นปลอยตัวพนขอหา

ตอมานายหะยีสุหรงไดรับการอภัยโทษปลดปลอยกอนครบกําหนด จึงกลับมาอยูที่บานเดิมจังหวัดปตตานี ภายหลังเดือนสิงหาคม 2497 นายหะยีสุหรงไดหายสาบสูญไปโดย

35

ไมทราบวาไปอยู ณ ที่ใด ทําใหความเคลื่อนไหวในการแบงแยกดินแดนหยุดชะงักลงไประยะหนึ่ง แตขณะเดียวกันก็ไดสรางความไมพอใจในหมูชาวไทยมุสลิมที่มีหัวรุนแรง ประกอบกับทางรัฐบาลอังกฤษไดมอบเอกราชใหแกสหพันธรัฐมลายู เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2500 ก็ไดเปนสาเหตุหนึ่งที่กระตุนใหชาวไทยมุสลิมมีความต่ืนตัวและหันเหจิตใจไปทางมลายูมากข้ึน

เหตุการณเหลานี้ไดชวยสงเสริมใหนายหะยีอามีน โตะมีนาล ซ่ึงเปนบุตรของนายหะยีสุหรง ไดรับการยกยองแทนนายหะยีสุหรงผูเปนบิดาในระหวางเดือนเมษายน 2501 นายหะยีอามีน ไดจัดพิมพหนังสือภาษามลายูข้ึนเลมหนึ่งแปลเปนไทยวา “รวมแสงแหงสันติ” อางวาเปนตนฉบับของนายหะยีสุหรง เพื่อหวังเผยแพรและจูงใจชาวไทยมุสลิมใหร้ือฟนความคิดเห็นของนายหะยีสุหรงข้ึนมาอีก และไดชักจูงใหชาวไทยมุสลิมระลึกถึงความเปนมาของประวัติศาสตรเก่ียวกับดินแดน เชื้อชาติ ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณ ีโดยเร่ิมบทบาทดําเนินนโยบายตอจากบิดาอยางเปดเผย การดําเนินงานดังกลาวนี้ นายหะยีอามีนรับชวงการดําเนินงานกอต้ังรัฐปตตานีตามแผนการของตวนกูยะลา นาเซร เพื่อจะกอต้ังปตตานี ยะลา นราธิวาส สตูล ข้ึนเปนรัฐอิสระจากการสืบทราบของเจาหนาที่ไดความวา ระหวางวันที่ 17-18 มีนาคม 2504 ซ่ึงเปนวันออกบวชของชาวไทยมุสลิม พรรคพวกของนายหะยีอามีนมีการนัดประชุมกันเปนกลุมๆ ตามสถานที่ตางๆ หลายจุดดวยกันเพื่อจะวางแผนกอการรายข้ึนในวันออกบวช เมื่อถึงเวลาไปละหมาดก็พากันเดินขบวนแตละจุดทุกจังหวัดในจังหวัดชายแดนภาคใต หากตํารวจเขาขัดขวางการเดินขบวนก็ใหลงมือใชอาวุธยิงตํารวจทันท ี ซ่ึงถาเหตุการณเปนไปในรูปนี้คาดวาตํารวจจะใชมาตรการปราบปรามในข้ันรุนแรง และอาจเปนเหตุใหชาวไทยมุสลิมที่เดินขบวนเนื่องในการปฏิบัติทางศาสนาถูกตํารวจยิงตาย

เมื่อเปนเชนนี้แลวก็จะฉวยโอกาสโฆษณาวาทางเจาหนาที่รัฐบาลกระทํารุนแรงตอชาวไทยมุสลิมเบียดเบียนศาสนา อีกพวกหนึ่งก็เขายึดสถานีตํารวจและสถานที่ราชการสําคัญๆแตทางราชการไดปองกันไมใหเหตุการณดังกลาวเกิดข้ึนตามแผนการของพวกนี้หลังจากที่ไดทําการสืบสวนสอบสวนจนไดหลักฐานแนชัด ทางเจาหนาที่จึงไดทําการจับกุมนายหะยีอามีนกับพรรคพวก ระหวางเดือนกรกฎาคม ถึงสิงหาคม 2504 โดยกลาวหาวาสมคบกับพวกกระทําการเปนขบถเพื่อแบงแยกราชอาณาจักร กระทําการสะสมกําลังและอาวุธเพื่อทําการขบถ กระทําการโฆษณาโดยทางวาจาและหนังสือใหประชาชนเกิดการกระดางกระเด่ือง เพื่อกอการขบถ และไดทําการย่ืนฟองตอศาลทหารกรุงเทพฯ อยางไรก็ตามระหวางการพิจารณาชั้นศาล คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหอัยการสูงสุดพิจารณาถอนฟอง ในที่สุดอัยการไดถอนฟอง เพื่อรักษา

36

ความสงบเรียบรอยในบานเมือง นายหะยีอามีนจึงไดรับการปลอยตัวและกลับภูมิลําเนาจังหวัดปตตานี เมื่อป 2508 2.3.2 สูความสมานฉันท

รัฐธรรมนูญไทยฉบับป 2540 ไดมาดวยการผานบทเรียนเลือด และน้ําตาของคนไทยในการตอสูกับเผด็จการ รัฐธรรมนูญฉบับนี้มีเนื้อหาพิทักษสิทธิของคนไทยอยางเทาเทียมกันเพื่อสรางความสมานฉันทในชาติ ชาวมลายูในสามจังหวัดชายแดนภาคใตรูสึกวาไมไดรับการคุมครองตามสิทธิรัฐธรรมนูญ ชาวสยามทั่วประเทศตองชวยกันรณรงคใหสิทธินี้แกพี่นองตางชาติพันธุสวนนี้ นักกฎหมายชาวสยามที่เปนไทยพุทธควรรวมกระบวนการทางนิติธรรมแกไขปญหานี้ อยาปลอยใหนักกฎหมายมุสลิมดําเนินการอยางโดดเด่ียว ควรศึกษาตัวอยางบุคลากรทางการแพทย และสาธารณสุขในพื้นที่ซ่ึงใหความชวยเหลือทางดานมนุษยธรรมโดยไมเลือกชาติพันธุจนเปนที่ยอมรับของทุกฝาย

การรณรงคเพื่อสันติภาพควรเร่ิมตนจากการสรางความรักความเมตตาตอคนที่แตกตางไปจากเรา พยายามทําความเขาใจ และส่ือสารกับเขาดวยดีแมจะยากลําบาก เราตางฝายตางถูกโปรแกรมมาดวยระบบการศึกษา และวัฒนธรรมที่ใหความสําคัญเฉพาะกับพวกเรา และมีแนวโนมเหยียดหรือรังเกียจผูอื่น ตองชวยกันลบโปรแกรมนี้ออกจากหนวยความจําอยาใหสงผลรายกับพี่นองเราเอง

สงครามในสามจังหวัดชายแดนภาคใตคร้ังนี้หนักหนาสาหัสตอประวัติศาสตรไทย ชาวไทยเชื้อสายมลายูในพื้นที่สวนใหญเปนผูชี้ขาดข้ันสุดทาย ตองพิสูจนใหเห็นวาการเปนสวนหนึ่งของประเทศไทยเปนส่ิงที่ทําใหเขามีความเจริญกาวหนาและมีความสุขไมตางกับคนสยาม ในอดีตมีชาวจีน และชาวอินเดียเขามาต้ังรกรากในเมืองไทย และในปจจุบันมีชาวพมา ชาวลาว และกัมพูชา จํานวนมากเขาประเทศไทยเพื่อมาเปนคนไทยเพราะประเทศไทยมีส่ิงดีมากมาย ทั้งทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม ระบบเศรษฐกิจเสรี และประชาธิปไตย เราตองทําใหพี่นองชาวไทยเชื้อสายมลายูไดรวมชื่นชมส่ิงนี้อยางเปนรูปธรรม

2.3.3 ยุทธศาสตรในการแกไขปญหา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ความรุนแรงใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใตทวีมากข้ึน ซ่ึงถาแกไมไดหรือแกผิด การนองเลือดจะมากข้ึนและลามมาถึงในกรุงเทพมหานคร ที่แกไมไดเพราะ “ขาดความเปน

37

เอกภาพในยุทธศาสตร” แตละฝายก็พูดและทําตามความรูสึกนึกคิดของตนซ่ึงมีอยูอยางจํากัด จะไปฝากความหวังไวกับศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต (ศอ.บต.) ไมได เพราะปญหามันใหญและซับซอนเกินไปมากแลว นายกรัฐมนตรีและประธานคณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติ จะตองเปนผูนําในการสรางความเปนเอกภาพในยุทธศาสตรในทุกภาคสวน คือ คณะองคมนตรี รัฐบาล สภานิติบัญญัติ กองทัพ ขาราชการ ผูนําชุมชนทองถิ่น นักวิชาการ ส่ือมวลชน ผูนําศาสนา และประชาสังคม มาสรางยุทธศาสตรรวมกันดับไฟใตอยางมีเอกภาพ ซ่ึงมีมาตรการทั้ง 7 ประการ ดังนี ้ 2.3.3.1 ใชคอมมานโดประกบผูกอความรุนแรงใหได การใชทหาร ตํารวจตามปกติไมเพียงพอ และตกเปนเหย่ือผูกอการรายอยูบอยๆ ตองฝกทหารและตํารวจผูมีความสามารถพิเศษอยางย่ิงยวด ประกบ จับกุม ปองกัน ผูกอความรุนแรงใหไดผลอยางจริงจัง ถายุติการฆารายวันไมไดทุกอยางจะเลวรายมากข้ึน 2.3.3.2 รับเด็กหนุมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใตมาอยูในกองพันสันติเสนาใหหมด ผูที่ถูกชักนําใหกอความรุนแรงเปนคนหนุม อายุ 18-25 ป โดยบอยคร้ังพอแมก็ไมรู หรือรูแตทําอะไรไมได แมบางคนรูสึกดีใจที่ลูกถูกเกณฑเปนทหารเพราะรูวาลูกจะปลอดภัยและมีเงินเดือนกิน ควรเปดรับเด็กหนุมอายุ 18-25 ป ทั้งหมดใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต เขามาอยูในกองพันพิเศษที่จัดต้ังข้ึน อาจเรียกวา “กองพันสันติเสนา” โดยไดรับเงินเดือนและเบี้ยเลี้ยง รับอนุศาสนาจารยอิสลามจํานวนมากเขามาอยูในกองพัน เพื่อส่ังสอนอบรมหนุมเหลานี้ เพื่อใหพอแมพี่นองและผูใหญในชุมชนสบายใจวาเด็กหนุมเหลานี้จะไมถูกลางสมองใหเลิกมีชีวิตทางศาสนาและควรมีการฝกอบรมในเร่ืองการพัฒนาชุมชนอยางสอดคลองตามวัฒนธรรมดวย มาตรการนี้จะลดพลังกอความรุนแรงลงเกือบหมด และเพิ่มพลังทางสันติ 2.3.3.3 สงเสริมธุรกิจเพื่อสันติภาพ ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใตนั้นมีนักธุรกิจทั้งที่เปนคนมุสลิมและคนจีน รัฐควรรวมมือกับภาคธุรกิจทั่วทั้งพื้นที่ใหมีการจางงานอยางทั่วถึง คนในพื้นที่มีความยากจน ไมมีรายไดเปนจํานวนมาก และมีความบีบค้ันอยางย่ิง ถาทําใหคนมีงานทํา มีรายไดใหเต็มพื้นที่ จะลดความกดดันในทางที่จะไปกอความรุนแรงลง และเพิ่มพลังทางสันติภาพ 2.3.3.4 สงเสริมใหมีสภาผูนําชุมชน ในชุมชนหรือหมูบานมีคนประมาณ 500-1,000 คน ประชาชนจะมีสวนรวมโดยตรง เปนประชาธิปไตยโดยตรงไมตองใชตัวแทน ในชุมชนจะมีผูนําตามธรรมชาติที่เปนคนฉลาด คนดีที่ผูคนเคารพนับถือ ผูนําธรรมชาติเหลานี้

38

โดยทั่วไปมีคุณสมบัติมากกวาผูที่ไดรับการเลือกต้ังหรือแตงต้ัง ควรมีสภาผูนําชุมชนในระดับตําบลซ่ึงมาจากการรวมตัวของผูนําชุมชนจากทุกหมูบาน และมีสภาผูนําชุมชนระดับจังหวัดซ่ึงมีผูนําชุมชนที่มาจากทุกตําบล ผูนําชุมชนเหลานี้จะรูเร่ืองของชุมชนดีที่สุด รัฐควรสงเสริมผูนําชุมชนใหมีบทบาทในการพัฒนาตางๆ ที่สอดคลองกับวัฒนธรรมชุมชน และภาครัฐควรรับขอเสนอแนะหรือคําแนะนําของสภาผูนําชุมชนมาปฏิบัติใหมากที่สุด ประชาธิปไตยชุมชนนี้จะเปนประชาธิปไตยฐานราก และสงเสริมใหมีสันติภาพมากที่สุด 2.3.3.5 สงเสริมการปกครองทองถิ่นขนาดใหญ ขณะนี้มีองคกรปกครองทองถิ่นรวมกันประมาณ 8,000 องคกร ในรูปแบบของ องคการบริหารสวนตําบล องคการบริหารสวนจังหวัดเทศบาล องคกรเหลานี้เล็กเกิน ทําใหพลังสรางสรรคทางเศรษฐกิจ สังคม และ อัตลักษณทางวัฒนธรรมไมเพียงพอ ควรสงเสริมใหจังหวัดใกลเคียงที่มีวัฒนธรรมเดียวกันรวมตัวกันเปนเขตการปกครองทองถิ่นขนาดใหญ (กรุงเทพมหานครเปนเขตการปกครองทองถิ่น มีประชากร 10 ลานคน) อาจใชชื่อโบราณ เรียกวา “มณฑล” อาจมีทั้งหมด 14-15 มณฑล เชน มณฑลลานนา มณฑลอีสานเหนือ มณฑลอีสานใต มณฑลอีสานกลาง มณฑลทวารวดี มณฑลปตตานี และอื่นๆ มณฑลเหลานี้สามารถจัดการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม การส่ือสาร ความปลอดภัยอันสอดคลองกับวัฒนธรรมของตัวเอง ภายใตความเปนราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวกัน การมีเขตปกครองทองถิ่นขนาดใหญจะเปนปจจัยยุติการนองเลือดอยางเด็ดขาดและถาวร ไมมีใครอยากจะแยกดินแดนอีกตอไป 2.3.3.6 สงเสริมความเขาใจอันดีกับโลกมุสลิมใหหมด รัฐไทยควรสงเสริมความเขาใจอันดีกับโลกมุสลิมทั้งหมด ใหเห็นความต้ังใจอันดี การสงเสริมความยุติธรรมและสันติภาพ การมีความเขาใจอันดีกับโลกมุสลิม จะชวยสรางภูมิคุมกัน และลดพลังการกอความรุนแรง 2.3.3.7 การเจรจาเร่ืองการวางอาวุธและรวมพัฒนา มาตรการทั้ง 6 ประการขางตน คือ การสรางเง่ือนไขการวางอาวุธ ที่ทําใหพี่นองของเราที่จับอาวุธคิดวาการวางอาวุธและมีโอกาสรวมพัฒนาดีกวาการที่จะฆาฟนกันตอไป เราตองมารวมกันสรางสันติภาพดวยการเคารพศักด์ิศรีและคุณคาแหงความเปนมนุษยของกันและกัน หากคนไทยตางเชื้อชาติและศาสนาสามารถอยูรวมกันฉันทพี่นองบนดินแดนแหงนี้ เราจะเปนพลังแหงสันติภาพเพื่อชวยโลกที่เต็มไปดวยความรุนแรงไดดวย

39

มาตรการทั้ง 7 ประการตองเชื่อมโยงกันอยางเปนเอกภาพในยุทธศาสตร ไมมีใครคนใดคนหนึ่งหรือองคกรใดองคกรหนึ่งจะนําในการสรางความเปนเอกภาพในยุทธศาสตรนี้ได นอกจากนายกรัฐมนตรี โดยนายกรัฐมนตรีตองกลาที่จะตัดสินใจ ไมใหมีส่ิงที่เปนอุปสรรคมาขัดขวาง เชน กฎ ระเบียบ ขาดงบประมาณ ฯลฯ การปลอยใหเร่ืองราวเปนไปตามยถากรรมมีแตจะเสียหายไปทุกวัน การสรางความเปนเอกภาพในยุทธศาสตรนี้จะยุติความรุนแรง นองเลือดในชายแดนใตใหไดอยางเด็ดขาดและถาวร (ประเวศ วะสี.20 กุมภาพันธ 2550) 2.3.4 การแกไขปญหาความไมสงบของรัฐ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 6) ทรงวางหลักรัฐประศาสโนบายที่ผอนปรน ทรงกําหนดพระบรมราโชบายไวเปนการเฉพาะ โดยพระราชหัตถเลขาที่ 3/78 ลงวันที่ 6 กรกฎาคม 2466 มีสาระสําคัญและถือเปนแนวปฏิบัติ คือ 2.3.4.1 ระเบียบหรือวิธีปฏิบัติอยางใดเปนทางใหพลเมืองรูสึกเห็นไปวาเปนการเบียดเบียน กดข่ีศาสนาอิสลาม ตองยกเลิกหรือแกไขเสียทันที การใดจะจัดข้ึนใหมตองอยาใหขัดกับลัทธินิยมของอิสลามหรือย่ิงทําใหเห็นเปนการอุดหนุนศาสดามูฮัมหมัดไดย่ิงดี 2.3.4.2 การกะเกณฑอยางใดๆ ก็ดี การเก็บภาษีอากรหรืออยางใดๆ ก็ดี เมื่อพิจารณาโดยสวนรวมเทียบกัน ตองอยาใหย่ิงกวาที่พลเมืองในแวนแควนของตางประเทศ ซ่ึงอยูใกลเคียงติดตอกันนั้นตองเกณฑ ตองเสียอยูเปนธรรมดา เมื่อพิจารณาเทียบกันแตเฉพาะอยาง ตองอยาใหย่ิงหยอนกวากันจนถึงเหตุเสียหายในการปกครองได 2.3.4.3 การกดข่ีบีบค้ันแตเจาพนักงานของรัฐเนื่องแตการหมั่นดูแลพลเมืองชาติแขกโดยฐานที่เปนคนตางชาติก็ดี เนื่องแตการหนวงเหนี่ยวชักชาในกิจการตามหนาที่ เปนเหตุใหราษฎรเสียความสะดวกในทางเลี้ยงชีพก็ดี พึงตองแกไขระมัดระวังมิใหมีข้ึน เมื่อเกิดข้ึนแลวตองใหผูทําผิด รองรับผลตามความผิดโดยยุติธรรม ไมใชสักแตวาจัดการกลบเกลื่อนใหเงียบไปเสียเพื่อจะไดไวสงวนศักด์ิของขาราชการ 2.3.4.4 กิจการใดทั้งหมดอันเจาพนักงานตองบังคับแกราษฎร ตองระวังอยาใหราษฎรตองขัดของเสียหาย เสียการในทางหาเลี้ยงชีพของเขาเกินสมควร แมจะเปนการจําเปนโดยระเบียบการก็ดี เจาหนาที่พึงสอดสองแกไขอยูเสมอ 2.3.4.5 ขาราชการที่จะแตงต้ังออกไปประจําตําแหนงในมณฑลปตตานี พึงเลือกเฟนแตคนที่มีนิสัยซ่ือสัตย สุจริต สงบเสง่ียม เยือกเย็น ไมใชสักแตวาสงไปบรรจุให

40

ตําแหนงหรือสงไปทางลงโทษเพราะเลว เมื่อจะสงไปตองส่ังสอนชี้แจงใหรูลักษณะทางการอันพึงประพฤติระมัดระวัง โดยหลักที่ไดกลาวในขอหนึ่ง และขอส่ีขางบนแลวนั้น ผูใหญในทองที่พึงสอดสองฝกฝนอบรมกันตอๆ ไปในคุณธรรมเหลานั้น ไมใชคอยใหพลาดพลั้งลงไปกอนจึงวากลาวลงโทษ 2.3.4.6 เจากระทรวงทั้งหลายจะจัดการวางระเบียบการอยางใดข้ึนใหมหรือบังคับการอยางใดในมณฑลปตตานี อันจะเปนทางพากพานถึงสุขทุกขราษฎรก็ควรพิจารณาเหตุผลแกไขหรือยับย้ัง ถาไมเห็นดวยวามีมูลขัดของก็ควรหารือกระทรวงมหาดไทย แมยังไมตกลงกันไดระหวางกระทรวง ก็พึงนําความข้ึนกราบบังคมทูลทราบฝาละอองธุลีพระบาทขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย พระบรมราโชบายนี้ไดใชมาชวงหนึ่งเปนระยะเวลานาน ทําใหบานเมืองเกิดความสงบสุข จนกระทั่ง ป 2474 ไดยกเลิกการปกครองมณฑลปตตานี จึงไดเลิกใชพระบรม ราโชบาย (รุง แกวแดง, 2548: 92) ในป พ.ศ. 2523 พลเอก เปรม ติณสูลานนท นายกรัฐมนตรีของไทยในขณะนั้น ไดดําเนินนโยบายที่โนมนําประชาธิปไตยรูจักกันในนาม นโยบาย “การเมืองนําการทหาร” เปนความพยายามที่จะจัดการเพื่อยุติการตอสูกับกองกําลังติดอาวุธ โดยเฉพาะอยางย่ิงกับพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย (พคท.) และคําส่ังที่ 66/23 มีใจความสําคัญวา 1. ใหนํานโยบายการเมืองนําการทหารมาใชในการตอสูเพื่อเอาชนะฝายคอมมิวนิสต และกองกําลังติดอาวุธอื่นๆ 2. นโยบายการเมืองนําการทหารจะไดรับการปฏิบัติอยางจริงจังเพื่อหลีกเลี่ยงสงครามประชาชน 3. การตอกรดวยอาวุธกับฝายตรงขามจะตองเปลี่ยนแปลงเปนการปฏิบัติดวยสันติวิธ ี ในป พ.ศ. 2524 พลโท หาญ ลีนานนท แมทัพภาคที่ 4 ก็ไดประกาศนโยบายเพื่อแกไขปญหาภาคใต ตามคําส่ังที่ 751/2524 หรือเรียกวานโยบาย “ใตรมเย็น” ซ่ึงไดรับการกําหนดใหเหมาะสมกับเง่ือนไขตางๆ ของพื้นที่ และนํามาสูการจัดต้ังศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต (ศอ.บต.) รวมทั้งกองกําลังผสมพลเรือนตํารวจและทหารที่ 43 (พตท. 43) มีภารกิจในการรักษาความมั่นคงใหปลอดจากการเคลื่อนไหวของขบวนการปลดปลอยปาตานีในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต

41

รัฐบาลสมัย พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ ไดมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายดานความมั่นคงในชวงป พ.ศ. 2531 - 2536 มีสาระสําคัญของนโยบายสนับสนุนใหเกิดความปรองดองทางสังคม โดยการใหเสรีภาพในการปฏิบัติตามหลักการศาสนาและวัฒนธรรมทองถิ่น ซ่ึงนโยบายดังกลาวยังไดรับการสานตอจากรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย จนถึงป พ.ศ. 2541 ในขณะเดียวกันรัฐบาลสมัยนี้ก็ไดใหความสําคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่มากข้ึนดวย พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรีสมัยตอมาไดใหความสนใจกับการแกไขปญหาเก่ียวกับชาวมุสลิมในพื้นที่ภาคใตอยางจริงจัง โดยเห็นวาเปนปญหาสําคัญที่ตองแกไขดวยความละเอียดออน รัฐบาลไดกําหนดนโยบายเก่ียวกับพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตภายใตการดําเนินการของกองทัพภาคที่ 4 ใชชื่อเปนภาษามลายูวา “ฮารับปน บารู” หรือ “นโยบายความหวังใหม” มีวัตถุประสงค 3 ประการ คือ 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ การยกระดับจิตสํานึกทางการเมืองแบบประชาธิปไตย และการสรางความมั่นใจใหกับประชาชนในการอยูรวมกันอยางปรองดองในสังคมระดับทองถิ่นและระดับชาติ 2. เพื่อสงเสริมเอกภาพทามกลางความแตกตางทางเชื้อชาติ ลดความหวาดระแวงและความไมไววางใจกันระหวางเจาหนาที่รัฐกับประชาชนในพื้นที่ 3. เพื่อรักษาไวซ่ึงวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น และสนับสนุนใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการแกไขปญหาภายในทองถิ่นของตน ในสมัยรัฐบาลของ พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร ไดยุบศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต (ศอ.บต.) และกองกําลังผสมพลเรือนตํารวจและทหารที่ 43 (พตท. 43)ตามคําเสนอแนะของพลตํารวจเอกสันต ศรุตานนท ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2545 และโอนความรับผิดชอบดานการปราบปรามไปข้ึนกับตํารวจแทน สําหรับในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ จุลานนท ไดมีมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2549 ใหต้ังศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต (ศอ.บต.) โดยมี นายพระนาย สุวรรณรัฐ เปนผูอํานวยการ และต้ังกองกําลังผสมพลเรือนตํารวจและทหารที่ 43 (พตท. 43) ข้ึนมาเพื่อดูแลปญหาความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใตอีกคร้ังหนึ่ง โดยมีภารกิจหลัก 3 ประการ ดังนี้ 1. ระดมสวนราชการและหนวยงานรัฐวิสาหกิจมาดําเนินการพัฒนาและแกไขปญหาจังหวัดชายแดนภาคใตใหตอบสนองนโยบายความมั่นคงแหงชาติโดยอาศัยหลัก

42

สมานฉันท แปรนโยบายสูการปฏิบัติใชระบบการประสานงานรวมทั้งมาตรการตางๆ เปนเคร่ืองมือกํากับการดําเนินงานใหเปนไปตามนโยบายความมั่นคงแหงชาติ 2. ใหความสําคัญกับขาราชการและบุคลากรของรัฐ ซ่ึงเปนกลไกของรัฐในการดําเนินนโยบาย ศอ.บต. มีหนาที่สรรหาขาราชการที่ดีมีความรูความเขาใจเก่ียวกับสถานการณใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใตมาปฏิบัติงานรวมทั้งโยกยายขาราชการที่ไมดีออกนอกพื้นที่ขณะเดียวกันขาราชการที่ดีก็มีบําเหน็จความชอบเปนขวัญและกําลังใจ 3. ดําเนินภารกิจอื่นที่ไดรับมอบหมายจากคณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติ (คมช.) และนายกรัฐมนตรี โดยเฉพาะงานเก่ียวกับมวลชนสัมพันธ (รุง แกวแดง, 2550: 55-59) 2.3.5 ผลกระทบจากสถานการณความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต 2.3.5.1 ผลกระทบดานสังคม เกิดความหวาดระแวงไมไวใจซ่ึงกันและกัน แตเดิมมานั้น คนที่นับถือศาสนาอิสลามกับคนที่นับถือศาสนาพุทธอยูรวมกันอยางสันติ สวนใหญจะต้ังบานเรือนอยูใกลเคียงกัน ในบางชุมชนมีคนไทยมุสลิมมากกวาคนไทยพุทธ แตในบางชุมชนจะตรงขามกัน คือ มีคนไทยพุทธมากกวาคนไทยมุสลิม สวนใหญบริเวณที่เปนเมืองนั้นจะผสมผสานกันระหวางคนไทยพุทธ ไทยมุสลิมและคนไทยเชื้อสายจีน ซ่ึงแตละกลุมก็ไมไดมีปญหาเร่ืองความแตกตางทางศาสนา ต้ังแตอดีตคนในชุมชนมีการไปมาหาสูกันเปนประจํา การขัดแยงทีรุ่นแรงนั้นเกิดจากระบบราชการมากกวาจะเปนเร่ืองของความขัดแยงระหวางศาสนิกชน คนไทยมุสลิมจะมีความขัดแยงกับขาราชการ หรือที่คนใตเรียกวา “เจานายหรือโตะนาย” แตในวิกฤติ พ.ศ. 2547 นี้ ไดทําใหความไววางใจที่มีตอกันเปลี่ยนแปลงไป คนทั้ง 2 ศาสนาเร่ิมไมไววางใจกันอยางรุนแรง โดยเฉพาะนักการอิสลามรุนใหมที่พยายามอธิบายถึงขอหามของอิสลามที่เขมงวด จนกระทั่งทําใหคนไทยพุทธเร่ิมไมเขาใจวา เหตุใด อิสลามจึงเครงครัดจนแตกตางจากวิถีที่เคยปฏิบัติด้ังเดิม ดังนั้นความหวาดระแวง การรังเกียจเดียดฉันทจึงเร่ิมเกิดข้ึนและกําลังกระจายตัวทั่วไป อีกทั้งผูกอการรายยุคนี้เปนวัยรุนที่ฝงตัวอยูในชุมชน ดังนั้นความไววางใจจากคนมุสลิมจึงนอยลง เพราะไมรูใครบางเปนผูกอการราย โดยเฉพาะผูกอการรายในปจจุบันมีความสามารถในการวางแผนและการทํารายที่ไมเลือกรูปแบบ ทําใหประชาชนทั้งที่เปนไทยพุทธและไทยมุสลิมเกิดความรูสึกไมปลอดภัย การเดินทางในหลาย

43

เสนทางเต็มไปดวยอันตราย ทั้งๆ ที่เปนเวลากลางวัน สุขภาพจิตของประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ยํ่าแยลงอยางไมเคยเปนมากอน การกอการรายไดสงผลกระทบอยางมากตอคนไทยที่นับถือศาสนาพุทธ พิธีกรรมทางศาสนาตางๆ ซ่ึงปกติจัดในเวลากลางคืน เชน พิธีเวียนเทียนในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาหรือแมกระทั่งงานศพ ในปจจุบันทางราชการไดขอรองใหงดจัดในเวลากลางคืน ใหมาจัดกลางวันแทน ทําใหเกิดความรูสึกกับพระและคนไทยพุทธจํานวนหนึ่ง ซ่ึงหากรัฐบาลไมอธิบายใหเขาใจ จะเปนปญหาในเชิงจิตวิทยาสังคมตอคนกลุมนี้อยางมาก เกิดความคับของใจ เพราะการปฏิบัติแตกตางไปจากวิถีชีวิตแบบเดิม (รุง แกวแดง, 2548: 149) 2.3.5.2 ผลกระทบดานการศึกษา ปจจุบันในเขตพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต (ยะลา ปตตานี และนราธิวาส) สภาพการจัดการศกึษา มีอุปสรรคและปญหาคอนขางมาก สืบเนื่องมาจากผลกระทบที่เกิดสถานการณความไมสงบ ซ่ึงนับวันจะทวีความรุนแรงมากข้ึน ครูและบุคลากรทางการศึกษาตกเปนเปาหมายการกอความไมสงบไปแลวถึง 55 ราย ในจํานวนนี้ เสียชีวิต 26 ราย บาดเจ็บ 29 ราย โดยเฉพาะที่เสียชีวิตเปนผูบริหารสถานศึกษาระดับผูอํานวยการโรงเรียนถึง 5 ราย จากตัวเลขครูขอยายออกนอกพื้นที่สามจังหวัด ตามนโยบายใหยายเรงดวนของอดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (ดร.อดิศัย โพธารามิก) ประมาณเกือบ 2,000 คน อีกเกือบ 1,000 คน ขอยายออกจากโรงเรียนในชนบทมาอยูโรงเรียนในเมืองที่ใกลบานและรูสึกปลอดภัยกวา สภาพเชนนี้ทําใหมองเห็นไดชัดเจนวา ขวัญและกําลังใจของครูไมอยูในวิสัยที่จะทํางานตามปกติได แตกําลังอยูในภาวะตกตํ่าอยางหนัก ผลกระทบตอการจัดการศึกษาจึงเปนไปอยางกวางขวางในทุกดาน ซ่ึงพอจะประมวลสรุปไดดังนี้ (ประสิทธิ์ เมฆสุวรรณ, 2549) 1) ดานนโยบาย การปฏิรูปการศึกษา และกระบวนการเรียนการสอนทุกรูปแบบใหผูที่อยูในวัยเรียนไดพัฒนาศักยภาพของตนเองใหทันตอการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และสังคม แมจะมีรายละเอียดที่ทันสมัยและกาวหนาอยูมาก แตในทางปฏิบัติที่เปนจริงในพื้นที ่ กลับทําไดไมเปนชิ้นเปนอนั เนื่องจากปญหาเชิงโครงสรางนับประการ ทั้งกฎหมายประกอบ พ.ร.บ.การศึกษา พ.ศ. 2542 ยังไมสมบูรณ บทบาทอํานาจเจาหนาที่ของแตละฝาย แตละระดับขาดความชัดเจน อัตรากําลังบุคลากรในแตละเขตการศึกษาไมสมดุล การเกลี่ยบุคลากรในทางปฏิบัติเปนไปไดยาก การจัดสรรงบประมาณบุคลากรในระดับพื้นที่ไมมี

44

โอกาสรวมตัดสินใจ การพัฒนาบุคลากรก็ยังนอยและไมตอเนื่อง สถานศึกษาไมพรอมจะเปนนิติบุคคล ที่สําคัญบุคลากรทางศึกษาระดับลางมีความเครียดสูง เนื่องจาก ผลกระทบจากสถานการณความไมสงบ และหนวยเหนอืเรงรัดจะเอาผลงานเร็วเกินไป นโยบายทางการศึกษาในปจจุบันในทางปฏิบัติจึงเปนนโยบายที่ข้ึนตอ หรือเก่ียวกับงานดานความมั่นคงเสียเปนสวนใหญ 2) ดานแผนงาน เหตุความไมสงบที่เกิดข้ึนอยางตอเนื่อง ทําใหรัฐตองทุมเทงบประมาณไปในดานการปองกันและปราบปรามเสียเปนสวนใหญ แทนที่จะนําเงินงบประมาณไปใชสําหรับงานเชิงยุทธศาสตรสรางความเจริญแกพื้นที่ตามเปาหมายที่วางไว ระยะเวลาเกือบ 2 ปที่ผานมา ผูที่เก่ียวของทุกฝายตางก็รับรูกันวาความรุนแรงที่ไมมีทาทีวาจะยุติลง เมื่อใดคือตัวแปรสําคัญที่ทําใหแผนงานเชิงยุทธศาสตรของจังหวัดชายแดนภาคใตไมบรรลุผล ผลกระทบดังกลาวสงผลกระเทือนถึงการดําเนินงานตามแผน และโครงการทางการศึกษาดวย โดยเฉพาะงานที่เก่ียวกับ การสรางความสัมพันธระหวางโรงเรียนกับชุมชน ไดรับผลกระทบคอนขางมาก เนื่องจากครูและบุคลากรทางการศึกษาอยูในภาวะเสียขวัญ ไมกลาออกไปเย่ียมเยียนหรือทํากิจกรรมกับผูปกครอง งานดานนี้จึงขาดหายไปมาก ทําใหบุคลากรทางการศึกษาหางเหินจากผูปกครองและชุมชนมากข้ึน 3) ดานการบริหารจัดการ ในการพัฒนาระบบบริหารจัดการแนวใหมนั้น รัฐบาลไดวางแนวไวกวางๆ โดยรวม โดยมุงเนนเทคนิคการบริหารจัดการ เพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเปนสําคัญ และมุงไปสูเปาหมาย คือการพัฒนาที่เนนการลดจํานวนบุคลากร ลดงบประมาณ ลดข้ันตอน เพิ่มประสิทธิภาพ และเพิ่มผลผลิต แตการบริหารจัดการภาครัฐในเขตพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตนั้นที่พอจะทําได คือ การลดข้ันตอน สวนประเด็นอื่นทําไดยาก เนื่องจากการลดข้ันตอนเปนการยนระยะทางดานนิติศาสตรลง แตจะไปเพิ่มน้ําหนักทางดานรัฐศาสตรใหมากข้ึน ดานอื่นไมวาจะเปนดานจํานวนบุคลากร งบประมาณ การเพิ่มประสิทธิภาพ และการเพิ่มผลผลิต ลวนเปลี่ยนแปลงยากทั้งส้ิน ทั้งนี้เนื่องจากตองตอสูและลดเง่ือนไขที่ขบวนการกอความไมสงบวางไวอยูตลอดเวลา 4) ดานตัวผูบริหาร ผูบริหารของหนวยงานในระดับตาง ๆที่ปฏิบัติงานอยูในเขตพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตอยางนอย จะตองมีคุณสมบัติเดนดานมนุษยสัมพันธ

45

มีจิตใจบริการ ซ่ือสัตยสุจริต มีความรูดานศาสนาและวัฒนธรรม พุทธ คริสต และอิสลาม ถาสามารถพูดภาษามลายูพื้นเมืองไดก็จะย่ิงดี ทักษะที่จําเปนย่ิงอีกประการหนึ่ง คือ การเปนคนมีวิสัยทัศน มองการณไกล เห็นภาพอนาคตทางสังคมได ในจังหวัดชายแดนภาคใตนั้นถาผูบริหารชางสังเกต ก็พอจะมองเห็นไดวาแนวโนมการเคลื่อนตัวของสังคมจะดําเนินไปภายในกรอบของวัฒนธรรมอิสลามที่มีวัฒนธรรมตะวันตก ปะทะแทรกซอนอยูตลอดเวลา ในภาวะเชนนี้ ผูบริหารจําเปนตองทํางานอยางยืดหยุน ปรับตัวใหเขากับสถานการณ ตองเปนทั้งนักยุทธศาสตร และนักยุทธวิธีในเวลาเดียวกัน การบริหารจึงสามารถดําเนินไปได สําหรับผลกระทบที่เกิดจากสถานการณความไมสงบนั้น ตัวผูบริหารไดรับผลกระทบดานขวัญและกําลังใจในระดับมากอยางที่ไมเคยปรากฏมากอน ทั้งนี้เนื่องจากขาวที่วา ขณะนี้กลุมกอความไมสงบกําลังเล็งเปาหมายไปที่ผูบริหารโรงเรียน และวันนี้ผูบริหารก็ถูกยิงเสียชีวิตไปแลวเกือบ 10 คน 5) ครู ขวัญและกําลังใจถูกกระทบมากที่สุด ปฏิบัติงานทามกลางบรรยากาศเต็มไปดวยความหวาดระแวง แมขณะอยูในหองเรียนก็ยังตองมองซายมองขวาไปที่ประตู หนาตางอยูตลอดเวลา เพราะกลัววาจะมีใครมาจองทําราย ขณะเดินทางไปกลับโรงเรียน หากไมมีเจาหนาที่ทหาร ตํารวจเดินทางไปดวย บางโรงไมกลาไปสอนเลยทีเดียว เนื่องจากมีหลายกรณีที่เพียงแตเดินทางกลับบานในชวงพักระยะส้ันๆ ก็ยังถูกยิงตาย ความมั่นใจในความปลอดภัย นับวาไมมีเอาเลย ผลกระทบที่เกิดจากบรรยากาศความไมสงบทําใหการเรียนการสอนในโรงเรียน ขาดกิจกรรมภาคสนามที่สําคัญๆ ไปหลายอยาง เชน กิจกรรมการเขาคายพักแรมของลูกเสือ เนตรนารี กิจกรรมศึกษาจากแหลงเรียนรูธรรมชาติ โรงงานอุตสาหกรรม สวนเกษตร เชน สวนผลไม และยางพารา หรือแหลงเรียนรูอื่นๆ ในชุมชน การเสียโอกาสทางการศึกษาเหลานี้ทําใหการเรียนรูขาดความสมบูรณไปมาก 6) นักเรียน นักเรียนสวนใหญเปนมุสลิม อาจไดรับผลกระทบทางดานจิตใจและเจตคติในระดับมากเชนกัน ทั้งนี้เนื่องจากเหตุการณความไมสงบที่เกิดข้ึนในขณะนี้นั้น เกือบทั้งหมดมักจะไมมีคําอธิบายที่ชัดเจนอยางเปนทางการจากหนวยงานของภาครัฐสูสาธารณะ นักเรียนซ่ึงสวนใหญเปนวัยที่เร่ิมรับรูปรากฏการณที่เกิดข้ึนในสังคมรอบตัว ก็จะไมเขาใจ เพราะในพื้นที่ขณะนี้ขาวลือเปนส่ิงที่เกิดข้ึนทั่วไป ขณะที่ส่ือของรัฐบาล

46

ก็พยายามบอกวาอยาเชื่อขาวลือ ขอใหทุกคนทํางานไปตามปกติ เจาหนาที่รัฐสามารถดูแลความปลอดภัยใหได นักเรียนสวนมากฟงแลวสับสนไมรูจะเชื่อใครดี ปฏิสัมพันธระหวางนักเรียนตางวัฒนธรรมมีนอยลง การไปศึกษาภาคสนามตามแหลงเรียนรูตางๆ ไมสามารถทําไดเหมือนแตกอน นักเรียนเสียโอกาสในการเรียนรูในรูปแบบตางๆ ไปมากเชนกัน 7) ผูปกครอง ผูปกครองนักเรียนในเขตบริการโรงเรียนก็เหมือนกับกลุมอื่นๆ ที่สวนใหญตกอยูในบรรยากาศแหงความหวาดกลัว กลัวทั้งเจาหนาที่รัฐและกลัวโจร เนื่องจากขาวลือที่แพรกระจายอยูในชุมชนวา เหตุรายที่เกิดข้ึนไมวาจะเปนการฆาผูบริสุทธิ์ การกอวินาศกรรม และเผาโรงเรียน ลวนเปนฝมือของเจาหนาที่รัฐที่พยายามสรางสถานการณแลวโยนความผิดไปใหขบวนการแบงแยกดินแดน หนวยงานของรัฐก็พยายามบอกกับประชาชนวา เปนฝมือของโจรกอการราย กลุมนั้น กลุมนี้ แตที่เปนอยูก็คือ เจาหนาที่จับผูรายไมคอยได แมจับผูตองสงสัยไดก็มักจะตองปลอยตัวในชั้นศาล เพราะไมมีพยานหลักฐานเพียงพอ ความไมแนใจ ความกลัวและความหวาดระแวงแผกระจายไปทั่ว กิจกรรมที่ผูปกครองเคยใหความรวมมือเปนอยางดีกับโรงเรียน ขณะนี้บางสวนก็กลัวอันตรายจะเกิดข้ึนกับตนเองและครอบครัว จึงใหความรวมมือนอยลง โรงเรียนเองก็ไมกลาจัดกิจกรรมที่มีคนจํานวนมากเขารวม เพราะกลัวมือที่สามที่ไมหวังดีกอเหตุรายที่อาจเปนอันตรายแกผูปกครอง นักเรียน และประชาชนทั่วไปได ผลกระทบที่เห็นไดชัดก็คือ กิจกรรมที่เปนความรวมมือระหวางครูและผูปกครอง ไมวาจะเปนการประชุม การจัดงาน การพัฒนาโรงเรียน และสถานที่สําคัญในชุมชน ปจจุบันดําเนินการไดนอยมาก หรือเกือบจะไมไดดําเนินการเลย เนื่องจากทุกฝายไมคอยจะมั่นใจในความปลอดภัย 8) ชุมชน ไดรับผลกระทบมาก ก็คือสถาบันทางการศึกษาที่เปดสอนศาสนา เชน โรงเรียน ตาดีกา ปอเนาะ และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม เนื่องจากในระยะหลังผูตองหา และผูเขารายงานตัวหลายคนในหลายๆ พื้นที่ไดใหการตอทางราชการทํานองวา โรงเรียนดังกลาวบางแหง เปนแหลงปลูกฝงแนวความคิดตอตานรัฐบาลไทย เปนแหลงบมเพาะอุดมการณแบงแยกดินแดน อุสตาส บางคนเปนแกนนําในการดําเนินการฝกอาวุธ โดยเชื่อมโยงกับครูฝกจากตางประเทศ เจาหนาที่จึงเขาตรวจคนจับกุม พิสูจนทราบสถานที่และบุคคลเปาหมาย ทําใหโรงเรียนดังกลาวบางแหงตองปดกิจการ เพราะกลัวไมปลอดภัย ครูและนักเรียนตองหาที่เรียนใหม

47

นอกจากนี้ยังมีชุมชนบางแหงในพื้นที่บางพื้นที่ เชน กรณีหมูบานตันหยงลิมอในจังหวัดนราธิวาส ตามขอมูลของราชการหมูบานแหงนี้เปนพื้นที่ที่เกิดเหตุตางๆ มากถึง 70 กวาคร้ังในระยะเวลาไมถึง 2 ป รวมทั้งกรณีทหารนาวิกโยธิน 2 คนถูกฆาตาย ที่เปนขาวใหญดังไปทั่วประเทศดวยพื้นที่เชนนี้นับเปนพื้นที่ที่นาศึกษาอยางมากวาทําไมทางราชการจึงไดปลอยใหสถานการณเกิดไดซํ้าแลวซํ้าอีก และภาพที่ปรากฏทางส่ือโทรทัศนก็ดูเหมือนวาชาวบานแมกระทั่งเด็กและผูหญิงก็ยังแสดงทาทีไมไววางใจเจาหนาที่รัฐอยางชัดเจน และตอมา คนในชุมชนบางสวนก็อพยพไปอยูที่อื่น สวนใหญที่ยังอยูก็ไมกลาออกจากบานไปประกอบอาชีพเหมือนที่เคยทํา ในพื้นที่เชนนี้ผลกระทบที่เกิดกับชุมชนโดยสวนรวมนับวารุนแรงมาก 2.3.5.3 ผลกระทบดานเศรษฐกิจ ถงึแมวา 3 จังหวัดชายแดนภาคใตจะเปนดินแดนที่อุดมสมบูรณ แตในปจจุบันไดประสบปญหาทางเศรษฐกิจที่รุนแรงมาก รายไดโดยภาพรวมลดลง การลงทุนเพื่อสรางงานที่เผชิญอุปสรรคอยูแลว ในปจจุบันสถานการณก็ยํ่าแยมากย่ิงข้ึน การลงทุนในโครงการใหญๆ ไมมีเลย และถึงแมวารัฐบาลจะเขาไปชวยสนับสนุนแตก็ทําไดเพียงระดับหนึ่งเทานั้น สวนธุรกิจการทองเที่ยว ที่เคยทํารายไดมากใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใตนั้น บัดนี้นักทองเที่ยวหายไป บานเมืองเงียบเหงาเหมือนบานราง สงผลกระทบตอรายไดของคนในทองถิ่นอยางมาก สวนยางพาราที่พอจะสรางรายไดใหแกชาวสวนบาง ก็ประสบปญหาชาวสวนไมกลาออกไปกรีดยางเนื่องจากกลัวอันตรายจากสถานการณความไมสงบ อีกทั้งโรงงานก็ตองปดตัวลง บางแหงก็โดนลอบวางเพลิง เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจจนมิอาจประมาณคาได ชาวไทยเชื้อสายจีนซ่ึงเปนพอคาและนักธุรกิจ เกิดความรูสึกไมมั่นคงในชีวิตและทรัพยสินจนยายออกจากพื้นที่นั่นก็หมายถึงเกิดการเคลื่อนยายของเงินทุนทําใหเศรษฐกิจซ่ึงอยูในข้ันวิกฤติอยูแลวประสบวิกฤติมากกวาเดิม (รุง แกวแดง, 2548: 149-150) 2.3.5.4 ผลกระทบดานสาธารณสุข นับต้ังแตวันที ่ 4 มกราคม พ.ศ. 2547 เปนตนมา ภาวะวิกฤติซ่ึงเกิดจากสถานการณความไมสงบในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ไดสงผลกระทบอยางกวางขวางตอประชาชนและผูใหบริการในภาคสวนตางๆ รวมทั้งระบบบริการสาธารณสุข จากการศึกษาของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขภาคใต 2547 พบวา บุคลากรทุกกลุมวิชาชีพ รอยละ 70-80 ไดรับผลกระทบตอการดําเนินชีวิตประจําวัน นอกจากนี้ยังสงผลกระทบตอเนื่องไปสูการจัดบริการสุขภาพ ทั้งการบริการภายในและนอกสถานพยาบาล ไดแก ปญหาการขาดแคลนบุคลากรของสถานบริการ ปญหาในการเขาถึง

48

บริการสุขภาพของประชาชน และปญหาในการใหบริการสุขภาพเชิงรุก เปนตน ปญหาการขาดแคลนบุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต โดยเฉพาะวิชาชีพแพทย เปนปญหาที่เร้ือรังมายาวนาน ภาวะวิกฤติที่เกิดย่ิงซํ้าเติมความรุนแรงของปญหาใหมากข้ึน บุคลากรจํานวนมากขอยายออกนอกพื้นที่ ตามแนวทางของรัฐที่ยินดีใหขาราชการที่ไมสมัครใจปฏิบัติงานในพื้นที่ยายออกได เชน กรณีของโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดยะลา มีแพทยขอยายออกจากพืน้ที่ถึงรอยละ 53 ย่ิงสงผลใหเพิ่มภาระงานแกบุคลากรที่เหลืออยู (พัชรี พุทธชาติ, 2550: 30-31) 2.4 โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธ ิ โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ อําเภอเมือง จังหวัดยะลา มีเนื้อที่ 11 ไรเศษ เปดการเรียนการสอน 2 ภาควิชา คือ ภาควิชาสามัญ ต้ังแตมัธยมศึกษาปที่ 1-6 และภาควิชาศาสนา ต้ังแตชั้นอิสลามศึกษาปที่ 1-10 ปจจุบันมีนักเรียนทั้งหมด 5,220 คน บุคลากรทางการศึกษาจํานวน 453 คน โดยมนีายรอซี เบ็ญสุหลง นักบริหารชุดใหมและเปนครูใหญคนปจจุบัน 2.4.1 ประวัติโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธ ิ อําเภอเมือง จังหวัดยะลา ยะลา มีเนื้อที่ 11 ไรเศษ ต้ังอยูบานเลขที่ 762 ถนนสิโรรส อําเภอเมือง จังหวัดยะลา เดิมเปนโรงเรียนราษฏสอนศาสนาอิสลาม (ปอเนาะ) เพียงอยางเดียว ปจจุบันเปลี่ยนเปนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามสอนทั้งวิชาศาสนาและสามัญ ขณะเร่ิมเปดดําเนินการนั้น โรงเรียนยังไมมีที่ดินและอาคารเรียนเปนของตนเองตองอาศัยโรงยางหลังสุเหราบานกําปงบารู เปนสถานที่เรียน ป พ.ศ. 2494 นายหะยีมูฮําหมัดตอเฮร สุหลง ไดอุทิศที่ดิน 7 ไร 3 งาน 45 ตารางวา ต้ังอยูที่กิโลเมตรที่ 1 ติดถนนสายยะลา - ปตตานี (ที่ต้ังโรงเรียนปจจุบัน ) ใหแกโรงเรียน และดวยความรวมมือของพี่นองประชาชนของหมูบานนี้เอง ไดชวยกันกอสรางอาคารเรียนขึ้นในที่ดินดังกลาว การเรียนการสอนในระยะเริ่มตนยังไมมีระบบเหมือนปจจุบัน กลาวคือยังไมเปนชั้นเรียน ไมมีหลักสูตร ผูบริหารขาดประสบการณ ในปจจุบันไดมีผูบริจาคที่ดินใหแกโรงเรียนเพิ่มข้ึน รวมเนื้อที่ทั้งหมดไดประมาณ 11 ไรเศษ ตอมานายหะยีฮารน สุหลง ไดเขามาเปนผูดําเนินการจัดสรรระบบการเรียนการสอนภายในโรงเรียน ตามที่เห็นสมควร

49

ระยะแรกเปดรับเฉพาะนักเรียนชายเขาเรียน ตอมาเปดรับนักเรียนหญิง โดยแยกเปน 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิและโรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามูลนิธิ เปนสอนวิชาศาสนาเพียงอยางเดียว ป พ.ศ. 2506 นายหะยีมูฮําหมัดตอเฮร สุหลง ไดเขามามอบใหนายฮารน เตาฟก นายนิวัฒ ชาจิตตะ และนายหะยีเฮง ตอฮา ย่ืนคํารองตอทางราชการเพื่อขอจัดต้ังเปนมูลนิธิข้ึน เรียกวา “อิสลามวิทยามูลนิธ”ิ และไดรับอนุญาตในกลางปนั่นเอง นายหะฮารน สุหลง ไดรับการแตงต้ังใหเปนครูใหญ และผูจัดการโรงเรียนและไดยกทรัพยทั้งหมดของโรงเรียนใหอยูในความควบคุมดูแล และรับผิดชอบของมูลนิธิ มูลนิธิจึงเปนผูบริหารโรงเรียนในรูปของคณะกรรการ จึงไดมีการปรับปรุงการเรียนการสอนต้ังแตบัดนั้นเปนตนมา ป พ.ศ. 2507 เร่ิมจัดต้ังโรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามูลนิธิข้ึน ป พ.ศ. 2508 ไดเปดสอนวิชาศาสนาควบคูวิชาสามัญเปนคร้ังแรกโดยไดรับความรวมมือชวยเหลือจากศึกษาธิการจังหวัดยะลา ในสมยันั้น คือนายแจง สุขเก้ือ มูลนิธิเอเซียและกรรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จึงไดเปดสอนชั้น ป. 5 เปนคร้ังแรก ป พ.ศ. 2510 ไดเปดชั้น ป.7 และไดขยายชั้นเรียนเร่ือยมาตามความเหมาะสม จนไดเปดชั้น ม.ศ. 1 ถึง ม.ศ. 3 และม. 1 ถึง ม.3 ตามลําดับ ป พ.ศ. 2525 ไดเปดสอนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4) เปนปแรก และขณะนั้นไดเปดสอนวิชาศาสนา และสามัญ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี:้

วิชาศาสนา เปดสอนต้ังแตชั้น ปที่ 1-10 เวลาเรียน 08.00 - 12.00 น. วิชาสามัญ เปดสอนต้ังแตชั้น ม. 1-ม.6 เวลาเรียน 13.00 - 17.00 น.

ป พ.ศ.2525 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการไดจัดทําโครงการดานวิทยาคารสงเคราะห เพื่อชวยเหลือโรงเรียน และรัฐบาลไดอนุมัติโครงการนี้ โรงเรียนจึงไดเงินชวยเหลือดังกลาว จํานวน 2,000,000 บาท เพื่อกอสรางอาคารเรียน 3 ชั้น ที่โรงเรียนยังสรางไมเสร็จเพราะขาดงบประมาณอยูขณะนั้น และปจจุบันไดใชอาคารเรียนหลังนี้เปนสถานที่เรียนสืบไป ปจจุบัน โรงเรียนไดมีหอพักนักเรียนมาตรฐาน จํานวน 2 หลัง คืออาคาร 2 ชั้น จํานวน 1 หลัง และ 3 ชั้น จํานวน 1 หลัง เพื่อแกปญหาสําหรับนักเรียนที่เดินทางมาเรียนจากตางจังหวัด

50

2.4.2 วิสัยทัศนของโรงเรียน โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิสงเสริมใหบุคลากรมีการพัฒนาเต็มศักยภาพ มุงมั่นพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมีความเปนเลิศทางวิชาการ กีฬา มีทักษะทางดานเทคโนโลยี และภาษาสากล ยึดมั่นในหลักศาสนา จัดการศึกษาประสานชุมชนเพื่อสามารถอยูรวมกันไดอยางมีความสุข 2.4.3 พันธกิจ (Mission) บริหารจัดการและประสานงานโดยยึดหลักการมีสวนรวม ระดมทรัพยากรบุคคล และปจจัยเก้ือหนุนใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาการศึกษาอยางเต็มศักยภาพ ใหชุมชนมีสวนรวมในการดําเนินงานของโรงเรียน พัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความสามารถ โดยใชกระบวนการนิเทศภายในการอบรมสงเสริมใหมีครูแกนนํา ครูเครือขาย ครูตนแบบ การทํางานเปนทีม ยึดจรรยาบรรณ และเกณฑมาตรฐานวิชาชีพครูในการปฏิบัติงาน จัดหลักสูตรใหยืดหยุนและหลากหลาย สนองความถนัด ความสามารถ ความสนใจของนักเรียน ครูและนักเรียนรวมกันพัฒนากระบวนการเรียนรูจากแหลงเรียนรูที่หลากหลาย สงเสริมใหมีการจัดระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนตามแนวทางของศาสนาอิสลาม ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม และสนับสนุนใหผูเรียนไดดําเนินชีวิตตามแบบแผนของศาสนาอิสลาม โดยผานกระบวนการเรียนรูทุกกลุมสาระ 2.4.4 เปาหมายการจัดหลักสูตร โรงเรียนมีอาคารสถานที่ ส่ิงแวดลอม เทคโนโลยี และส่ิงอํานวยความสะดวกตอการจัดการเรียนการสอนอยางเหมาะสมและเพียงพอ อีกทั้งไดรับความรวมมือจากชุมชนเปนอยางดี บุคลากรมีความรู ความสามารถ ดานการจัดการเรียนการสอน เต็มตามศักยภาพ นักเรียนมีความเปนเลิศทางวิชาการ มีทักษะที่ดีทางดานภาษาสากล และเทคโนโลยีตามความสามารถ ความถนัด ความสนในของตนเอง นักเรียนตระหนักในการพัฒนาคุณภาพชีวิต รักการออกกําลังกาย การดูแลตนเองใหมีสุขภาพและมีบุคลิกภาพที่ดี เพื่อมุงไปสูความเปนเลิศทางดานกีฬา นักเรียนดําเนินชีวิตตามแนวทางของศาสนาอิสลาม รักชาติ ศาสนา

51

พระมหากษัตริย ภายใตการปกครองระบอบประชาธิปไตย และอยูรวมกันในสังคมไดอยางมีความสุข 2.4.5 ปรัชญา วัตถุประสงค นโยบาย มาตรการและแนวทางการพัฒนา โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ เปนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ปจจุบันไดเปลี่ยนเปนโรงเรียนมาตรา 15(1) เปดทําการสอนวิชาศาสนาอิสลามควบคูกับวิชาสามัญ เปนโรงเรียนที่มีแนวดําเนินการแตกตางไปจากโรงเรียนเอกชนทั่วไป คือ เปนโรงเรียนที่เปดเพื่อการกุศล ไมใชเพื่อธุรกิจ จากสาเหตุดังกลาว จึงทําใหโรงเรียนประเภทนี้ มีความเปนเอกลักษณเฉพาะตัวคอนขางสูง การพัฒนาจึงมีรูปแบบของตนเอง 2.4.5.1 ปรัชญาของโรงเรียน “ดี เกง บําเพ็ญประโยชน” 2.4.5.2 สโลแกนของโรงเรียน “เรียนดี มีศาสนา พาชีวิตสดใส” 2.4.5.3 วัตถุประสงค 1) เพื่อเผยแพรศาสนาอิสลาม ซ่ึงบังคับใหผูเรียนทุกคนตองเรียนรูหลักการของศาสนาอิสลาม 2) เพื่อสงเคราะหนักเรียนกําพราอนาถา 3) เพื่อสงเสริมนักเรียนดานการศึกษาศาสนาอิสลาม วิชาสามัญ และวิชาชีพ 4) เพื่อสนับสนุนและใหคําแนะนํานักเรียนที่เรียนดี แตขาดแคลนทุนทรัพยใหมีโอกาสทางการศึกษาเลาเรียน 5) เพื่อปลูกฝงศาสนาอิสลามแกเยาวชน 2.4.5.4 นโยบาย มีดังนี้ 1) สงเสริมและสนับสนุนใหนักเรียน ไดดําเนินชีวิตตามแบบแผนและหลักการของศาสนาอิสลามอยางถูกตอง 2) เนนการปฏิบัติศาสนา เพื่อปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ความสามัคคี และหนาที่รับผิดชอบตอตนเอง สังคม ประเทศชาติ 3) พัฒนาทรัพยากรของโรงเรียนเพื่อนํามาใหเกิดประโยชนสูงสุดในการพัฒนา การศึกษา

52

4) ปลูกฝงคานิยม เจตคติที่ดี เคารพยึดมั่นตอสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองในระบอบประชาธิปไตย 2.4.5.5 มาตรการมีดังนี ้ 1) นักเรียนทุกคนตองเรียนวิชาศาสนาอิสลามเปนวิชาบังคับ 2) นักเรียนที่จบชั้นสูงสุดดานศาสนาอิสลามจะผานการฝกปฏิบัติ(ฝกสอน) เพื่อหาประสบการณ 3) เนนการเรียนใหปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับของโรงเรียนอยางเครงครัด 4) นักเรียนจะตองปฏิบัติศาสนกิจประจําวันตามหลักการของศาสนา 5) จัดหาทุนเพื่อเปดโอกาสใหนักเรียนยากจนไดเรียนฟรี 2.4.5.6 แนวทางในการพัฒนามีดังนี ้ 1) ดําเนินการในบุคลากรทุกฝายปฏิบัติงานใหบรรลุวัตถุประสงค นโยบายและเปาหมายของโรงเรียน 2) กําหนดแนวทางปฏิบัติ เพื่อใหทุกคนไดปฏิบัติงานไปในทางเดียวกัน 3) ควบคุมดูแล ตลอดจนติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน เพื่อนํามาวิเคราะหปญหาและอุปสรรค แลวหาทางแกไขปรับปรุงตอไป 4) พัฒนาบุคลากรทุกฝายและนักเรียนใหเกิดศักยภาพในทุกดาน 5) จัดสวัสดิการแกบุคลากรของโรงเรียน เพื่อใหปฏิบัติงานเกิดขวัญและกําลังใจ ในการพัฒนา และรวมมือกันทํางาน 6) สนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนอยางเต็มที่ 2.4.5.7 โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ อําเภอเมือง จังหวัดยะลา มีจํานวนนักเรียนในประจําปการศึกษา พ.ศ. 2551 รวมทั้งส้ิน จํานวน 5220 คน 2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวของ ซารียะห โซะมะ และคนอื่นๆ (2540: บทคัดยอ) ไดศึกษาระดับความเครียดของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลบันนังสตา จังหวัดยะลา ตอสถานการณความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต พบวา พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลบันนังสตา จังหวัดยะลา สวนใหญมีระดับ

53

ความเครียดอยูในเกณฑปกติ คิดเปนรอยละ 66.67 รองลงมามีความเครียดอยูในระดับสูงกวาปกติ คิดเปนรอยละ 13.33 มีความเครียดอยูในระดับสูงกวาปกติปานกลาง คิดเปนรอยละ 4.44 และมีความเครียดอยูในระดับสูงกวาปกติมาก คิดเปนรอยละ 4.44 ตามลําดับ กฤษณา เจิมภักดี และคนอื่น ๆ (2543: บทคัดยอ) ไดศึกษาปจจัยที่มีผลตอความเครียดในการปฏิบัติงานของขาราชการทหารในสังกัดกองพันทหารมาที่ 1 รักษาพระองค ผลการวิจัยพบวา 1) ขาราชการทหารในสังกัดกองพันทหารมาที่ 1 รักษาพระองคฯ มีความเครียดในการปฏิบัติงานในเกณฑปกติ ซ่ึงจากการใชแบบสอบถามของกรมสุขภาพจิต มีระดับคะแนนอยูในชวง 6 - 17 คะแนน 2) การเปรียบเทียบระดับความเครียดกับคุณลักษณะสวนบุคคล ที่แตกตางกันของขาราชการทหาร พบวา ขาราชการทหารที่มีสัมพันธภาพกับครอบครัว และดานการอุปการะเลี้ยงดูที่แตกตางกัน มีระดับความเครียดแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ 3) ปจจัยที่สงผลตอความเครียดในการปฏิบัติงานของขาราชการทหาร ไดแก ปจจัยการไดรับผลตอบแทน ปจจัยดานสภาพแวดลอมในการทํางาน ปจจัยดานพัฒนาขีดความสามารถ ปจจัยดานความกาวหนาและความมั่นคง ปจจัยดานสัมพันธภาพกับบุคคลในหนวยงาน ปจจัยดานการคุมครองแรงงาน และปจจัยดานการดําเนินชีวิต ซ่ึงทุกปจจัยมีความสัมพันธเชิงบวกกับระดับความเครียด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ดังนั้น ผูวิจัยมีขอเสนอแนะกับงานวิจัยดังนี้ คือ ควรมีการปรับปรุงความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชา และผูใตบังคับบัญชาอยางสม่ําเสมอ และควรมีการตรวจวัดระดับความเครียดของขาราชการทหารในทุกๆ หนวยงานอยาจริงจัง เพื่อเปนแนวทางในการแกไขปญหาในการปฏิบัติงานคร้ังตอไป วิทยา ไชยศรี (2545: 44-68) ไดศึกษาระดับความเครียดของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตเทศบาลนครยะลา พบวา สวนใหญเปนเพศชายรอยละ 53.7 อายุสวนใหญมีอายุ 17 ป รอยละ 46.6 โปรแกรมการเรียนสวนใหญเรียนโปรแกรมวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร รอยละ 46.3 ระดับชั้นการศึกษาสวนใหญระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 รอยละ 35.8 ผลการศึกษาที่ผานมาสวนใหญมีผลการศึกษาเฉลี่ยระหวาง 2.01-3.00 รอยละ 48.1 รายไดของครอบครัวสวนใหญรายไดเฉลี่ยตอเดือน 5,000-10,000 บาท อาชีพของมารดาสวนใหญ อาชีพธุรกิจสวนตัว/คาขาย รอยละ 26.7 วุฒิการศึกษาของบิดาและมาดาสวนใหญมีวุฒิการศึกษาสูงสุดระดับประถมศึกษา รอยละ 34.8และรอยละ 39.8 ตามลําดับ สถานภาพของครอบครัวสวนใหญมีสถานภาพครอบครัวอยูดวยกัน รอยละ 89.6 ความสัมพันธระหวางสมาชิกในครอบครัวสวนใหญผูกพันใกลชิดกันมาก รอยละ 65.5 และประเภทของโรงเรียนสวนใหญเรียนโรงเรียน

54

เอกชน รอยละ 64.2 สวนผลการศึกษาปจจัยที่แตกตางกันมีผลตอระดับความเครียดนั้นพบวา เพศ ผลการศึกษาที่ผานมา รายได ความสัมพันธระหวางสมาชิกในครอบครัวและการสนับสนุนทางสังคมจะมีระดับความเครียดที่แตกตางกันอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 บุญเรือง เปยหลิ่ม (2547: 49-91) ไดศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับความเครียดของนักเรียนกอนสอบเขาศึกษาตอในสถาบันอุดมศึกษา: ศึกษาเฉพาะกรณีนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสตรียะลา อําเภอเมือง จังหวัดยะลา จํานวน 184 คน พบวา นักเรียนสวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 73.4 ศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 รอยละ 42.9 นักเรียนสวนใหญมีความเครียดระดับปานกลาง รอยละ 79.4 จากการทดสอบสมมติฐานพบวา ระดับชั้นการเรียน อาชีพของบิดา และความคาดหวังของนักเรียนเก่ียวกับการสอบเขาศึกษาตอ มีความสัมพันธกับความเครียดของนักเรียนกอนสอบเขาศึกษาตอในสถาบันอุดมศึกษาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ศิริรัตน หมางสูงเนิน (2547: 61-62) ไดศึกษาปจจัยที่กอใหเกิดความเครียดในงานบริการ พบวาปจจัยสวนบุคคลของพนักงานใหบริการมีลักษณะสวนบุคคลตางกัน อันไดแก อายุงาน ระดับการศึกษา ลักษณะงานที่รับผิดชอบ ความรับผิดชอบตอครอบครัว ภาระหนี้สินที่แตกตางกัน จะมีความเครียดที่มีสาเหตุมาจากปจจัยสวนบุคคลในการทํางานไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงปฏิเสธมมติ วชิระบูลย อินสวาง และคนอื่นๆ (2548: บทคัดยอ) ไดศึกษาความเครียดของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎรธานี พบวา ระดับความเครียดของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎรธานี ในภาพรวมทุกดานอยูในระดับปานกลาง เมื่อจําแนกรายดาน พบวาความเครียดในดานความสัมพันธระหวางนักศึกษากับเพื่อนรวมงาน ดานการฝกปฏิบัติงานของนักศึกษา ดานสถานที่และอุปกรณตางๆ ดานบุคลิกภาพของอาจารยและความสัมพันธระหวางอาจารยกับนักศึกษาอยูในระดับปานกลาง สวนในดานวิธีการสอนและการประเมินของอาจารยและดานความสัมพันธระหวางนักศึกษากับผูบริการมีความเครียดอยูในระดับนอย เมื่อเปรียบเทียบความเครียดของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎรธานี จําแนกตามคุณลักษณะของนักศึกษาพยาบาลคือ ระดับชั้นป รายไดของครอบครัวตอเดือนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบวานักศึกษาพยาบาลที่มีรายไดของครอบครัวตอเดือนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตางกันมีความเครียด

55

ไมแตกตางกัน สวนนักศึกษาพยาบาลที่มีระดัชั้นปที ่ 2 มีความเครียดสูงกวาระดับชั้นปที่ 3 และ 4 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ภิศักด์ิ พรรณาภพ (2549: 90-102) ไดศึกษาความเครียดและการขจัดความเครียดของมารดาที่มีบุตรเขาพักรักษาในโรงพยาบาลยะลา กลุมประชากรจํานวน180 คน พบวา ระดับความเครียดของมารดามีความเครียดอยูในระดับปานกลางมากที่สุด รอยละ 81.70 รองลงมาคือระดับความเครียดนอย รอยละ 16.70และระดับเครียดมาก รอยละ 1.70 ตามลําดับ สวนการขจัดความเครียด พบวามีการขจัดความเครียดอยูในระดับปานกลางมากที่สุด รอยละ 55.00 รองลงมาคือระดับมาก รอยละ 28.30 และระดับนอย 16.70 ตามลําดับ โดยปจจัยทางดาน อายุ ระดับการศึกษา เพศของบุตร มีผลตอความเครียดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนระดับการศึกษา สถานภาพสมรส รายไดของครอบครัว มีผลตอการขจัดความเครียดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สุภารัตน กาละปตย (2549: 54-82) ศึกษาความเครียดของขาราชการตํารวจภูธร ตําบลแมหวาด อําเภอธารโต จังหวัดยะลา อันเนื่องมาจากสถานการณความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต จํานวน 64 นาย พบวา สวนใหญนับถือศาสนาพุทธ รอยละ 93.8 ภูมิลําเนาอยูในภาคใต รอยละ 54.7 มีอายุระหวาง 20-30 ปรอยละ 56.3 มียศสิบตํารวจตรี รอยละ 51.6 รายไดตํ่ากวา 10,000 บาท รอยละ 79.7 สถานภาพโสดมากที่สุด รอยละ 46.9 การศึกษาปจจัยทางดาน เพศ ศาสนา ภูมิลําเนา อายุ ชั้นยศ หนาที่ในปจจุบัน สถานภาพสมรส และความพึงพอใจตอนโยบายของรัฐบาล มีระดับความเครียดไมแตกตางกัน ปจจัยดาน อายุราชการ รายได และความพึงพอใจตอการทํางาน มีระดับความเครียดแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ0.05 วลัยกรณ หงษชัย (2550: บทคัดยอ) ไดศึกษาความคิดเห็นของเยาวชนในเขตเทศบาลนครยะลา ที่มีตอการเผยแพรขาวสารของส่ือมวลชน กรณีสถานการณความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต จากกลุมตัวอยางทั้งส้ิน 292 คน พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศชาย รอยละ 57.5 มีอายุ 15 ป รอยละ 41.1 นับถอืศาสนาพุทธ รอยละ 57.2 มีระดับความคิดเห็นที่มีตอการเผยแพรขาวสารของส่ือมวลชน กรณีสถานการณความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต อยูในระดับสูง รอยละ 67.1 ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา อายุ และทัศนคติมีความสัมพันธกับความคิดเห็นของเยาวชนในเขตเทศบาลนครยะลา ที่มีตอการเผยแพรขาวสารของส่ือมวลชน กรณีสถานการณความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต อยางมีนัยสําคัญที่ 0.05